You are on page 1of 92

คาอธิบายรายวิชา

รายวิชา เหตุการณ์ปัจจุบัน จานวน 40 ชั่วโมง


ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 จานวน 1 หน่วยกิต

ศึกษาสภาพและข้อมูลเหตุของความขัดแย้งในรูปแบบต่างๆ ที่ส่งผลกระทบต่อ
ภูมิภาคต่างๆ ของโลก การก่อการร้ายในสาเหตุ ขบวนการ วัตถุประสงค์และการเคลื่อนไหว
ในภูมิภาคต่างๆ รวมทั้งแนวทางแก้ปัญหาของกลุ่มก่อการร้ายต่างๆ ปัญหาสงครามเย็น
สงครามโลกครั้งที่ 1 สงครามโลกครั้งที่ 2 ปัญหาตะวันออกกลาง ปัญหาพลังงาน ปัญหา
เงินเฟ้อและการว่างงาน ปัญหาประชากรและความยากจน ปัญหาสิ่งแวดล้อมเป็นพิษ
ปัญหาทางวัฒนธรรมจิตใจรวมทั้งความพยายามในการสร้างสันติภาพในโลกและการวิเคราะห์
ข่าวต่างๆ ที่เกิดขึ้นในสังคมโลก
โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ การสืบค้นข้อมูลปฏิบัติจริง สรุป รายงาน
เพื่อพัฒนาทักษะ/กระบวนการ ในการคิดวิเคราะห์ การแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อ
ความหมายทางสังคม และนาประสบการณ์ด้านความรู้ ความคิด ทักษะกระบวนการที่ได้ไป
ใช้ในการเรียนรู้สิ่งต่างๆ และนาไปใช้ในชีวิตประจาวันอย่างสร้างสรรค์
เพื่อตระหนักถึงความสาคัญเห็นคุณค่าและมีเจตคติที่ดีต่อประวัติศาสตร์ มีคุณธรรม
จริยธรรมเป็นหลักในการดาเนินชีวิต สามารถทางานอย่างเป็นระบบระเบียบ มีความ
รอบคอบ มีความรับผิดชอบ มีวิจารณญาณและความเชื่อมั่นในตนเอง

รหัสตัวชี้วัด
ส 4.1 ม.4-6/1 ส 4.1 ม.4-6/2 ส 4.2 ม.4-6/4
โครงสร้างรายวิชา
รายวิชา เหตุการณ์ปัจจุบัน กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 2 เวลาเรียน 40 ชั่วโมง จานวน 1.0 หน่วยกิต

มาตรฐาน เวลาเรียน น้าหนัก


ที่ ชื่อหน่วยการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้
ตัวชี้วัด (ชั่วโมง) คะแนน
1 ย้อนอดีต มอง ส 4.2.2 - สงครามโลกครั้งที่ 2 6 5
ปัจจุบัน สร้างสรรค์อนาคต - สถานการณ์โลกหลัง
สงครามโลกครั้งที่ 2
- สงครามเย็น
- องค์การสหประชาชาติ
2 สถานการณ์ไทย ส 4.2.2 - การปฏิวัติเปลี่ยนแปลง การ 7 10
ปกครอง พ.ศ. 2475
- เหตุการณ์ 14 ต.ค.2516
- เหตุการณ์พฤษภาทมิฬ
- ความขัดแย้งทางการเมือง
หลังการรัฐประหาร
19 กันยายน 2549
- เหตุการณ์ความไม่สงบ
สามจังหวัดชายแดนภาคใต้
- เกาะติดสถานการณ์
บ้านเมืองเป็นของเราทุก
คน รู้จักเผชิญกับปัญหาความ
ขัดแย้งอย่างชาญฉลาด
สร้างสรรค์และเป็นระบบ
- หลักธรรมในการอยู่
ร่วมกันอย่างสันติ

มาตรฐาน เวลาเรียน น้าหนัก


ที่ ชื่อหน่วยการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้
ตัวชี้วัด (ชั่วโมง) คะแนน
3 สถานการณ์โลก ส 4.2.2 - สงครามอินโดจีน 10 10
- ผลกระทบของสงครามอิน
โดจีน
- การล่มสลายของสหภาพ
โซเวียตรัสเซีย
- การเกิดประเทศใหม่
- การทุบกาแพงเบอร์ลินรวม
เยอรมนี
- ปัญหาความขัดแย้งใน
ตะวันออกกลาง
- ปัญหาความขัดแย้งใน
ดินแดนปาเลสไตน์
- การปฏิวัติดอกมะลิใน
แอฟริกา
- ปัญหาการก่อการร้ายสากล
- เหตุการณ์ไทย –
กัมพูชา กรณีพิพาทปราสาท
เขาพระวิหาร

สอบระหว่างภาคเรียน 1 20
4 สิ่งแวดล้อมโลก ส 5.2.1 - ภาวะโลกร้อน 8 5
สิ่งแวดล้อมไทยโยงใย - ปรากฏการณ์เอลนิโญ/
เป็นหนึ่งเดียว ลานิญา
- สึนามิ
- อนุสัญญาว่าด้วยไซเตส
- องค์กรที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐ
และเอกชน
- ตระหนักถึงปัญหาในการใช้
สอยและอนุรักษ์
- ผลกระทบการใช้สอย
- บทบาทหน้าที่ ในการ
อนุรักษ์
มาตรฐาน เวลาเรียน น้าหนัก
ที่ ชื่อหน่วยการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้
ตัวชี้วัด (ชั่วโมง) คะแนน
5 วิกฤตเศรษฐกิจไทย ส 3.2.1 - วิกฤตต้มยากุ้ง 3 5
เศรษฐกิจโลก - วิกฤตแฮมเบอร์เกอร์
- วิกฤตยูโรโซน
6 โลกยุคโลกาภิวัตน์ ส 4.2.2 - วัฒนธรรมไทย 6 5
(Globalization) - กระแสวัฒนธรรมต่างชาติ
กับค่านิยม
- ทักษะการบริโภคสื่อและ
ข้อมูลข่าวสาร
- หลักธรรมในการดาเนินชีวิต
- เศรษฐกิจพอเพียงกับวิถี
ชีวิตประจาวัน
สอบปลายภาคเรียน 1 40
รวมตลอดภาคเรียน 40 100
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่6
วิชา เหตุการณ์ปัจจุบัน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ย้อนอดีต มองปัจจุบัน สร้างสรรค์อนาคต เวลาทั้งหมด 6 ชั่วโมง
เรื่องสงครามโลกครั้งที่ 2 เวลาที่ใช้สอน 1 ชั่วโมง
วันที.่ ....เดือน.............................พ.ศ. ............ ม.6/1 ภาคเรียนที่ 2/.....
ครูผู้สอนชื่อ..............................โรงเรียนบ้านพิณโท
.......................................................................................................................................................
มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
ส 4.2 เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปัจจุบัน ในด้านความสัมพันธ์และ
การเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์อย่างต่อเนื่อง ตระหนักถึงความสาคัญและสามารถ วิเคราะห์ผลกระทบ
ที่เกิดขึ้น
ตัวชี้วัด
ม.4-6/2วิเคราะห์เหตุการณ์สาคัญต่างๆที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงทางสังคม เศรษฐกิจและการเมือง
เข้าสู่โลกสมัยปัจจุบัน
จุดประสงค์การเรียนรู้สู่ตัวชี้วัด
1. อธิบายเกี่ยวกับสงครามโลกครั้งที่ 2 (K)
2.เขียนสรุปสาเหตุและผลกระทบของสงครามโลกครั้งที่ 2 (P)
3. สงครามโลกครั้งที่ 2 และผลกระทบจากอดีตจนถึงปัจจุบัน (A)
สาระสาคัญ
ศึกษาวิเคราะห์สภาพปัจจุบัน ปัญหา ความขัดแย้งและภูมิหลังทางประวัติศาสตร์ของกรณี
ตัวอย่างเหตุการณ์สาคัญที่เกิดขึ้นในสังคมไทยและภูมิภาคต่างๆ ของโลกทางด้านการเมือง การทหาร
เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อม ความสัมพันธ์เชื่อมโยงของเหตุการณ์และผลกระทบใน
ระดับท้องถิ่น ระดับประเทศ และระดับนานาชาติ ลักษณะสาคัญของสังคมโลกยุคโลกาภิวัตน์ที่ส่งผล
กระทบทั้งด้านบวกและลบต่อสังคมไทยและสังคมโลก
โดยใช้กระบวนการ สร้างความรูค้ วามเข้าใจ สร้างความตระหนัก คิดอย่างมีวิจารณญาณ
การสืบค้นและสร้างองค์ความรู้ กระบวนการกลุ่ม และการเสริมสร้างคุณลักษณะที่พึงประสงค์
เพือ่ ให้เกิดความรู้ ความเข้าใจและความตระหนักในสภาพปัจจุบนั ปัญหา ความขัดแย้งและ
ภูมิหลังทางประวัติศาสตร์ เหตุการณ์สาคัญที่เกิดขึ้นในสังคมไทยและภูมิภาคต่างๆ ของโลก สังคมโลก
ยุคโลกาภิวัตน์
สาระการเรียนรู้
- สงครามโลกครั้งที่ 2
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
ใฝ่เรียนรู้
ตัวชี้วัดที่ 4.2 แสวงหาความรู้จากแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ ทั้งภายในและภายนอกโรงเรียนด้วย
การเลือกใช้สื่ออย่างเหมาะสม บันทึกความรู้ วิเคราะห์ สรุปเป็นองค์ความรู้
สามารถนาไปใช้ในชีวิตประจาวันได้
สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
ความสามารถในการคิด
ชิ้นงานหรือภาระงาน (หลักฐาน ร่องรอยแสดงความรู้)
แผนภาพ การเงิน
คาถามท้าทาย
นักเรียนคิดว่าสาเหตุที่ทาให้เกิดสงครามโลกครั้งที่ 2 มาจากอะไร
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้
1. ครูนาเสนอความรู้เกี่ยวกับสงครามโลกครั้งที่ 2ด้วยสื่อประเภทต่างๆที่มีอยู่ใกล้ตัวใน
ประเด็นต่อไปนี้
- สาเหตุการเกิดสงครามโลกครั้งที่
2. ให้นักเรียนตั้งคาถามที่ต้องการทราบเกี่ยวกับ สาเหตุของสงครามโลกครั้งที่ 2
3. ให้นักเรียนศึกษาหาความรู้เบื้องต้นจากหนังสือเรียนเอกสารประกอบการค้นคว้านิตยสาร
ต่างๆตามประเด็นที่ครูและนักเรียนร่วมกันกาหนดและสรุปความรู้เป็นแผนภาพ
5. ครูมอบหมายงานให้นักเรียนไปศึกษาสืบค้นภาวะทางการเงินเกี่ยวกับ สาเหตุของ
สงครามโลกครั้งที่ 2ในรูปแบบการสัมภาษณ์ หรือการนาเสนอการทาโครงงานเรื่องที่สนใจเพื่อเป็น
ข้อมูลจัดกิจกรรมการเรียนการสอนชั่วโมงถัดไป
6. ให้นักเรียนร่วมกันสรุป
7. ให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็น โดยครูใช้คาถามท้าทาย
การจัดบรรยากาศเชิงบวก
ให้นักเรียนตั้งคาถามเพื่อแลกเปลี่ยนความรู้สืบค้นข้อมูลจากนิตยสาร และสรุปความรู้เป็น
แผนภาพ
สื่อการเรียนรู้
Internet
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
1. วิธีการวัดและประเมินผล
สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในการเข้าร่วมกิจกรรม
2. เครื่องมือ
แบบสังเกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรม
3. เกณฑ์การประเมิน
การประเมินพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรม
ผ่านตั้งแต่ 2 รายการถือว่าผ่าน
ผ่าน 1 รายการ ถือว่าไม่ผ่าน
ใบความรู้
สงครามโลกครั้งที่ 2
นับตั้งแต่สงครามโลกครั้งที่ 1 และครั้งที่ 2 และจากสถิตินับตั้งแต่ศตวรรษ ที่ 20 เป็นต้นมาปรากฏว่า
มนุษย์โลกเราได้ทาสงครามที่สามารถบันทึกไว้เป็น ประวัติศาสตร์ถึงประมาณ 150 ครั้ง และมี
ผู้เสียชีวิตทั้งหมดแล้วประมาณ 100 ล้านคน สงครามโลกนั้นทาลายชีวิต และทรัพย์สินของผู้คนบนโลก
มากมายและตั้งแต่โลกเริ่มมีอารยธรรมเจริญ อย่างมากมาย มนุษย์ต้องผ่านการทาลายตัวเองมาแล้วถึง
2 หนโดยแบ่งความ เสียหายได้ดังนี้
สงครามโลกครั้งที่ 1โดยนโปเลียน สงครามโลกครั้งที่ 1 นี้เกิดสงครามเน้นเฉพาะไปที่ยุโรปเป็นส่วนใหญ่
มีประชากรโลกเสียชีวิตไป19 ล้านคน โดยแบ่งออกได้เป็นทหาร 95 % และพลเรือน 5 % เพราะเป็น
การรบด้วยการใช้กองกาลังทหารราบเข้าประชิดและต่อสู้กัน แบบพื้นราบเป็นส่วนใหญ่ซึ่งก็จะรบกัน
ตามสมรภูมิรบต่างๆที่เป็นทุ่งกว้าง ประชาชนพลเรือนจึงได้รับความเดือดร้อนและเสียชีวิตน้อย
สาเหตุของสงครามโลกครั้งที่ 2
1.ความไม่เป็นธรรมของสนธิสัญญาแวร์ซายส์
2.เกิดภาวะเศรษฐกิจตกต่าทั่วโลกในปี ค.ศ.1929-1931
3.ความอ่อนแอขององค์การสันนิบาตชาติ เพราะสหรัฐฯ และรัสเซียไม่ได้เป็นสมาชิก
เหตุการณ์ที่นาไปสู่สงครามโลกครั้งที่ 2
1.ญี่ปุ่นรุกรานแมนจูเรีย แล้วตั้งเป็นรัฐแมนจูกัว เพื่อเป็นแหล่งอุตสาหกรรมและแหล่งทาทุนใหม่
สาหรับตลาดการค้าของญี่ปุ่น
2.การเพิ่มกาลังอาวุธของเยอรมัน
3.กรณีพิพาทระหว่างอิตาลีกับอังกฤษ ในกรณีที่อิตาลีบุกเอธิโอเปีย
4.เยอรมนีเข้าครอบครองแคว้นไรน์ ซึ่งเป็นการละเมิดสนธิสัญญาแวร์ซายส์ และสนธิสัญญาโลคาร์โน -
สงครามกลางเมืองในสเปน -เยอรมันผนวกออสเตรีย
5.เยอรมันเข้ายึดครองเชคโกสโลวะเกีย สงครามโลกครั้งที่ 2 เกิดขึ้นเมื่อ ปี ค.ศ. 1939 เมื่อฮิตเลอร์
(เยอรมัน) โจมตีโปแลนด์ อังกฤษและฝรั่งเศส ซึ่งปกป้องโปแลดน์อยู่จึงต้องทาสงครามกับเยอรมัน
6.ในปี ค.ศ. 1942 ฝ่ายอักษะ (ญี่ปุ่น เยอรมัน อิตาลี) ได้บุกยึดยุทธภูมิสาคัญคือ รัสเซีย แอฟริกาเหนือ
และแปซิฟิก ซึ่งก็ประสบความสาเร็จเกือบทุกแห่ง โดยเฉพาะญี่ปุ่นซึ่งได้รับชัยชนะมากที่สุดในการยึด
ครองจักรวรรดิแปซิฟิก ทั้งนี้อาจเนื่องมาจากอาณานิคมของตะวันตกไม่ตกสู้กับญี่ปุ่นเพื่อชาวยุโรป ซึ่ง
ผิดกับญี่ปุ่นที่ถือประโยชน์จากคาขวัญที่ว่า “เอเชียเพื่อชาวเอเชีย”
สาเหตุที่ทาให้สหรัฐฯ เข้าร่วมสงครามโลกครั้งที่ 2 เพราะญี่ปุ่นเข้าโจมตีอ่าวเพิร์ลฮาร์เบอร์ซึ่งเป็นฐาน
ทัพเรือของสหรัฐในวันที่ 7 ธันวาคม ปี 1941 เยอรมันยอมแพ้ฝ่ายสัมพันธมิตรเมื่อวันที่ 2 พฤษภาคม
ปี 1945 ส่วนญี่ปุ่นยอมแพ้เพราะโดนสหรัฐฯ ส่งเครื่องบินมาทิ้งระเบิดปรมาณูที่เมืองฮิโรชิมาและเมือง
นางาซากิ ญี่ปุ่นจึงประกาศยอมแพ้ในวันที่ 4 สิงหาคม ปี 1945
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
1.ตามข้อตกลงปอตสดัม ทาให้เยอรมันถูกแบ่งออกเป็น 4 เขต และถูกยึดครองจากกลุ่มประเทศที่
แบ่งเป็น 2 ฝ่าย คือ สหรัฐฯ อังกฤษ และฝรั่งเศส ฝ่ายหนึ่ง และรัสเซีย อีกฝ่ายหนึ่ง
2.ความขัดแย้งเรื่องผลประโยชน์ของรัสเซียกับสหรัฐฯ ส่งผลให้เยอรมันถูกแบ่งออกเป็น 2 ส่วนคือ
เยอรมันตะวันตก และเยอรมันตะวันออก 3.สหรัฐฯได้เข้าปกครองญี่ปุ่นเป็นเวลานานถึง 6 ปี
3.การรบกันในยุโรปเป็นส่วนใหญ่เช่นกัน แต่เริ่มมีการรบขยายวงกว้างมาในทวีปอื่นคือทวีปเอเซียโดย
การร่วมมือการแบ่ง เป็นพรรคเป็นพวกเยอรมัน โดย นาซี และอิตาลี โดยฟาสซิสต์ เป็นผู้นารบในยุโรป
ญี่ปุ่นเป็นผู้นารบในทวีปเอเซียและมีการรบเพื่อจุดประสงค์รวมประเทศและ ขยายดินแดนทาให้ต้อง
เข้าไปเก็บโดย ฟาสซิส พลเรือน มีการทาสงครามจิตวิทยา เพื่อหาพรรคพวกร่วมสงครามนับเป็น
สงครามมีมนุษย์พัฒนาการต่อสู้ที่รุกรานไปทั่วโลก เกือบทุกหนแห่งโดยการใช้อาวุธที่สามารถยิงจากที่
หนึ่งไปอีกที่หนึ่งได้ทาให้สมรภูมิรบ เปลี่ยนจากที่ราบเป็นทุกที่ไม่ว่าจะในหรือนอกเมืองหลวง สงคราม
ครั้งนี้ทาให้ มีประชากรโลกเสียชีวิตมากเป็นประวัติการณ์ถึง 50 ล้านคน เกือบ 3 เท่าของ สงครามโลก
ครั้งที่ 1 โดยแบ่งผู้สูญเสียออกเป็น ทหาร 50 % พลเรือน 50% เรียกได้ว่าครึ่งต่อครึ่งเลย โดยผู้ที่
เสียชีวิตส่วนใหญ่ก็เป็นชาวยิวอย่างไรก็ตาม สถิติที่นักคิดได้รวบรวมไว้กล่าวว่าสงครามและการต่อสู้จะ
รุนแรงขึ้นและ เสียชีวิตมนุษย์มากขึ้นเพราะอาวุธที่ทาลายล้างรุนแรงและมีอานาจทาลาย กว้างขวาง
แม้แต่อัลเบริด์ไอซ์ไตล ผู้เป็นต้นคิดระเบิดปรมาณูด้วยสูตรสั้นๆอย่าง E=MC2 บอกว่าพลังที่เพิ่มขึ้นนั้น
จะมากมายมหาศาสถ้ามีมวลที่เพิ่มความเร็ว ในการเคลื่อนที่เป็นสองเท่าพลังงานนั้นก็จะให้พลังเพิ่มขึ้น
อย่างมาก จากการแตกตัวของอะตอมที่มีการแตกตัวด้วยความเร็วสูงและจะปลดปล่อย พลังงานที่
เพิ่มขึ้นมากดังนั้นปรมาณูสองลูกจึงถูกปล่อยลงที่ประเทศญี่ปุ่น คือ เมื่อ ฮิโรชิม่า กับเมื่อนางาซากิ
สงครามโลกครั้งที่ 2ก็จบลง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
วิชา เหตุการณ์ปัจจุบัน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ย้อนอดีต มองปัจจุบัน สร้างสรรค์อนาคต เวลาทั้งหมด 6 ชั่วโมง
เรื่อง สถานการณ์โลกหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 เวลาที่ใช้สอน 1 ชั่วโมง
วันที.่ ....เดือน.............................พ.ศ. ............ ม.6/1 ภาคเรียนที่ 2/.....
ครูผู้สอนชื่อ..............................โรงเรียนบ้านพิณโท
..................................................................................................................................................................
มาตรฐานการเรียนรู/้ ตัวชี้วัด
ส 4.2 เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปัจจุบัน ในด้านความสัมพันธ์และ
การเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์อย่างต่อเนื่อง ตระหนักถึงความสาคัญและสามารถ วิเคราะห์ผลกระทบ
ที่เกิดขึ้น
ตัวชี้วัด
ม.4-6/2 วิเคราะห์เหตุการณ์สาคัญต่างๆที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงทางสังคม เศรษฐกิจและการเมือง
เข้าสู่โลกสมัยปัจจุบัน
จุดประสงค์การเรียนรู้สู่ตัวชี้วัด
1. อธิบายเกี่ยวกับสงครามโลกครั้งที่ 2 (K)
2. เขียนสรุปสถานการณ์หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 (P)
3. อธิบายสถานการณ์หลังสงครามโลกครั้งที่ 2มีผลกระทบจากอดีตจนถึงปัจจุบัน (A)
สาระสาคัญ
ศึกษาวิเคราะห์สภาพปัจจุบัน ปัญหา ความขัดแย้งและภูมิหลังทางประวัติศาสตร์ของกรณีตัวอย่าง
เหตุการณ์สาคัญที่เกิดขึ้นในสังคมไทยและภูมิภาคต่างๆ ของโลกทางด้านการเมือง การทหาร เศรษฐกิจ
สังคม วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อม ความสัมพันธ์เชื่อมโยงของเหตุการณ์และผลกระทบในระดับ
ท้องถิ่น ระดับประเทศ และระดับนานาชาติ ลักษณะสาคัญของสังคมโลกยุคโลกาภิวัตน์ที่ส่งผล
กระทบทั้งด้านบวกและลบต่อสังคมไทยและสังคมโลก
โดยใช้กระบวนการ สร้างความรูค้ วามเข้าใจ สร้างความตระหนัก คิดอย่างมีวิจารณญาณ
การสืบค้นและสร้างองค์ความรู้ กระบวนการกลุ่ม และการเสริมสร้างคุณลักษณะที่พึงประสงค์
เพือ่ ให้เกิดความรู้ ความเข้าใจและความตระหนักในสภาพปัจจุบนั ปัญหา ความขัดแย้งและ
ภูมิหลังทางประวัติศาสตร์ เหตุการณ์สาคัญที่เกิดขึ้นในสังคมไทยและภูมิภาคต่างๆ ของโลก สังคมโลก
ยุคโลกาภิวัตน์
สาระการเรียนรู้
- สถานการณ์โลกหลังสงครามโลกครั้งที่ 2
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
ใฝ่เรียนรู้
ตัวชี้วัดที่ 4.2 แสวงหาความรู้จากแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ ทั้งภายในและภายนอกโรงเรียนด้วยการเลือกใช้
สื่ออย่างเหมาะสม บันทึกความรู้ วิเคราะห์ สรุปเป็นองค์ความรู้ สามารถนาไปใช้ในชีวิตประจาวันได้
สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
ความสามารถในการคิด
ชิ้นงานหรือภาระงาน (หลักฐาน ร่องรอยแสดงความรู้)
แผนภาพสรุปเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นหลังสงครามโลกครั้งที่ 2
คาถามท้าทาย
หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 สิ้นสุดลงนักเรียนคิดว่ามีผลกระทบกับนักเรียนอย่างไร
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้
1. ครูนาเสนอความรู้เกี่ยวกับสงครามโลกครั้งที่ 2 ด้วยสื่อประเภทต่าง ๆ ที่มีอยู่ใกล้ตัวในประเด็น
ต่อไปนี้
- ผลกระทบภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 สิ้นสุดลง
2. ให้นักเรียนตั้งคาถามที่ต้องการทราบเกี่ยวกับสาเหตุของสงครามโลกครั้งที่ 2
3. ให้นักเรียนศึกษาหาความรู้เบื้องต้นจากหนังสือเรียน เอกสารประกอบการค้นคว้า นิตยสาร
ต่าง ๆ ตามประเด็นที่ครูและนักเรียนร่วมกันกาหนด และสรุปความรู้เป็นแผนภาพ
5. ครูมอบหมายงานให้นักเรียนไปศึกษาสืบค้นเกี่ยวกับสาเหตุของสงครามโลกครั้งที่ 2 ในรูปแบบการ
สัมภาษณ์ หรือการนาเสนอการทาโครงงานเรื่องที่สนใจ เพื่อเป็นข้อมูลจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
ชั่วโมงถัดไป
6. ให้นักเรียนร่วมกันสรุป
7. ให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็น โดยครูใช้คาถามท้าทาย
การจัดบรรยากาศเชิงบวก
ให้นักเรียนตั้งคาถามเพื่อแลกเปลี่ยนความรู้ สืบค้นข้อมูลจากนิตยสาร และสรุปความรู้เป็นแผนภาพ
สื่อการเรียนรู้
Internet
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
1. วิธีการวัดและประเมินผล
สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในการเข้าร่วมกิจกรรม
2. เครื่องมือ
แบบสังเกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรม
3. เกณฑ์การประเมิน
การประเมินพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรม
ผ่านตั้งแต่ 2 รายการ ถือว่า ผ่าน
ผ่าน 1 รายการ ถือว่า ไม่ผ่าน
ใบความรู้

สงครามโลกครั้งที่ 2
นับตั้งแต่สงครามโลกครั้งที่ 1 และครั้งที่ 2 และจากสถิตินับตั้งแต่ศตวรรษ ที่ 20 เป็นต้นมาปรากฏว่า
มนุษย์โลกเราได้ทาสงครามที่สามารถบันทึกไว้เป็น ประวัติศาสตร์ถึงประมาณ 150 ครั้ง และมี
ผู้เสียชีวิตทั้งหมดแล้วประมาณ 100 ล้านคน สงครามโลกนั้นทาลายชีวิต และทรัพย์สินของผู้คนบนโลก
มากมายและตั้งแต่โลกเริ่มมีอารยธรรมเจริญ อย่างมากมาย มนุษย์ต้องผ่านการทาลายตัวเองมาแล้วถึง
2 หนโดยแบ่งความ เสียหายได้ดังนี้
สงครามโลกครั้งที่ 1โดยนโปเลียน สงครามโลกครั้งที่ 1 นี้เกิดสงครามเน้นเฉพาะไปที่ยุโรปเป็นส่วนใหญ่
มีประชากรโลกเสียชีวิตไป19 ล้านคน โดยแบ่งออกได้เป็นทหาร 95 % และพลเรือน 5 % เพราะเป็น
การรบด้วยการใช้กองกาลังทหารราบเข้าประชิดและต่อสู้กัน แบบพื้นราบเป็นส่วนใหญ่ซึ่งก็จะรบกัน
ตามสมรภูมิรบต่างๆที่เป็นทุ่งกว้าง ประชาชนพลเรือนจึงได้รับความเดือดร้อนและเสียชีวิตน้อย
สาเหตุของสงครามโลกครั้งที่ 2
1.ความไม่เป็นธรรมของสนธิสัญญาแวร์ซายส์
2.เกิดภาวะเศรษฐกิจตกต่าทั่วโลกในปี ค.ศ.1929-1931
3.ความอ่อนแอขององค์การสันนิบาตชาติ เพราะสหรัฐฯ และรัสเซียไม่ได้เป็นสมาชิก
เหตุการณ์ที่นาไปสู่สงครามโลกครั้งที่ 2
1.ญี่ปุ่นรุกรานแมนจูเรีย แล้วตั้งเป็นรัฐแมนจูกัว เพื่อเป็นแหล่งอุตสาหกรรมและแหล่งทาทุนใหม่
สาหรับตลาดการค้าของญี่ปุ่น
2.การเพิ่มกาลังอาวุธของเยอรมัน
3.กรณีพิพาทระหว่างอิตาลีกับอังกฤษ ในกรณีที่อิตาลีบุกเอธิโอเปีย
4.เยอรมนีเข้าครอบครองแคว้นไรน์ ซึ่งเป็นการละเมิดสนธิสัญญาแวร์ซายส์ และสนธิสัญญาโลคาร์โน -
สงครามกลางเมืองในสเปน -เยอรมันผนวกออสเตรีย
5.เยอรมันเข้ายึดครองเชคโกสโลวะเกีย สงครามโลกครั้งที่ 2 เกิดขึ้นเมื่อ ปี ค.ศ. 1939 เมื่อฮิตเลอร์
(เยอรมัน) โจมตีโปแลนด์ อังกฤษและฝรั่งเศส ซึ่งปกป้องโปแลดน์อยู่จึงต้องทาสงครามกับเยอรมัน
6.ในปี ค.ศ. 1942 ฝ่ายอักษะ (ญี่ปุ่น เยอรมัน อิตาลี) ได้บุกยึดยุทธภูมิสาคัญคือ รัสเซีย แอฟริกาเหนือ
และแปซิฟิก ซึ่งก็ประสบความสาเร็จเกือบทุกแห่ง โดยเฉพาะญี่ปุ่นซึ่งได้รับชัยชนะมากที่สุดในการยึด
ครองจักรวรรดิแปซิฟิก ทั้งนี้อาจเนื่องมาจากอาณานิคมของตะวันตกไม่ตกสู้กับญี่ปุ่นเพื่อชาวยุโรป ซึ่ง
ผิดกับญี่ปุ่นที่ถือประโยชน์จากคาขวัญที่ว่า “เอเชียเพื่อชาวเอเชีย”
สาเหตุที่ทาให้สหรัฐฯ เข้าร่วมสงครามโลกครั้งที่ 2 เพราะญี่ปุ่นเข้าโจมตีอ่าวเพิร์ลฮาร์เบอร์ซึ่งเป็นฐาน
ทัพเรือของสหรัฐในวันที่ 7 ธันวาคม ปี 1941 เยอรมันยอมแพ้ฝ่ายสัมพันธมิตรเมื่อวันที่ 2 พฤษภาคม
ปี 1945 ส่วนญี่ปุ่นยอมแพ้เพราะโดนสหรัฐฯ ส่งเครื่องบินมาทิ้งระเบิดปรมาณูที่เมืองฮิโรชิมาและเมือง
นางาซากิ ญี่ปุ่นจึงประกาศยอมแพ้ในวันที่ 4 สิงหาคม ปี 1945
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
1.ตามข้อตกลงปอตสดัม ทาให้เยอรมันถูกแบ่งออกเป็น 4 เขต และถูกยึดครองจากกลุ่มประเทศที่
แบ่งเป็น 2 ฝ่าย คือ สหรัฐฯ อังกฤษ และฝรั่งเศส ฝ่ายหนึ่ง และรัสเซีย อีกฝ่ายหนึ่ง
2.ความขัดแย้งเรื่องผลประโยชน์ของรัสเซียกับสหรัฐฯ ส่งผลให้เยอรมันถูกแบ่งออกเป็น 2 ส่วนคือ
เยอรมันตะวันตก และเยอรมันตะวันออก 3.สหรัฐฯได้เข้าปกครองญี่ปุ่นเป็นเวลานานถึง 6 ปี
3.การรบกันในยุโรปเป็นส่วนใหญ่เช่นกัน แต่เริ่มมีการรบขยายวงกว้างมาในทวีปอื่นคือทวีปเอเซียโดย
การร่วมมือการแบ่ง เป็นพรรคเป็นพวกเยอรมัน โดย นาซี และอิตาลี โดยฟาสซิสต์ เป็นผู้นารบในยุโรป
ญี่ปุ่นเป็นผู้นารบในทวีปเอเซียและมีการรบเพื่อจุดประสงค์รวมประเทศและ ขยายดินแดนทาให้ต้อง
เข้าไปเก็บโดย ฟาสซิส พลเรือน มีการทาสงครามจิตวิทยา เพื่อหาพรรคพวกร่วมสงครามนับเป็น
สงครามมีมนุษย์พัฒนาการต่อสู้ที่รุกรานไปทั่วโลก เกือบทุกหนแห่งโดยการใช้อาวุธที่สามารถยิงจากที่
หนึ่งไปอีกที่หนึ่งได้ทาให้สมรภูมิรบ เปลี่ยนจากที่ราบเป็นทุกที่ไม่ว่าจะในหรือนอกเมืองหลวง สงคราม
ครั้งนี้ทาให้ มีประชากรโลกเสียชีวิตมากเป็นประวัติการณ์ถึง 50 ล้านคน เกือบ 3 เท่าของ สงครามโลก
ครั้งที่ 1 โดยแบ่งผู้สูญเสียออกเป็น ทหาร 50 % พลเรือน 50% เรียกได้ว่าครึ่งต่อครึ่งเลย โดยผู้ที่
เสียชีวิตส่วนใหญ่ก็เป็นชาวยิวอย่างไรก็ตาม สถิติที่นักคิดได้รวบรวมไว้กล่าวว่าสงครามและการต่อสู้จะ
รุนแรงขึ้นและ เสียชีวิตมนุษย์มากขึ้นเพราะอาวุธที่ทาลายล้างรุนแรงและมีอานาจทาลาย กว้างขวาง
แม้แต่อัลเบริด์ไอซ์ไตล ผู้เป็นต้นคิดระเบิดปรมาณูด้วยสูตรสั้นๆอย่าง E=MC2 บอกว่าพลังที่เพิ่มขึ้นนั้น
จะมากมายมหาศาสถ้ามีมวลที่เพิ่มความเร็ว ในการเคลื่อนที่เป็นสองเท่าพลังงานนั้นก็จะให้พลังเพิ่มขึ้น
อย่างมาก จากการแตกตัวของอะตอมที่มีการแตกตัวด้วยความเร็วสูงและจะปลดปล่อย พลังงานที่
เพิ่มขึ้นมากดังนั้นปรมาณูสองลูกจึงถูกปล่อยลงที่ประเทศญี่ปุ่น คือ เมื่อ ฮิโรชิม่า กับเมื่อนางาซากิ
สงครามโลกครั้งที่ 2ก็จบลง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
วิชา เหตุการณ์ปัจจุบัน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ย้อนอดีต มองปัจจุบัน สร้างสรรค์อนาคต เวลาทั้งหมด 6 ชั่วโมง
เรื่อง สงครามเย็น เวลาที่ใช้สอน 1 ชั่วโมง
วันที.่ ....เดือน.............................พ.ศ. ............ ม.6/1 ภาคเรียนที่ 2/.....
ครูผู้สอนชื่อ..............................โรงเรียนบ้านพิณโท
................................................................................................................................................................
มาตรฐานการเรียนรู/้ ตัวชี้วัด
ส 4.2 เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปัจจุบัน ในด้านความสัมพันธ์และ
การเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์อย่างต่อเนื่อง ตระหนักถึงความสาคัญและสามารถ วิเคราะห์ผลกระทบ
ที่เกิดขึ้น
ตัวชี้วัด
ม.4-6/2 วิเคราะห์เหตุการณ์สาคัญต่างๆที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงทางสังคม เศรษฐกิจและการเมือง
เข้าสู่โลกสมัยปัจจุบัน
จุดประสงค์การเรียนรู้สู่ตัวชี้วัด
1. อธิบายเกี่ยวกับสงครามเย็น (K)
2. เขียนสรุปสาเหตุและผลกระทบของสงครามเย็น (P)
3. อธิบายสถานการณ์หลังสงครามเย็นมีผลกระทบจากอดีตจนถึงปัจจุบัน (A)
สาระสาคัญ
ศึกษาวิเคราะห์สภาพปัจจุบัน ปัญหา ความขัดแย้งและภูมิหลังทางประวัติศาสตร์ของกรณีตัวอย่าง
เหตุการณ์สาคัญที่เกิดขึ้นในสังคมไทยและภูมิภาคต่างๆ ของโลกทางด้านการเมือง การทหาร เศรษฐกิจ
สังคม วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อม ความสัมพันธ์เชื่อมโยงของเหตุการณ์และผลกระทบในระดับ
ท้องถิ่น ระดับประเทศ และระดับนานาชาติ ลักษณะสาคัญของสังคมโลกยุคโลกาภิวัตน์ที่ส่งผล
กระทบทั้งด้านบวกและลบต่อสังคมไทยและสังคมโลก
โดยใช้กระบวนการ สร้างความรูค้ วามเข้าใจ สร้างความตระหนัก คิดอย่างมีวิจารณญาณ
การสืบค้นและสร้างองค์ความรู้ กระบวนการกลุ่ม และการเสริมสร้างคุณลักษณะที่พึงประสงค์
เพือ่ ให้เกิดความรู้ ความเข้าใจและความตระหนักในสภาพปัจจุบนั ปัญหา ความขัดแย้งและ
ภูมิหลังทางประวัติศาสตร์ เหตุการณ์สาคัญที่เกิดขึ้นในสังคมไทยและภูมิภาคต่างๆ ของโลก สังคมโลก
ยุคโลกาภิวัตน์
สาระการเรียนรู้
- สงครามเย็น
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
ใฝ่เรียนรู้
ตัวชี้วัดที่ 4.2 แสวงหาความรู้จากแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ ทั้งภายในและภายนอกโรงเรียนด้วยการเลือกใช้
สื่ออย่างเหมาะสม บันทึกความรู้ วิเคราะห์ สรุปเป็นองค์ความรู้ สามารถนาไปใช้ในชีวิตประจาวันได้
สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
ความสามารถในการคิด
ชิ้นงานหรือภาระงาน (หลักฐาน ร่องรอยแสดงความรู้)
แผนภาพสรุปเหตุการณ์สงครามเย็น
คาถามท้าทาย
สาเหตุของสงครามเย็นคืออะไร
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้
1. ครูนาเสนอความรู้เกี่ยวกับสงครามเย็นด้วยสื่อประเภทต่าง ๆ
2. ให้นักเรียนตั้งคาถามที่ต้องการทราบเกี่ยวกับสงครามเย็น
3. ให้นักเรียนศึกษาหาความรู้เบื้องต้นจากหนังสือเรียน เอกสารประกอบการค้นคว้า นิตยสาร
ต่าง ๆ ตามประเด็นที่ครูและนักเรียนร่วมกันกาหนด และสรุปความรู้เป็นแผนภาพ
5. ครูมอบหมายงานให้นักเรียนไปศึกษาสืบค้นเกี่ยวกับสาเหตุของสงครามเย็น ในรูปแบบการ
สัมภาษณ์ หรือการนาเสนอการทาโครงงานเรื่องที่สนใจ เพื่อเป็นข้อมูลจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
ชั่วโมงถัดไป
6. ให้นักเรียนร่วมกันสรุป
7. ให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็น โดยครูใช้คาถามท้าทาย
การจัดบรรยากาศเชิงบวก
ให้นักเรียนตั้งคาถามเพื่อแลกเปลี่ยนความรู้ สืบค้นข้อมูลจากนิตยสาร และสรุปความรู้เป็นแผนภาพ
สื่อการเรียนรู้
Internet
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
1. วิธีการวัดและประเมินผล
สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในการเข้าร่วมกิจกรรม
2. เครื่องมือ
แบบสังเกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรม
3. เกณฑ์การประเมิน
การประเมินพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรม
ผ่านตั้งแต่ 2 รายการ ถือว่า ผ่าน
ผ่าน 1 รายการ ถือว่า ไม่ผ่าน
ใบความรู้

ความหมายและรูปแบบสงครามเย็น (COLD WAR)

สงครามเย็นคือลักษณะความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ช่วง ค.ศ.1945-1991 ที่กลุ่มประเทศโลกเสรีและ


กลุ่มประเทศคอมมิวนิสต์ ต่างพยายามต่อสู้โดยวิธีการต่างๆ ยกเว้นการทาสงครามกันโดยเปิดเผย เพื่อ
ขัดขวางการขยายอานาจของกันและกัน
สงครามเย็นมีผลสืบเนื่องมาจากสภาพบอบช้าจากสงครามโลกครั้งที่ 2 ที่ทั้งประเทศผู้ชนะและแพ้
สงคราม ได้สูญเสียชีวิตและทรัพย์สิน ทวีปยุโรปซึ่งเคยเป็นศูนย์กลางทางการเมืองและเศรษฐกิจโลกอยู่
ในสภาพทรุดโทรมอย่างยิ่ง ต้องสูญเสียอานาจและอิทธิพลในสังคมโลกให้กับสหรัฐอเมริกาและสหภาพ
โซเวียต ซึ่งเป็นสองประเทศที่มีฐานะเศรษฐกิจมั่นคงจนเป็นหลักในการบูรณะฟื้นฟูประเทศอื่นๆ
สหรัฐอเมริกาก้าวสู่ความเป็นผู้นาของโลกเสรีประชาธิปไตย ในขณะที่สหภาพโซเวียตมีอานาจและ
อิทธิพลเนื่องมาจากความสาเร็จในการขยายลัทธิคอมมิวนิสต์สู่กลุ่มประเทศยุโรปตะวันออก อยู่ในฐานะ
ประเทศผู้นาของโลกคอมมิวนิสต์ คาว่า อภิมหาอานาจ จึงหมายถึง ความเป็นผู้นาโลกของประเทศทั้ง
สอง ซึ่งแข่งขันกันขยายอานาจและอิทธิพล จนทาให้ความสัมพันธ์ที่มีต่อกันเกิดความตึงเครียดสูง
สาเหตุของสงครามเย็นเกิดจากการแข่งขันกันของประเทศอภิมหาอานาจจากประเสบการณ์ที่ผ่านมาใน
สงครามโลกทั้งสองครั้ง ทาให้สหรัฐอเมริกาเสียหายน้อยกว่าประเทศคู่สงครามในยุโรป ทั้งยังเป็น
ประเทศที่มีความก้าวหน้าทางเศรษฐกิจและเทคโนโลยีสูง และเป็นประเทศแรกที่สามารถผลิตอาวุธ
นิวเคลียร์ในระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 2 จึงมีความรู้สึกว่าตนเป็นตารวจโลกเพื่อพิทักษ์ไว้ซึ่งวิถีทาง
ประชาธิปไตยและเสรีภาพ
ส่วนสหภาพโซเวียตฟื้นตัวจากสงครามโลกครั้งที่ 2 อย่างรวดเร็ว เพราะพื้นที่กว้างใหญ่ มี
ทรัพยากรธรรมชาติมาก สามารถผลิตอาวุธนิวเคลียร์ได้สาเร็จ สหภาพโซเวียตต้องการเป็นผู้นาในการ
ปฏิวัติโลกเพื่อสถาปนาระบบสังคมนิยมคอมมิวนิสต์ตามแนวคิดของมาร์กซ์ขึ้น ดังนั้น ทั้งสอง
อภิมหาอานาจจึงใช้ความช่วยเหลือที่ให้แก่ประเทศต่างๆ เป็นเครื่องมือในการขยายอิทธิพล อานาจ
และอุดมการณ์ของตน เพื่อหาประเทศที่มีอุดมการณ์คล้ายคลึงกันมาเป็นเครื่องถ่วงดุลอานาจกับฝ่าย
ตรงข้าม
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
วิชา เหตุการณ์ปัจจุบัน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ย้อนอดีต มองปัจจุบัน สร้างสรรค์อนาคต เวลาทั้งหมด 6 ชั่วโมง
เรื่อง รูปแบบสงครามเย็น เวลาที่ใช้สอน 1 ชั่วโมง
วันที.่ ....เดือน.............................พ.ศ. ............ ม.6/1 ภาคเรียนที่ 2/2557
ครูผู้สอนชื่อ..............................โรงเรียนบ้านพิณโท
................................................................................................................................................................
มาตรฐานการเรียนรู/้ ตัวชี้วัด
ส 4.2 เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปัจจุบัน ในด้านความสัมพันธ์และ
การเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์อย่างต่อเนื่อง ตระหนักถึงความสาคัญและสามารถ วิเคราะห์ผลกระทบ
ที่เกิดขึ้น
ตัวชี้วัด
ม.4-6/2 วิเคราะห์เหตุการณ์สาคัญต่างๆที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงทางสังคม เศรษฐกิจและการเมือง
เข้าสู่โลกสมัยปัจจุบัน
จุดประสงค์การเรียนรู้สู่ตัวชี้วัด
1. อธิบายเกี่ยวกับสงครามเย็น (K)
2. เขียนสรุปสาเหตุและผลกระทบของสงครามเย็น (P)
3. อธิบายสถานการณ์หลังสงครามเย็นมีผลกระทบจากอดีตจนถึงปัจจุบัน (A)
สาระสาคัญ
ศึกษาวิเคราะห์สภาพปัจจุบัน ปัญหา ความขัดแย้งและภูมิหลังทางประวัติศาสตร์ของกรณีตัวอย่าง
เหตุการณ์สาคัญที่เกิดขึ้นในสังคมไทยและภูมิภาคต่างๆ ของโลกทางด้านการเมือง การทหาร เศรษฐกิจ
สังคม วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อม ความสัมพันธ์เชื่อมโยงของเหตุการณ์และผลกระทบในระดับ
ท้องถิ่น ระดับประเทศ และระดับนานาชาติ ลักษณะสาคัญของสังคมโลกยุคโลกาภิวัตน์ที่ส่งผล
กระทบทั้งด้านบวกและลบต่อสังคมไทยและสังคมโลก
โดยใช้กระบวนการ สร้างความรูค้ วามเข้าใจ สร้างความตระหนัก คิดอย่างมีวิจารณญาณ
การสืบค้นและสร้างองค์ความรู้ กระบวนการกลุ่ม และการเสริมสร้างคุณลักษณะที่พึงประสงค์
เพือ่ ให้เกิดความรู้ ความเข้าใจและความตระหนักในสภาพปัจจุบนั ปัญหา ความขัดแย้งและ
ภูมิหลังทางประวัติศาสตร์ เหตุการณ์สาคัญที่เกิดขึ้นในสังคมไทยและภูมิภาคต่างๆ ของโลก สังคมโลก
ยุคโลกาภิวัตน์
สาระการเรียนรู้
- รูปแบบสงครามเย็น
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
ใฝ่เรียนรู้
ตัวชี้วัดที่ 4.2 แสวงหาความรู้จากแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ ทั้งภายในและภายนอกโรงเรียนด้วยการเลือกใช้
สื่ออย่างเหมาะสม บันทึกความรู้ วิเคราะห์ สรุปเป็นองค์ความรู้ สามารถนาไปใช้ในชีวิตประจาวันได้
สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
ความสามารถในการคิด
ชิ้นงานหรือภาระงาน (หลักฐาน ร่องรอยแสดงความรู้)
แผนภาพสรุปเหตุการณ์สงครามเย็น
คาถามท้าทาย
สาเหตุของสงครามเย็นคืออะไร
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้
1. ครูนาเสนอความรู้เกี่ยวกับสงครามเย็นด้วยสื่อประเภทต่าง ๆ
2. ให้นักเรียนตั้งคาถามที่ต้องการทราบเกี่ยวกับสงครามเย็น
3. ให้นักเรียนศึกษาหาความรู้เบื้องต้นจากหนังสือเรียน เอกสารประกอบการค้นคว้า นิตยสาร
ต่าง ๆ ตามประเด็นที่ครูและนักเรียนร่วมกันกาหนด และสรุปความรู้เป็นแผนภาพ
5. ครูมอบหมายงานให้นักเรียนไปศึกษาสืบค้นเกี่ยวกับสาเหตุของสงครามเย็น ในรูปแบบการ
สัมภาษณ์ หรือการนาเสนอการทาโครงงานเรื่องที่สนใจ เพื่อเป็นข้อมูลจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
ชั่วโมงถัดไป
6. ให้นักเรียนร่วมกันสรุป
7. ให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็น โดยครูใช้คาถามท้าทาย
การจัดบรรยากาศเชิงบวก
ให้นักเรียนตั้งคาถามเพื่อแลกเปลี่ยนความรู้ สืบค้นข้อมูลจากนิตยสาร และสรุปความรู้เป็นแผนภาพ
สื่อการเรียนรู้
Internet
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
1. วิธีการวัดและประเมินผล
สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในการเข้าร่วมกิจกรรม
2. เครื่องมือ
แบบสังเกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรม
3. เกณฑ์การประเมิน
การประเมินพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรม
ผ่านตั้งแต่ 2 รายการ ถือว่า ผ่าน
ผ่าน 1 รายการ ถือว่า ไม่ผ่าน
ใบความรู้

รูปแบบสงครามเย็น
การแข่งขันเพื่อความเป็นใหญ่ในยุคสงครามเย็นนั้นมีหลายรูปแบบ ทั้งสองฝ่ายต่างพยายาม
โฆษณาชวนเชื่อให้เห็นความสาเร็จของอุดมการณ์ทางการเมืองของฝ่ายตน ฝ่ายเสรีประชาธิปไตยเน้น
เรื่องสิทธิเสรีภาพของประชาชน ในขณะที่ฝ่ายคอมมิวนิสต์ชี้ความเสมอภาคของประชาชน เครื่องมือ
โฆษณาชวนเชื่อของแต่ละฝ่ายคือ สานักงานข่าวสารเผยแพร่ข่าวสาร สานักงานวัฒนธรรม โครงการ
แลกเปลี่ยนทางการศึกษา บางครั้งใช้วิธีการทางการเมืองและการฑูตเพื่อแสวงหาพันธมิตรในการเมือง
ระดับประเทศ หรือใช้วิธีการเศรษฐกิจแก่ประเทศพันธมิตรในรูปของเงินช่วยเหลือเงินกู้ระยะยาว เงินกู้
ดอกเบี้ยต่า ในทางตรงกันข้าม อาจใช้มาตรการทางเศรษฐกิจตอบโต้ฝ่ายตรงข้าม เช่น การงด
ความสัมพันธ์ทางการค้า กับบางประเทศ นอกจากนั้นวิธีการทางทหารนับว่าเป็นวิธีการที่ใช้มากที่สุด มี
การสะสมกาลังอาวุธ การให้ความช่วยเหลือแก่ประเทศพันธมิตรด้านกาลังทหาร กาลังอาวุธ จัดส่ง
เจ้าหน้าที่หรือผู้เชี่ยวชาญทางการทหาร ตลอดจนการส่งกองกาลังของตนเข้าไปตั้งมั่นในประเทศ
พันธมิตร จนในที่สุดก็ได้ตั้งองค์การป้องกันร่วมกันในภูมิภาคต่างๆ เช่น องค์การสนธิสัญญา
แอตแลนติกเหนือ (Nato) องค์การสนธิสัญญาเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ (Seato) และกลุ่มกติกาสนธิ
สัญญวอร์ซอ (Warsaw Pact) วิธีการเผยแพร่อิทธิพลวิธีสุดท้าย คือ วิธีการทางวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยี ได้แก่ ความพยายามแสดงออกถึงความสาเร็จทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีขั้นสูง เช่น
การคิดค้นอาวุธ สิ่งประดิษฐ์ต่างๆ รวมทั้งโครงการสารวจอวกาศเพื่อสร้างความศรัทธาแก่ประเทศ
พันธมิตรและสร้างความยาเกรงแก่ประเทศฝ่ายตรงข้าม
หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 เกิดการเผชิญหน้าของสองอภิมหาอานาจในภูมิภาคต่างๆ เริ่มต้นจากปัญหา
ความมั่นคงในยุโรป สหภาพโซเวียตขยายอิทธิพลเข้าไปในยุโรปในระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 2 จนกลุ่ม
ประเทศยุโรปตะวันออกกลายเป็นกลุ่มประเทศคอมมิวนิสต์
สหรัฐอเมริกาดาเนินนโยบายสกัดกั้นลัทธิคอมมิวนิสต์ด้วยการประกาศหลักการทรูแมน ในเดือน
มีนาคม ค.ศ.1947 ซึ่งมีสาระสาคัญว่าสหรัฐอเมริกาจะได้ความช่วยเหลือแก่ประเทศต่างๆ เพื่อธารงไว้
ซึ่งเอกราชและอธิปไตยให้พ้นจากการคุกคามของลัทธิคอมมิวนิสต์ทั้งภายนอกและภายในประเทศ
รัฐสภาอนุมัติเงินและให้ความช่วยเหลือตุรกีและกรีกให้รอดพ้นจากเงื้อมมือลัทธิคอมมิวนิสต์ ในปี
เดียวกันสหภาพโซเวียตได้ตั้งสานักงานข่าวคอมมิวนิสต์ (Cominform) ขึ้นที่กรุงเบลเกรด ทาหน้าที่
เผยแพร่ลัทธิคอมมิวนิสต์และเป็นเครื่องมือของสหภาพโซเวียต เพื่อป้องกันมิให้โลกเสรีเข้าแทรกแซงใน
กลุ่มประเทศยุโรปตะวันออก เป็นการตอบโต้หลักการทรูแมน การประกาศหลักการทรูแมนของ
สหรัฐอเมริกาถือว่าเป็นการเริ่มต้นอย่างแท้จริงของสงครามเย็นระหว่างสองอภิมหาอานาจ
สหรัฐอเมริกาพยายามกอบกู้และฟื้นฟูเศรษฐกิจของยุโรปเป็นเป้าหมายต่อไปโดยการเสนอให้ความ
ช่วยเหลือทางเศรษฐกิจแก่ทุกประเทศในยุโรป ตามแผนการณ์มาร์แชล ซึ่งแผนการนี้มีระยะเวลา 4 ปี
ด้วยงบประมาณ 13,500 ล้านเหรียญดอลล่าร์สหรัฐอเมริกาในรูปของเงินทุน วัตถุดิบ อาหารและ
เครื่องจักรกล ส่วนประเทศในยุโรปตะวันออกถูกสหภาพโซเวียตกดดันให้ปฏิเสธข้อเสนอของอเมริกา
โดยสหภาพโซเวียตและกลุ่มประเทศยุโรปตะวันออกได้ร่วมมือกันจัดตั้งสภาความช่วยเหลือซึ่งกันและ
กันทางเศรษฐกิจหรือโคมีคอน (Comecon)ด้วยเหตุนี้ การฟื้นฟูเศรษฐกิจของยุโรปจึงแยกเป็น 2
แนวทางตั้งแต่นั้นมา
นอกจากนี้สหรัฐอเมริกายังสนับสนุนอย่างเต็มที่ด้านการเมืองการทหารแก่กลุ่มประเทศยุโรป
ตะวันตก ในค.ศ.1949 สหรัฐอเมริกาและแคนาดาร่วมกับกลุ่มประเทศยุโรปตะวันตก 10 ประเทศ
จัดตั้งองค์การสนธิสัญญาแอตแลนติกเหนือหรือนาโต ขึ้น โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อความร่วมมือระหว่าง
ประเทศสมาชิกทั้งด้านการเมือง การทหาร เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม ซึ่งการตั้งนาโตถือว่าเป็น
จุดสาคัญของนโยบายต่างประเทศของสหรัฐอเมริกาในการต่อต้านอิทธิพลของสหภาพโซเวียต โดยใช้
ความร่วมมือทางทหารของกลุ่มประเทศโลกเสรี กฏบัตรขององค์การนาโต กาหนดไว้ว่า หากยุโรป
ตะวันตกถูกรุกราน สหรัฐอเมริกาจะเข้าร่วมสงครามโดยทันทีตามหลักการป้องกันตนเอง ส่วนสหภาพ
โซเวียตก็จาเป็นต้องมีกองทหารไว้ควบคุมเขตอิทธิพลของตน จึงมีการประชุมเพื่อดาเนินการจัดตั้ง
ระบบพันธมิตรทางทหารของกลุ่มประเทศยุโรปตะวันออกขึ้นที่กรุงวอร์ซอ ประเทศโปแลนด์ ก่อให้เกิด
กลุ่มกติกาสนธิสัญญาวอร์ซอ ทาให้สหภาพโซเวียตสามารถมีกองกาลังของตนไว้ในประเทศสมาชิกได้
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
วิชา เหตุการณ์ปัจจุบัน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ย้อนอดีต มองปัจจุบัน สร้างสรรค์อนาคต เวลาทั้งหมด 6 ชั่วโมง
เรื่อง ผลของสงครามเย็น เวลาที่ใช้สอน 1 ชั่วโมง
วันที.่ ....เดือน.............................พ.ศ. ............ ม.6/1 ภาคเรียนที่ 2/.....
ครูผู้สอนชื่อ..............................โรงเรียนบ้านพิณโท
................................................................................................................................................................
มาตรฐานการเรียนรู/้ ตัวชี้วัด
ส 4.2 เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปัจจุบัน ในด้านความสัมพันธ์และ
การเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์อย่างต่อเนื่อง ตระหนักถึงความสาคัญและสามารถ วิเคราะห์ผลกระทบ
ที่เกิดขึ้น
ตัวชี้วัด
ม.4-6/2 วิเคราะห์เหตุการณ์สาคัญต่างๆที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงทางสังคม เศรษฐกิจและการเมือง
เข้าสู่โลกสมัยปัจจุบัน
จุดประสงค์การเรียนรู้สู่ตัวชี้วัด
1. อธิบายเกี่ยวกับสงครามเย็น (K)
2. เขียนสรุปสาเหตุและผลกระทบของสงครามเย็น (P)
3. อธิบายสถานการณ์หลังสงครามเย็นมีผลกระทบจากอดีตจนถึงปัจจุบัน (A)
สาระสาคัญ
ศึกษาวิเคราะห์สภาพปัจจุบัน ปัญหา ความขัดแย้งและภูมิหลังทางประวัติศาสตร์ของกรณีตัวอย่าง
เหตุการณ์สาคัญที่เกิดขึ้นในสังคมไทยและภูมิภาคต่างๆ ของโลกทางด้านการเมือง การทหาร เศรษฐกิจ
สังคม วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อม ความสัมพันธ์เชื่อมโยงของเหตุการณ์และผลกระทบในระดับ
ท้องถิ่น ระดับประเทศ และระดับนานาชาติ ลักษณะสาคัญของสังคมโลกยุคโลกาภิวัตน์ที่ส่งผล
กระทบทั้งด้านบวกและลบต่อสังคมไทยและสังคมโลก
โดยใช้กระบวนการ สร้างความรูค้ วามเข้าใจ สร้างความตระหนัก คิดอย่างมีวิจารณญาณ
การสืบค้นและสร้างองค์ความรู้ กระบวนการกลุ่ม และการเสริมสร้างคุณลักษณะที่พึงประสงค์
เพือ่ ให้เกิดความรู้ ความเข้าใจและความตระหนักในสภาพปัจจุบนั ปัญหา ความขัดแย้งและ
ภูมิหลังทางประวัติศาสตร์ เหตุการณ์สาคัญที่เกิดขึ้นในสังคมไทยและภูมิภาคต่างๆ ของโลก สังคมโลก
ยุคโลกาภิวัตน์
สาระการเรียนรู้
- ผลของสงครามเย็น
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
ใฝ่เรียนรู้
ตัวชี้วัดที่ 4.2 แสวงหาความรู้จากแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ ทั้งภายในและภายนอกโรงเรียนด้วยการเลือกใช้
สื่ออย่างเหมาะสม บันทึกความรู้ วิเคราะห์ สรุปเป็นองค์ความรู้ สามารถนาไปใช้ในชีวิตประจาวันได้
สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
ความสามารถในการคิด
ชิ้นงานหรือภาระงาน (หลักฐาน ร่องรอยแสดงความรู้)
แผนภาพสรุปเหตุการณ์สงครามเย็น
คาถามท้าทาย
สาเหตุของสงครามเย็นคืออะไร
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้
1. ครูนาเสนอความรู้เกี่ยวกับสงครามเย็นด้วยสื่อประเภทต่าง ๆ
2. ให้นักเรียนตั้งคาถามที่ต้องการทราบเกี่ยวกับสงครามเย็น
3. ให้นักเรียนศึกษาหาความรู้เบื้องต้นจากหนังสือเรียน เอกสารประกอบการค้นคว้า นิตยสาร
ต่าง ๆ ตามประเด็นที่ครูและนักเรียนร่วมกันกาหนด และสรุปความรู้เป็นแผนภาพ
5. ครูมอบหมายงานให้นักเรียนไปศึกษาสืบค้นเกี่ยวกับสาเหตุของสงครามเย็น ในรูปแบบการ
สัมภาษณ์ หรือการนาเสนอการทาโครงงานเรื่องที่สนใจ เพื่อเป็นข้อมูลจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
ชั่วโมงถัดไป
6. ให้นักเรียนร่วมกันสรุป
7. ให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็น โดยครูใช้คาถามท้าทาย
การจัดบรรยากาศเชิงบวก
ให้นักเรียนตั้งคาถามเพื่อแลกเปลี่ยนความรู้ สืบค้นข้อมูลจากนิตยสาร และสรุปความรู้เป็นแผนภาพ
สื่อการเรียนรู้
Internet
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
1. วิธีการวัดและประเมินผล
สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในการเข้าร่วมกิจกรรม
2. เครื่องมือ
แบบสังเกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรม
3. เกณฑ์การประเมิน
การประเมินพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรม
ผ่านตั้งแต่ 2 รายการ ถือว่า ผ่าน
ผ่าน 1 รายการ ถือว่า ไม่ผ่าน
ใบความรู้

ผลของสงครามเย็น
นอกจากทวีปยุโรปแล้ว สองอภิมหาอานาจยังแข่งขันกันในภูมิภาคต่างๆ ส่งผลให้สงครามเย็น
เพิ่มความตึงเครียด ทวีปเอเซียเป็นอีกเวทีหนึ่งของสงครามเย็น ในแถบตะวันออกไกล จีนเป็นดินแดนที่
ลัทธิคอมมิวนิสต์ที่ประสบความสาเร็จที่สุด เมื่อจีนคอมมิวนิสต์นาโดยเหมาเจ๋อตุง เป็นฝ่ายมีชัยชนะใน
สงครามกลางเมือง ยึดครองแผ่นดินใหญ่ของจีนได้ รัฐบาลจีนคณะชาติซึ่งเป็นฝ่ายโลกเสรีและได้รับ
ความสนับสนุนอย่างเต็มที่จากสหรัฐอเมริกา ต้องหนีไปตั้งรัฐบาลที่เกาะฟอร์โมซา ชัยชนะของจีน
คอมมิวนิสต์มีผลกระทบต่อดุลอานาจทางการเมืองระหว่างประเทศ ถือเป็นการพ่ายแพ้ที่สาคัญของ
สหรัฐอเมริกาและเป็นการเสียดุลอานาจครั้งสาคัญของโลกเสรี สหภาพโซเวียตและจีนเป็นสองประเทศ
คอมมิวนิสต์ที่มีอาณาเขตกว้างใหญ่ มีทรัพยากรมาก และมีจานวนประชากรมหาศาล ความสัมพันธ์
ระหว่างสหรัฐอเมริกาและจีนจึงตึงเครียดมานับตั้งแต่นั้น
ความขัดแย้งของสงครามเย็นส่งผลให้ประเทศเกาหลีถูกแบ่งออกเป็น 2 ประเทศ ที่มี
อุดมการณ์ต่างกัน กองทัพของประเทศเกาหลีเหนือซึ่งปกครองในระบอบคอมมิวนิสต์ได้ยกข้ามเส้น
ขนานที่ 38 องศาเหนือเข้ารุกรานประเทศเกาหลีใต้อย่างฉับพลัน สหประชาติจึงมีมติให้สหรัฐอเมริกา
และกองกาลังทหารของสหประชาชาติจาก 18 ประเทศสมาชิกเข้าช่วยเกาหลีใต้จากการรุกรานครั้งนี้
จีนส่งกองทัพช่วยเกาหลีเหนือ ก่อให้เกิดการเผชิญหน้ากันจนกระทั่ง ค.ศ.1953 จึงมีการทาสนธิสัญญา
สงบศึก สงครามเกาหลีก่อให้เกิดความตื่นตัวต่อการขยายอิทธิพของลัทธิคอมมิวนิสต์ในเอเซีย
สหรัฐอเมริกาเห็นความจาเป็นของการต่อต้านลัทธิคอมมิวนิสต์ในเอเซียอย่างจริงจัง สาหรับประเทศ
ญี่ปุ่น ลัทธิคอมมิวนิสต์ประสบความสาเร็จในวงแคบ เสถียรภาพทางการเมือง ความก้าวหน้าทาง
เศรษฐกิจและมาตรฐานสังคมในระดับสูงของประเทศญี่ปุ่น อันเป็นผลงานส่วนหนึ่งของสหรัฐอเมริกา
ส่งผลให้ประเทศญี่ปุ่นเป็นกาลังสาคัญของโลกเสรีในทวีปเอเซีย
การขยายตัวของลัทธิคอมมิวนิสต์ในภูมิภาคเอเซียตะวันออกเฉียงใต้เริ่มจากอินโดจีน คือ
ประเทศเวียดนาม เขมร และลาว ซึ่งได้รับอิทธิพลจากประเทศฝรั่งเศส เวียดนามถูกแบ่งออกเป็น 2
ส่วน โดยใช้เส้นขนานที่ 17 องศาเหนือเป็นเขตแบ่งชั่วคราว เวียดนามเหนืออยู่ใต้การปกครองของลัทธิ
คอมมิวนิสต์ มีโฮจิมินห์เป็นผู้นา เวียดนามใต้ปกครองระบอบประชาธิปไตย มีโงดินห์เดียมเป็นผู้นา โดย
ให้มีการเลือกตั้งทั่วไปในเวลา 1 ปี เพื่อรวมเวียดนามเป็นประเทศเดียวกัน แต่การเลือกตั้งก็ไม่ได้เกิดขึ้น
เพราะเกิดการสู้รบระหว่างเวียดนามเหนือและเวียดนามใต้
การขยายตัวของลัทธิคอมมิวนิสต์เข้ามาในอินโดจีน ทาให้สหรัฐอเมริกานานโยบายล้อมกรอบ
การขยายตัวของลัทธิคอมมิวนิสต์มาใช้ในเอเซียด้วย นายจอห์น ฟอสเตอร์ ดัลเลส รัฐมนตรี
ต่างประเทศของสหรัฐอเมริกาขณะนั้นประกาศอย่างแข็งขันว่าจะไม่ยอมให้ลัทธิคอมมิวนิสต์ขยายตัว
ต่อไป โดยเชื่อมั่นในทฤษฏีโดมิโนว่า ถ้าประเทศใดในเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ตกอยู่ภายใต้อิทธิพลของ
คอมมิวนิสต์แล้ว ประเทศใกล้เคียงอื่นๆ ก็จะพลอยเป็นคอมมิวนิสต์ไปด้วย ในวันที่ 8 กันยายน ค.ศ.
1954 จึงได้มีการสนธิสัญญาที่กรุงมะนิลาเพื่อจัดตั้งองค์การสนธิสัญญาเอเซียตะวันออกเฉียงใต้
(Seato) ประกอบด้วย 8 ประเทศ ได้แก่ สหรัฐอเมริกา ไทย ฟิลิปปินส์ ปากีสถาน สหราชอาณาจักร
ฝรั่งเศส ออสเตรเลียและนิวซีแลนด์ ด้วยวัตถุประสงค์ทานองเดียวกับนาโต
ในตะวันออกลาง หรือเอเซียตะวันตกเฉียงใต้ เป็นภูมิภาคที่มีความขัดแย้งระหว่างกลุ่ม
ประเทศอาหรับด้วยกันเอง และระหว่างกลุ่มประเทศอาหรับกับประเทศอิสราเอล สหภาพโซเวียตฉวย
โอกาสขยายอิทธิพลของตนด้วยวิธีารต่างๆ เช่น เสนอให้ความช่วยเหลือทางเศรษฐกิจและการทหารแก่
ประเทศอิยิปต์ ในการปฏิรูปประเทศในสมัยประธานาธิบดีนัสเซอร์ด้วยการให้เงินสร้างเขื่อนอัสวาน
อืยิปต์เป็นผู้นาของกลุ่มประเทศอาหรับที่สหภาพโซเวียตต้องการส่งเสริมอิทธิพลของลัทธิคอมมิวนิสต์
ให้แพร่หลายในภูมิภาคตะวันออกลาง ฝ่ายโลกเสรีจึงหาทางสกัดกั้นด้วยการจัดตั้งองค์การสนธิสัญญา
เซ็นโต หรือองค์การสนธิสัญญากลาง (Central Treaty Organization:CENTO) ซึ่งมีสมาชิก 5
ประเทศ คือ สหราชอาณาจักร ตุรกี อิรัก อิหร่าน และปากีสถาน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อป้องกันการ
แทรกแซงและขยายอานาจของลัทธิคอมมิวนิสต์ในภูมิภาคนี้
ส่วนในทวีปแอฟริกา หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ประเทศต่างๆ ได้รับเอกราช โดยส่วนใหญ่ยังไม่
พร้อมที่จะปกครองตนเอง เช่น คองโก จึงเกิดการจลาจลแย่งอานาจระหว่างชนเผ่าต่างๆ คณะมนตรี
ความมั่นคงของสหประชาชาติเกรงว่าความวุ่นวายนี้จะเป็นภัยต่อสันติภาพของโลก จึงมีมติให้ส่งกอง
กาลังของสหประชาชาติเข้าไปรักษาความสงบเรียบร้อยในคองโก สหภาพโซเวียตและสาธารณรัฐ
ประชาชนจีนให้ความช่วยเหลือแก่ประธานาธิบดีลูมุมบาของคองโก และนายครุฟเซฟผู้นาสหภาพโซ
เวียตประนามการแทรกแซงสหประชาชาติ ส่วนสาธารณรัฐประชาชนจีนได้ขยายอิทธิพลเข้าไปใน
แทนซาเนียด้วยการช่วยเหลือในการสร้างทางรถไฟยาว 1,000 ไมล์ ในขณะที่สหราชอาณาจักรและ
ฝรั่งเศสได้พยายามรักษาอิทธิพลในแอฟริกา โดยเฉพาะกับประเทศอดีตอาณานิคมของตน
กล่าวโดยสรุป แม้สงครามเย็นตั้งแต่ ค.ศ.1945 จะไม่ลุกลามกลายเป็นสงครามอย่างเปิดเผย
แต่ก็นาไปสู่ความขัดแย้งระดับวิกฤตการณ์ทางการเมืองจนกลายเป็นสงครามระดับภูมิภาคขึ้นในหลาย
แห่งของโลก
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
วิชา เหตุการณ์ปัจจุบัน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ย้อนอดีต มองปัจจุบัน สร้างสรรค์อนาคต เวลาทั้งหมด 6 ชั่วโมง
เรื่อง องค์การสหประชาชาติ เวลาที่ใช้สอน 1 ชั่วโมง
วันที.่ ....เดือน.............................พ.ศ. ............ ม.6/1 ภาคเรียนที่ 2/.....
ครูผู้สอนชื่อ..............................โรงเรียนบ้านพิณโท
................................................................................................................................................................
มาตรฐานการเรียนรู/้ ตัวชี้วัด
ส 4.2 เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปัจจุบัน ในด้านความสัมพันธ์และ
การเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์อย่างต่อเนื่อง ตระหนักถึงความสาคัญและสามารถ วิเคราะห์ผลกระทบ
ที่เกิดขึ้น
ตัวชี้วัด
ม.4-6/2 วิเคราะห์เหตุการณ์สาคัญต่างๆที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงทางสังคม เศรษฐกิจและการเมือง
เข้าสู่โลกสมัยปัจจุบัน
จุดประสงค์การเรียนรู้สู่ตัวชี้วัด
1. อธิบายเกี่ยวกับองค์การสหประชาชาติ(K)
2. เขียนสรุปสาเหตุและผลกระทบของสงครามเย็น (P)
3. อธิบายสถานการณ์หลังสงครามเย็นมีผลกระทบจากอดีตจนถึงปัจจุบัน (A)
สาระสาคัญ
ศึกษาวิเคราะห์สภาพปัจจุบัน ปัญหา ความขัดแย้งและภูมิหลังทางประวัติศาสตร์ของกรณีตัวอย่าง
เหตุการณ์สาคัญที่เกิดขึ้นในสังคมไทยและภูมิภาคต่างๆ ของโลกทางด้านการเมือง การทหาร เศรษฐกิจ
สังคม วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อม ความสัมพันธ์เชื่อมโยงของเหตุการณ์และผลกระทบในระดับ
ท้องถิ่น ระดับประเทศ และระดับนานาชาติ ลักษณะสาคัญของสังคมโลกยุคโลกาภิวัตน์ที่ส่งผล
กระทบทั้งด้านบวกและลบต่อสังคมไทยและสังคมโลก
โดยใช้กระบวนการ สร้างความรูค้ วามเข้าใจ สร้างความตระหนัก คิดอย่างมีวิจารณญาณ
การสืบค้นและสร้างองค์ความรู้ กระบวนการกลุ่ม และการเสริมสร้างคุณลักษณะที่พึงประสงค์
เพือ่ ให้เกิดความรู้ ความเข้าใจและความตระหนักในสภาพปัจจุบนั ปัญหา ความขัดแย้งและ
ภูมิหลังทางประวัติศาสตร์ เหตุการณ์สาคัญที่เกิดขึ้นในสังคมไทยและภูมิภาคต่างๆ ของโลก สังคมโลก
ยุคโลกาภิวัตน์
สาระการเรียนรู้
- ผลของความร่วมมือขององค์การสหประชาชาติ
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
ใฝ่เรียนรู้
สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
ความสามารถในการคิด
ชิ้นงานหรือภาระงาน (หลักฐาน ร่องรอยแสดงความรู้)
แผนภาพสรุปองค์การสหประชาชาติ
คาถามท้าทาย
สาเหตุของความร่วมมือขององค์การสหประชาชาติ คืออะไร
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้
1. ครูนาเสนอความรู้เกี่ยวกับองค์การสหประชาชาติ ด้วยสื่อประเภทต่าง ๆ
2. ให้นักเรียนตั้งคาถามที่ต้องการทราบเกี่ยวกับ องค์การสหประชาชาติ
3. ให้นักเรียนศึกษาหาความรู้เบื้องต้นจากหนังสือเรียน เอกสารประกอบการค้นคว้า นิตยสาร
ต่าง ๆ ตามประเด็นที่ครูและนักเรียนร่วมกันกาหนด และสรุปความรู้เป็นแผนภาพ
5. ครูมอบหมายงานให้นักเรียนไปศึกษาสืบค้นเกี่ยวกับสาเหตุขององค์การสหประชาชาติ ใน
รูปแบบการสัมภาษณ์ หรือการนาเสนอการทาโครงงานเรื่องที่สนใจ เพื่อเป็นข้อมูลจัดกิจกรรมการเรียน
การสอนชั่วโมงถัดไป
6. ให้นักเรียนร่วมกันสรุป
7. ให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็น โดยครูใช้คาถามท้าทาย
การจัดบรรยากาศเชิงบวก
ให้นักเรียนตั้งคาถามเพื่อแลกเปลี่ยนความรู้ สืบค้นข้อมูลจากนิตยสาร และสรุปความรู้เป็นแผนภาพ
สื่อการเรียนรู้
Internet
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
1. วิธีการวัดและประเมินผล
สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในการเข้าร่วมกิจกรรม
2. เครื่องมือ
แบบสังเกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรม
3. เกณฑ์การประเมิน
การประเมินพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรม
ผ่านตั้งแต่ 2 รายการ ถือว่า ผ่าน
ผ่าน 1 รายการ ถือว่า ไม่ผ่าน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
วิชา เหตุการณ์ปัจจุบัน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 สถานการณ์ไทย เวลาทัง้ หมด 7 ชั่วโมง
เรื่อง การปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 เวลาที่ใช้สอน 1 ชั่วโมง
วันที.่ ....เดือน.............................พ.ศ. ............ ม.6/1 ภาคเรียนที่ 2/.....
ครูผู้สอนชื่อ..............................โรงเรียนบ้านพิณโท
................................................................................................................................................................
มาตรฐานการเรียนรู/้ ตัวชี้วัด
ส 4.2 เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปัจจุบัน ในด้านความสัมพันธ์และ
การเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์อย่างต่อเนื่อง ตระหนักถึงความสาคัญและสามารถ วิเคราะห์ผลกระทบ
ที่เกิดขึ้น
ตัวชี้วัด
ม.4-6/2 วิเคราะห์เหตุการณ์สาคัญต่างๆที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงทางสังคม เศรษฐกิจและการเมือง
เข้าสู่โลกสมัยปัจจุบัน
จุดประสงค์การเรียนรู้สู่ตัวชี้วัด
1. อธิบายเกี่ยวกับการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 (K)
2. เขียนสรุปสาเหตุและผลกระทบการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 (P)
3. อธิบายสถานการณ์หลังการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 มีผลกระทบจาก
อดีตจนถึงปัจจุบัน (A)
สาระสาคัญ
ศึกษาวิเคราะห์สภาพปัจจุบัน ปัญหา ความขัดแย้งและภูมิหลังทางประวัติศาสตร์ของกรณีตัวอย่าง
เหตุการณ์สาคัญที่เกิดขึ้นในสังคมไทยและภูมิภาคต่างๆ ของโลกทางด้านการเมือง การทหาร เศรษฐกิจ
สังคม วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อม ความสัมพันธ์เชื่อมโยงของเหตุการณ์และผลกระทบในระดับ
ท้องถิ่น ระดับประเทศ และระดับนานาชาติ ลักษณะสาคัญของสังคมโลกยุคโลกาภิวัตน์ที่ส่งผล
กระทบทั้งด้านบวกและลบต่อสังคมไทยและสังคมโลก
โดยใช้กระบวนการ สร้างความรูค้ วามเข้าใจ สร้างความตระหนัก คิดอย่างมีวิจารณญาณ
การสืบค้นและสร้างองค์ความรู้ กระบวนการกลุ่ม และการเสริมสร้างคุณลักษณะที่พึงประสงค์
เพือ่ ให้เกิดความรู้ ความเข้าใจและความตระหนักในสภาพปัจจุบนั ปัญหา ความขัดแย้งและ
ภูมิหลังทางประวัติศาสตร์ เหตุการณ์สาคัญที่เกิดขึ้นในสังคมไทยและภูมิภาคต่างๆ ของโลก สังคมโลก
ยุคโลกาภิวัตน์
สาระการเรียนรู้
- ผลของการปฏิวัติเปลี่ยนแปลง การปกครอง พ.ศ. 2475
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
ใฝ่เรียนรู้
สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
ความสามารถในการคิด
ชิ้นงานหรือภาระงาน (หลักฐาน ร่องรอยแสดงความรู้)
แผนภาพสรุปการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475
คาถามท้าทาย
สาเหตุของการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 คืออะไร
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้
1. ครูนาเสนอความรู้เกี่ยวกับการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 ด้วยสื่อประเภท
ต่าง ๆ
2. ให้นักเรียนตั้งคาถามที่ต้องการทราบเกี่ยวกับการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ.
2475
3. ให้นักเรียนศึกษาหาความรู้เบื้องต้นจากหนังสือเรียน เอกสารประกอบการค้นคว้า นิตยสาร
ต่าง ๆ ตามประเด็นที่ครูและนักเรียนร่วมกันกาหนด และสรุปความรู้เป็นแผนภาพ
5. ครูมอบหมายงานให้นักเรียนไปศึกษาสืบค้นเกี่ยวกับสาเหตุของการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการ
ปกครอง พ.ศ. 2475 ในรูปแบบการสัมภาษณ์ หรือการนาเสนอการทาโครงงานเรื่องที่สนใจ เพื่อเป็น
ข้อมูลจัดกิจกรรมการเรียนการสอนชั่วโมงถัดไป
6. ให้นักเรียนร่วมกันสรุป
7. ให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็น โดยครูใช้คาถามท้าทาย
การจัดบรรยากาศเชิงบวก
ให้นักเรียนตั้งคาถามเพื่อแลกเปลี่ยนความรู้ สืบค้นข้อมูลจากนิตยสาร และสรุปความรู้เป็นแผนภาพ
สื่อการเรียนรู้
Internet
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
1. วิธีการวัดและประเมินผล
สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในการเข้าร่วมกิจกรรม
2. เครื่องมือ
แบบสังเกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรม
3. เกณฑ์การประเมิน
การประเมินพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรม
ผ่านตั้งแต่ 2 รายการ ถือว่า ผ่าน
ผ่าน 1 รายการ ถือว่า ไม่ผ่าน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
วิชา เหตุการณ์ปัจจุบัน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 สถานการณ์ไทย เวลาทัง้ หมด 7 ชั่วโมง
เรื่อง เหตุการณ์ 14 ต.ค.2516 เวลาที่ใช้สอน 1 ชั่วโมง
วันที.่ ....เดือน.............................พ.ศ. ............ ม.6/1 ภาคเรียนที่ 2/.....
ครูผู้สอนชื่อ..............................โรงเรียนบ้านพิณโท
................................................................................................................................................................
มาตรฐานการเรียนรู/้ ตัวชี้วัด
ส 4.2 เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปัจจุบัน ในด้านความสัมพันธ์และ
การเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์อย่างต่อเนื่อง ตระหนักถึงความสาคัญและสามารถ วิเคราะห์ผลกระทบ
ที่เกิดขึ้น
ตัวชี้วัด
ม.4-6/2 วิเคราะห์เหตุการณ์สาคัญต่างๆที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงทางสังคม เศรษฐกิจและการเมือง
เข้าสู่โลกสมัยปัจจุบัน
จุดประสงค์การเรียนรู้สู่ตัวชี้วัด
1. อธิบายเกี่ยวกับเหตุการณ์ 14 ต.ค.2516 (K)
2. เขียนสรุปสาเหตุและผลกระทบเหตุการณ์ 14 ต.ค.2516 (P)
3. อธิบายสถานการณ์หลังเหตุการณ์ 14 ต.ค.2516 มีผลกระทบจากอดีตจนถึงปัจจุบัน (A)
สาระสาคัญ
ศึกษาวิเคราะห์สภาพปัจจุบัน ปัญหา ความขัดแย้งและภูมิหลังทางประวัติศาสตร์ของกรณีตัวอย่าง
เหตุการณ์สาคัญที่เกิดขึ้นในสังคมไทยและภูมิภาคต่างๆ ของโลกทางด้านการเมือง การทหาร เศรษฐกิจ
สังคม วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อม ความสัมพันธ์เชื่อมโยงของเหตุการณ์และผลกระทบในระดับ
ท้องถิ่น ระดับประเทศ และระดับนานาชาติ ลักษณะสาคัญของสังคมโลกยุคโลกาภิวัตน์ที่ส่งผล
กระทบทั้งด้านบวกและลบต่อสังคมไทยและสังคมโลก
โดยใช้กระบวนการ สร้างความรูค้ วามเข้าใจ สร้างความตระหนัก คิดอย่างมีวิจารณญาณ
การสืบค้นและสร้างองค์ความรู้ กระบวนการกลุ่ม และการเสริมสร้างคุณลักษณะที่พึงประสงค์
เพือ่ ให้เกิดความรู้ ความเข้าใจและความตระหนักในสภาพปัจจุบนั ปัญหา ความขัดแย้งและ
ภูมิหลังทางประวัติศาสตร์ เหตุการณ์สาคัญที่เกิดขึ้นในสังคมไทยและภูมิภาคต่างๆ ของโลก สังคมโลก
ยุคโลกาภิวัตน์
สาระการเรียนรู้
- เหตุการณ์ 14 ต.ค.2516
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
ใฝ่เรียนรู้
สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
ความสามารถในการคิด
ชิ้นงานหรือภาระงาน (หลักฐาน ร่องรอยแสดงความรู้)
แผนภาพสรุปเหตุการณ์ 14 ต.ค.2516
คาถามท้าทาย
สาเหตุของเหตุการณ์ 14 ต.ค.2516 คืออะไร
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้
1. ครูนาเสนอความรู้เกี่ยวกับเหตุการณ์ 14 ต.ค.2516 ด้วยสื่อประเภทต่าง ๆ
2. ให้นักเรียนตั้งคาถามที่ต้องการทราบเกี่ยวกับเหตุการณ์ 14 ต.ค.2516
3. ให้นักเรียนศึกษาหาความรู้เบื้องต้นจากหนังสือเรียน เอกสารประกอบการค้นคว้า นิตยสาร
ต่าง ๆ ตามประเด็นที่ครูและนักเรียนร่วมกันกาหนด และสรุปความรู้เป็นแผนภาพ
5. ครูมอบหมายงานให้นักเรียนไปศึกษาสืบค้นเกี่ยวกับสาเหตุของเหตุการณ์ 14 ต.ค.2516 ในรูปแบบ
การสัมภาษณ์ หรือการนาเสนอการทาโครงงานเรื่องที่สนใจ เพื่อเป็นข้อมูลจัดกิจกรรมการเรียนการ
สอนชั่วโมงถัดไป
6. ให้นักเรียนร่วมกันสรุป
7. ให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็น โดยครูใช้คาถามท้าทาย
การจัดบรรยากาศเชิงบวก
ให้นักเรียนตั้งคาถามเพื่อแลกเปลี่ยนความรู้ สืบค้นข้อมูลจากนิตยสาร และสรุปความรู้เป็นแผนภาพ
สื่อการเรียนรู้
Internet
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
1. วิธีการวัดและประเมินผล
สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในการเข้าร่วมกิจกรรม
2. เครื่องมือ
แบบสังเกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรม
3. เกณฑ์การประเมิน
การประเมินพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรม
ผ่านตั้งแต่ 2 รายการ ถือว่า ผ่าน
ผ่าน 1 รายการ ถือว่า ไม่ผ่าน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
วิชา เหตุการณ์ปัจจุบัน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 สถานการณ์ไทย เวลาทัง้ หมด 7 ชั่วโมง
เรื่อง เหตุการณ์พฤษภาทมิฬ เวลาที่ใช้สอน 1 ชั่วโมง
วันที.่ ....เดือน.............................พ.ศ. ............ ม.6/1 ภาคเรียนที่ 2/.....
ครูผู้สอนชื่อ..............................โรงเรียนบ้านพิณโท
................................................................................................................................................................
มาตรฐานการเรียนรู/้ ตัวชี้วัด
ส 4.2 เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปัจจุบัน ในด้านความสัมพันธ์และ
การเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์อย่างต่อเนื่อง ตระหนักถึงความสาคัญและสามารถ วิเคราะห์ผลกระทบ
ที่เกิดขึ้น
ตัวชี้วัด
ม.4-6/2 วิเคราะห์เหตุการณ์สาคัญต่างๆที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงทางสังคม เศรษฐกิจและการเมือง
เข้าสู่โลกสมัยปัจจุบัน
จุดประสงค์การเรียนรู้สู่ตัวชี้วัด
1. อธิบายเกี่ยวกับเหตุการณ์พฤษภาทมิฬ (K)
2. เขียนสรุปสาเหตุและผลกระทบเหตุการณ์พฤษภาทมิฬ (P)
3. อธิบายสถานการณ์หลังเหตุการณ์พฤษภาทมิฬ มีผลกระทบจากอดีตจนถึงปัจจุบัน (A)
สาระสาคัญ
ศึกษาวิเคราะห์สภาพปัจจุบัน ปัญหา ความขัดแย้งและภูมิหลังทางประวัติศาสตร์ของกรณีตัวอย่าง
เหตุการณ์สาคัญที่เกิดขึ้นในสังคมไทยและภูมิภาคต่างๆ ของโลกทางด้านการเมือง การทหาร เศรษฐกิจ
สังคม วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อม ความสัมพันธ์เชื่อมโยงของเหตุการณ์และผลกระทบในระดับ
ท้องถิ่น ระดับประเทศ และระดับนานาชาติ ลักษณะสาคัญของสังคมโลกยุคโลกาภิวัตน์ที่ส่งผล
กระทบทั้งด้านบวกและลบต่อสังคมไทยและสังคมโลก
โดยใช้กระบวนการ สร้างความรูค้ วามเข้าใจ สร้างความตระหนัก คิดอย่างมีวิจารณญาณ
การสืบค้นและสร้างองค์ความรู้ กระบวนการกลุ่ม และการเสริมสร้างคุณลักษณะที่พึงประสงค์
เพือ่ ให้เกิดความรู้ ความเข้าใจและความตระหนักในสภาพปัจจุบนั ปัญหา ความขัดแย้งและ
ภูมิหลังทางประวัติศาสตร์ เหตุการณ์สาคัญที่เกิดขึ้นในสังคมไทยและภูมิภาคต่างๆ ของโลก สังคมโลก
ยุคโลกาภิวัตน์
สาระการเรียนรู้
- เหตุการณ์พฤษภาทมิฬ
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
ใฝ่เรียนรู้
สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
ความสามารถในการคิด
ชิ้นงานหรือภาระงาน (หลักฐาน ร่องรอยแสดงความรู้)
แผนภาพสรุปเหตุการณ์พฤษภาทมิฬ
คาถามท้าทาย
สาเหตุของเหตุการณ์พฤษภาทมิฬ คืออะไร
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้
1. ครูนาเสนอความรู้เกี่ยวกับเหตุการณ์พฤษภาทมิฬ ด้วยสื่อประเภทต่าง ๆ
2. ให้นักเรียนตั้งคาถามที่ต้องการทราบเกี่ยวกับเหตุการณ์พฤษภาทมิฬ
3. ให้นักเรียนศึกษาหาความรู้เบื้องต้นจากหนังสือเรียน เอกสารประกอบการค้นคว้า นิตยสาร
ต่าง ๆ ตามประเด็นที่ครูและนักเรียนร่วมกันกาหนด และสรุปความรู้เป็นแผนภาพ
5. ครูมอบหมายงานให้นักเรียนไปศึกษาสืบค้นเกี่ยวกับสาเหตุของเหตุการณ์พฤษภาทมิฬในรูปแบบ
การสัมภาษณ์ หรือการนาเสนอการทาโครงงานเรื่องที่สนใจ เพื่อเป็นข้อมูลจัดกิจกรรมการเรียนการ
สอนชั่วโมงถัดไป
6. ให้นักเรียนร่วมกันสรุป
7. ให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็น โดยครูใช้คาถามท้าทาย
การจัดบรรยากาศเชิงบวก
ให้นักเรียนตั้งคาถามเพื่อแลกเปลี่ยนความรู้ สืบค้นข้อมูลจากนิตยสาร และสรุปความรู้เป็นแผนภาพ
สื่อการเรียนรู้
Internet
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
1. วิธีการวัดและประเมินผล
สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในการเข้าร่วมกิจกรรม
2. เครื่องมือ
แบบสังเกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรม
3. เกณฑ์การประเมิน
การประเมินพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรม
ผ่านตั้งแต่ 2 รายการ ถือว่า ผ่าน
ผ่าน 1 รายการ ถือว่า ไม่ผ่าน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
วิชา เหตุการณ์ปัจจุบัน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 สถานการณ์ไทย เวลาทัง้ หมด 7 ชั่วโมง
เรื่อง ความขัดแย้งทางการเมืองหลังการรัฐประหาร 19 กันยายน 2549 เวลาที่ใช้สอน 1 ชั่วโมง
วันที.่ ....เดือน.............................พ.ศ. ............ ม.6/1 ภาคเรียนที่ 2/.....
ครูผู้สอนชื่อ..............................โรงเรียนบ้านพิณโท
................................................................................................................................................................
มาตรฐานการเรียนรู/้ ตัวชี้วัด
ส 4.2 เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปัจจุบัน ในด้านความสัมพันธ์และ
การเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์อย่างต่อเนื่อง ตระหนักถึงความสาคัญและสามารถ วิเคราะห์ผลกระทบ
ที่เกิดขึ้น
ตัวชี้วัด
ม.4-6/2 วิเคราะห์เหตุการณ์สาคัญต่างๆที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงทางสังคม เศรษฐกิจและการเมือง
เข้าสู่โลกสมัยปัจจุบัน
จุดประสงค์การเรียนรู้สู่ตัวชี้วัด
1. อธิบายเกี่ยวกับความขัดแย้งทางการเมืองหลังการรัฐประหาร 19 กันยายน 2549 (K)
2. เขียนสรุปสาเหตุและผลกระทบของความขัดแย้งทางการเมืองหลังการรัฐประหาร 19
กันยายน 2549 (P)
3. อธิบายสถานการณ์หลังความขัดแย้งทางการเมืองหลังการรัฐประหาร 19 กันยายน 2549
มีผลกระทบจากอดีตจนถึงปัจจุบัน (A)
สาระสาคัญ
ศึกษาวิเคราะห์สภาพปัจจุบัน ปัญหา ความขัดแย้งและภูมิหลังทางประวัติศาสตร์ของกรณีตัวอย่าง
เหตุการณ์สาคัญที่เกิดขึ้นในสังคมไทยและภูมิภาคต่างๆ ของโลกทางด้านการเมือง การทหาร เศรษฐกิจ
สังคม วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อม ความสัมพันธ์เชื่อมโยงของเหตุการณ์และผลกระทบในระดับ
ท้องถิ่น ระดับประเทศ และระดับนานาชาติ ลักษณะสาคัญของสังคมโลกยุคโลกาภิวัตน์ที่ส่งผล
กระทบทั้งด้านบวกและลบต่อสังคมไทยและสังคมโลก
โดยใช้กระบวนการ สร้างความรูค้ วามเข้าใจ สร้างความตระหนัก คิดอย่างมีวิจารณญาณ
การสืบค้นและสร้างองค์ความรู้ กระบวนการกลุ่ม และการเสริมสร้างคุณลักษณะที่พึงประสงค์
เพือ่ ให้เกิดความรู้ ความเข้าใจและความตระหนักในสภาพปัจจุบนั ปัญหา ความขัดแย้งและ
ภูมิหลังทางประวัติศาสตร์ เหตุการณ์สาคัญที่เกิดขึ้นในสังคมไทยและภูมิภาคต่างๆ ของโลก สังคมโลก
ยุคโลกาภิวัตน์
สาระการเรียนรู้
- ความขัดแย้งทางการเมืองหลังการรัฐประหาร 19 กันยายน 2549
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
ใฝ่เรียนรู้
สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
ความสามารถในการคิด
ชิ้นงานหรือภาระงาน (หลักฐาน ร่องรอยแสดงความรู้)
แผนภาพสรุปความขัดแย้งทางการเมืองหลังการรัฐประหาร 19 กันยายน 2549
คาถามท้าทาย
สาเหตุของความขัดแย้งทางการเมืองหลังการรัฐประหาร 19 กันยายน 2549 คืออะไร
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้
1. ครูนาเสนอความรู้เกี่ยวกับความขัดแย้งทางการเมืองหลังการรัฐประหาร 19 กันยายน 2549 ด้วยสื่อ
ประเภทต่าง ๆ
2. ให้นักเรียนตั้งคาถามที่ต้องการทราบเกี่ยวกับความขัดแย้งทางการเมืองหลังการรัฐประหาร
19 กันยายน 2549
3. ให้นักเรียนศึกษาหาความรู้เบื้องต้นจากหนังสือเรียน เอกสารประกอบการค้นคว้า นิตยสาร
ต่าง ๆ ตามประเด็นที่ครูและนักเรียนร่วมกันกาหนด และสรุปความรู้เป็นแผนภาพ
5. ครูมอบหมายงานให้นักเรียนไปศึกษาสืบค้นเกี่ยวกับสาเหตุของความขัดแย้งทางการเมืองหลังการ
รัฐประหาร 19 กันยายน 2549 ในรูปแบบการสัมภาษณ์ หรือการนาเสนอการทาโครงงานเรื่องที่สนใจ
เพื่อเป็นข้อมูลจัดกิจกรรมการเรียนการสอนชั่วโมงถัดไป
6. ให้นักเรียนร่วมกันสรุป
7. ให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็น โดยครูใช้คาถามท้าทาย
การจัดบรรยากาศเชิงบวก
ให้นักเรียนตั้งคาถามเพื่อแลกเปลี่ยนความรู้ สืบค้นข้อมูลจากนิตยสาร และสรุปความรู้เป็นแผนภาพ
สื่อการเรียนรู้
Internet
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
1. วิธีการวัดและประเมินผล
สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในการเข้าร่วมกิจกรรม
2. เครื่องมือ
แบบสังเกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรม
3. เกณฑ์การประเมิน
การประเมินพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรม
ผ่านตั้งแต่ 2 รายการ ถือว่า ผ่าน
ผ่าน 1 รายการ ถือว่า ไม่ผ่าน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
วิชา เหตุการณ์ปัจจุบัน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 สถานการณ์ไทย เวลาทัง้ หมด 7 ชั่วโมง
เรื่อง เหตุการณ์ความไม่สงบสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ เวลาที่ใช้สอน 1 ชั่วโมง
วันที.่ ....เดือน.............................พ.ศ. ............ ม.6/1 ภาคเรียนที่ 2/.....
ครูผู้สอนชื่อ..............................โรงเรียนบ้านพิณโท
................................................................................................................................................................
มาตรฐานการเรียนรู/้ ตัวชี้วัด
ส 4.2 เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปัจจุบัน ในด้านความสัมพันธ์และ
การเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์อย่างต่อเนื่อง ตระหนักถึงความสาคัญและสามารถ วิเคราะห์ผลกระทบ
ที่เกิดขึ้น
ตัวชี้วัด
ม.4-6/2 วิเคราะห์เหตุการณ์สาคัญต่างๆที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงทางสังคม เศรษฐกิจและการเมือง
เข้าสู่โลกสมัยปัจจุบัน
จุดประสงค์การเรียนรู้สู่ตัวชี้วัด
1. อธิบายเกี่ยวกับเหตุการณ์ความไม่สงบสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ (K)
2. เขียนสรุปสาเหตุและผลกระทบของเหตุการณ์ความไม่สงบสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ (P)
3. อธิบายสถานการณ์หลังเหตุการณ์ความไม่สงบสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ มีผลกระทบจาก
อดีตจนถึงปัจจุบัน (A)
สาระสาคัญ
ศึกษาวิเคราะห์สภาพปัจจุบัน ปัญหา ความขัดแย้งและภูมิหลังทางประวัติศาสตร์ของกรณีตัวอย่าง
เหตุการณ์สาคัญที่เกิดขึ้นในสังคมไทยและภูมิภาคต่างๆ ของโลกทางด้านการเมือง การทหาร เศรษฐกิจ
สังคม วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อม ความสัมพันธ์เชื่อมโยงของเหตุการณ์และผลกระทบในระดับ
ท้องถิ่น ระดับประเทศ และระดับนานาชาติ ลักษณะสาคัญของสังคมโลกยุคโลกาภิวัตน์ที่ส่งผล
กระทบทั้งด้านบวกและลบต่อสังคมไทยและสังคมโลก
โดยใช้กระบวนการ สร้างความรูค้ วามเข้าใจ สร้างความตระหนัก คิดอย่างมีวิจารณญาณ
การสืบค้นและสร้างองค์ความรู้ กระบวนการกลุ่ม และการเสริมสร้างคุณลักษณะที่พึงประสงค์
เพือ่ ให้เกิดความรู้ ความเข้าใจและความตระหนักในสภาพปัจจุบนั ปัญหา ความขัดแย้งและ
ภูมิหลังทางประวัติศาสตร์ เหตุการณ์สาคัญที่เกิดขึ้นในสังคมไทยและภูมิภาคต่างๆ ของโลก สังคมโลก
ยุคโลกาภิวัตน์
สาระการเรียนรู้
- เหตุการณ์ความไม่สงบสามจังหวัดชายแดนภาคใต้
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
ใฝ่เรียนรู้
สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
ความสามารถในการคิด
ชิ้นงานหรือภาระงาน (หลักฐาน ร่องรอยแสดงความรู้)
แผนภาพสรุปเหตุการณ์ความไม่สงบสามจังหวัดชายแดนภาคใต้
คาถามท้าทาย
สาเหตุของเหตุการณ์ความไม่สงบสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ คืออะไร
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้
1. ครูนาเสนอความรู้เกี่ยวกับเหตุการณ์ความไม่สงบสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ ด้วยสื่อประเภทต่าง ๆ
2. ให้นักเรียนตั้งคาถามที่ต้องการทราบเกี่ยวกับเหตุการณ์ความไม่สงบสามจังหวัดชายแดน
ภาคใต้
3. ให้นักเรียนศึกษาหาความรู้เบื้องต้นจากหนังสือเรียน เอกสารประกอบการค้นคว้า นิตยสาร
ต่าง ๆ ตามประเด็นที่ครูและนักเรียนร่วมกันกาหนด และสรุปความรู้เป็นแผนภาพ
5. ครูมอบหมายงานให้นักเรียนไปศึกษาสืบค้นเกี่ยวกับสาเหตุของเหตุการณ์ความไม่สงบสามจังหวัด
ชายแดนภาคใต้ ในรูปแบบการสัมภาษณ์ หรือการนาเสนอการทาโครงงานเรื่องที่สนใจ เพื่อเป็นข้อมูล
จัดกิจกรรมการเรียนการสอนชั่วโมงถัดไป
6. ให้นักเรียนร่วมกันสรุป
7. ให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็น โดยครูใช้คาถามท้าทาย
การจัดบรรยากาศเชิงบวก
ให้นักเรียนตั้งคาถามเพื่อแลกเปลี่ยนความรู้ สืบค้นข้อมูลจากนิตยสาร และสรุปความรู้เป็นแผนภาพ
สื่อการเรียนรู้
Internet
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
1. วิธีการวัดและประเมินผล
สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในการเข้าร่วมกิจกรรม
2. เครื่องมือ
แบบสังเกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรม
3. เกณฑ์การประเมิน
การประเมินพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรม
ผ่านตั้งแต่ 2 รายการ ถือว่า ผ่าน
ผ่าน 1 รายการ ถือว่า ไม่ผ่าน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 12
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
วิชา เหตุการณ์ปัจจุบัน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 สถานการณ์ไทย เวลาทัง้ หมด 7 ชั่วโมง
เรื่อง เกาะติดสถานการณ์บ้านเมืองเป็นของเราทุกคน
รู้จักเผชิญกับปัญหาความขัดแย้งอย่างชาญฉลาด
สร้างสรรค์และเป็นระบบ เวลาที่ใช้สอน 1 ชั่วโมง
วันที.่ ....เดือน.............................พ.ศ. ............ ม.6/1 ภาคเรียนที่ 2/.....
ครูผู้สอนชื่อ..............................โรงเรียนบ้านพิณโท
................................................................................................................................................................
มาตรฐานการเรียนรู/้ ตัวชี้วัด
ส 4.2 เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปัจจุบัน ในด้านความสัมพันธ์และ
การเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์อย่างต่อเนื่อง ตระหนักถึงความสาคัญและสามารถ วิเคราะห์ผลกระทบ
ที่เกิดขึ้น
ตัวชี้วัด
ม.4-6/2 วิเคราะห์เหตุการณ์สาคัญต่างๆที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงทางสังคม เศรษฐกิจและการเมือง
เข้าสู่โลกสมัยปัจจุบัน
จุดประสงค์การเรียนรู้สู่ตัวชี้วัด
1. อธิบายเกี่ยวกับเหตุการณ์ความไม่สงบสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ (K)
2. เขียนสรุปสาเหตุและผลกระทบของเหตุการณ์ความไม่สงบสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ (P)
3. อธิบายสถานการณ์หลังเหตุการณ์ความไม่สงบสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ มีผลกระทบจาก
อดีตจนถึงปัจจุบัน (A)
สาระสาคัญ
ศึกษาวิเคราะห์สภาพปัจจุบัน ปัญหา ความขัดแย้งและภูมิหลังทางประวัติศาสตร์ของกรณีตัวอย่าง
เหตุการณ์สาคัญที่เกิดขึ้นในสังคมไทยและภูมิภาคต่างๆ ของโลกทางด้านการเมือง การทหาร เศรษฐกิจ
สังคม วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อม ความสัมพันธ์เชื่อมโยงของเหตุการณ์และผลกระทบในระดับ
ท้องถิ่น ระดับประเทศ และระดับนานาชาติ ลักษณะสาคัญของสังคมโลกยุคโลกาภิวัตน์ที่ส่งผล
กระทบทั้งด้านบวกและลบต่อสังคมไทยและสังคมโลก
โดยใช้กระบวนการ สร้างความรูค้ วามเข้าใจ สร้างความตระหนัก คิดอย่างมีวิจารณญาณ
การสืบค้นและสร้างองค์ความรู้ กระบวนการกลุ่ม และการเสริมสร้างคุณลักษณะที่พึงประสงค์
เพือ่ ให้เกิดความรู้ ความเข้าใจและความตระหนักในสภาพปัจจุบนั ปัญหา ความขัดแย้งและ
ภูมิหลังทางประวัติศาสตร์ เหตุการณ์สาคัญที่เกิดขึ้นในสังคมไทยและภูมิภาคต่างๆ ของโลก สังคมโลก
ยุคโลกาภิวัตน์
สาระการเรียนรู้
- เหตุการณ์ความไม่สงบสามจังหวัดชายแดนภาคใต้
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
ใฝ่เรียนรู้
สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
ความสามารถในการคิด
ชิ้นงานหรือภาระงาน (หลักฐาน ร่องรอยแสดงความรู้)
แผนภาพสรุปเหตุการณ์ความไม่สงบสามจังหวัดชายแดนภาคใต้

คาถามท้าทาย
สาเหตุของเหตุการณ์ความไม่สงบสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ คืออะไร
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้
1. ครูนาเสนอความรู้เกี่ยวกับเหตุการณ์ความไม่สงบสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ ด้วยสื่อประเภทต่าง ๆ
2. ให้นักเรียนตั้งคาถามที่ต้องการทราบเกี่ยวกับเหตุการณ์ความไม่สงบสามจังหวัดชายแดน
ภาคใต้
3. ให้นักเรียนศึกษาหาความรู้เบื้องต้นจากหนังสือเรียน เอกสารประกอบการค้นคว้า นิตยสาร
ต่าง ๆ ตามประเด็นที่ครูและนักเรียนร่วมกันกาหนด และสรุปความรู้เป็นแผนภาพ
5. ครูมอบหมายงานให้นักเรียนไปศึกษาสืบค้นเกี่ยวกับสาเหตุของเหตุการณ์ความไม่สงบสามจังหวัด
ชายแดนภาคใต้ ในรูปแบบการสัมภาษณ์ หรือการนาเสนอการทาโครงงานเรื่องที่สนใจ เพื่อเป็นข้อมูล
จัดกิจกรรมการเรียนการสอนชั่วโมงถัดไป
6. ให้นักเรียนร่วมกันสรุป
7. ให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็น โดยครูใช้คาถามท้าทาย
การจัดบรรยากาศเชิงบวก
ให้นักเรียนตั้งคาถามเพื่อแลกเปลี่ยนความรู้ สืบค้นข้อมูลจากนิตยสาร และสรุปความรู้เป็นแผนภาพ
สื่อการเรียนรู้
Internet
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
1. วิธีการวัดและประเมินผล
สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในการเข้าร่วมกิจกรรม
2. เครื่องมือ
แบบสังเกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรม
3. เกณฑ์การประเมิน
การประเมินพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรม
ผ่านตั้งแต่ 2 รายการ ถือว่า ผ่าน
ผ่าน 1 รายการ ถือว่า ไม่ผ่าน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 13
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
วิชา เหตุการณ์ปัจจุบัน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 สถานการณ์ไทย เวลาทัง้ หมด 7 ชั่วโมง
เรื่อง หลักธรรมในการอยู่ร่วมกันอย่างสันติ เวลาที่ใช้สอน 1 ชั่วโมง
วันที.่ ....เดือน.............................พ.ศ. ............ ม.6/1 ภาคเรียนที่ 2/.....
ครูผู้สอนชื่อ..............................โรงเรียนบ้านพิณโท
................................................................................................................................................................
มาตรฐานการเรียนรู/้ ตัวชี้วัด
ส 4.2 เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปัจจุบัน ในด้านความสัมพันธ์และ
การเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์อย่างต่อเนื่อง ตระหนักถึงความสาคัญและสามารถ วิเคราะห์ผลกระทบ
ที่เกิดขึ้น
ตัวชี้วัด
ม.4-6/2 วิเคราะห์เหตุการณ์สาคัญต่างๆที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงทางสังคม เศรษฐกิจและการเมือง
เข้าสู่โลกสมัยปัจจุบัน
จุดประสงค์การเรียนรู้สู่ตัวชี้วัด
1. อธิบายเกี่ยวกับเหตุการณ์ความไม่สงบสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ (K)
2. เขียนสรุปสาเหตุและผลกระทบของเหตุการณ์ความไม่สงบสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ (P)
3. อธิบายสถานการณ์หลังเหตุการณ์ความไม่สงบสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ มีผลกระทบจาก
อดีตจนถึงปัจจุบัน (A)
สาระสาคัญ
ศึกษาวิเคราะห์สภาพปัจจุบัน ปัญหา ความขัดแย้งและภูมิหลังทางประวัติศาสตร์ของกรณีตัวอย่าง
เหตุการณ์สาคัญที่เกิดขึ้นในสังคมไทยและภูมิภาคต่างๆ ของโลกทางด้านการเมือง การทหาร เศรษฐกิจ
สังคม วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อม ความสัมพันธ์เชื่อมโยงของเหตุการณ์และผลกระทบในระดับ
ท้องถิ่น ระดับประเทศ และระดับนานาชาติ ลักษณะสาคัญของสังคมโลกยุคโลกาภิวัตน์ที่ส่งผล
กระทบทั้งด้านบวกและลบต่อสังคมไทยและสังคมโลก
โดยใช้กระบวนการ สร้างความรูค้ วามเข้าใจ สร้างความตระหนัก คิดอย่างมีวิจารณญาณ
การสืบค้นและสร้างองค์ความรู้ กระบวนการกลุ่ม และการเสริมสร้างคุณลักษณะที่พึงประสงค์
เพือ่ ให้เกิดความรู้ ความเข้าใจและความตระหนักในสภาพปัจจุบนั ปัญหา ความขัดแย้งและ
ภูมิหลังทางประวัติศาสตร์ เหตุการณ์สาคัญที่เกิดขึ้นในสังคมไทยและภูมิภาคต่างๆ ของโลก สังคมโลก
ยุคโลกาภิวัตน์
สาระการเรียนรู้
- หลักธรรมในการอยู่ร่วมกันอย่างสันติ
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
ใฝ่เรียนรู้
สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
ความสามารถในการคิด
ชิ้นงานหรือภาระงาน (หลักฐาน ร่องรอยแสดงความรู้)
แผนภาพสรุปหลักธรรมในการอยู่ร่วมกันอย่างสันติ
คาถามท้าทาย
หลักธรรมในการอยู่ร่วมกันอย่างสันติ คืออะไร
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้
1. ครูนาเสนอความรู้เกี่ยวกับหลักธรรมในการอยู่ร่วมกันอย่างสันติ ด้วยสื่อประเภทต่าง ๆ
2. ให้นักเรียนตั้งคาถามที่ต้องการทราบเกี่ยวกับหลักธรรมในการอยู่ร่วมกันอย่างสันติ
3. ให้นักเรียนศึกษาหาความรู้เบื้องต้นจากหนังสือเรียน เอกสารประกอบการค้นคว้า นิตยสาร
ต่าง ๆ ตามประเด็นที่ครูและนักเรียนร่วมกันกาหนด และสรุปความรู้เป็นแผนภาพ
5. ครูมอบหมายงานให้นักเรียนไปศึกษาสืบค้นเกี่ยวกับหลักธรรมในการอยู่ร่วมกันอย่างสันติ
ในรูปแบบการสัมภาษณ์ หรือการนาเสนอการทาโครงงานเรื่องที่สนใจ เพื่อเป็นข้อมูลจัดกิจกรรมการ
เรียนการสอนชั่วโมงถัดไป
6. ให้นักเรียนร่วมกันสรุป
7. ให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็น โดยครูใช้คาถามท้าทาย
การจัดบรรยากาศเชิงบวก
ให้นักเรียนตั้งคาถามเพื่อแลกเปลี่ยนความรู้ สืบค้นข้อมูลจากนิตยสาร และสรุปความรู้เป็นแผนภาพ
สื่อการเรียนรู้
Internet
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
1. วิธีการวัดและประเมินผล
สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในการเข้าร่วมกิจกรรม
2. เครื่องมือ
แบบสังเกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรม
3. เกณฑ์การประเมิน
การประเมินพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรม
ผ่านตั้งแต่ 2 รายการ ถือว่า ผ่าน
ผ่าน 1 รายการ ถือว่า ไม่ผ่าน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 14
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
วิชา เหตุการณ์ปัจจุบัน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 สถานการณ์โลก เวลาทัง้ หมด 10 ชั่วโมง
เรื่อง สงครามอินโดจีน เวลาที่ใช้สอน 1 ชั่วโมง
วันที.่ ....เดือน.............................พ.ศ. ............ ม.6/1 ภาคเรียนที่ 2/.....
ครูผู้สอนชื่อ..............................โรงเรียนบ้านพิณโท
................................................................................................................................................................
มาตรฐานการเรียนรู/้ ตัวชี้วัด
ส 4.2 เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปัจจุบัน ในด้านความสัมพันธ์และ
การเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์อย่างต่อเนื่อง ตระหนักถึงความสาคัญและสามารถ วิเคราะห์ผลกระทบ
ที่เกิดขึ้น
ตัวชี้วัด
ม.4-6/2 วิเคราะห์เหตุการณ์สาคัญต่างๆที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงทางสังคม เศรษฐกิจและการเมือง
เข้าสู่โลกสมัยปัจจุบัน
จุดประสงค์การเรียนรู้สู่ตัวชี้วัด
1. อธิบายเกี่ยวกับสงครามอินโดจีน (K)
2. เขียนสรุปสาเหตุและผลกระทบของสงครามอินโดจีน (P)
3. อธิบายสถานการณ์หลังสงครามอินโดจีน มีผลกระทบจากอดีตจนถึงปัจจุบัน (A)
สาระสาคัญ
ศึกษาวิเคราะห์สภาพปัจจุบัน ปัญหา ความขัดแย้งและภูมิหลังทางประวัติศาสตร์ของกรณีตัวอย่าง
เหตุการณ์สาคัญที่เกิดขึ้นในสังคมไทยและภูมิภาคต่างๆ ของโลกทางด้านการเมือง การทหาร เศรษฐกิจ
สังคม วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อม ความสัมพันธ์เชื่อมโยงของเหตุการณ์และผลกระทบในระดับ
ท้องถิ่น ระดับประเทศ และระดับนานาชาติ ลักษณะสาคัญของสังคมโลกยุคโลกาภิวัตน์ที่ส่งผล
กระทบทั้งด้านบวกและลบต่อสังคมไทยและสังคมโลก
โดยใช้กระบวนการ สร้างความรูค้ วามเข้าใจ สร้างความตระหนัก คิดอย่างมีวิจารณญาณ
การสืบค้นและสร้างองค์ความรู้ กระบวนการกลุ่ม และการเสริมสร้างคุณลักษณะที่พึงประสงค์
เพือ่ ให้เกิดความรู้ ความเข้าใจและความตระหนักในสภาพปัจจุบนั ปัญหา ความขัดแย้งและ
ภูมิหลังทางประวัติศาสตร์ เหตุการณ์สาคัญที่เกิดขึ้นในสังคมไทยและภูมิภาคต่างๆ ของโลก สังคมโลก
ยุคโลกาภิวัตน์
สาระการเรียนรู้
- สงครามอินโดจีน
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
ใฝ่เรียนรู้
สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
ความสามารถในการคิด
ชิ้นงานหรือภาระงาน (หลักฐาน ร่องรอยแสดงความรู้)
แผนภาพสรุปสงครามอินโดจีน

คาถามท้าทาย
สงครามอินโดจีน คืออะไร
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้
1. ครูนาเสนอความรู้เกี่ยวกับสงครามอินโดจีน ด้วยสื่อประเภทต่าง ๆ
2. ให้นักเรียนตั้งคาถามที่ต้องการทราบเกี่ยวกับสงครามอินโดจีน
3. ให้นักเรียนศึกษาหาความรู้เบื้องต้นจากหนังสือเรียน เอกสารประกอบการค้นคว้า นิตยสาร
ต่าง ๆ ตามประเด็นที่ครูและนักเรียนร่วมกันกาหนด และสรุปความรู้เป็นแผนภาพ
5. ครูมอบหมายงานให้นักเรียนไปศึกษาสืบค้นเกี่ยวกับสงครามอินโดจีน ในรูปแบบการสัมภาษณ์ หรือ
การนาเสนอการทาโครงงานเรื่องที่สนใจ เพื่อเป็นข้อมูลจัดกิจกรรมการเรียนการสอนชั่วโมงถัดไป
6. ให้นักเรียนร่วมกันสรุป
7. ให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็น โดยครูใช้คาถามท้าทาย
การจัดบรรยากาศเชิงบวก
ให้นักเรียนตั้งคาถามเพื่อแลกเปลี่ยนความรู้ สืบค้นข้อมูลจากนิตยสาร และสรุปความรู้เป็นแผนภาพ
สื่อการเรียนรู้
Internet
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
1. วิธีการวัดและประเมินผล
สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในการเข้าร่วมกิจกรรม
2. เครื่องมือ
แบบสังเกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรม
3. เกณฑ์การประเมิน
การประเมินพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรม
ผ่านตั้งแต่ 2 รายการ ถือว่า ผ่าน
ผ่าน 1 รายการ ถือว่า ไม่ผ่าน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 15
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
วิชา เหตุการณ์ปัจจุบัน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 สถานการณ์โลก เวลาทัง้ หมด 10 ชั่วโมง
เรื่อง ผลกระทบของสงครามอินโดจีน เวลาที่ใช้สอน 1 ชั่วโมง
วันที.่ ....เดือน.............................พ.ศ. ............ ม.6/1 ภาคเรียนที่ 2/.....
ครูผู้สอนชื่อ..............................โรงเรียนบ้านพิณโท
................................................................................................................................................................
มาตรฐานการเรียนรู/้ ตัวชี้วัด
ส 4.2 เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปัจจุบัน ในด้านความสัมพันธ์และ
การเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์อย่างต่อเนื่อง ตระหนักถึงความสาคัญและสามารถ วิเคราะห์ผลกระทบ
ที่เกิดขึ้น
ตัวชี้วัด
ม.4-6/2 วิเคราะห์เหตุการณ์สาคัญต่างๆที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงทางสังคม เศรษฐกิจและการเมือง
เข้าสู่โลกสมัยปัจจุบัน
จุดประสงค์การเรียนรู้สู่ตัวชี้วัด
1. อธิบายเกี่ยวกับผลกระทบของสงครามอินโดจีน(K)
2. เขียนสรุปสาเหตุและผลกระทบของผลกระทบของสงครามอินโดจีน(P)
3. อธิบายสถานการณ์ผลกระทบของสงครามอินโดจีน มีผลกระทบจากอดีตจนถึงปัจจุบัน (A)
สาระสาคัญ
ศึกษาวิเคราะห์สภาพปัจจุบัน ปัญหา ความขัดแย้งและภูมิหลังทางประวัติศาสตร์ของกรณีตัวอย่าง
เหตุการณ์สาคัญที่เกิดขึ้นในสังคมไทยและภูมิภาคต่างๆ ของโลกทางด้านการเมือง การทหาร เศรษฐกิจ
สังคม วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อม ความสัมพันธ์เชื่อมโยงของเหตุการณ์และผลกระทบในระดับ
ท้องถิ่น ระดับประเทศ และระดับนานาชาติ ลักษณะสาคัญของสังคมโลกยุคโลกาภิวัตน์ที่ส่งผล
กระทบทั้งด้านบวกและลบต่อสังคมไทยและสังคมโลก
โดยใช้กระบวนการ สร้างความรูค้ วามเข้าใจ สร้างความตระหนัก คิดอย่างมีวิจารณญาณ
การสืบค้นและสร้างองค์ความรู้ กระบวนการกลุ่ม และการเสริมสร้างคุณลักษณะที่พึงประสงค์
เพือ่ ให้เกิดความรู้ ความเข้าใจและความตระหนักในสภาพปัจจุบนั ปัญหา ความขัดแย้งและ
ภูมิหลังทางประวัติศาสตร์ เหตุการณ์สาคัญที่เกิดขึ้นในสังคมไทยและภูมิภาคต่างๆ ของโลก สังคมโลก
ยุคโลกาภิวัตน์
สาระการเรียนรู้
- ผลกระทบของสงครามอินโดจีน
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
ใฝ่เรียนรู้
สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
ความสามารถในการคิด
ชิ้นงานหรือภาระงาน (หลักฐาน ร่องรอยแสดงความรู้)
แผนภาพสรุปผลกระทบของสงครามอินโดจีน
คาถามท้าทาย
ผลกระทบของสงครามอินโดจีน คืออะไร
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้
1. ครูนาเสนอความรู้เกี่ยวกับสงครามอินโดจีน ด้วยสื่อประเภทต่าง ๆ
2. ให้นักเรียนตั้งคาถามที่ต้องการทราบเกี่ยวกับสงครามอินโดจีน
3. ให้นักเรียนศึกษาหาความรู้เบื้องต้นจากหนังสือเรียน เอกสารประกอบการค้นคว้า นิตยสาร
ต่าง ๆ ตามประเด็นที่ครูและนักเรียนร่วมกันกาหนด และสรุปความรู้เป็นแผนภาพ
5. ครูมอบหมายงานให้นักเรียนไปศึกษาสืบค้นเกี่ยวกับสงครามอินโดจีน ในรูปแบบการสัมภาษณ์ หรือ
การนาเสนอการทาโครงงานเรื่องที่สนใจ เพื่อเป็นข้อมูลจัดกิจกรรมการเรียนการสอนชั่วโมงถัดไป
6. ให้นักเรียนร่วมกันสรุป
7. ให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็น โดยครูใช้คาถามท้าทาย
การจัดบรรยากาศเชิงบวก
ให้นักเรียนตั้งคาถามเพื่อแลกเปลี่ยนความรู้ สืบค้นข้อมูลจากนิตยสาร และสรุปความรู้เป็นแผนภาพ
สื่อการเรียนรู้
Internet
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
1. วิธีการวัดและประเมินผล
สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในการเข้าร่วมกิจกรรม
2. เครื่องมือ
แบบสังเกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรม
3. เกณฑ์การประเมิน
การประเมินพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรม
ผ่านตั้งแต่ 2 รายการ ถือว่า ผ่าน
ผ่าน 1 รายการ ถือว่า ไม่ผ่าน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 16
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
วิชา เหตุการณ์ปัจจุบัน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 สถานการณ์โลก เวลาทัง้ หมด 10 ชั่วโมง
เรื่อง การล่มสลายของสหภาพโซเวียตรัสเซีย เวลาที่ใช้สอน 1 ชั่วโมง
วันที.่ ....เดือน.............................พ.ศ. ............ ม.6/1 ภาคเรียนที่ 2/.....
ครูผู้สอนชื่อ..............................โรงเรียนบ้านพิณโท
................................................................................................................................................................
มาตรฐานการเรียนรู/้ ตัวชี้วัด
ส 4.2 เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปัจจุบัน ในด้านความสัมพันธ์และ
การเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์อย่างต่อเนื่อง ตระหนักถึงความสาคัญและสามารถ วิเคราะห์ผลกระทบ
ที่เกิดขึ้น
ตัวชี้วัด
ม.4-6/2 วิเคราะห์เหตุการณ์สาคัญต่างๆที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงทางสังคม เศรษฐกิจและการเมือง
เข้าสู่โลกสมัยปัจจุบัน
จุดประสงค์การเรียนรู้สู่ตัวชี้วัด
1. อธิบายเกี่ยวกับการล่มสลายของสหภาพโซเวียตรัสเซีย (K)
2. เขียนสรุปสาเหตุและผลกระทบของการล่มสลายของสหภาพโซเวียตรัสเซีย (P)
3. อธิบายสถานการณ์หลังการล่มสลายของสหภาพโซเวียตรัสเซีย มีผลกระทบจากอดีตจนถึง
ปัจจุบัน (A)
สาระสาคัญ
ศึกษาวิเคราะห์สภาพปัจจุบัน ปัญหา ความขัดแย้งและภูมิหลังทางประวัติศาสตร์ของกรณีตัวอย่าง
เหตุการณ์สาคัญที่เกิดขึ้นในสังคมไทยและภูมิภาคต่างๆ ของโลกทางด้านการเมือง การทหาร เศรษฐกิจ
สังคม วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อม ความสัมพันธ์เชื่อมโยงของเหตุการณ์และผลกระทบในระดับ
ท้องถิ่น ระดับประเทศ และระดับนานาชาติ ลักษณะสาคัญของสังคมโลกยุคโลกาภิวัตน์ที่ส่งผล
กระทบทั้งด้านบวกและลบต่อสังคมไทยและสังคมโลก
โดยใช้กระบวนการ สร้างความรูค้ วามเข้าใจ สร้างความตระหนัก คิดอย่างมีวิจารณญาณ
การสืบค้นและสร้างองค์ความรู้ กระบวนการกลุ่ม และการเสริมสร้างคุณลักษณะที่พึงประสงค์
เพือ่ ให้เกิดความรู้ ความเข้าใจและความตระหนักในสภาพปัจจุบนั ปัญหา ความขัดแย้งและ
ภูมิหลังทางประวัติศาสตร์ เหตุการณ์สาคัญที่เกิดขึ้นในสังคมไทยและภูมิภาคต่างๆ ของโลก สังคมโลก
ยุคโลกาภิวัตน์
สาระการเรียนรู้
- การล่มสลายของสหภาพโซเวียตรัสเซีย
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
ใฝ่เรียนรู้
สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
ความสามารถในการคิด
ชิ้นงานหรือภาระงาน (หลักฐาน ร่องรอยแสดงความรู้)
แผนภาพสรุปการล่มสลายของสหภาพโซเวียตรัสเซีย
คาถามท้าทาย
สาเหตุการล่มสลายของสหภาพโซเวียตรัสเซีย คืออะไร
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้
1. ครูนาเสนอความรู้เกี่ยวกับการล่มสลายของสหภาพโซเวี ยตรัสเซีย ด้วยสื่อประเภทต่าง ๆ
2. ให้นักเรียนตั้งคาถามที่ต้องการทราบเกี่ยวกับการล่มสลายของสหภาพโซเวี ยตรัสเซีย
3. ให้นักเรียนศึกษาหาความรู้เบื้องต้นจากหนังสือเรียน เอกสารประกอบการค้นคว้า นิตยสารต่าง ๆ
ตามประเด็นที่ครูและนักเรียนร่วมกันกาหนด และสรุปความรู้เป็นแผนภาพ
4. ครูมอบหมายงานให้นักเรียนไปศึกษาสืบค้นเกี่ยวกับการล่มสลายของสหภาพโซเวี ยตรัสเซียใน
รูปแบบการสัมภาษณ์ หรือการนาเสนอการทาโครงงานเรื่องที่สนใจ เพื่อเป็นข้อมูลจัดกิจกรรมการเรียน
การสอนชั่วโมงถัดไป
5. ให้นักเรียนร่วมกันสรุป
6. ให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็น โดยครูใช้คาถามท้าทาย
การจัดบรรยากาศเชิงบวก
ให้นักเรียนตั้งคาถามเพื่อแลกเปลี่ยนความรู้ สืบค้นข้อมูลจากนิตยสาร และสรุปความรู้เป็นแผนภาพ
สื่อการเรียนรู้
Internet
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
1. วิธีการวัดและประเมินผล
สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในการเข้าร่วมกิจกรรม
2. เครื่องมือ
แบบสังเกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรม
3. เกณฑ์การประเมิน
การประเมินพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรม
ผ่านตั้งแต่ 2 รายการ ถือว่า ผ่าน
ผ่าน 1 รายการ ถือว่า ไม่ผ่าน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 17
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
วิชา เหตุการณ์ปัจจุบัน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 สถานการณ์โลก เวลาทัง้ หมด 10 ชั่วโมง
เรื่อง การเกิดประเทศใหม่ เวลาที่ใช้สอน 1 ชั่วโมง
วันที.่ ....เดือน.............................พ.ศ. ............ ม.6/1 ภาคเรียนที่ 2/.....
ครูผู้สอนชื่อ..............................โรงเรียนบ้านพิณโท
................................................................................................................................................................
มาตรฐานการเรียนรู/้ ตัวชี้วัด
ส 4.2 เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปัจจุบัน ในด้านความสัมพันธ์และ
การเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์อย่างต่อเนื่อง ตระหนักถึงความสาคัญและสามารถ วิเคราะห์ผลกระทบ
ที่เกิดขึ้น
ตัวชี้วัด
ม.4-6/2 วิเคราะห์เหตุการณ์สาคัญต่างๆที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงทางสังคม เศรษฐกิจและการเมือง
เข้าสู่โลกสมัยปัจจุบัน
จุดประสงค์การเรียนรู้สู่ตัวชี้วัด
1. อธิบายเกี่ยวกับการเกิดประเทศใหม่ (K)
2. เขียนสรุปสาเหตุและผลกระทบของการเกิดประเทศใหม่ (P)
3. อธิบายสถานการณ์หลังเหตุการณ์การเกิดประเทศใหม่ มีผลกระทบจากอดีตจนถึงปัจจุบัน
(A)
สาระสาคัญ
ศึกษาวิเคราะห์สภาพปัจจุบัน ปัญหา ความขัดแย้งและภูมิหลังทางประวัติศาสตร์ของกรณีตัวอย่าง
เหตุการณ์สาคัญที่เกิดขึ้นในสังคมไทยและภูมิภาคต่างๆ ของโลกทางด้านการเมือง การทหาร เศรษฐกิจ
สังคม วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อม ความสัมพันธ์เชื่อมโยงของเหตุการณ์และผลกระทบในระดับ
ท้องถิ่น ระดับประเทศ และระดับนานาชาติ ลักษณะสาคัญของสังคมโลกยุคโลกาภิวัตน์ที่ส่งผล
กระทบทั้งด้านบวกและลบต่อสังคมไทยและสังคมโลก
โดยใช้กระบวนการ สร้างความรูค้ วามเข้าใจ สร้างความตระหนัก คิดอย่างมีวิจารณญาณ
การสืบค้นและสร้างองค์ความรู้ กระบวนการกลุ่ม และการเสริมสร้างคุณลักษณะที่พึงประสงค์
เพือ่ ให้เกิดความรู้ ความเข้าใจและความตระหนักในสภาพปัจจุบนั ปัญหา ความขัดแย้งและ
ภูมิหลังทางประวัติศาสตร์ เหตุการณ์สาคัญที่เกิดขึ้นในสังคมไทยและภูมิภาคต่างๆ ของโลก สังคมโลก
ยุคโลกาภิวัตน์
สาระการเรียนรู้
- การเกิดประเทศใหม่
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
ใฝ่เรียนรู้
สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
ความสามารถในการคิด
ชิ้นงานหรือภาระงาน (หลักฐาน ร่องรอยแสดงความรู้)
แผนภาพสรุปการเกิดประเทศใหม่
คาถามท้าทาย
สาเหตุการเกิดประเทศใหม่ คืออะไร
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้
1. ครูนาเสนอความรู้เกี่ยวกับการเกิดประเทศใหม่ ด้วยสื่อประเภทต่าง ๆ
2. ให้นักเรียนตั้งคาถามที่ต้องการทราบเกี่ยวกับการเกิดประเทศใหม่
3. ให้นักเรียนศึกษาหาความรู้เบื้องต้นจากหนังสือเรียน เอกสารประกอบการค้นคว้า นิตยสารต่าง ๆ
ตามประเด็นที่ครูและนักเรียนร่วมกันกาหนด และสรุปความรู้เป็นแผนภาพ
4. ครูมอบหมายงานให้นักเรียนไปศึกษาสืบค้นเกี่ยวกับการเกิดประเทศใหม่ในรูปแบบการสัมภาษณ์
หรือการนาเสนอการทาโครงงานเรื่องที่สนใจ เพื่อเป็นข้อมูลจัดกิจกรรมการเรียนการสอนชั่วโมงถัดไป
5. ให้นักเรียนร่วมกันสรุป
6. ให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็น โดยครูใช้คาถามท้าทาย
การจัดบรรยากาศเชิงบวก
ให้นักเรียนตั้งคาถามเพื่อแลกเปลี่ยนความรู้ สืบค้นข้อมูลจากนิตยสาร และสรุปความรู้เป็นแผนภาพ
สื่อการเรียนรู้
Internet
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
1. วิธีการวัดและประเมินผล
สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในการเข้าร่วมกิจกรรม
2. เครื่องมือ
แบบสังเกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรม
3. เกณฑ์การประเมิน
การประเมินพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรม
ผ่านตั้งแต่ 2 รายการ ถือว่า ผ่าน
ผ่าน 1 รายการ ถือว่า ไม่ผ่าน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 18
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
วิชา เหตุการณ์ปัจจุบัน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 สถานการณ์โลก เวลาทัง้ หมด 10 ชั่วโมง
เรื่อง การทุบกาแพงเบอร์ลินรวม เยอรมนี เวลาที่ใช้สอน 1 ชั่วโมง
วันที.่ ....เดือน.............................พ.ศ. ............ ม.6/1 ภาคเรียนที่ 2/.....
ครูผู้สอนชื่อ..............................โรงเรียนบ้านพิณโท
................................................................................................................................................................
มาตรฐานการเรียนรู/้ ตัวชี้วัด
ส 4.2 เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปัจจุบัน ในด้านความสัมพันธ์และ
การเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์อย่างต่อเนื่อง ตระหนักถึงความสาคัญและสามารถ วิเคราะห์ผลกระทบ
ที่เกิดขึ้น
ตัวชี้วัด
ม.4-6/2 วิเคราะห์เหตุการณ์สาคัญต่างๆที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงทางสังคม เศรษฐกิจและการเมือง
เข้าสู่โลกสมัยปัจจุบัน
จุดประสงค์การเรียนรู้สู่ตัวชี้วัด
1. อธิบายเกี่ยวกับการทุบกาแพงเบอร์ลินรวม เยอรมนี (K)
2. เขียนสรุปสาเหตุและผลกระทบของการทุบกาแพงเบอร์ลินรวม เยอรมนี (P)
3. อธิบายสถานการณ์หลังเหตุการณ์การทุบกาแพงเบอร์ลินรวม เยอรมนี มีผลกระทบจาก
อดีตจนถึงปัจจุบัน (A)
สาระสาคัญ
ศึกษาวิเคราะห์สภาพปัจจุบัน ปัญหา ความขัดแย้งและภูมิหลังทางประวัติศาสตร์ของกรณีตัวอย่าง
เหตุการณ์สาคัญที่เกิดขึ้นในสังคมไทยและภูมิภาคต่างๆ ของโลกทางด้านการเมือง การทหาร เศรษฐกิจ
สังคม วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อม ความสัมพันธ์เชื่อมโยงของเหตุการณ์และผลกระทบในระดับ
ท้องถิ่น ระดับประเทศ และระดับนานาชาติ ลักษณะสาคัญของสังคมโลกยุคโลกาภิวัตน์ที่ส่งผล
กระทบทั้งด้านบวกและลบต่อสังคมไทยและสังคมโลก
โดยใช้กระบวนการ สร้างความรูค้ วามเข้าใจ สร้างความตระหนัก คิดอย่างมีวิจารณญาณ
การสืบค้นและสร้างองค์ความรู้ กระบวนการกลุ่ม และการเสริมสร้างคุณลักษณะที่พึงประสงค์
เพือ่ ให้เกิดความรู้ ความเข้าใจและความตระหนักในสภาพปัจจุบนั ปัญหา ความขัดแย้งและ
ภูมิหลังทางประวัติศาสตร์ เหตุการณ์สาคัญที่เกิดขึ้นในสังคมไทยและภูมิภาคต่างๆ ของโลก สังคมโลก
ยุคโลกาภิวัตน์
สาระการเรียนรู้
- การทุบกาแพงเบอร์ลินรวม เยอรมนี
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
ใฝ่เรียนรู้
สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
ความสามารถในการคิด
ชิ้นงานหรือภาระงาน (หลักฐาน ร่องรอยแสดงความรู้)
แผนภาพสรุปการทุบกาแพงเบอร์ลินรวม เยอรมนี
คาถามท้าทาย
สาเหตุการทุบกาแพงเบอร์ลินรวม เยอรมนีคืออะไร
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้
1. ครูนาเสนอความรู้เกี่ยวกับการทุบกาแพงเบอร์ลินรวม เยอรมนีด้วยสื่อประเภทต่าง ๆ
2. ให้นักเรียนตั้งคาถามที่ต้องการทราบเกี่ยวกับการทุบกาแพงเบอร์ลินรวม เยอรมนี
3. ให้นักเรียนศึกษาหาความรู้เบื้องต้นจากหนังสือเรียน เอกสารประกอบการค้นคว้า นิตยสารต่าง ๆ
ตามประเด็นที่ครูและนักเรียนร่วมกันกาหนด และสรุปความรู้เป็นแผนภาพ
4. ครูมอบหมายงานให้นักเรียนไปศึกษาสืบค้นเกี่ยวกับการทุบกาแพงเบอร์ลินรวม เยอรมนีในรูปแบบ
การสัมภาษณ์ หรือการนาเสนอการทาโครงงานเรื่องที่สนใจ เพื่อเป็นข้อมูลจัดกิจกรรมการเรียนการ
สอนชั่วโมงถัดไป
5. ให้นักเรียนร่วมกันสรุป
6. ให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็น โดยครูใช้คาถามท้าทาย
การจัดบรรยากาศเชิงบวก
ให้นักเรียนตั้งคาถามเพื่อแลกเปลี่ยนความรู้ สืบค้นข้อมูลจากนิตยสาร และสรุปความรู้เป็นแผนภาพ
สื่อการเรียนรู้
Internet
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
1. วิธีการวัดและประเมินผล
สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในการเข้าร่วมกิจกรรม
2. เครื่องมือ
แบบสังเกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรม
3. เกณฑ์การประเมิน
การประเมินพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรม
ผ่านตั้งแต่ 2 รายการ ถือว่า ผ่าน
ผ่าน 1 รายการ ถือว่า ไม่ผ่าน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 19
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
วิชา เหตุการณ์ปัจจุบัน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 สถานการณ์โลก เวลาทัง้ หมด 10 ชั่วโมง
เรื่อง ปัญหาความขัดแย้งในตะวันออกกลาง เวลาที่ใช้สอน 1 ชั่วโมง
วันที.่ ....เดือน.............................พ.ศ. ............ ม.6/1 ภาคเรียนที่ 2/.....
ครูผู้สอนชื่อ..............................โรงเรียนบ้านพิณโท
................................................................................................................................................................
มาตรฐานการเรียนรู/้ ตัวชี้วัด
ส 4.2 เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปัจจุบัน ในด้านความสัมพันธ์และ
การเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์อย่างต่อเนื่อง ตระหนักถึงความสาคัญและสามารถ วิเคราะห์ผลกระทบ
ที่เกิดขึ้น
ตัวชี้วัด
ม.4-6/2 วิเคราะห์เหตุการณ์สาคัญต่างๆที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงทางสังคม เศรษฐกิจและการเมือง
เข้าสู่โลกสมัยปัจจุบัน
จุดประสงค์การเรียนรู้สู่ตัวชี้วัด
1. อธิบายเกี่ยวกับปัญหาความขัดแย้งในตะวันออกกลาง (K)
2. เขียนสรุปสาเหตุและผลกระทบของปัญหาความขัดแย้งในตะวันออกกลาง (P)
3. อธิบายสถานการณ์หลังเหตุการณ์ปัญหาความขัดแย้งในตะวันออกกลาง มีผลกระทบจาก
อดีตจนถึงปัจจุบัน (A)
สาระสาคัญ
ศึกษาวิเคราะห์สภาพปัจจุบัน ปัญหา ความขัดแย้งและภูมิหลังทางประวัติศาสตร์ของกรณีตัวอย่าง
เหตุการณ์สาคัญที่เกิดขึ้นในสังคมไทยและภูมิภาคต่างๆ ของโลกทางด้านการเมือง การทหาร เศรษฐกิจ
สังคม วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อม ความสัมพันธ์เชื่อมโยงของเหตุการณ์และผลกระทบในระดับ
ท้องถิ่น ระดับประเทศ และระดับนานาชาติ ลักษณะสาคัญของสังคมโลกยุคโลกาภิวัตน์ที่ส่งผล
กระทบทั้งด้านบวกและลบต่อสังคมไทยและสังคมโลก
โดยใช้กระบวนการ สร้างความรูค้ วามเข้าใจ สร้างความตระหนัก คิดอย่างมีวิจารณญาณ
การสืบค้นและสร้างองค์ความรู้ กระบวนการกลุ่ม และการเสริมสร้างคุณลักษณะที่พึงประสงค์
เพือ่ ให้เกิดความรู้ ความเข้าใจและความตระหนักในสภาพปัจจุบนั ปัญหา ความขัดแย้งและ
ภูมิหลังทางประวัติศาสตร์ เหตุการณ์สาคัญที่เกิดขึ้นในสังคมไทยและภูมิภาคต่างๆ ของโลก สังคมโลก
ยุคโลกาภิวัตน์
สาระการเรียนรู้
- ปัญหาความขัดแย้งในตะวันออกกลาง
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
ใฝ่เรียนรู้
สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
ความสามารถในการคิด
ชิ้นงานหรือภาระงาน (หลักฐาน ร่องรอยแสดงความรู้)
แผนภาพสรุปปัญหาความขัดแย้งในตะวันออกกลาง
คาถามท้าทาย
สาเหตุของปัญหาความขัดแย้งในตะวันออกกลาง คืออะไร
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้
1. ครูนาเสนอความรู้เกี่ยวกับปัญหาความขัดแย้งในตะวันออกกลางด้วยสื่อประเภทต่าง ๆ
2. ให้นักเรียนตั้งคาถามที่ต้องการทราบเกี่ยวกับปัญหาความขัดแย้งในตะวันออกกลาง
3. ให้นักเรียนศึกษาหาความรู้เบื้องต้นจากหนังสือเรียน เอกสารประกอบการค้นคว้า นิตยสารต่าง ๆ
ตามประเด็นที่ครูและนักเรียนร่วมกันกาหนด และสรุปความรู้เป็นแผนภาพ
4. ครูมอบหมายงานให้นักเรียนไปศึกษาสืบค้นเกี่ยวกับปัญหาความขัดแย้งในตะวันออกกลางในรูปแบบ
การสัมภาษณ์ หรือการนาเสนอการทาโครงงานเรื่องที่สนใจ เพื่อเป็นข้อมูลจัดกิจกรรมการเรียนการ
สอนชั่วโมงถัดไป
5. ให้นักเรียนร่วมกันสรุป
6. ให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็น โดยครูใช้คาถามท้าทาย
การจัดบรรยากาศเชิงบวก
ให้นักเรียนตั้งคาถามเพื่อแลกเปลี่ยนความรู้ สืบค้นข้อมูลจากนิตยสาร และสรุปความรู้เป็นแผนภาพ
สื่อการเรียนรู้
Internet
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
1. วิธีการวัดและประเมินผล
สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในการเข้าร่วมกิจกรรม
2. เครื่องมือ
แบบสังเกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรม
3. เกณฑ์การประเมิน
การประเมินพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรม
ผ่านตั้งแต่ 2 รายการ ถือว่า ผ่าน
ผ่าน 1 รายการ ถือว่า ไม่ผ่าน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 20
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
วิชา เหตุการณ์ปัจจุบัน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 สถานการณ์โลก เวลาทัง้ หมด 10 ชั่วโมง
เรื่อง ปัญหาความขัดแย้งในดินแดนปาเลสไตน์ เวลาที่ใช้สอน 1 ชั่วโมง
วันที.่ ....เดือน.............................พ.ศ. ............ ม.6/1 ภาคเรียนที่ 2/.....
ครูผู้สอนชื่อ..............................โรงเรียนบ้านพิณโท
................................................................................................................................................................
มาตรฐานการเรียนรู/้ ตัวชี้วัด
ส 4.2 เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปัจจุบัน ในด้านความสัมพันธ์และ
การเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์อย่างต่อเนื่อง ตระหนักถึงความสาคัญและสามารถ วิเคราะห์ผลกระทบ
ที่เกิดขึ้น
ตัวชี้วัด
ม.4-6/2 วิเคราะห์เหตุการณ์สาคัญต่างๆที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงทางสังคม เศรษฐกิจและการเมือง
เข้าสู่โลกสมัยปัจจุบัน
จุดประสงค์การเรียนรู้สู่ตัวชี้วัด
1. อธิบายเกี่ยวกับปัญหาความขัดแย้งในดินแดนปาเลสไตน์ (K)
2. เขียนสรุปสาเหตุและผลกระทบของปัญหาความขัดแย้งในดินแดนปาเลสไตน์ (P)
3. อธิบายสถานการณ์หลังเหตุการณ์ปัญหาความขัดแย้งในดินแดนปาเลสไตน์ มีผลกระทบ
จากอดีตจนถึงปัจจุบัน (A)
สาระสาคัญ
ศึกษาวิเคราะห์สภาพปัจจุบัน ปัญหา ความขัดแย้งและภูมิหลังทางประวัติศาสตร์ของกรณีตัวอย่าง
เหตุการณ์สาคัญที่เกิดขึ้นในสังคมไทยและภูมิภาคต่างๆ ของโลกทางด้านการเมือง การทหาร เศรษฐกิจ
สังคม วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อม ความสัมพันธ์เชื่อมโยงของเหตุการณ์และผลกระทบในระดับ
ท้องถิ่น ระดับประเทศ และระดับนานาชาติ ลักษณะสาคัญของสังคมโลกยุคโลกาภิวัตน์ที่ส่งผล
กระทบทั้งด้านบวกและลบต่อสังคมไทยและสังคมโลก
โดยใช้กระบวนการ สร้างความรูค้ วามเข้าใจ สร้างความตระหนัก คิดอย่างมีวิจารณญาณ
การสืบค้นและสร้างองค์ความรู้ กระบวนการกลุ่ม และการเสริมสร้างคุณลักษณะที่พึงประสงค์
เพือ่ ให้เกิดความรู้ ความเข้าใจและความตระหนักในสภาพปัจจุบนั ปัญหา ความขัดแย้งและ
ภูมิหลังทางประวัติศาสตร์ เหตุการณ์สาคัญที่เกิดขึ้นในสังคมไทยและภูมิภาคต่างๆ ของโลก สังคมโลก
ยุคโลกาภิวัตน์
สาระการเรียนรู้
- ปัญหาความขัดแย้งในดินแดนปาเลสไตน์
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
ใฝ่เรียนรู้
สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
ความสามารถในการคิด
ชิ้นงานหรือภาระงาน (หลักฐาน ร่องรอยแสดงความรู้)
แผนภาพสรุปปัญหาความขัดแย้งในดินแดนปาเลสไตน์
คาถามท้าทาย
สาเหตุของปัญหาความขัดแย้งในดินแดนปาเลสไตน์ คืออะไร
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้
1. ครูนาเสนอความรู้เกี่ยวกับปัญหาความขัดแย้งในดินแดนปาเลสไตน์ ด้วยสื่อประเภทต่าง ๆ
2. ให้นักเรียนตั้งคาถามที่ต้องการทราบเกี่ยวกับปัญหาความขัดแย้งในดินแดนปาเลสไตน์
3. ให้นักเรียนศึกษาหาความรู้เบื้องต้นจากหนังสือเรียน เอกสารประกอบการค้นคว้า นิตยสารต่าง ๆ
ตามประเด็นที่ครูและนักเรียนร่วมกันกาหนด และสรุปความรู้เป็นแผนภาพ
4. ครูมอบหมายงานให้นักเรียนไปศึกษาสืบค้นเกี่ยวกับปัญหาความขัดแย้งในดินแดนปาเลสไตน์
ในรูปแบบการสัมภาษณ์ หรือการนาเสนอการทาโครงงานเรื่องที่สนใจ เพื่อเป็นข้อมูลจัดกิจกรรมการ
เรียนการสอนชั่วโมงถัดไป
5. ให้นักเรียนร่วมกันสรุป
6. ให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็น โดยครูใช้คาถามท้าทาย
การจัดบรรยากาศเชิงบวก
ให้นักเรียนตั้งคาถามเพื่อแลกเปลี่ยนความรู้ สืบค้นข้อมูลจากนิตยสาร และสรุปความรู้เป็นแผนภาพ
สื่อการเรียนรู้
Internet
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
1. วิธีการวัดและประเมินผล
สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในการเข้าร่วมกิจกรรม
2. เครื่องมือ
แบบสังเกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรม
3. เกณฑ์การประเมิน
การประเมินพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรม
ผ่านตั้งแต่ 2 รายการ ถือว่า ผ่าน
ผ่าน 1 รายการ ถือว่า ไม่ผ่าน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 21
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
วิชา เหตุการณ์ปัจจุบัน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 สถานการณ์โลก เวลาทัง้ หมด 10 ชั่วโมง
เรื่อง การปฏิวัติดอกมะลิในแอฟริกา เวลาที่ใช้สอน 1 ชั่วโมง
วันที.่ ....เดือน.............................พ.ศ. ............ ม.6/1 ภาคเรียนที่ 2/.....
ครูผู้สอนชื่อ..............................โรงเรียนบ้านพิณโท
................................................................................................................................................................
มาตรฐานการเรียนรู/้ ตัวชี้วัด
ส 4.2 เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปัจจุบัน ในด้านความสัมพันธ์และ
การเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์อย่างต่อเนื่อง ตระหนักถึงความสาคัญและสามารถ วิเคราะห์ผลกระทบ
ที่เกิดขึ้น
ตัวชี้วัด
ม.4-6/2 วิเคราะห์เหตุการณ์สาคัญต่างๆที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงทางสังคม เศรษฐกิจและการเมือง
เข้าสู่โลกสมัยปัจจุบัน
จุดประสงค์การเรียนรู้สู่ตัวชี้วัด
1. อธิบายเกี่ยวกับการปฏิวัติดอกมะลิในแอฟริกา (K)
2. เขียนสรุปสาเหตุและผลกระทบของการปฏิวัติดอกมะลิในแอฟริกา (P)
3. อธิบายสถานการณ์หลังเหตุการณ์การปฏิวัติดอกมะลิในแอฟริกา มีผลกระทบจากอดีต
จนถึงปัจจุบัน (A)
สาระสาคัญ
ศึกษาวิเคราะห์สภาพปัจจุบัน ปัญหา ความขัดแย้งและภูมิหลังทางประวัติศาสตร์ของกรณีตัวอย่าง
เหตุการณ์สาคัญที่เกิดขึ้นในสังคมไทยและภูมิภาคต่างๆ ของโลกทางด้านการเมือง การทหาร เศรษฐกิจ
สังคม วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อม ความสัมพันธ์เชื่อมโยงของเหตุการณ์และผลกระทบในระดับ
ท้องถิ่น ระดับประเทศ และระดับนานาชาติ ลักษณะสาคัญของสังคมโลกยุคโลกาภิวัตน์ที่ส่งผล
กระทบทั้งด้านบวกและลบต่อสังคมไทยและสังคมโลก
โดยใช้กระบวนการ สร้างความรูค้ วามเข้าใจ สร้างความตระหนัก คิดอย่างมีวิจารณญาณ
การสืบค้นและสร้างองค์ความรู้ กระบวนการกลุ่ม และการเสริมสร้างคุณลักษณะที่พึงประสงค์
เพือ่ ให้เกิดความรู้ ความเข้าใจและความตระหนักในสภาพปัจจุบนั ปัญหา ความขัดแย้งและ
ภูมิหลังทางประวัติศาสตร์ เหตุการณ์สาคัญที่เกิดขึ้นในสังคมไทยและภูมิภาคต่างๆ ของโลก สังคมโลก
ยุคโลกาภิวัตน์
สาระการเรียนรู้
- การปฏิวัติดอกมะลิในแอฟริกา
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
ใฝ่เรียนรู้
สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
ความสามารถในการคิด
ชิ้นงานหรือภาระงาน (หลักฐาน ร่องรอยแสดงความรู้)
แผนภาพสรุปการปฏิวัติดอกมะลิในแอฟริกา
คาถามท้าทาย
สาเหตุของการปฏิวัติดอกมะลิในแอฟริกา คืออะไร
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้
1. ครูนาเสนอความรู้เกี่ยวกับการปฏิวัติดอกมะลิในแอฟริกาด้วยสื่อประเภทต่าง ๆ
2. ให้นักเรียนตั้งคาถามที่ต้องการทราบเกี่ยวกับการปฏิวัติดอกมะลิในแอฟริกา
3. ให้นักเรียนศึกษาหาความรู้เบื้องต้นจากหนังสือเรียน เอกสารประกอบการค้นคว้า นิตยสารต่าง ๆ
ตามประเด็นที่ครูและนักเรียนร่วมกันกาหนด และสรุปความรู้เป็นแผนภาพ
4. ครูมอบหมายงานให้นักเรียนไปศึกษาสืบค้นเกี่ยวกับการปฏิวัติดอกมะลิในแอฟริกาในรูปแบบการ
สัมภาษณ์ หรือการนาเสนอการทาโครงงานเรื่องที่สนใจ เพื่อเป็นข้อมูลจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
ชั่วโมงถัดไป
5. ให้นักเรียนร่วมกันสรุป
6. ให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็น โดยครูใช้คาถามท้าทาย
การจัดบรรยากาศเชิงบวก
ให้นักเรียนตั้งคาถามเพื่อแลกเปลี่ยนความรู้ สืบค้นข้อมูลจากนิตยสาร และสรุปความรู้เป็นแผนภาพ
สื่อการเรียนรู้
Internet
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
1. วิธีการวัดและประเมินผล
สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในการเข้าร่วมกิจกรรม
2. เครื่องมือ
แบบสังเกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรม
3. เกณฑ์การประเมิน
การประเมินพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรม
ผ่านตั้งแต่ 2 รายการ ถือว่า ผ่าน
ผ่าน 1 รายการ ถือว่า ไม่ผ่าน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 22
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
วิชา เหตุการณ์ปัจจุบัน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 สถานการณ์โลก เวลาทัง้ หมด 10 ชั่วโมง
เรื่อง ปัญหาการก่อการร้ายสากล เวลาที่ใช้สอน 1 ชั่วโมง
วันที.่ ....เดือน.............................พ.ศ. ............ ม.6/1 ภาคเรียนที่ 2/.....
ครูผู้สอนชื่อ..............................โรงเรียนบ้านพิณโท
................................................................................................................................................................
มาตรฐานการเรียนรู/้ ตัวชี้วัด
ส 4.2 เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปัจจุบัน ในด้านความสัมพันธ์และ
การเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์อย่างต่อเนื่อง ตระหนักถึงความสาคัญและสามารถ วิเคราะห์ผลกระทบ
ที่เกิดขึ้น
ตัวชี้วัด
ม.4-6/2 วิเคราะห์เหตุการณ์สาคัญต่างๆที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงทางสังคม เศรษฐกิจและการเมือง
เข้าสู่โลกสมัยปัจจุบัน
จุดประสงค์การเรียนรู้สู่ตัวชี้วัด
1. อธิบายเกี่ยวกับปัญหาการก่อการร้ายสากล (K)
2. เขียนสรุปสาเหตุและผลกระทบของปัญหาการก่อการร้ายสากล (P)
3. อธิบายสถานการณ์หลังเหตุการปัญหาการก่อการร้ายสากล มีผลกระทบจากอดีตจนถึง
ปัจจุบัน (A)
สาระสาคัญ
ศึกษาวิเคราะห์สภาพปัจจุบัน ปัญหา ความขัดแย้งและภูมิหลังทางประวัติศาสตร์ของกรณีตัวอย่าง
เหตุการณ์สาคัญที่เกิดขึ้นในสังคมไทยและภูมิภาคต่างๆ ของโลกทางด้านการเมือง การทหาร เศรษฐกิจ
สังคม วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อม ความสัมพันธ์เชื่อมโยงของเหตุการณ์และผลกระทบในระดับ
ท้องถิ่น ระดับประเทศ และระดับนานาชาติ ลักษณะสาคัญของสังคมโลกยุคโลกาภิวัตน์ที่ส่งผล
กระทบทั้งด้านบวกและลบต่อสังคมไทยและสังคมโลก
โดยใช้กระบวนการ สร้างความรูค้ วามเข้าใจ สร้างความตระหนัก คิดอย่างมีวิจารณญาณ
การสืบค้นและสร้างองค์ความรู้ กระบวนการกลุ่ม และการเสริมสร้างคุณลักษณะที่พึงประสงค์
เพือ่ ให้เกิดความรู้ ความเข้าใจและความตระหนักในสภาพปัจจุบนั ปัญหา ความขัดแย้งและ
ภูมิหลังทางประวัติศาสตร์ เหตุการณ์สาคัญที่เกิดขึ้นในสังคมไทยและภูมิภาคต่างๆ ของโลก สังคมโลก
ยุคโลกาภิวัตน์
สาระการเรียนรู้
- การปฏิวัติดอกมะลิในแอฟริกา
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
ใฝ่เรียนรู้
สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
ความสามารถในการคิด
ชิ้นงานหรือภาระงาน (หลักฐาน ร่องรอยแสดงความรู้)
แผนภาพสรุปการปฏิวัติดอกมะลิในแอฟริกา
คาถามท้าทาย
สาเหตุของการปฏิวัติดอกมะลิในแอฟริกา คืออะไร
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้
1. ครูนาเสนอความรู้เกี่ยวกับการปฏิวัติดอกมะลิในแอฟริกาด้วยสื่อประเภทต่าง ๆ
2. ให้นักเรียนตั้งคาถามที่ต้องการทราบเกี่ยวกับการปฏิวัติดอกมะลิในแอฟริกา
3. ให้นักเรียนศึกษาหาความรู้เบื้องต้นจากหนังสือเรียน เอกสารประกอบการค้นคว้า นิตยสารต่าง ๆ
ตามประเด็นที่ครูและนักเรียนร่วมกันกาหนด และสรุปความรู้เป็นแผนภาพ
4. ครูมอบหมายงานให้นักเรียนไปศึกษาสืบค้นเกี่ยวกับการปฏิวัติดอกมะลิในแอฟริกาในรูปแบบการ
สัมภาษณ์ หรือการนาเสนอการทาโครงงานเรื่องที่สนใจ เพื่อเป็นข้อมูลจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
ชั่วโมงถัดไป
5. ให้นักเรียนร่วมกันสรุป
6. ให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็น โดยครูใช้คาถามท้าทาย
การจัดบรรยากาศเชิงบวก
ให้นักเรียนตั้งคาถามเพื่อแลกเปลี่ยนความรู้ สืบค้นข้อมูลจากนิตยสาร และสรุปความรู้เป็นแผนภาพ
สื่อการเรียนรู้
Internet
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
1. วิธีการวัดและประเมินผล
สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในการเข้าร่วมกิจกรรม
2. เครื่องมือ
แบบสังเกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรม
3. เกณฑ์การประเมิน
การประเมินพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรม
ผ่านตั้งแต่ 2 รายการ ถือว่า ผ่าน
ผ่าน 1 รายการ ถือว่า ไม่ผ่าน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 23
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
วิชา เหตุการณ์ปัจจุบัน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 สถานการณ์โลก เวลาทัง้ หมด 8 ชั่วโมง
เรื่อง เหตุการณ์ไทย – กัมพูชา กรณีพิพาทปราสาทเขาพระวิหาร เวลาที่ใช้สอน 1 ชั่วโมง
วันที.่ ....เดือน.............................พ.ศ. ............ ม.6/1 ภาคเรียนที่ 2/.....
ครูผู้สอนชื่อ..............................โรงเรียนบ้านพิณโท
................................................................................................................................................................
มาตรฐานการเรียนรู/้ ตัวชี้วัด
ส 4.2 เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปัจจุบัน ในด้านความสัมพันธ์และ
การเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์อย่างต่อเนื่อง ตระหนักถึงความสาคัญและสามารถ วิเคราะห์ผลกระทบ
ที่เกิดขึ้น
ตัวชี้วัด
ม.4-6/2 วิเคราะห์เหตุการณ์สาคัญต่างๆที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงทางสังคม เศรษฐกิจและการเมือง
เข้าสู่โลกสมัยปัจจุบัน
จุดประสงค์การเรียนรู้สู่ตัวชี้วัด
1. อธิบายเกี่ยวกับเหตุการณ์ไทย – กัมพูชา กรณีพิพาทปราสาทเขาพระวิหาร (K)
2. เขียนสรุปสาเหตุและผลกระทบของเหตุการณ์ไทย – กัมพูชา กรณีพิพาทปราสาทเขาพระ
วิหาร (P)
3. อธิบายสถานการณ์หลังเหตุการณ์ไทย – กัมพูชา กรณีพิพาทปราสาทเขาพระวิหาร
มีผลกระทบจากอดีตจนถึงปัจจุบัน (A)
สาระสาคัญ
ศึกษาวิเคราะห์สภาพปัจจุบัน ปัญหา ความขัดแย้งและภูมิหลังทางประวัติศาสตร์ของกรณีตัวอย่าง
เหตุการณ์สาคัญที่เกิดขึ้นในสังคมไทยและภูมิภาคต่างๆ ของโลกทางด้านการเมือง การทหาร เศรษฐกิจ
สังคม วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อม ความสัมพันธ์เชื่อมโยงของเหตุการณ์และผลกระทบในระดับ
ท้องถิ่น ระดับประเทศ และระดับนานาชาติ ลักษณะสาคัญของสังคมโลกยุคโลกาภิวัตน์ที่ส่งผล
กระทบทั้งด้านบวกและลบต่อสังคมไทยและสังคมโลก
โดยใช้กระบวนการ สร้างความรูค้ วามเข้าใจ สร้างความตระหนัก คิดอย่างมีวิจารณญาณ
การสืบค้นและสร้างองค์ความรู้ กระบวนการกลุ่ม และการเสริมสร้างคุณลักษณะที่พึงประสงค์
เพือ่ ให้เกิดความรู้ ความเข้าใจและความตระหนักในสภาพปัจจุบนั ปัญหา ความขัดแย้งและ
ภูมิหลังทางประวัติศาสตร์ เหตุการณ์สาคัญที่เกิดขึ้นในสังคมไทยและภูมิภาคต่างๆ ของโลก สังคมโลก
ยุคโลกาภิวัตน์
สาระการเรียนรู้
- เหตุการณ์ไทย – กัมพูชา กรณีพิพาทปราสาทเขาพระวิหาร
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
ใฝ่เรียนรู้
สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
ความสามารถในการคิด
ชิ้นงานหรือภาระงาน (หลักฐาน ร่องรอยแสดงความรู้)
แผนภาพสรุปเหตุการณ์ไทย – กัมพูชา กรณีพิพาทปราสาทเขาพระวิหาร
คาถามท้าทาย
สาเหตุของเหตุการณ์ไทย – กัมพูชา กรณีพิพาทปราสาทเขาพระวิหาร คืออะไร
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้
1. ครูนาเสนอความรู้เกี่ยวกับเหตุการณ์ไทย – กัมพูชา กรณีพิพาทปราสาทเขาพระวิหาร ด้วยสื่อ
ประเภทต่าง ๆ
2. ให้นักเรียนตั้งคาถามที่ต้องการทราบเกี่ยวกับเหตุการณ์ไทย – กัมพูชา กรณีพิพาทปราสาทเขาพระ
วิหาร
3. ให้นักเรียนศึกษาหาความรู้เบื้องต้นจากหนังสือเรียน เอกสารประกอบการค้นคว้า นิตยสารต่าง ๆ
ตามประเด็นที่ครูและนักเรียนร่วมกันกาหนด และสรุปความรู้เป็นแผนภาพ
4. ครูมอบหมายงานให้นักเรียนไปศึกษาสืบค้นเกี่ยวกับเหตุการณ์ไทย – กัมพูชา กรณีพิพาทปราสาท
เขาพระวิหาร ในรูปแบบการสัมภาษณ์ หรือการนาเสนอการทาโครงงานเรื่องที่สนใจ เพื่อเป็นข้อมูลจัด
กิจกรรมการเรียนการสอนชั่วโมงถัดไป
5. ให้นักเรียนร่วมกันสรุป
6. ให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็น โดยครูใช้คาถามท้าทาย
การจัดบรรยากาศเชิงบวก
ให้นักเรียนตั้งคาถามเพื่อแลกเปลี่ยนความรู้ สืบค้นข้อมูลจากนิตยสาร และสรุปความรู้เป็นแผนภาพ
สื่อการเรียนรู้
Internet
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
1. วิธีการวัดและประเมินผล
สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในการเข้าร่วมกิจกรรม
2. เครื่องมือ
แบบสังเกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรม
3. เกณฑ์การประเมิน
การประเมินพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรม
ผ่านตั้งแต่ 2 รายการ ถือว่า ผ่าน
ผ่าน 1 รายการ ถือว่า ไม่ผ่าน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 24
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
วิชา เหตุการณ์ปัจจุบัน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 สิ่งแวดล้อมโลกสิ่งแวดล้อมไทยโยงใยเป็นหนึ่งเดียว เวลาทั้งหมด 8 ชั่วโมง
เรื่อง ภาวะโลกร้อน เวลาที่ใช้สอน 1 ชั่วโมง
วันที.่ ....เดือน.............................พ.ศ. ............ ม.6/1 ภาคเรียนที่ 2/.....
ครูผู้สอนชื่อ..............................โรงเรียนบ้านพิณโท
................................................................................................................................................................
มาตรฐานการเรียนรู/้ ตัวชี้วัด
ส 5.2 เข้าใจปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสภาพแวดล้อมทางกายภาพที่ก่อให้เกิดการสร้างสรรค์
วัฒนธรรม มีจิตสานึกและมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม
เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
ตัวชี้วัด
ม.4-6/2 ระบุมาตรการป้องกันและแก้ไขปัญหา บทบาทขององค์การ และ
การประสานความร่วมมือทั้งในประเทศและนอกประเทศเกี่ยวกับกฎหมายสิ่งแวดล้อม การจัดการ
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
จุดประสงค์การเรียนรู้สู่ตัวชี้วัด
1. อธิบายเกี่ยวกับภาวะโลกร้อน (K)
2. เขียนสรุปสาเหตุและผลกระทบของภาวะโลกร้อน(P)
3. อธิบายสถานการณ์ภาวะโลกร้อนมีผลกระทบจากอดีตจนถึงปัจจุบัน (A)
สาระสาคัญ
ศึกษาวิเคราะห์สภาพปัจจุบัน ปัญหา ความขัดแย้งและภูมิหลังทางประวัติศาสตร์ของกรณีตัวอย่าง
เหตุการณ์สาคัญที่เกิดขึ้นในสังคมไทยและภูมิภาคต่างๆ ของโลกทางด้านการเมือง การทหาร เศรษฐกิจ
สังคม วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อม ความสัมพันธ์เชื่อมโยงของเหตุการณ์และผลกระทบในระดับ
ท้องถิ่น ระดับประเทศ และระดับนานาชาติ ลักษณะสาคัญของสังคมโลกยุคโลกาภิวัตน์ที่ส่งผล
กระทบทั้งด้านบวกและลบต่อสังคมไทยและสังคมโลก
โดยใช้กระบวนการ สร้างความรูค้ วามเข้าใจ สร้างความตระหนัก คิดอย่างมีวิจารณญาณ
การสืบค้นและสร้างองค์ความรู้ กระบวนการกลุ่ม และการเสริมสร้างคุณลักษณะที่พึงประสงค์
เพือ่ ให้เกิดความรู้ ความเข้าใจและความตระหนักในสภาพปัจจุบนั ปัญหา ความขัดแย้งและ
ภูมิหลังทางประวัติศาสตร์ เหตุการณ์สาคัญที่เกิดขึ้นในสังคมไทยและภูมิภาคต่างๆ ของโลก สังคมโลก
ยุคโลกาภิวัตน์
สาระการเรียนรู้
- ภาวะโลกร้อน
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
ใฝ่เรียนรู้
สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
ความสามารถในการคิด
ชิ้นงานหรือภาระงาน (หลักฐาน ร่องรอยแสดงความรู้)
แผนภาพสรุปภาวะโลกร้อน
คาถามท้าทาย
สาเหตุของภาวะโลกร้อน คืออะไร
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้
1. ครูนาเสนอความรู้เกี่ยวกับภาวะโลกร้อน ด้วยสื่อประเภทต่าง ๆ
2. ให้นักเรียนตั้งคาถามที่ต้องการทราบเกี่ยวกับภาวะโลกร้อน
3. ให้นักเรียนศึกษาหาความรู้เบื้องต้นจากหนังสือเรียน เอกสารประกอบการค้นคว้า นิตยสารต่าง ๆ
ตามประเด็นที่ครูและนักเรียนร่วมกันกาหนด และสรุปความรู้เป็นแผนภาพ
4. ครูมอบหมายงานให้นักเรียนไปศึกษาสืบค้นเกี่ยวกับภาวะโลกร้อนในรูปแบบการสัมภาษณ์ หรือการ
นาเสนอการทาโครงงานเรื่องที่สนใจ เพื่อเป็นข้อมูลจัดกิจกรรมการเรียนการสอนชั่วโมงถัดไป
5. ให้นักเรียนร่วมกันสรุป
6. ให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็น โดยครูใช้คาถามท้าทาย
การจัดบรรยากาศเชิงบวก
ให้นักเรียนตั้งคาถามเพื่อแลกเปลี่ยนความรู้ สืบค้นข้อมูลจากนิตยสาร และสรุปความรู้เป็นแผนภาพ
สื่อการเรียนรู้
Internet
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
1. วิธีการวัดและประเมินผล
สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในการเข้าร่วมกิจกรรม
2. เครื่องมือ
แบบสังเกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรม
3. เกณฑ์การประเมิน
การประเมินพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรม
ผ่านตั้งแต่ 2 รายการ ถือว่า ผ่าน
ผ่าน 1 รายการ ถือว่า ไม่ผ่าน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 25
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
วิชา เหตุการณ์ปัจจุบัน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 สิ่งแวดล้อมโลกสิ่งแวดล้อมไทยโยงใยเป็นหนึ่งเดียว เวลาทั้งหมด 8 ชั่วโมง
เรื่อง ปรากฏการณ์เอลนิโญ/ ลานิญา เวลาที่ใช้สอน 1 ชั่วโมง
วันที.่ ....เดือน.............................พ.ศ. ............ ม.6/1 ภาคเรียนที่ 2/.....
ครูผู้สอนชื่อ..............................โรงเรียนบ้านพิณโท
................................................................................................................................................................
มาตรฐานการเรียนรู/้ ตัวชี้วัด
ส 5.2 เข้าใจปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสภาพแวดล้อมทางกายภาพที่ก่อให้เกิดการสร้างสรรค์
วัฒนธรรม มีจิตสานึกและมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม
เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
ตัวชี้วัด
ม.4-6/2 ระบุมาตรการป้องกันและแก้ไขปัญหา บทบาทขององค์การ และ
การประสานความร่วมมือทั้งในประเทศและนอกประเทศเกี่ยวกับกฎหมายสิ่งแวดล้อม การจัดการ
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
จุดประสงค์การเรียนรู้สู่ตัวชี้วัด
1. อธิบายเกี่ยวกับปรากฏการณ์เอลนิโญ/ ลานิญา (K)
2. เขียนสรุปสาเหตุและผลกระทบของปรากฏการณ์เอลนิโญ/ ลานิญา (P)
3. อธิบายสถานการณ์ปรากฏการณ์เอลนิโญ/ ลานิญา มีผลกระทบจากอดีตจนถึงปัจจุบัน (A)
สาระสาคัญ
ศึกษาวิเคราะห์สภาพปัจจุบัน ปัญหา ความขัดแย้งและภูมิหลังทางประวัติศาสตร์ของกรณีตัวอย่าง
เหตุการณ์สาคัญที่เกิดขึ้นในสังคมไทยและภูมิภาคต่างๆ ของโลกทางด้านการเมือง การทหาร เศรษฐกิจ
สังคม วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อม ความสัมพันธ์เชื่อมโยงของเหตุการณ์และผลกระทบในระดับ
ท้องถิ่น ระดับประเทศ และระดับนานาชาติ ลักษณะสาคัญของสังคมโลกยุคโลกาภิวัตน์ที่ส่งผล
กระทบทั้งด้านบวกและลบต่อสังคมไทยและสังคมโลก
โดยใช้กระบวนการ สร้างความรูค้ วามเข้าใจ สร้างความตระหนัก คิดอย่างมีวิจารณญาณ
การสืบค้นและสร้างองค์ความรู้ กระบวนการกลุ่ม และการเสริมสร้างคุณลักษณะที่พึงประสงค์
เพือ่ ให้เกิดความรู้ ความเข้าใจและความตระหนักในสภาพปัจจุบนั ปัญหา ความขัดแย้งและ
ภูมิหลังทางประวัติศาสตร์ เหตุการณ์สาคัญที่เกิดขึ้นในสังคมไทยและภูมิภาคต่างๆ ของโลก สังคมโลก
ยุคโลกาภิวัตน์
สาระการเรียนรู้
- ปรากฏการณ์เอลนิโญ/ ลานิญา
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
ใฝ่เรียนรู้
สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
ความสามารถในการคิด
ชิ้นงานหรือภาระงาน (หลักฐาน ร่องรอยแสดงความรู้)
แผนภาพสรุปปรากฏการณ์เอลนิโญ/ ลานิญา
คาถามท้าทาย
สาเหตุของปรากฏการณ์เอลนิโญ/ ลานิญา คืออะไร
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้
1. ครูนาเสนอความรู้เกี่ยวกับปรากฏการณ์เอลนิโญ/ ลานิญา ด้วยสื่อประเภทต่าง ๆ
2. ให้นักเรียนตั้งคาถามที่ต้องการทราบเกี่ยวกับปรากฏการณ์เอลนิโญ/ ลานิญา
3. ให้นักเรียนศึกษาหาความรู้เบื้องต้นจากหนังสือเรียน เอกสารประกอบการค้นคว้า นิตยสารต่าง ๆ
ตามประเด็นที่ครูและนักเรียนร่วมกันกาหนด และสรุปความรู้เป็นแผนภาพ
4. ครูมอบหมายงานให้นักเรียนไปศึกษาสืบค้นเกี่ยวกับปรากฏการณ์เอลนิโญ/ ลานิญา ในรูปแบบการ
สัมภาษณ์ หรือการนาเสนอการทาโครงงานเรื่องที่สนใจ เพื่อเป็นข้อมูลจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
ชั่วโมงถัดไป
5. ให้นักเรียนร่วมกันสรุป
6. ให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็น โดยครูใช้คาถามท้าทาย
การจัดบรรยากาศเชิงบวก
ให้นักเรียนตั้งคาถามเพื่อแลกเปลี่ยนความรู้ สืบค้นข้อมูลจากนิตยสาร และสรุปความรู้เป็นแผนภาพ
สื่อการเรียนรู้
Internet
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
1. วิธีการวัดและประเมินผล
สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในการเข้าร่วมกิจกรรม
2. เครื่องมือ
แบบสังเกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรม
3. เกณฑ์การประเมิน
การประเมินพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรม
ผ่านตั้งแต่ 2 รายการ ถือว่า ผ่าน
ผ่าน 1 รายการ ถือว่า ไม่ผ่าน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 26
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
วิชา เหตุการณ์ปัจจุบัน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 สิ่งแวดล้อมโลกสิ่งแวดล้อมไทยโยงใยเป็นหนึ่งเดียว เวลาทั้งหมด 8 ชั่วโมง
เรื่อง สึนามิ เวลาที่ใช้สอน 1 ชั่วโมง
วันที.่ ....เดือน.............................พ.ศ. ............ ม.6/1 ภาคเรียนที่ 2/.....
ครูผู้สอนชื่อ..............................โรงเรียนบ้านพิณโท
................................................................................................................................................................
มาตรฐานการเรียนรู/้ ตัวชี้วัด
ส 5.2 เข้าใจปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสภาพแวดล้อมทางกายภาพที่ก่อให้เกิดการสร้างสรรค์
วัฒนธรรม มีจิตสานึกและมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม
เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
ตัวชี้วัด
ม.4-6/2 ระบุมาตรการป้องกันและแก้ไขปัญหา บทบาทขององค์การ และ
การประสานความร่วมมือทั้งในประเทศและนอกประเทศเกี่ยวกับกฎหมายสิ่งแวดล้อม การจัดการ
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
จุดประสงค์การเรียนรู้สู่ตัวชี้วัด
1. อธิบายเกี่ยวกับสึนามิ(K)
2. เขียนสรุปสาเหตุและผลกระทบของสึนามิ(P)
3. อธิบายสถานการณ์สึนามิมีผลกระทบจากอดีตจนถึงปัจจุบัน (A)
สาระสาคัญ
ศึกษาวิเคราะห์สภาพปัจจุบัน ปัญหา ความขัดแย้งและภูมิหลังทางประวัติศาสตร์ของกรณีตัวอย่าง
เหตุการณ์สาคัญที่เกิดขึ้นในสังคมไทยและภูมิภาคต่างๆ ของโลกทางด้านการเมือง การทหาร เศรษฐกิจ
สังคม วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อม ความสัมพันธ์เชื่อมโยงของเหตุการณ์และผลกระทบในระดับ
ท้องถิ่น ระดับประเทศ และระดับนานาชาติ ลักษณะสาคัญของสังคมโลกยุคโลกาภิวัตน์ที่ส่งผล
กระทบทั้งด้านบวกและลบต่อสังคมไทยและสังคมโลก
โดยใช้กระบวนการ สร้างความรูค้ วามเข้าใจ สร้างความตระหนัก คิดอย่างมีวิจารณญาณ
การสืบค้นและสร้างองค์ความรู้ กระบวนการกลุ่ม และการเสริมสร้างคุณลักษณะที่พึงประสงค์
เพือ่ ให้เกิดความรู้ ความเข้าใจและความตระหนักในสภาพปัจจุบนั ปัญหา ความขัดแย้งและ
ภูมิหลังทางประวัติศาสตร์ เหตุการณ์สาคัญที่เกิดขึ้นในสังคมไทยและภูมิภาคต่างๆ ของโลก สังคมโลก
ยุคโลกาภิวัตน์
สาระการเรียนรู้
- สึนามิ
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
ใฝ่เรียนรู้
สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
ความสามารถในการคิด
ชิ้นงานหรือภาระงาน (หลักฐาน ร่องรอยแสดงความรู้)
แผนภาพสรุปสึนามิ
คาถามท้าทาย
สาเหตุของสึนามิคืออะไร
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้
1. ครูนาเสนอความรู้เกี่ยวกับสึนามิด้วยสื่อประเภทต่าง ๆ
2. ให้นักเรียนตั้งคาถามที่ต้องการทราบเกี่ยวกับสึนามิ
3. ให้นักเรียนศึกษาหาความรู้เบื้องต้นจากหนังสือเรียน เอกสารประกอบการค้นคว้า นิตยสารต่าง ๆ
ตามประเด็นที่ครูและนักเรียนร่วมกันกาหนด และสรุปความรู้เป็นแผนภาพ
4. ครูมอบหมายงานให้นักเรียนไปศึกษาสืบค้นเกี่ยวกับสึนามิในรูปแบบการสัมภาษณ์ หรือการนาเสนอ
การทาโครงงานเรื่องที่สนใจ เพื่อเป็นข้อมูลจัดกิจกรรมการเรียนการสอนชั่วโมงถัดไป
5. ให้นักเรียนร่วมกันสรุป
6. ให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็น โดยครูใช้คาถามท้าทาย
การจัดบรรยากาศเชิงบวก
ให้นักเรียนตั้งคาถามเพื่อแลกเปลี่ยนความรู้ สืบค้นข้อมูลจากนิตยสาร และสรุปความรู้เป็นแผนภาพ
สื่อการเรียนรู้
Internet
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
1. วิธีการวัดและประเมินผล
สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในการเข้าร่วมกิจกรรม
2. เครื่องมือ
แบบสังเกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรม
3. เกณฑ์การประเมิน
การประเมินพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรม
ผ่านตั้งแต่ 2 รายการ ถือว่า ผ่าน
ผ่าน 1 รายการ ถือว่า ไม่ผ่าน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 27
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
วิชา เหตุการณ์ปัจจุบัน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 สิ่งแวดล้อมโลกสิ่งแวดล้อมไทยโยงใยเป็นหนึ่งเดียว เวลาทั้งหมด 8 ชั่วโมง
เรื่อง อนุสัญญาว่าด้วยไซเตส เวลาที่ใช้สอน 1 ชั่วโมง
วันที.่ ....เดือน.............................พ.ศ. ............ ม.6/1 ภาคเรียนที่ 2/.....
ครูผู้สอนชื่อ..............................โรงเรียนบ้านพิณโท
................................................................................................................................................................
มาตรฐานการเรียนรู/้ ตัวชี้วัด
ส 5.2 เข้าใจปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสภาพแวดล้อมทางกายภาพที่ก่อให้เกิดการสร้างสรรค์
วัฒนธรรม มีจิตสานึกและมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม
เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
ตัวชี้วัด
ม.4-6/2 ระบุมาตรการป้องกันและแก้ไขปัญหา บทบาทขององค์การ และ
การประสานความร่วมมือทั้งในประเทศและนอกประเทศเกี่ยวกับกฎหมายสิ่งแวดล้อม การจัดการ
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
จุดประสงค์การเรียนรู้สู่ตัวชี้วัด
1. อธิบายเกี่ยวกับอนุสัญญาว่าด้วยไซเตส(K)
2. เขียนสรุปสาเหตุและผลกระทบอนุสัญญาว่าด้วยไซเตส(P)
3. อธิบายอนุสัญญาว่าด้วยไซเตส มีผลกระทบจากอดีตจนถึงปัจจุบัน (A)
สาระสาคัญ
ศึกษาวิเคราะห์สภาพปัจจุบัน ปัญหา ความขัดแย้งและภูมิหลังทางประวัติศาสตร์ของกรณีตัวอย่าง
เหตุการณ์สาคัญที่เกิดขึ้นในสังคมไทยและภูมิภาคต่างๆ ของโลกทางด้านการเมือง การทหาร เศรษฐกิจ
สังคม วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อม ความสัมพันธ์เชื่อมโยงของเหตุการณ์และผลกระทบในระดับ
ท้องถิ่น ระดับประเทศ และระดับนานาชาติ ลักษณะสาคัญของสังคมโลกยุคโลกาภิวัตน์ที่ส่งผล
กระทบทั้งด้านบวกและลบต่อสังคมไทยและสังคมโลก
โดยใช้กระบวนการ สร้างความรูค้ วามเข้าใจ สร้างความตระหนัก คิดอย่างมีวิจารณญาณ
การสืบค้นและสร้างองค์ความรู้ กระบวนการกลุ่ม และการเสริมสร้างคุณลักษณะที่พึงประสงค์
เพือ่ ให้เกิดความรู้ ความเข้าใจและความตระหนักในสภาพปัจจุบนั ปัญหา ความขัดแย้งและ
ภูมิหลังทางประวัติศาสตร์ เหตุการณ์สาคัญที่เกิดขึ้นในสังคมไทยและภูมิภาคต่างๆ ของโลก สังคมโลก
ยุคโลกาภิวัตน์
สาระการเรียนรู้
- อนุสัญญาว่าด้วยไซเตส
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
ใฝ่เรียนรู้
สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
ความสามารถในการคิด
ชิ้นงานหรือภาระงาน (หลักฐาน ร่องรอยแสดงความรู้)
แผนภาพสรุปอนุสัญญาว่าด้วยไซเตส
คาถามท้าทาย
อนุสัญญาว่าด้วยไซเตส คืออะไร
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้
1. ครูนาเสนอความรู้เกี่ยวกับอนุสัญญาว่าด้วยไซเตสด้วยสื่อประเภทต่าง ๆ
2. ให้นักเรียนตั้งคาถามที่ต้องการทราบเกี่ยวกับอนุสัญญาว่าด้วยไซเตส
3. ให้นักเรียนศึกษาหาความรู้เบื้องต้นจากหนังสือเรียน เอกสารประกอบการค้นคว้า นิตยสารต่าง ๆ
ตามประเด็นที่ครูและนักเรียนร่วมกันกาหนด และสรุปความรู้เป็นแผนภาพ
4. ครูมอบหมายงานให้นักเรียนไปศึกษาสืบค้นเกี่ยวกับอนุสัญญาว่าด้วยไซเตสในรูปแบบการสัมภาษณ์
หรือการนาเสนอการทาโครงงานเรื่องที่สนใจ เพื่อเป็นข้อมูลจัดกิจกรรมการเรียนการสอนชั่วโมงถัดไป
5. ให้นักเรียนร่วมกันสรุป
6. ให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็น โดยครูใช้คาถามท้าทาย
การจัดบรรยากาศเชิงบวก
ให้นักเรียนตั้งคาถามเพื่อแลกเปลี่ยนความรู้ สืบค้นข้อมูลจากนิตยสาร และสรุปความรู้เป็นแผนภาพ
สื่อการเรียนรู้
Internet
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
1. วิธีการวัดและประเมินผล
สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในการเข้าร่วมกิจกรรม
2. เครื่องมือ
แบบสังเกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรม
3. เกณฑ์การประเมิน
การประเมินพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรม
ผ่านตั้งแต่ 2 รายการ ถือว่า ผ่าน
ผ่าน 1 รายการ ถือว่า ไม่ผ่าน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 28
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
วิชา เหตุการณ์ปัจจุบัน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 สิ่งแวดล้อมโลกสิ่งแวดล้อมไทยโยงใยเป็นหนึ่งเดียว เวลาทั้งหมด 8 ชั่วโมง
เรื่อง องค์กรที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐและเอกชน เวลาที่ใช้สอน 1 ชั่วโมง
วันที.่ ....เดือน.............................พ.ศ. ............ ม.6/1 ภาคเรียนที่ 2/.....
ครูผู้สอนชื่อ..............................โรงเรียนบ้านพิณโท
................................................................................................................................................................
มาตรฐานการเรียนรู/้ ตัวชี้วัด
ส 5.2 เข้าใจปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสภาพแวดล้อมทางกายภาพที่ก่อให้เกิดการสร้างสรรค์
วัฒนธรรม มีจิตสานึกและมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม
เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
ตัวชี้วัด
ม.4-6/2 ระบุมาตรการป้องกันและแก้ไขปัญหา บทบาทขององค์การ และ
การประสานความร่วมมือทั้งในประเทศและนอกประเทศเกี่ยวกับกฎหมายสิ่งแวดล้อม การจัดการ
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
จุดประสงค์การเรียนรู้สู่ตัวชี้วัด
1. อธิบายเกี่ยวกับองค์กรที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐและเอกชน(K)
2. เขียนสรุปสาเหตุและผลกระทบองค์กรที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐและเอกชน(P)
3. อธิบายองค์กรที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐและเอกชนมีผลกระทบจากอดีตจนถึงปัจจุบัน (A)
สาระสาคัญ
ศึกษาวิเคราะห์สภาพปัจจุบัน ปัญหา ความขัดแย้งและภูมิหลังทางประวัติศาสตร์ของกรณีตัวอย่าง
เหตุการณ์สาคัญที่เกิดขึ้นในสังคมไทยและภูมิภาคต่างๆ ของโลกทางด้านการเมือง การทหาร เศรษฐกิจ
สังคม วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อม ความสัมพันธ์เชื่อมโยงของเหตุการณ์และผลกระทบในระดับ
ท้องถิ่น ระดับประเทศ และระดับนานาชาติ ลักษณะสาคัญของสังคมโลกยุคโลกาภิวัตน์ที่ส่งผล
กระทบทั้งด้านบวกและลบต่อสังคมไทยและสังคมโลก
โดยใช้กระบวนการ สร้างความรูค้ วามเข้าใจ สร้างความตระหนัก คิดอย่างมีวิจารณญาณ
การสืบค้นและสร้างองค์ความรู้ กระบวนการกลุ่ม และการเสริมสร้างคุณลักษณะที่พึงประสงค์
เพือ่ ให้เกิดความรู้ ความเข้าใจและความตระหนักในสภาพปัจจุบนั ปัญหา ความขัดแย้งและ
ภูมิหลังทางประวัติศาสตร์ เหตุการณ์สาคัญที่เกิดขึ้นในสังคมไทยและภูมิภาคต่างๆ ของโลก สังคมโลก
ยุคโลกาภิวัตน์
สาระการเรียนรู้
- องค์กรที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐและเอกชน
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
ใฝ่เรียนรู้
สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
ความสามารถในการคิด
ชิ้นงานหรือภาระงาน (หลักฐาน ร่องรอยแสดงความรู้)
แผนภาพสรุปองค์กรที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐและเอกชน
คาถามท้าทาย
องค์กรที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐและเอกชน คืออะไร
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้
1. ครูนาเสนอความรู้เกี่ยวกับองค์กรที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐและเอกชนด้วยสื่อประเภทต่าง ๆ
2. ให้นักเรียนตั้งคาถามที่ต้องการทราบเกี่ยวกับองค์กรที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐและเอกชน
3. ให้นักเรียนศึกษาหาความรู้เบื้องต้นจากหนังสือเรียน เอกสารประกอบการค้นคว้า นิตยสารต่าง ๆ
ตามประเด็นที่ครูและนักเรียนร่วมกันกาหนด และสรุปความรู้เป็นแผนภาพ
4. ครูมอบหมายงานให้นักเรียนไปศึกษาสืบค้นเกี่ยวกับองค์กรที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐและเอกชน
ในรูปแบบการสัมภาษณ์ หรือการนาเสนอการทาโครงงานเรื่องที่สนใจ เพื่อเป็นข้อมูลจัดกิจกรรมการ
เรียนการสอนชั่วโมงถัดไป
5. ให้นักเรียนร่วมกันสรุป
6. ให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็น โดยครูใช้คาถามท้าทาย
การจัดบรรยากาศเชิงบวก
ให้นักเรียนตั้งคาถามเพื่อแลกเปลี่ยนความรู้ สืบค้นข้อมูลจากนิตยสาร และสรุปความรู้เป็นแผนภาพ
สื่อการเรียนรู้
Internet
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
1. วิธีการวัดและประเมินผล
สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในการเข้าร่วมกิจกรรม
2. เครื่องมือ
แบบสังเกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรม
3. เกณฑ์การประเมิน
การประเมินพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรม
ผ่านตั้งแต่ 2 รายการ ถือว่า ผ่าน
ผ่าน 1 รายการ ถือว่า ไม่ผ่าน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 29
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
วิชา เหตุการณ์ปัจจุบัน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 สิ่งแวดล้อมโลกสิ่งแวดล้อมไทยโยงใยเป็นหนึ่งเดียว เวลาทั้งหมด 8 ชั่วโมง
เรื่อง ตระหนักถึงปัญหาในการใช้สอยและอนุรักษ์ เวลาที่ใช้สอน 1 ชั่วโมง
วันที.่ ....เดือน.............................พ.ศ. ............ ม.6/1 ภาคเรียนที่ 2/.....
ครูผู้สอนชื่อ..............................โรงเรียนบ้านพิณโท
................................................................................................................................................................
มาตรฐานการเรียนรู/้ ตัวชี้วัด
ส 5.2 เข้าใจปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสภาพแวดล้อมทางกายภาพที่ก่อให้เกิดการสร้างสรรค์
วัฒนธรรม มีจิตสานึกและมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม
เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
ตัวชี้วัด
ม.4-6/2 ระบุมาตรการป้องกันและแก้ไขปัญหา บทบาทขององค์การ และ
การประสานความร่วมมือทั้งในประเทศและนอกประเทศเกี่ยวกับกฎหมายสิ่งแวดล้อม การจัดการ
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
จุดประสงค์การเรียนรู้สู่ตัวชี้วัด
1. อธิบายเกี่ยวกับองค์กรที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐและเอกชน(K)
2. เขียนสรุปสาเหตุและผลกระทบองค์กรที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐและเอกชน(P)
3. อธิบายองค์กรที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐและเอกชนมีผลกระทบจากอดีตจนถึงปัจจุบัน (A)
สาระสาคัญ
ศึกษาวิเคราะห์สภาพปัจจุบัน ปัญหา ความขัดแย้งและภูมิหลังทางประวัติศาสตร์ของกรณีตัวอย่าง
เหตุการณ์สาคัญที่เกิดขึ้นในสังคมไทยและภูมิภาคต่างๆ ของโลกทางด้านการเมือง การทหาร เศรษฐกิจ
สังคม วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อม ความสัมพันธ์เชื่อมโยงของเหตุการณ์และผลกระทบในระดับ
ท้องถิ่น ระดับประเทศ และระดับนานาชาติ ลักษณะสาคัญของสังคมโลกยุคโลกาภิวัตน์ที่ส่งผล
กระทบทั้งด้านบวกและลบต่อสังคมไทยและสังคมโลก
โดยใช้กระบวนการ สร้างความรูค้ วามเข้าใจ สร้างความตระหนัก คิดอย่างมีวิจารณญาณ
การสืบค้นและสร้างองค์ความรู้ กระบวนการกลุ่ม และการเสริมสร้างคุณลักษณะที่พึงประสงค์
เพือ่ ให้เกิดความรู้ ความเข้าใจและความตระหนักในสภาพปัจจุบนั ปัญหา ความขัดแย้งและ
ภูมิหลังทางประวัติศาสตร์ เหตุการณ์สาคัญที่เกิดขึ้นในสังคมไทยและภูมิภาคต่างๆ ของโลก สังคมโลก
ยุคโลกาภิวัตน์
สาระการเรียนรู้
- องค์กรที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐและเอกชน
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
ใฝ่เรียนรู้
สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
ความสามารถในการคิด
ชิ้นงานหรือภาระงาน (หลักฐาน ร่องรอยแสดงความรู้)
แผนภาพสรุปองค์กรที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐและเอกชน
คาถามท้าทาย
องค์กรที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐและเอกชน คืออะไร
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้
1. ครูนาเสนอความรู้เกี่ยวกับองค์กรที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐและเอกชนด้วยสื่อประเภทต่าง ๆ
2. ให้นักเรียนตั้งคาถามที่ต้องการทราบเกี่ยวกับองค์กรที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐและเอกชน
3. ให้นักเรียนศึกษาหาความรู้เบื้องต้นจากหนังสือเรียน เอกสารประกอบการค้นคว้า นิตยสารต่าง ๆ
ตามประเด็นที่ครูและนักเรียนร่วมกันกาหนด และสรุปความรู้เป็นแผนภาพ
4. ครูมอบหมายงานให้นักเรียนไปศึกษาสืบค้นเกี่ยวกับองค์กรที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐและเอกชน
ในรูปแบบการสัมภาษณ์ หรือการนาเสนอการทาโครงงานเรื่องที่สนใจ เพื่อเป็นข้อมูลจัดกิจกรรมการ
เรียนการสอนชั่วโมงถัดไป
5. ให้นักเรียนร่วมกันสรุป
6. ให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็น โดยครูใช้คาถามท้าทาย
การจัดบรรยากาศเชิงบวก
ให้นักเรียนตั้งคาถามเพื่อแลกเปลี่ยนความรู้ สืบค้นข้อมูลจากนิตยสาร และสรุปความรู้เป็นแผนภาพ
สื่อการเรียนรู้
Internet
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
1. วิธีการวัดและประเมินผล
สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในการเข้าร่วมกิจกรรม
2. เครื่องมือ
แบบสังเกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรม
3. เกณฑ์การประเมิน
การประเมินพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรม
ผ่านตั้งแต่ 2 รายการ ถือว่า ผ่าน
ผ่าน 1 รายการ ถือว่า ไม่ผ่าน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 30
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
วิชา เหตุการณ์ปัจจุบัน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 สิ่งแวดล้อมโลกสิ่งแวดล้อมไทยโยงใยเป็นหนึ่งเดียว เวลาทั้งหมด 8 ชั่วโมง
เรื่อง ผลกระทบการใช้สอย เวลาที่ใช้สอน 1 ชั่วโมง
วันที.่ ....เดือน.............................พ.ศ. ............ ม.6/1 ภาคเรียนที่ 2/.....
ครูผู้สอนชื่อ..............................โรงเรียนบ้านพิณโท
............................................................................................................................ ....................................
มาตรฐานการเรียนรู/้ ตัวชี้วัด
ส 5.2 เข้าใจปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสภาพแวดล้อมทางกายภาพที่ก่อให้เกิดการสร้างสรรค์
วัฒนธรรม มีจิตสานึกและมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม
เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
ตัวชี้วัด
ม.4-6/2 ระบุมาตรการป้องกันและแก้ไขปัญหา บทบาทขององค์การ และ
การประสานความร่วมมือทั้งในประเทศและนอกประเทศเกี่ยวกับกฎหมายสิ่งแวดล้อม การจัดการ
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
จุดประสงค์การเรียนรู้สู่ตัวชี้วัด
1. อธิบายเกี่ยวกับองค์กรที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐและเอกชน(K)
2. เขียนสรุปสาเหตุและผลกระทบองค์กรที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐและเอกชน(P)
3. อธิบายองค์กรที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐและเอกชนมีผลกระทบจากอดีตจนถึงปัจจุบัน (A)
สาระสาคัญ
ศึกษาวิเคราะห์สภาพปัจจุบัน ปัญหา ความขัดแย้งและภูมิหลังทางประวัติศาสตร์ของกรณีตัวอย่าง
เหตุการณ์สาคัญที่เกิดขึ้นในสังคมไทยและภูมิภาคต่างๆ ของโลกทางด้านการเมือง การทหาร เศรษฐกิจ
สังคม วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อม ความสัมพันธ์เชื่อมโยงของเหตุการณ์และผลกระทบในระดับ
ท้องถิ่น ระดับประเทศ และระดับนานาชาติ ลักษณะสาคัญของสังคมโลกยุคโลกาภิวัตน์ที่ส่งผล
กระทบทั้งด้านบวกและลบต่อสังคมไทยและสังคมโลก
โดยใช้กระบวนการ สร้างความรูค้ วามเข้าใจ สร้างความตระหนัก คิดอย่างมีวิจารณญาณ
การสืบค้นและสร้างองค์ความรู้ กระบวนการกลุ่ม และการเสริมสร้างคุณลักษณะที่พึงประสงค์
เพือ่ ให้เกิดความรู้ ความเข้าใจและความตระหนักในสภาพปัจจุบนั ปัญหา ความขัดแย้งและ
ภูมิหลังทางประวัติศาสตร์ เหตุการณ์สาคัญที่เกิดขึ้นในสังคมไทยและภูมิภาคต่างๆ ของโลก สังคมโลก
ยุคโลกาภิวัตน์
สาระการเรียนรู้
- องค์กรที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐและเอกชน
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
ใฝ่เรียนรู้
สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
ความสามารถในการคิด
ชิ้นงานหรือภาระงาน (หลักฐาน ร่องรอยแสดงความรู้)
แผนภาพสรุปองค์กรที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐและเอกชน
คาถามท้าทาย
องค์กรที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐและเอกชน คืออะไร
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้
1. ครูนาเสนอความรู้เกี่ยวกับองค์กรที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐและเอกชนด้วยสื่อประเภทต่าง ๆ
2. ให้นักเรียนตั้งคาถามที่ต้องการทราบเกี่ยวกับองค์กรที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐและเอกชน
3. ให้นักเรียนศึกษาหาความรู้เบื้องต้นจากหนังสือเรียน เอกสารประกอบการค้นคว้า นิตยสารต่าง ๆ
ตามประเด็นที่ครูและนักเรียนร่วมกันกาหนด และสรุปความรู้เป็นแผนภาพ
4. ครูมอบหมายงานให้นักเรียนไปศึกษาสืบค้นเกี่ยวกับองค์กรที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐและเอกชน
ในรูปแบบการสัมภาษณ์ หรือการนาเสนอการทาโครงงานเรื่องที่สนใจ เพื่อเป็นข้อมูลจัดกิจกรรมการ
เรียนการสอนชั่วโมงถัดไป
5. ให้นักเรียนร่วมกันสรุป
6. ให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็น โดยครูใช้คาถามท้าทาย
การจัดบรรยากาศเชิงบวก
ให้นักเรียนตั้งคาถามเพื่อแลกเปลี่ยนความรู้ สืบค้นข้อมูลจากนิตยสาร และสรุปความรู้เป็นแผนภาพ
สื่อการเรียนรู้
Internet
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
1. วิธีการวัดและประเมินผล
สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในการเข้าร่วมกิจกรรม
2. เครื่องมือ
แบบสังเกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรม
3. เกณฑ์การประเมิน
การประเมินพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรม
ผ่านตั้งแต่ 2 รายการ ถือว่า ผ่าน
ผ่าน 1 รายการ ถือว่า ไม่ผ่าน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 31
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
วิชา เหตุการณ์ปัจจุบัน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 สิ่งแวดล้อมโลกสิ่งแวดล้อมไทยโยงใยเป็นหนึ่งเดียว เวลาทั้งหมด 8 ชั่วโมง
เรื่อง บทบาทหน้าที่ ในการอนุรักษ์ เวลาที่ใช้สอน 1 ชั่วโมง
วันที.่ ....เดือน.............................พ.ศ. ............ ม.6/1 ภาคเรียนที่ 2/.....
ครูผู้สอนชื่อ..............................โรงเรียนบ้านพิณโท
................................................................................................................................................................
มาตรฐานการเรียนรู/้ ตัวชี้วัด
ส 5.2 เข้าใจปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสภาพแวดล้อมทางกายภาพที่ก่อให้เกิดการสร้างสรรค์
วัฒนธรรม มีจิตสานึกและมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม
เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
ตัวชี้วัด
ม.4-6/2 ระบุมาตรการป้องกันและแก้ไขปัญหา บทบาทขององค์การ และ
การประสานความร่วมมือทั้งในประเทศและนอกประเทศเกี่ยวกับกฎหมายสิ่งแวดล้อม การจัดการ
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
จุดประสงค์การเรียนรู้สู่ตัวชี้วัด
1. อธิบายเกี่ยวกับบทบาทหน้าที่ ในการอนุรักษ์(K)
2. เขียนสรุปสาเหตุและผลกระทบบทบาทหน้าที่ ในการอนุรักษ์(P)
3. อธิบายบทบาทหน้าที่ ในการอนุรักษ์มีผลกระทบจากอดีตจนถึงปัจจุบัน (A)
สาระสาคัญ
ศึกษาวิเคราะห์สภาพปัจจุบัน ปัญหา ความขัดแย้งและภูมิหลังทางประวัติศาสตร์ของกรณีตัวอย่าง
เหตุการณ์สาคัญที่เกิดขึ้นในสังคมไทยและภูมิภาคต่างๆ ของโลกทางด้านการเมือง การทหาร เศรษฐกิจ
สังคม วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อม ความสัมพันธ์เชื่อมโยงของเหตุการณ์และผลกระทบในระดับ
ท้องถิ่น ระดับประเทศ และระดับนานาชาติ ลักษณะสาคัญของสังคมโลกยุคโลกาภิวัตน์ที่ส่งผล
กระทบทั้งด้านบวกและลบต่อสังคมไทยและสังคมโลก
โดยใช้กระบวนการ สร้างความรูค้ วามเข้าใจ สร้างความตระหนัก คิดอย่างมีวิจารณญาณ
การสืบค้นและสร้างองค์ความรู้ กระบวนการกลุ่ม และการเสริมสร้างคุณลักษณะที่พึงประสงค์
เพือ่ ให้เกิดความรู้ ความเข้าใจและความตระหนักในสภาพปัจจุบนั ปัญหา ความขัดแย้งและ
ภูมิหลังทางประวัติศาสตร์ เหตุการณ์สาคัญที่เกิดขึ้นในสังคมไทยและภูมิภาคต่างๆ ของโลก สังคมโลก
ยุคโลกาภิวัตน์
สาระการเรียนรู้
- บทบาทหน้าที่ ในการอนุรักษ์
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
ใฝ่เรียนรู้
สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
ความสามารถในการคิด
ชิ้นงานหรือภาระงาน (หลักฐาน ร่องรอยแสดงความรู้)
แผนภาพสรุปบทบาทหน้าที่ ในการอนุรักษ์
คาถามท้าทาย
บทบาทหน้าที่ ในการอนุรักษ์ คืออะไร
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้
1. ครูนาเสนอความรู้เกี่ยวกับบทบาทหน้าที่ ในการอนุรักษ์ด้วยสื่อประเภทต่าง ๆ
2. ให้นักเรียนตั้งคาถามที่ต้องการทราบเกี่ยวกับบทบาทหน้าที่ ในการอนุรักษ์
3. ให้นักเรียนศึกษาหาความรู้เบื้องต้นจากหนังสือเรียน เอกสารประกอบการค้นคว้า นิตยสารต่าง ๆ
ตามประเด็นที่ครูและนักเรียนร่วมกันกาหนด และสรุปความรู้เป็นแผนภาพ
4. ครูมอบหมายงานให้นักเรียนไปศึกษาสืบค้นเกี่ยวกับบทบาทหน้าที่ ในการอนุรักษ์ในรูปแบบการ
สัมภาษณ์ หรือการนาเสนอการทาโครงงานเรื่องที่สนใจ เพื่อเป็นข้อมูลจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
ชั่วโมงถัดไป
5. ให้นักเรียนร่วมกันสรุป
6. ให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็น โดยครูใช้คาถามท้าทาย
การจัดบรรยากาศเชิงบวก
ให้นักเรียนตั้งคาถามเพื่อแลกเปลี่ยนความรู้ สืบค้นข้อมูลจากนิตยสาร และสรุปความรู้เป็นแผนภาพ
สื่อการเรียนรู้
Internet
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
1. วิธีการวัดและประเมินผล
สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในการเข้าร่วมกิจกรรม
2. เครื่องมือ
แบบสังเกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรม
3. เกณฑ์การประเมิน
การประเมินพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรม
ผ่านตั้งแต่ 2 รายการ ถือว่า ผ่าน
ผ่าน 1 รายการ ถือว่า ไม่ผ่าน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 32
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
วิชา เหตุการณ์ปัจจุบัน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 วิกฤตเศรษฐกิจไทยเศรษฐกิจโลก เวลาทั้งหมด 3 ชั่วโมง
เรื่อง วิกฤตต้มยากุ้ง เวลาที่ใช้สอน 1 ชั่วโมง
วันที.่ ....เดือน.............................พ.ศ. ............ ม.6/1 ภาคเรียนที่ 2/.....
ครูผู้สอนชื่อ..............................โรงเรียนบ้านพิณโท
................................................................................................................................................................
มาตรฐานการเรียนรู/้ ตัวชี้วัด
ส 3.2 เข้าใจระบบและสถาบันทางเศรษฐกิจต่าง ๆ ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ และ
ความจาเป็นของการร่วมมือทางเศรษฐกิจในสังคมโลก
ตัวชี้วัด
ม.4-6/1 อธิบายบทบาทของรัฐบาลเกี่ยวกับนโยบายการเงิน การคลังในการพัฒนาเศรษฐกิจของ
ประเทศ
จุดประสงค์การเรียนรู้สู่ตัวชี้วัด
1. อธิบายเกี่ยวกับวิกฤตต้มยากุ้ง (K)
2. เขียนสรุปสาเหตุและผลกระทบวิกฤตต้มยากุ้ง (P)
3. อธิบายวิกฤตต้มยากุ้ง มีผลกระทบจากอดีตจนถึงปัจจุบัน (A)
สาระสาคัญ
ศึกษาวิเคราะห์สภาพปัจจุบัน ปัญหา ความขัดแย้งและภูมิหลังทางประวัติศาสตร์ของกรณีตัวอย่าง
เหตุการณ์สาคัญที่เกิดขึ้นในสังคมไทยและภูมิภาคต่างๆ ของโลกทางด้านการเมือง การทหาร เศรษฐกิจ
สังคม วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อม ความสัมพันธ์เชื่อมโยงของเหตุการณ์และผลกระทบในระดับ
ท้องถิ่น ระดับประเทศ และระดับนานาชาติ ลักษณะสาคัญของสังคมโลกยุคโลกาภิวัตน์ที่ส่งผล
กระทบทั้งด้านบวกและลบต่อสังคมไทยและสังคมโลก
โดยใช้กระบวนการ สร้างความรูค้ วามเข้าใจ สร้างความตระหนัก คิดอย่างมีวิจารณญาณ
การสืบค้นและสร้างองค์ความรู้ กระบวนการกลุ่ม และการเสริมสร้างคุณลักษณะที่พึงประสงค์
เพือ่ ให้เกิดความรู้ ความเข้าใจและความตระหนักในสภาพปัจจุบนั ปัญหา ความขัดแย้งและ
ภูมิหลังทางประวัติศาสตร์ เหตุการณ์สาคัญที่เกิดขึ้นในสังคมไทยและภูมิภาคต่างๆ ของโลก สังคมโลก
ยุคโลกาภิวัตน์
สาระการเรียนรู้
- วิกฤตต้มยากุ้ง
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
ใฝ่เรียนรู้
สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
ความสามารถในการคิด
ชิ้นงานหรือภาระงาน (หลักฐาน ร่องรอยแสดงความรู้)
แผนภาพสรุปวิกฤตต้มยากุ้ง

คาถามท้าทาย
วิกฤตต้มยากุ้ง คืออะไร
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้
1. ครูนาเสนอความรู้เกี่ยวกับวิกฤตต้มยากุ้ง ด้วยสื่อประเภทต่าง ๆ
2. ให้นักเรียนตั้งคาถามที่ต้องการทราบเกี่ยวกับวิกฤตต้มยากุ้ง
3. ให้นักเรียนศึกษาหาความรู้เบื้องต้นจากหนังสือเรียน เอกสารประกอบการค้นคว้า นิตยสารต่าง ๆ
ตามประเด็นที่ครูและนักเรียนร่วมกันกาหนด และสรุปความรู้เป็นแผนภาพ
4. ครูมอบหมายงานให้นักเรียนไปศึกษาสืบค้นเกี่ยวกับวิกฤตต้มยากุ้ง ในรูปแบบการสัมภาษณ์ หรือ
การนาเสนอการทาโครงงานเรื่องที่สนใจ เพื่อเป็นข้อมูลจัดกิจกรรมการเรียนการสอนชั่วโมงถัดไป
5. ให้นักเรียนร่วมกันสรุป
6. ให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็น โดยครูใช้คาถามท้าทาย
การจัดบรรยากาศเชิงบวก
ให้นักเรียนตั้งคาถามเพื่อแลกเปลี่ยนความรู้ สืบค้นข้อมูลจากนิตยสาร และสรุปความรู้เป็นแผนภาพ
สื่อการเรียนรู้
Internet
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
1. วิธีการวัดและประเมินผล
สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในการเข้าร่วมกิจกรรม
2. เครื่องมือ
แบบสังเกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรม
3. เกณฑ์การประเมิน
การประเมินพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรม
ผ่านตั้งแต่ 2 รายการ ถือว่า ผ่าน
ผ่าน 1 รายการ ถือว่า ไม่ผ่าน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 33
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
วิชา เหตุการณ์ปัจจุบัน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 วิกฤตเศรษฐกิจไทยเศรษฐกิจโลก เวลาทั้งหมด 3 ชั่วโมง
เรื่อง วิกฤตแฮมเบอร์เกอร์ เวลาที่ใช้สอน 1 ชั่วโมง
วันที.่ ....เดือน.............................พ.ศ. ............ ม.6/1 ภาคเรียนที่ 2/.....
ครูผู้สอนชื่อนายภวิศ พิมพ์แน่น โรงเรียนบ้านพิณโท
................................................................................................................................................................
มาตรฐานการเรียนรู/้ ตัวชี้วัด
ส 3.2 เข้าใจระบบและสถาบันทางเศรษฐกิจต่าง ๆ ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ และ
ความจาเป็นของการร่วมมือทางเศรษฐกิจในสังคมโลก
ตัวชี้วัด
ม.4-6/1 อธิบายบทบาทของรัฐบาลเกี่ยวกับนโยบายการเงิน การคลังในการพัฒนาเศรษฐกิจของ
ประเทศ
จุดประสงค์การเรียนรู้สู่ตัวชี้วัด
1. อธิบายเกี่ยวกับวิกฤตแฮมเบอร์เกอร์ (K)
2. เขียนสรุปสาเหตุและผลกระทบวิกฤตแฮมเบอร์เกอร์ (P)
3. อธิบายวิกฤตแฮมเบอร์เกอร์ มีผลกระทบจากอดีตจนถึงปัจจุบัน (A)
สาระสาคัญ
ศึกษาวิเคราะห์สภาพปัจจุบัน ปัญหา ความขัดแย้งและภูมิหลังทางประวัติศาสตร์ของกรณีตัวอย่าง
เหตุการณ์สาคัญที่เกิดขึ้นในสังคมไทยและภูมิภาคต่างๆ ของโลกทางด้านการเมือง การทหาร เศรษฐกิจ
สังคม วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อม ความสัมพันธ์เชื่อมโยงของเหตุการณ์และผลกระทบในระดับ
ท้องถิ่น ระดับประเทศ และระดับนานาชาติ ลักษณะสาคัญของสังคมโลกยุคโลกาภิวัตน์ที่ส่งผล
กระทบทั้งด้านบวกและลบต่อสังคมไทยและสังคมโลก
โดยใช้กระบวนการ สร้างความรูค้ วามเข้าใจ สร้างความตระหนัก คิดอย่างมีวิจารณญาณ
การสืบค้นและสร้างองค์ความรู้ กระบวนการกลุ่ม และการเสริมสร้างคุณลักษณะที่พึงประสงค์
เพือ่ ให้เกิดความรู้ ความเข้าใจและความตระหนักในสภาพปัจจุบนั ปัญหา ความขัดแย้งและ
ภูมิหลังทางประวัติศาสตร์ เหตุการณ์สาคัญที่เกิดขึ้นในสังคมไทยและภูมิภาคต่างๆ ของโลก สังคมโลก
ยุคโลกาภิวัตน์
สาระการเรียนรู้
- วิกฤตแฮมเบอร์เกอร์
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
ใฝ่เรียนรู้
สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
ความสามารถในการคิด
ชิ้นงานหรือภาระงาน (หลักฐาน ร่องรอยแสดงความรู้)
แผนภาพสรุปวิกฤตแฮมเบอร์เกอร์

คาถามท้าทาย
วิกฤตแฮมเบอร์เกอร์ คืออะไร
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้
1. ครูนาเสนอความรู้เกี่ยวกับวิกฤตแฮมเบอร์เกอร์ด้วยสื่อประเภทต่าง ๆ
2. ให้นักเรียนตั้งคาถามที่ต้องการทราบเกี่ยวกับวิกฤตแฮมเบอร์เกอร์
3. ให้นักเรียนศึกษาหาความรู้เบื้องต้นจากหนังสือเรียน เอกสารประกอบการค้นคว้า นิตยสารต่าง ๆ
ตามประเด็นที่ครูและนักเรียนร่วมกันกาหนด และสรุปความรู้เป็นแผนภาพ
4. ครูมอบหมายงานให้นักเรียนไปศึกษาสืบค้นเกี่ยวกับวิกฤตแฮมเบอร์เกอร์ ในรูปแบบการสัมภาษณ์
หรือการนาเสนอการทาโครงงานเรื่องที่สนใจ เพื่อเป็นข้อมูลจัดกิจกรรมการเรียนการสอนชั่วโมงถัดไป
5. ให้นักเรียนร่วมกันสรุป
6. ให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็น โดยครูใช้คาถามท้าทาย
การจัดบรรยากาศเชิงบวก
ให้นักเรียนตั้งคาถามเพื่อแลกเปลี่ยนความรู้ สืบค้นข้อมูลจากนิตยสาร และสรุปความรู้เป็นแผนภาพ
สื่อการเรียนรู้
Internet
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
1. วิธีการวัดและประเมินผล
สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในการเข้าร่วมกิจกรรม
2. เครื่องมือ
แบบสังเกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรม
3. เกณฑ์การประเมิน
การประเมินพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรม
ผ่านตั้งแต่ 2 รายการ ถือว่า ผ่าน
ผ่าน 1 รายการ ถือว่า ไม่ผ่าน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 34
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
วิชา เหตุการณ์ปัจจุบัน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 วิกฤตเศรษฐกิจไทยเศรษฐกิจโลก เวลาทั้งหมด 3 ชั่วโมง
เรื่อง วิกฤตยูโรโซน เวลาที่ใช้สอน 1 ชั่วโมง
วันที.่ ....เดือน.............................พ.ศ. ............ ม.6/1 ภาคเรียนที่ 2/.....
ครูผู้สอนชื่อนายภวิศ พิมพ์แน่น โรงเรียนบ้านพิณโท
................................................................................................................................................................
มาตรฐานการเรียนรู/้ ตัวชี้วัด
ส 3.2 เข้าใจระบบและสถาบันทางเศรษฐกิจต่าง ๆ ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ และ
ความจาเป็นของการร่วมมือทางเศรษฐกิจในสังคมโลก
ตัวชี้วัด
ม.4-6/1 อธิบายบทบาทของรัฐบาลเกี่ยวกับนโยบายการเงิน การคลังในการพัฒนาเศรษฐกิจของ
ประเทศ
จุดประสงค์การเรียนรู้สู่ตัวชี้วัด
1. อธิบายเกี่ยวกับวิกฤตยูโรโซน(K)
2. เขียนสรุปสาเหตุและผลกระทบวิกฤตยูโรโซน(P)
3. อธิบายวิกฤตยูโรโซน มีผลกระทบจากอดีตจนถึงปัจจุบัน (A)
สาระสาคัญ
ศึกษาวิเคราะห์สภาพปัจจุบัน ปัญหา ความขัดแย้งและภูมิหลังทางประวัติศาสตร์ของกรณีตัวอย่าง
เหตุการณ์สาคัญที่เกิดขึ้นในสังคมไทยและภูมิภาคต่างๆ ของโลกทางด้านการเมือง การทหาร เศรษฐกิจ
สังคม วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อม ความสัมพันธ์เชื่อมโยงของเหตุการณ์และผลกระทบในระดับ
ท้องถิ่น ระดับประเทศ และระดับนานาชาติ ลักษณะสาคัญของสังคมโลกยุคโลกาภิวัตน์ที่ส่งผล
กระทบทั้งด้านบวกและลบต่อสังคมไทยและสังคมโลก
โดยใช้กระบวนการ สร้างความรูค้ วามเข้าใจ สร้างความตระหนัก คิดอย่างมีวิจารณญาณ
การสืบค้นและสร้างองค์ความรู้ กระบวนการกลุ่ม และการเสริมสร้างคุณลักษณะที่พึงประสงค์
เพือ่ ให้เกิดความรู้ ความเข้าใจและความตระหนักในสภาพปัจจุบนั ปัญหา ความขัดแย้งและ
ภูมิหลังทางประวัติศาสตร์ เหตุการณ์สาคัญที่เกิดขึ้นในสังคมไทยและภูมิภาคต่างๆ ของโลก สังคมโลก
ยุคโลกาภิวัตน์
สาระการเรียนรู้
- วิกฤตยูโรโซน
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
ใฝ่เรียนรู้
สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
ความสามารถในการคิด
ชิ้นงานหรือภาระงาน (หลักฐาน ร่องรอยแสดงความรู้)
แผนภาพสรุปวิกฤตยูโรโซน

คาถามท้าทาย
วิกฤตยูโรโซน คืออะไร
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้
1. ครูนาเสนอความรู้เกี่ยวกับวิกฤตยูโรโซน ด้วยสื่อประเภทต่าง ๆ
2. ให้นักเรียนตั้งคาถามที่ต้องการทราบเกี่ยวกับวิกฤตยูโรโซน
3. ให้นักเรียนศึกษาหาความรู้เบื้องต้นจากหนังสือเรียน เอกสารประกอบการค้นคว้า นิตยสารต่าง ๆ
ตามประเด็นที่ครูและนักเรียนร่วมกันกาหนด และสรุปความรู้เป็นแผนภาพ
4. ครูมอบหมายงานให้นักเรียนไปศึกษาสืบค้นเกี่ยวกับวิกฤตยูโรโซน ในรูปแบบการสัมภาษณ์ หรือ
การนาเสนอการทาโครงงานเรื่องที่สนใจ เพื่อเป็นข้อมูลจัดกิจกรรมการเรียนการสอนชั่วโมงถัดไป
5. ให้นักเรียนร่วมกันสรุป
6. ให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็น โดยครูใช้คาถามท้าทาย
การจัดบรรยากาศเชิงบวก
ให้นักเรียนตั้งคาถามเพื่อแลกเปลี่ยนความรู้ สืบค้นข้อมูลจากนิตยสาร และสรุปความรู้เป็นแผนภาพ
สื่อการเรียนรู้
Internet
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
1. วิธีการวัดและประเมินผล
สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในการเข้าร่วมกิจกรรม
2. เครื่องมือ
แบบสังเกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรม
3. เกณฑ์การประเมิน
การประเมินพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรม
ผ่านตั้งแต่ 2 รายการ ถือว่า ผ่าน
ผ่าน 1 รายการ ถือว่า ไม่ผ่าน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 35
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
วิชา เหตุการณ์ปัจจุบัน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 โลกยุคโลกาภิวัตน์ เวลาทั้งหมด 6 ชั่วโมง
เรื่อง วัฒนธรรมไทย เวลาที่ใช้สอน 1 ชั่วโมง
วันที.่ ....เดือน.............................พ.ศ. ............ ม.6/1 ภาคเรียนที่ 2/.....
ครูผู้สอนชื่อนายภวิศ พิมพ์แน่น โรงเรียนบ้านพิณโท
................................................................................................................................................................
มาตรฐานการเรียนรู/้ ตัวชี้วัด
ส 4.2 เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปัจจุบันในด้านความสัมพันธ์และการ
เปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์อย่างต่อเนื่อง ตระหนักถึงความสาคัญและสามารถวิเคราะห์ผลกระทบที่
เกิดขึ้น
ตัวชี้วัด
ม.4-6/2 วิเคราะห์เหตุการณ์สาคัญต่าง ๆ ที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงในทางสังคมเศรษฐกิจ และ
การเมืองเข้าสู่โลกสมัยปัจจุบัน
จุดประสงค์การเรียนรู้สู่ตัวชี้วัด
1. อธิบายเกี่ยวกับวัฒนธรรมไทย (K)
2. เขียนสรุปสาเหตุและผลกระทบวัฒนธรรมไทย (P)
3. อธิบายวัฒนธรรมไทย มีผลกระทบจากอดีตจนถึงปัจจุบัน (A)
สาระสาคัญ
ศึกษาวิเคราะห์สภาพปัจจุบัน ปัญหา ความขัดแย้งและภูมิหลังทางประวัติศาสตร์ของกรณีตัวอย่าง
เหตุการณ์สาคัญที่เกิดขึ้นในสังคมไทยและภูมิภาคต่างๆ ของโลกทางด้านการเมือง การทหาร เศรษฐกิจ
สังคม วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อม ความสัมพันธ์เชื่อมโยงของเหตุการณ์และผลกระทบในระดับ
ท้องถิ่น ระดับประเทศ และระดับนานาชาติ ลักษณะสาคัญของสังคมโลกยุคโลกาภิวัตน์ที่ส่งผล
กระทบทั้งด้านบวกและลบต่อสังคมไทยและสังคมโลก
โดยใช้กระบวนการ สร้างความรูค้ วามเข้าใจ สร้างความตระหนัก คิดอย่างมีวิจารณญาณ
การสืบค้นและสร้างองค์ความรู้ กระบวนการกลุ่ม และการเสริมสร้างคุณลักษณะที่พึงประสงค์
เพือ่ ให้เกิดความรู้ ความเข้าใจและความตระหนักในสภาพปัจจุบนั ปัญหา ความขัดแย้งและ
ภูมิหลังทางประวัติศาสตร์ เหตุการณ์สาคัญที่เกิดขึ้นในสังคมไทยและภูมิภาคต่างๆ ของโลก สังคมโลก
ยุคโลกาภิวัตน์
สาระการเรียนรู้
- วัฒนธรรมไทย
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
ใฝ่เรียนรู้
สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
ความสามารถในการคิด
ชิ้นงานหรือภาระงาน (หลักฐาน ร่องรอยแสดงความรู้)
แผนภาพสรุปวัฒนธรรมไทย
คาถามท้าทาย
วัฒนธรรมไทย คืออะไร
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้
1. ครูนาเสนอความรู้เกี่ยวกับวัฒนธรรมไทย ด้วยสื่อประเภทต่าง ๆ
2. ให้นักเรียนตั้งคาถามที่ต้องการทราบเกี่ยวกับวัฒนธรรมไทย
3. ให้นักเรียนศึกษาหาความรู้เบื้องต้นจากหนังสือเรียน เอกสารประกอบการค้นคว้า นิตยสารต่าง ๆ
ตามประเด็นที่ครูและนักเรียนร่วมกันกาหนด และสรุปความรู้เป็นแผนภาพ
4. ครูมอบหมายงานให้นักเรียนไปศึกษาสืบค้นเกี่ยวกับวัฒนธรรมไทย ในรูปแบบการสัมภาษณ์ หรือ
การนาเสนอการทาโครงงานเรื่องที่สนใจ เพื่อเป็นข้อมูลจัดกิจกรรมการเรียนการสอนชั่วโมงถัดไป
5. ให้นักเรียนร่วมกันสรุป
6. ให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็น โดยครูใช้คาถามท้าทาย
การจัดบรรยากาศเชิงบวก
ให้นักเรียนตั้งคาถามเพื่อแลกเปลี่ยนความรู้ สืบค้นข้อมูลจากนิตยสาร และสรุปความรู้เป็นแผนภาพ
สื่อการเรียนรู้
Internet
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
1. วิธีการวัดและประเมินผล
สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในการเข้าร่วมกิจกรรม
2. เครื่องมือ
แบบสังเกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรม
3. เกณฑ์การประเมิน
การประเมินพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรม
ผ่านตั้งแต่ 2 รายการ ถือว่า ผ่าน
ผ่าน 1 รายการ ถือว่า ไม่ผ่าน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 36
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
วิชา เหตุการณ์ปัจจุบัน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 โลกยุคโลกาภิวัตน์ เวลาทั้งหมด 6 ชั่วโมง
เรื่อง กระแสวัฒนธรรมต่างชาติกับค่านิยม เวลาที่ใช้สอน 1 ชั่วโมง
วันที.่ ....เดือน.............................พ.ศ. ............ ม.6/1 ภาคเรียนที่ 2/.....
ครูผู้สอนชื่อนายภวิศ พิมพ์แน่น โรงเรียนบ้านพิณโท
................................................................................................................................................................
มาตรฐานการเรียนรู/้ ตัวชี้วัด
ส 4.2 เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปัจจุบันในด้านความสัมพันธ์และการ
เปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์อย่างต่อเนื่อง ตระหนักถึงความสาคัญและสามารถวิเคราะห์ผลกระทบที่
เกิดขึ้น
ตัวชี้วัด
ม.4-6/2 วิเคราะห์เหตุการณ์สาคัญต่าง ๆ ที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงในทางสังคมเศรษฐกิจ และ
การเมืองเข้าสู่โลกสมัยปัจจุบัน
จุดประสงค์การเรียนรู้สู่ตัวชี้วัด
1. อธิบายเกี่ยวกับกระแสวัฒนธรรมต่างชาติกับค่านิยม(K)
2. เขียนสรุปสาเหตุและผลกระทบกระแสวัฒนธรรมต่างชาติกับค่านิยม(P)
3. อธิบายกระแสวัฒนธรรมต่างชาติกับค่านิยม มีผลกระทบจากอดีตจนถึงปัจจุบัน (A)
สาระสาคัญ
ศึกษาวิเคราะห์สภาพปัจจุบัน ปัญหา ความขัดแย้งและภูมิหลังทางประวัติศาสตร์ของกรณีตัวอย่าง
เหตุการณ์สาคัญที่เกิดขึ้นในสังคมไทยและภูมิภาคต่างๆ ของโลกทางด้านการเมือง การทหาร เศรษฐกิจ
สังคม วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อม ความสัมพันธ์เชื่อมโยงของเหตุการณ์และผลกระทบในระดับ
ท้องถิ่น ระดับประเทศ และระดับนานาชาติ ลักษณะสาคัญของสังคมโลกยุคโลกาภิวัตน์ที่ส่งผล
กระทบทั้งด้านบวกและลบต่อสังคมไทยและสังคมโลก
โดยใช้กระบวนการ สร้างความรูค้ วามเข้าใจ สร้างความตระหนัก คิดอย่างมีวิจารณญาณ
การสืบค้นและสร้างองค์ความรู้ กระบวนการกลุ่ม และการเสริมสร้างคุณลักษณะที่พึงประสงค์
เพือ่ ให้เกิดความรู้ ความเข้าใจและความตระหนักในสภาพปัจจุบนั ปัญหา ความขัดแย้งและ
ภูมิหลังทางประวัติศาสตร์ เหตุการณ์สาคัญที่เกิดขึ้นในสังคมไทยและภูมิภาคต่างๆ ของโลก สังคมโลก
ยุคโลกาภิวัตน์
สาระการเรียนรู้
- กระแสวัฒนธรรมต่างชาติกับค่านิยม
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
ใฝ่เรียนรู้
สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
ความสามารถในการคิด
ชิ้นงานหรือภาระงาน (หลักฐาน ร่องรอยแสดงความรู้)
แผนภาพสรุปกระแสวัฒนธรรมต่างชาติกับค่านิยม
คาถามท้าทาย
กระแสวัฒนธรรมต่างชาติกับค่านิยม คืออะไร
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้
1. ครูนาเสนอความรู้เกี่ยวกับกระแสวัฒนธรรมต่างชาติกับค่านิยมด้วยสื่อประเภทต่าง ๆ
2. ให้นักเรียนตั้งคาถามที่ต้องการทราบเกี่ยวกับกระแสวัฒนธรรมต่างชาติกับค่านิยม
3. ให้นักเรียนศึกษาหาความรู้เบื้องต้นจากหนังสือเรียน เอกสารประกอบการค้นคว้า นิตยสารต่าง ๆ
ตามประเด็นที่ครูและนักเรียนร่วมกันกาหนด และสรุปความรู้เป็นแผนภาพ
4. ครูมอบหมายงานให้นักเรียนไปศึกษาสืบค้นเกี่ยวกับกระแสวัฒนธรรมต่างชาติกับค่านิยม ใน
รูปแบบการสัมภาษณ์ หรือการนาเสนอการทาโครงงานเรื่องที่สนใจ เพื่อเป็นข้อมูลจัดกิจกรรมการเรียน
การสอนชั่วโมงถัดไป
5. ให้นักเรียนร่วมกันสรุป
6. ให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็น โดยครูใช้คาถามท้าทาย
การจัดบรรยากาศเชิงบวก
ให้นักเรียนตั้งคาถามเพื่อแลกเปลี่ยนความรู้ สืบค้นข้อมูลจากนิตยสาร และสรุปความรู้เป็นแผนภาพ
สื่อการเรียนรู้
Internet
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
1. วิธีการวัดและประเมินผล
สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในการเข้าร่วมกิจกรรม
2. เครื่องมือ
แบบสังเกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรม
3. เกณฑ์การประเมิน
การประเมินพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรม
ผ่านตั้งแต่ 2 รายการ ถือว่า ผ่าน
ผ่าน 1 รายการ ถือว่า ไม่ผ่าน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 37
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
วิชา เหตุการณ์ปัจจุบัน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 โลกยุคโลกาภิวัตน์ เวลาทั้งหมด 6 ชั่วโมง
เรื่อง ทักษะการบริโภคสื่อและ ข้อมูลข่าวสาร เวลาที่ใช้สอน 1 ชั่วโมง
วันที.่ ....เดือน.............................พ.ศ. ............ ม.6/1 ภาคเรียนที่ 2/.....
ครูผู้สอนชื่อนายภวิศ พิมพ์แน่น โรงเรียนบ้านพิณโท
................................................................................................................................................................
มาตรฐานการเรียนรู/้ ตัวชี้วัด
ส 4.2 เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปัจจุบันในด้านความสัมพันธ์และการ
เปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์อย่างต่อเนื่อง ตระหนักถึงความสาคัญและสามารถวิเคราะห์ผลกระทบที่
เกิดขึ้น
ตัวชี้วัด
ม.4-6/2 วิเคราะห์เหตุการณ์สาคัญต่าง ๆ ที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงในทางสังคมเศรษฐกิจ และ
การเมืองเข้าสู่โลกสมัยปัจจุบัน
จุดประสงค์การเรียนรู้สู่ตัวชี้วัด
1. อธิบายเกี่ยวกับทักษะการบริโภคสื่อและข้อมูลข่าวสาร (K)
2. เขียนสรุปสาเหตุและผลกระทบทักษะการบริโภคสื่อและ ข้อมูลข่าวสาร (P)
3. อธิบายทักษะการบริโภคสื่อและ ข้อมูลข่าวสาร มีผลกระทบจากอดีตจนถึงปัจจุบัน (A)
สาระสาคัญ
ศึกษาวิเคราะห์สภาพปัจจุบัน ปัญหา ความขัดแย้งและภูมิหลังทางประวัติศาสตร์ของกรณีตัวอย่าง
เหตุการณ์สาคัญที่เกิดขึ้นในสังคมไทยและภูมิภาคต่างๆ ของโลกทางด้านการเมือง การทหาร เศรษฐกิจ
สังคม วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อม ความสัมพันธ์เชื่อมโยงของเหตุการณ์และผลกระทบในระดับ
ท้องถิ่น ระดับประเทศ และระดับนานาชาติ ลักษณะสาคัญของสังคมโลกยุคโลกาภิวัตน์ที่ส่งผล
กระทบทั้งด้านบวกและลบต่อสังคมไทยและสังคมโลก
โดยใช้กระบวนการ สร้างความรูค้ วามเข้าใจ สร้างความตระหนัก คิดอย่างมีวิจารณญาณ
การสืบค้นและสร้างองค์ความรู้ กระบวนการกลุ่ม และการเสริมสร้างคุณลักษณะที่พึงประสงค์
เพือ่ ให้เกิดความรู้ ความเข้าใจและความตระหนักในสภาพปัจจุบนั ปัญหา ความขัดแย้งและ
ภูมิหลังทางประวัติศาสตร์ เหตุการณ์สาคัญที่เกิดขึ้นในสังคมไทยและภูมิภาคต่างๆ ของโลก สังคมโลก
ยุคโลกาภิวัตน์
สาระการเรียนรู้
- ทักษะการบริโภคสื่อและ ข้อมูลข่าวสาร
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
ใฝ่เรียนรู้
สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
ความสามารถในการคิด
ชิ้นงานหรือภาระงาน (หลักฐาน ร่องรอยแสดงความรู้)
แผนภาพสรุปทักษะการบริโภคสื่อและ ข้อมูลข่าวสาร
คาถามท้าทาย
ทักษะการบริโภคสื่อและ ข้อมูลข่าวสาร คืออะไร
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้
1. ครูนาเสนอความรู้เกี่ยวกับทักษะการบริโภคสื่อและ ข้อมูลข่าวสาร ด้วยสื่อประเภทต่าง ๆ
2. ให้นักเรียนตั้งคาถามที่ต้องการทราบเกี่ยวกับทักษะการบริโภคสื่อและ ข้อมูลข่าวสาร
3. ให้นักเรียนศึกษาหาความรู้เบื้องต้นจากหนังสือเรียน เอกสารประกอบการค้นคว้า นิตยสารต่าง ๆ
ตามประเด็นที่ครูและนักเรียนร่วมกันกาหนด และสรุปความรู้เป็นแผนภาพ
4. ครูมอบหมายงานให้นักเรียนไปศึกษาสืบค้นเกี่ยวกับทักษะการบริโภคสื่อและ ข้อมูลข่าวสาร
ในรูปแบบการสัมภาษณ์ หรือการนาเสนอการทาโครงงานเรื่องที่สนใจ เพื่อเป็นข้อมูลจัดกิจกรรมการ
เรียนการสอนชั่วโมงถัดไป
5. ให้นักเรียนร่วมกันสรุป
6. ให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็น โดยครูใช้คาถามท้าทาย
การจัดบรรยากาศเชิงบวก
ให้นักเรียนตั้งคาถามเพื่อแลกเปลี่ยนความรู้ สืบค้นข้อมูลจากนิตยสาร และสรุปความรู้เป็นแผนภาพ
สื่อการเรียนรู้
Internet
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
1. วิธีการวัดและประเมินผล
สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในการเข้าร่วมกิจกรรม
2. เครื่องมือ
แบบสังเกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรม
3. เกณฑ์การประเมิน
การประเมินพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรม
ผ่านตั้งแต่ 2 รายการ ถือว่า ผ่าน
ผ่าน 1 รายการ ถือว่า ไม่ผ่าน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 38
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
วิชา เหตุการณ์ปัจจุบัน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 โลกยุคโลกาภิวัตน์ เวลาทั้งหมด 6 ชั่วโมง
เรื่อง หลักธรรมในการดาเนินชีวิต(1) เวลาที่ใช้สอน 1 ชั่วโมง
วันที.่ ....เดือน.............................พ.ศ. ............ ม.6/1 ภาคเรียนที่ 2/.....
ครูผู้สอนชื่อนายภวิศ พิมพ์แน่น โรงเรียนบ้านพิณโท
................................................................................................................................................................
มาตรฐานการเรียนรู/้ ตัวชี้วัด
ส 4.2 เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปัจจุบันในด้านความสัมพันธ์และการ
เปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์อย่างต่อเนื่อง ตระหนักถึงความสาคัญและสามารถวิเคราะห์ผลกระทบที่
เกิดขึ้น
ตัวชี้วัด
ม.4-6/2 วิเคราะห์เหตุการณ์สาคัญต่าง ๆ ที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงในทางสังคมเศรษฐกิจ และ
การเมืองเข้าสู่โลกสมัยปัจจุบัน
จุดประสงค์การเรียนรู้สู่ตัวชี้วัด
1. อธิบายเกี่ยวกับหลักธรรมในการดาเนินชีวิต(K)
2. เขียนสรุปสาเหตุและผลกระทบหลักธรรมในการดาเนินชีวิต(P)
3. อธิบายหลักธรรมในการดาเนินชีวิตมีผลกระทบจากอดีตจนถึงปัจจุบัน (A)
สาระสาคัญ
ศึกษาวิเคราะห์สภาพปัจจุบัน ปัญหา ความขัดแย้งและภูมิหลังทางประวัติศาสตร์ของกรณีตัวอย่าง
เหตุการณ์สาคัญที่เกิดขึ้นในสังคมไทยและภูมิภาคต่างๆ ของโลกทางด้านการเมือง การทหาร เศรษฐกิจ
สังคม วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อม ความสัมพันธ์เชื่อมโยงของเหตุการณ์และผลกระทบในระดับ
ท้องถิ่น ระดับประเทศ และระดับนานาชาติ ลักษณะสาคัญของสังคมโลกยุคโลกาภิวัตน์ที่ส่งผล
กระทบทั้งด้านบวกและลบต่อสังคมไทยและสังคมโลก
โดยใช้กระบวนการ สร้างความรูค้ วามเข้าใจ สร้างความตระหนัก คิดอย่างมีวิจารณญาณ
การสืบค้นและสร้างองค์ความรู้ กระบวนการกลุ่ม และการเสริมสร้างคุณลักษณะที่พึงประสงค์
เพือ่ ให้เกิดความรู้ ความเข้าใจและความตระหนักในสภาพปัจจุบนั ปัญหา ความขัดแย้งและ
ภูมิหลังทางประวัติศาสตร์ เหตุการณ์สาคัญที่เกิดขึ้นในสังคมไทยและภูมิภาคต่างๆ ของโลก สังคมโลก
ยุคโลกาภิวัตน์
สาระการเรียนรู้
- หลักธรรมในการดาเนินชีวิต
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
ใฝ่เรียนรู้
สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
ความสามารถในการคิด
ชิ้นงานหรือภาระงาน (หลักฐาน ร่องรอยแสดงความรู้)
แผนภาพสรุปหลักธรรมในการดาเนินชีวิต
คาถามท้าทาย
หลักธรรมในการดาเนินชีวิตคืออะไร
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้
1. ครูนาเสนอความรู้เกี่ยวกับหลักธรรมในการดาเนินชีวิตด้วยสื่อประเภทต่าง ๆ
2. ให้นักเรียนตั้งคาถามที่ต้องการทราบเกี่ยวกับหลักธรรมในการดาเนินชีวิต
3. ให้นักเรียนศึกษาหาความรู้เบื้องต้นจากหนังสือเรียน เอกสารประกอบการค้นคว้า นิตยสารต่าง ๆ
ตามประเด็นที่ครูและนักเรียนร่วมกันกาหนด และสรุปความรู้เป็นแผนภาพ
4. ครูมอบหมายงานให้นักเรียนไปศึกษาสืบค้นเกี่ยวกับหลักธรรมในการดาเนินชีวิตในรูปแบบการ
สัมภาษณ์ หรือการนาเสนอการทาโครงงานเรื่องที่สนใจ เพื่อเป็นข้อมูลจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
ชั่วโมงถัดไป
5. ให้นักเรียนร่วมกันสรุป
6. ให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็น โดยครูใช้คาถามท้าทาย
การจัดบรรยากาศเชิงบวก
ให้นักเรียนตั้งคาถามเพื่อแลกเปลี่ยนความรู้ สืบค้นข้อมูลจากนิตยสาร และสรุปความรู้เป็นแผนภาพ
สื่อการเรียนรู้
Internet
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
1. วิธีการวัดและประเมินผล
สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในการเข้าร่วมกิจกรรม
2. เครื่องมือ
แบบสังเกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรม
3. เกณฑ์การประเมิน
การประเมินพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรม
ผ่านตั้งแต่ 2 รายการ ถือว่า ผ่าน
ผ่าน 1 รายการ ถือว่า ไม่ผ่าน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 39
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
วิชา เหตุการณ์ปัจจุบัน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 โลกยุคโลกาภิวัตน์ เวลาทั้งหมด 6 ชั่วโมง
เรื่อง หลักธรรมในการดาเนินชีวิต(2) เวลาที่ใช้สอน 1 ชั่วโมง
วันที.่ ....เดือน.............................พ.ศ. ............ ม.6/1 ภาคเรียนที่ 2/.....
ครูผู้สอนชื่อนายภวิศ พิมพ์แน่น โรงเรียนบ้านพิณโท
................................................................................................................................................................
มาตรฐานการเรียนรู/้ ตัวชี้วัด
ส 4.2 เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปัจจุบันในด้านความสัมพันธ์และการ
เปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์อย่างต่อเนื่อง ตระหนักถึงความสาคัญและสามารถวิเคราะห์ผลกระทบที่
เกิดขึ้น
ตัวชี้วัด
ม.4-6/2 วิเคราะห์เหตุการณ์สาคัญต่าง ๆ ที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงในทางสังคมเศรษฐกิจ และ
การเมืองเข้าสู่โลกสมัยปัจจุบัน
จุดประสงค์การเรียนรู้สู่ตัวชี้วัด
1. อธิบายเกี่ยวกับหลักธรรมในการดาเนินชีวิต(K)
2. เขียนสรุปสาเหตุและผลกระทบหลักธรรมในการดาเนินชีวิต(P)
3. อธิบายหลักธรรมในการดาเนินชีวิตมีผลกระทบจากอดีตจนถึงปัจจุบัน (A)
สาระสาคัญ
ศึกษาวิเคราะห์สภาพปัจจุบัน ปัญหา ความขัดแย้งและภูมิหลังทางประวัติศาสตร์ของกรณีตัวอย่าง
เหตุการณ์สาคัญที่เกิดขึ้นในสังคมไทยและภูมิภาคต่างๆ ของโลกทางด้านการเมือง การทหาร เศรษฐกิจ
สังคม วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อม ความสัมพันธ์เชื่อมโยงของเหตุการณ์และผลกระทบในระดับ
ท้องถิ่น ระดับประเทศ และระดับนานาชาติ ลักษณะสาคัญของสังคมโลกยุคโลกาภิวัตน์ที่ส่งผล
กระทบทั้งด้านบวกและลบต่อสังคมไทยและสังคมโลก
โดยใช้กระบวนการ สร้างความรูค้ วามเข้าใจ สร้างความตระหนัก คิดอย่างมีวิจารณญาณ
การสืบค้นและสร้างองค์ความรู้ กระบวนการกลุ่ม และการเสริมสร้างคุณลักษณะที่พึงประสงค์
เพือ่ ให้เกิดความรู้ ความเข้าใจและความตระหนักในสภาพปัจจุบนั ปัญหา ความขัดแย้งและ
ภูมิหลังทางประวัติศาสตร์ เหตุการณ์สาคัญที่เกิดขึ้นในสังคมไทยและภูมิภาคต่างๆ ของโลก สังคมโลก
ยุคโลกาภิวัตน์
สาระการเรียนรู้
- หลักธรรมในการดาเนินชีวิต
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
ใฝ่เรียนรู้
สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
ความสามารถในการคิด
ชิ้นงานหรือภาระงาน (หลักฐาน ร่องรอยแสดงความรู้)
แผนภาพสรุปหลักธรรมในการดาเนินชีวิต
คาถามท้าทาย
หลักธรรมในการดาเนินชีวิตคืออะไร
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้
1. ครูนาเสนอความรู้เกี่ยวกับหลักธรรมในการดาเนินชีวิตด้วยสื่อประเภทต่าง ๆ
2. ให้นักเรียนตั้งคาถามที่ต้องการทราบเกี่ยวกับหลักธรรมในการดาเนินชีวิต
3. ให้นักเรียนศึกษาหาความรู้เบื้องต้นจากหนังสือเรียน เอกสารประกอบการค้นคว้า นิตยสารต่าง ๆ
ตามประเด็นที่ครูและนักเรียนร่วมกันกาหนด และสรุปความรู้เป็นแผนภาพ
4. ครูมอบหมายงานให้นักเรียนไปศึกษาสืบค้นเกี่ยวกับหลักธรรมในการดาเนินชีวิตในรูปแบบการ
สัมภาษณ์ หรือการนาเสนอการทาโครงงานเรื่องที่สนใจ เพื่อเป็นข้อมูลจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
ชั่วโมงถัดไป
5. ให้นักเรียนร่วมกันสรุป
6. ให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็น โดยครูใช้คาถามท้าทาย
การจัดบรรยากาศเชิงบวก
ให้นักเรียนตั้งคาถามเพื่อแลกเปลี่ยนความรู้ สืบค้นข้อมูลจากนิตยสาร และสรุปความรู้เป็นแผนภาพ
สื่อการเรียนรู้
Internet
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
1. วิธีการวัดและประเมินผล
สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในการเข้าร่วมกิจกรรม
2. เครื่องมือ
แบบสังเกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรม
3. เกณฑ์การประเมิน
การประเมินพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรม
ผ่านตั้งแต่ 2 รายการ ถือว่า ผ่าน
ผ่าน 1 รายการ ถือว่า ไม่ผ่าน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 40
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
วิชา เหตุการณ์ปัจจุบัน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 โลกยุคโลกาภิวัตน์ เวลาทั้งหมด 6 ชั่วโมง
เรื่อง เศรษฐกิจพอเพียงกับวิถีชีวิตประจาวัน เวลาที่ใช้สอน 1 ชั่วโมง
วันที.่ ....เดือน.............................พ.ศ. ............ ม.6/1 ภาคเรียนที่ 2/.....
ครูผู้สอนชื่อนายภวิศ พิมพ์แน่น โรงเรียนบ้านพิณโท
................................................................................................................................................................
มาตรฐานการเรียนรู/้ ตัวชี้วัด
ส 4.2 เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปัจจุบันในด้านความสัมพันธ์และการ
เปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์อย่างต่อเนื่อง ตระหนักถึงความสาคัญและสามารถวิเคราะห์ผลกระทบที่
เกิดขึ้น
ตัวชี้วัด
ม.4-6/2 วิเคราะห์เหตุการณ์สาคัญต่าง ๆ ที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงในทางสังคมเศรษฐกิจ และ
การเมืองเข้าสู่โลกสมัยปัจจุบัน
จุดประสงค์การเรียนรู้สู่ตัวชี้วัด
1. อธิบายเกี่ยวกับเศรษฐกิจพอเพียงกับวิถีชีวิตประจาวัน(K)
2. เขียนสรุปสาเหตุและผลกระทบเศรษฐกิจพอเพียงกับวิถีชีวิตประจาวัน(P)
3. อธิบายเศรษฐกิจพอเพียงกับวิถีชีวิตประจาวัน มีผลกระทบจากอดีตจนถึงปัจจุบัน (A)
สาระสาคัญ
ศึกษาวิเคราะห์สภาพปัจจุบัน ปัญหา ความขัดแย้งและภูมิหลังทางประวัติศาสตร์ของกรณีตัวอย่าง
เหตุการณ์สาคัญที่เกิดขึ้นในสังคมไทยและภูมิภาคต่างๆ ของโลกทางด้านการเมือง การทหาร เศรษฐกิจ
สังคม วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อม ความสัมพันธ์เชื่อมโยงของเหตุการณ์และผลกระทบในระดับ
ท้องถิ่น ระดับประเทศ และระดับนานาชาติ ลักษณะสาคัญของสังคมโลกยุคโลกาภิวัตน์ที่ส่งผล
กระทบทั้งด้านบวกและลบต่อสังคมไทยและสังคมโลก
โดยใช้กระบวนการ สร้างความรูค้ วามเข้าใจ สร้างความตระหนัก คิดอย่างมีวิจารณญาณ
การสืบค้นและสร้างองค์ความรู้ กระบวนการกลุ่ม และการเสริมสร้างคุณลักษณะที่พึงประสงค์
เพือ่ ให้เกิดความรู้ ความเข้าใจและความตระหนักในสภาพปัจจุบนั ปัญหา ความขัดแย้งและ
ภูมิหลังทางประวัติศาสตร์ เหตุการณ์สาคัญที่เกิดขึ้นในสังคมไทยและภูมิภาคต่างๆ ของโลก สังคมโลก
ยุคโลกาภิวัตน์
สาระการเรียนรู้
- เศรษฐกิจพอเพียงกับวิถีชีวิตประจาวัน
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
ใฝ่เรียนรู้
สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
ความสามารถในการคิด
ชิ้นงานหรือภาระงาน (หลักฐาน ร่องรอยแสดงความรู้)
แผนภาพสรุปเศรษฐกิจพอเพียงกับวิถีชีวิตประจาวัน
คาถามท้าทาย
เศรษฐกิจพอเพียงกับวิถีชีวิตประจาวัน คืออะไร
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้
1. ครูนาเสนอความรู้เกี่ยวกับเศรษฐกิจพอเพียงกั บวิถีชีวิตประจาวัน ด้วยสื่อประเภทต่าง ๆ
2. ให้นักเรียนตั้งคาถามที่ต้องการทราบเกี่ยวกับเศรษฐกิจพอเพียงกั บวิถีชีวิตประจาวัน
3. ให้นักเรียนศึกษาหาความรู้เบื้องต้นจากหนังสือเรียน เอกสารประกอบการค้นคว้า นิตยสารต่าง ๆ
ตามประเด็นที่ครูและนักเรียนร่วมกันกาหนด และสรุปความรู้เป็นแผนภาพ
4. ครูมอบหมายงานให้นักเรียนไปศึกษาสืบค้นเกี่ยวกับเศรษฐกิจพอเพียงกั บวิถีชีวิตประจาวัน ใน
รูปแบบการสัมภาษณ์ หรือการนาเสนอการทาโครงงานเรื่องที่สนใจ เพื่อเป็นข้อมูลจัดกิจกรรมการเรียน
การสอนชั่วโมงถัดไป
5. ให้นักเรียนร่วมกันสรุป
6. ให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็น โดยครูใช้คาถามท้าทาย
การจัดบรรยากาศเชิงบวก
ให้นักเรียนตั้งคาถามเพื่อแลกเปลี่ยนความรู้ สืบค้นข้อมูลจากนิตยสาร และสรุปความรู้เป็นแผนภาพ
สื่อการเรียนรู้
Internet
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
1. วิธีการวัดและประเมินผล
สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในการเข้าร่วมกิจกรรม
2. เครื่องมือ
แบบสังเกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรม
3. เกณฑ์การประเมิน
การประเมินพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรม
ผ่านตั้งแต่ 2 รายการ ถือว่า ผ่าน
ผ่าน 1 รายการ ถือว่า ไม่ผ่าน

You might also like