You are on page 1of 94

เอกสารประกอบการสอนวิชา Heat transfer จัดทาโดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน และ ดร.

จาริณี จงปลื้มปิติ
ปรับปรุงล่าสุด 1 พฤศจิกายน 2562
เอกสารประกอบการสอน
รายวิชา

04-031-305
การถ่ายโอนความร้อน
(Heat Transfer)

โดย
ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน

สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องจักรกลเกษตร
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน
ศูนย์กลาง นครราชสีมา
เอกสารประกอบการสอนวิชา Heat transfer จัดทาโดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน และ ดร.จาริณี จงปลื้มปิติ
ปรับปรุงล่าสุด 1 พฤศจิกายน 2562
คานา

เอกสารประกอบการสอนเล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชาการการถ่ายโอนความร้อน (Heat Transfer)


รหัสวิชา 04-031-305 อยู่ในกลุ่มวิชาชีพบังคับ กลุ่มรายวิชาพลังงานและความร้อน ซึ่งนักศึกษาที่เข้า
เรียนจาเป็นต้องผ่านการเรียนและสอบผ่านในรายวิชากลศาสตร์ของไหล 1 และเทอร์โมไดนามิกส์ 1
ก่อนจึงจะสามารถเรียนในรายวิชานี้ได้ เนื้อหารายวิชาจะเกี่ยวข้องกับศึกษาเกี่ยวกับความรู้พื้นฐานของ
การถ่ายเทความร้อน โดยการนา การพา และการแผ่รังสี โดยเนื้อหาและรูปภาพส่วนใหญ่จะอ้างอิงมา
จากหนังสือ Heat transfer ของ Yunus A. Cengel ซึ่งเป็นหนังสือที่ผู้เขียนเคยอ่านแล้วรู้สึกว่าเข้าใจ
ได้ง่าย เนื้อหาครบถ้วนสมบูรณ์ ดังนั้นจึงได้นาเอาเนื้อหาส่วนใหญ่มาจากหนังสื อเล่ มนี้ ส่วนที่เป็น
หนังสือฉบับภาษาไทยอ้างอิงจากหนังสือการถ่ายเทความร้อน ฉบับเตรียมสอบและเสริมประสบการณ์
ของ รศ.มนตรี พิรุ ณเกษตร และก็มีอีกหลายๆ ส่ วนที่นามาจากหนังสื อเล่ มอื่นๆ ดังที่ได้แสดงใน
บรรณานุกรม
ภายในเอกสารประกอบการสอนประกอบไปด้วย 5 หน่วยการเรียนรู้ด้วยกัน โดยแบ่งจากเนื้อหาที่
มีความง่ายไปจนถึงเนื้อหาที่มีความซับซ้อนมากกว่า ในแต่ละหน่วยจะมีแบบฝึกหัดที่มีช่องว่าง และ
โจทย์ปัญหาที่เว้นว่างไว้เพื่อให้นักศึกษาที่เข้าเรียนได้ร่วมทาแบบฝึกหัดและคานวณไปพร้อมกับผู้เขียน
อนึ่งผู้ที่เรียนวิชานี้ควรที่จะมีพื้นฐานทางการแก้ไขสมการทางคณิตศาสตร์และการวิเคราะห์ทางสถิต
ศาสตร์ที่ดีพอสมควร เพื่อให้สามารถคานวณและวิเคราะห์ตามผู้เขียนได้อย่างเข้าใจ
สุดท้ายผู้เขียนตระหนักดีว่าถึงแม้เอกสารประกอบการสอนที่ผ่านการตรวจทานจากผู้ เขียนอย่าง
เข้มข้น และผ่านพิจารณาจากผู้ทรงคุณวุฒิ แต่เอกสารเล่มนี้ก็อาจจะมีจุดที่ผิดพลาดบ้างซึ่งหากผู้เขียน
พบก็จะได้น าเอาไปปรั บปรุ งในโอกาสต่อไป และหวังว่านักศึกษาที่เข้าเรียนและได้นาเอาเอกสาร
ประกอบการสอนเล่มนี้มาใช้ประกอบกับการเรียนจะได้ผลประโยชน์สูงสุดในการศึกษาเพื่อให้สมกับ
เป็นวิศวกรนักปฏิบัติต่อไปในอนาคต

( พลเทพ เวงสูงเนิน )
ผู้จัดทา

เอกสารประกอบการสอนวิชา Heat transfer จัดทาโดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน และ ดร.จาริณี จงปลื้มปิติ


ปรับปรุงล่าสุด 1 พฤศจิกายน 2562
สารบัญ

หน้า
คานา ก
สารบัญ ข
สารบัญตาราง ฉ
สารบัญรูป ช
วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์ ประเด็นยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัย ฌ
ปรัชญา ความสาคัญ และวัตถุประสงค์ของหลักสูตร ญ
ลักษณะรายวิชา ฎ
การแบ่งหน่วยเรียน ฏ
จุดประสงค์การสอน 13
กาหนดการสอน ณ
การประเมินผลรายวิชา ด
ตารางกาหนดน้าหนักคะแนน ต
หน่วยที่ 1 บทนา 19
1.1 พื้นฐานการถ่ายโอนความร้อน 19
1.1.1 อุณหพลศาสตร์และการถ่ายโอนความร้อน 19
1.1.2 การถ่ายโอนความร้อนทางวิศวกรรม 20
1.1.3 รูปแบบของพลังงาน 20
1.1.4 ความร้อนจาเพาะของก๊าซ ของเหลว และของแข็ง 20
1.1.5 การถ่ายโอนพลังงาน 21
1.1.6 กฎข้อที่หนึ่งของอุณหพลศาสตร์ 24
1.2 กลไกการถ่ายโอนความร้อน 26

เอกสารประกอบการสอนวิชา Heat transfer จัดทาโดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน และ ดร.จาริณี จงปลื้มปิติ


ปรับปรุงล่าสุด 1 พฤศจิกายน 2562

1.2.1 การนาความร้อน 26
1.2.2 การพาความร้อน 26
1.2.3 การแผ่รังสี 29
หน่วยที่ 2 การนาความร้อน 31
2.1 สมการนาความร้อน 31
2.1.1 ระบบพิกัดในการอ้างอิง 31
2.1.2 การถ่ายโอนความร้อนในสภาวะคงตัวและไม่คงตัว 32
2.1.3 การสร้างความร้อน 32
2.1.4 สมการการนาความร้อนในหนึ่งมิติ 33
2.1.5 สมการการนาความร้อนแบบปกติ 34
2.2 การนาความร้อนในสภาวะคงตัว 35
2.2.1 การนาความร้อนสภาวะคงตัวในแผ่นเรียบ 35
2.2.2 ความต้านทานความร้อน 36
2.2.3 การสร้างโครงข่ายความต้านทานความร้อน 38
2.3 การนาความร้อนในสภาวะไม่คงตัว 42
2.3.1 การวิเคราะห์แบบกลุ่มก้อน (lumped system analysis) 42
2.3.2 การนาความร้อนในสภาวะไม่คงตัวในระบบใหญ่ 44
2.4 วิธีเชิงตัวเลขในการหาค่าการนาความร้อน 44
2.4.1 ระเบียบวิธีการเชิงตัวเลข 44
2.4.2 ระเบียบวิธีการไฟไนต์ดิฟเฟอเรนต์ 45
2.4.3 การนาความร้อนในหนึ่งมิติ 47
2.4.4 การนาความร้อนในสองมิติ 48
2.4.5 การนาความร้อนในสภาวะไม่คงตัว 51
หน่วยที่ 3 การพาความร้อน 53
3.1 พื้นฐานการพาความร้อน 53

เอกสารประกอบการสอนวิชา Heat transfer จัดทาโดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน และ ดร.จาริณี จงปลื้มปิติ


ปรับปรุงล่าสุด 1 พฤศจิกายน 2562

3.1.1 กลไกการพาความร้อน 53
3.1.2 ประเภทของการไหล 54
3.1.3 ชั้นความเร็ว 54
3.1.4 ชั้นความร้อน 54
3.1.5 การไหลแบบราบเรียบและการไหลแบบปั่นป่วน 55
3.1.6 การอนุพันธ์ของสมการการพาความร้อน 56
3.2 การพาความร้อนแบบบังคับจากแรงภายนอก 58
3.2.1 แรงฉุดและการถ่ายโอนความร้อนจากภายนอก 58
3.2.2 การไหลขนานบนแผ่นบาง 58
3.2.3 การไหลบนทรงกระบอกและทรงกลม 60
3.3 การพาความร้อนแบบบังคับจากแรงภายใน 61
3.3.1 ความเร็วและอุณหภูมิเฉลี่ย 61
3.3.2 พื้นที่ทางเข้า 61
3.3.3 การวิเคราะห์อุณหภูมิแบบปกติ 61
3.3.4 การไหลราบเรียบภายในท่อ 63
3.3.5 การไหลปั่นป่วนภายในท่อ 64
3.4 การพาแบบธรรมชาติ 64
3.4.1 กลไกการพาความร้อนแบบธรรมชาติ 64
3.4.2 สมการการเคลื่อนที่และตัวเลข Grashof 65
3.4.3 การพาความร้อนแบบธรรมชาติบนผิวเรียบ 66
หน่วยที่ 4 การแผ่รังสี 67
4.1 พื้นฐานของการแผ่รังสีทางความร้อน 67
4.1.1 พฤติกรรมการแผ่รังสี 67
4.1.2 การแผ่รังสีความร้อน 68
4.1.3 การแผ่รังสีความร้อนของวัตถุดา 68

เอกสารประกอบการสอนวิชา Heat transfer จัดทาโดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน และ ดร.จาริณี จงปลื้มปิติ


ปรับปรุงล่าสุด 1 พฤศจิกายน 2562

4.1.4 ความเข้มของการแผ่นรังสี 69
4.1.5 สมบัติการแผ่รังสี 70
4.2 การถ่ายโอนความร้อนด้วยการแผ่รังสี 73
4.2.1 ตัวประกอบทิศทาง 73
4.2.2 ความสัมพันธ์ตัวประกอบทิศทาง 73
4.2.3 การถ่ายโอนความร้อนบนผิวสีดา 75
หน่วยที่ 5 เครื่องแลกเปลี่ยนความร้อน 77
5.1 ประเภทของเครื่องแลกเปลี่ยนความร้อน 77
5.1.1 แบบไหลขนานและไหลสวนทาง 77
5.1.2 แบบไหลผสมและไม่ผสม 77
5.1.3 แบบเปลือกและท่อ 78
5.2 สัมประสิทธิ์การถ่ายโอนความร้อน 78
5.2.1 สัมประสิทธิ์การถ่ายโอนความร้อนในเครื่องแลกเปลี่ยนความร้อน 78
5.2.2 การสร้างโครงข่ายค่าความต้านทานความร้อน 79
5.3 การวิเคราะห์การถ่ายเทความร้อนในเครื่องแลกเปลี่ยนความร้อน 81
5.3.1 วิธีการ log mean temperature differeness 81
5.3.2 วิธีการ effectiveness-NTU 82
ภาคผนวก 84
เอกสารอ้างอิง 91

เอกสารประกอบการสอนวิชา Heat transfer จัดทาโดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน และ ดร.จาริณี จงปลื้มปิติ


ปรับปรุงล่าสุด 1 พฤศจิกายน 2562

สารบัญตาราง
หน้าที่
ตารางที่ 1-1 ตัวอย่างค่าสัมประสิทธิ์การพาความร้อน 28
ตารางที่ 1-2 ค่าการแผ่รังสีของวัสดุที่อุณหภูมิ 300 K [1] 29
ตารางที่ 0-1 สมบัติวัสดุ 84
ตารางที่ 0-2 สมบัติของน้า 86
ตารางที่ 0-3 สมบัติอากาศที่ความดัน 1 atm 87
ตารางที่ 0-4 สัมประสิทธิ์การแผ่รังสี 88
ตารางที่ 0-5 สมบัติการดูดซับรังสีดวงอาทิตย์ของวัสดุ 90

เอกสารประกอบการสอนวิชา Heat transfer จัดทาโดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน และ ดร.จาริณี จงปลื้มปิติ


ปรับปรุงล่าสุด 1 พฤศจิกายน 2562

สารบัญรูป
หน้าที่
รูปที่ 1-1 กระแสของความร้อนจากแก้วกาแฟสู่บรรยากาศ 19
รูปที่ 1-2 การนาความร้อนของคาน 19
รูปที่ 1-3 ความหมายของค่าความร้อนจาเพาะ 20
รูปที่ 1-4 พลังงานที่แสดงออกและพลังงานแฝงที่เคลื่อนย้ายโดยผลต่างของอุณหภูมิ 21
รูปที่ 1-5 การถ่ายโอนความร้อนจากพื้นผิวร้อนสู่อากาศโดยการพาความร้อน 26
รูปที่ 1-6 ลักษณะของอากาศที่ไหลผ่านวัตถุ 27
รูปที่ 1-7 ลักษณะของการพาความร้อน 27
รูปที่ 1-8 ตัวอย่างของการแผ่รังสีของวัตถุดา 29
รูปที่ 2-1 ทิศทางและค่าของการถ่ายโอนความร้อน 31
รูปที่ 2-2 การกาหนดทิศทางของการถ่ายโอนความร้อน 31
รูปที่ 2-3 ระบบพิกัดที่ใช้ในการกาหนดทิศทางและตาแหน่ง 32
รูปที่ 2-4 การนาความร้อนในสภาวะคงตัวและไม่คงตัว 32
รูปที่ 2-5 อุปกรณ์สร้างความร้อนโดยคอยล์ร้อนจากพลังงานไฟฟ้า 33
รูปที่ 2-6 การนาความร้อนในหนึ่งมิติของผนังขนาดใหญ่ 34
รูปที่ 2-7 การนาความร้อนในสามมิติของปริมาตรที่พิจารณา 35
รูปที่ 2-8 การไหลของความร้อนผ่านผนังในหนึ่งมิติ 36
รูปที่ 2-9 การเปรียบเทียบระหว่างแนวคิดของความต้านทานความร้อนและไฟฟ้า 37
รูปที่ 2-10 แผนภาพแนวคิดความต้านทานความร้อนเนื่องจากการพา 37
รูปที่ 2-11 โครงข่ายความต้านทานความร้อนที่ผ่านผนังแผ่นเรียบ 38
รูปที่ 2-12 โครงข่ายความต้านทานความร้อนสาหรับผนังสองชั้นเมื่อมีการพาความร้อนทั้งสองด้าน 39
รูปที่ 2-13 เปรียบเทียบการกระจายตัวของอุณหภูมิในลูกบอลและเนื้อสัตว์ 42
รูปที่ 2-14 รูปทรงเรขาคณิตและตัวแปรในการวิเคราะห์ระบบกลุ่มก้อน 43
รูปที่ 2-15 การกระจายอุณหภูมิของวัตถุรูปทรงต่างๆ 44
รูปที่ 2-16 การอนุพันธ์ฟังก์ชันที่จุดที่แสดงให้เห็นถึงความชัน 45
รูปที่ 2-17 แผนผังจุดและอุณหภูมิของแต่ละจุดเมื่อมีการใช้หลักการของไฟไนต์ดิฟเฟอเรนต์ 46
รูปที่ 2-18 จุดเริ่มต้นและปริมาตรสาหรับการคานวณการนาความร้อนในหนึ่งมิติ 47
รูปที่ 2-19 โครงข่ายของจุดต่อในระเบียบวิธีการทางไฟไนต์ดิฟเฟอเรนท์ 49
รูปที่ 2-20 เอลิเมนต์ของจุด (m, n) สาหรับพิกัดฉาก 49

เอกสารประกอบการสอนวิชา Heat transfer จัดทาโดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน และ ดร.จาริณี จงปลื้มปิติ


ปรับปรุงล่าสุด 1 พฤศจิกายน 2562

รูปที่ 2-21 การสร้างโครงข่ายและกาหนดตัวแปรในการวิเคราะห์ปัญหาสภาวะไม่คงตัว 51


รูปที่ 3-1 การถ่ายโอนความร้อนจากผิวร้อนสู่สิ่งแวดล้อมโดยการพาและการนา 53
รูปที่ 3-2 การเปลี่ยนแปลงในชั้นของไหลบนแผ่นเรียบที่ระบบการไหลที่แตกต่างกัน 54
รูปที่ 3-3 ชั้นความร้อนที่เกิดขึ้นบนแผ่นบาง 55
รูปที่ 3-4 ระบบการไหลแบบเรียบเรียบและปั่นป่วนของควันบุหรี่ 55
รูปที่ 3-5 ปริมาตรควบคุมที่ใช้ในการอนุพันธ์ของสมดุลมวล 56
รูปที่ 3-6 ช่วงการไหลแบบราบเรียบและปั่นป่วนของชั่นของไหลระหว่างการไหลบนแผ่นเรียบ 59
รูปที่ 3-7 รูปแบบการไหลของของไหลที่ไหลผ่านท่อทรงกระบอก 60
รูปที่ 3-8 ลักษณะของหน้าตัดที่ใช้ในการขนถ่ายของไหลแต่ละประเภท 61
รูปที่ 3-9 บริเวณทางเข้าและการไหลแบบเต็มท่อ 61
รูปที่ 3-10 การลดความร้อนของไข่โดยการพาความร้อนแบบธรรมชาติ 65
รูปที่ 3-11 การเพิ่มอุณหภูมิของสิ่งแวดล้อมกับกระป๋องโซดาโดยการพาความร้อนแบบธรรมชาติ 65
รูปที่ 4-1 การแผ่รังสีระหว่างคนและกองไฟ 67
รูปที่ 4-2 สเปกตรัมการแผ่รังสีของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า 68
รูปที่ 4-3 การแผ่รังสีของวัตถุดา 71
รูปที่ 4-4 การดูดซับ การสะท้อนและการส่งผ่านของวัตถุเมื่อเจอรังสีความร้อน 72
รูปที่ 4-5 รูปทรงที่ใช้ในการวิเคราะห์ค่าตัวประกอบระหว่างผิวสองผิว 73
รูปที่ 4-6 ตัวประกอบทิศทางระหว่างแผ่นสี่เหลี่ยมขนาดเท่ากันวางขนานกัน 74
รูปที่ 4-7 ตัวประกอบทิศทางของแผ่นสี่เหลี่ยมที่วางตั้งฉากกัน 74
รูปที่ 4-8 ตัวประกอบการถ่ายโอนความร้อนระหว่างแผ่นกลมที่วางในแนวเส้นตรงเดียวกัน 75
รูปที่ 4-9 การแลกเปลี่ยนพลังงานความร้อนระหว่างผิวของวัตถุดา 75
รูปที่ 5-1 ลักษณะการไหลที่แตกต่างกันและเส้นการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของเครื่องแลกเปลี่ยนความร้อน
แบบสองท่อ 77
รูปที่ 5-2 ความแตกต่างของลักษณะของเครื่องแลกเปลี่ยนความร้อนแบบไหลผสมและไหลไม่ผสม 78
รูปที่ 5-3 เครื่องแลกเปลี่ยนความร้อนแบบเปลือกและท่อ 78
รูปที่ 5-4 ลักษณะการเคลื่อนที่ของพลังงานความร้อนในท่อ 79
รูปที่ 5-5 โครงข่ายค่าความต้านทานความร้อน 79

เอกสารประกอบการสอนวิชา Heat transfer จัดทาโดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน และ ดร.จาริณี จงปลื้มปิติ


ปรับปรุงล่าสุด 1 พฤศจิกายน 2562

วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์ ประเด็นยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัย

1) วิสัยทัศน์ (Vision)
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน เป็นมหาวิทยาลัยด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีคุณภาพ
ชั้นนาในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ที่มุ่งเน้นการผลิตนักปฏิบัติด้านวิชาชีพ เพื่อพัฒนาชุมชนและสังคม

2) พันธกิจ (Mission)
1. จัดการศึกษาระดับอุดมศึกษาบนพื้นฐาน ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่มีคุณภาพตาม
มาตรฐานสอดคล้องกับความต้องการของผู้รับบริการ
2. สร้างงานวิจัย สิ่งประดิษฐ์ และนวัตกรรม บนพื้นฐานของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสู่การ
ผลิตการบริการ และการสร้างมูลค่าเพิ่มให้ประเทศ
3. มุ่งบริการวิชาการและถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่สังคม
4. ทานุบารุงศาสนา อนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรม และรักษาสิ่งแวดล้อม
5. บริหารจัดการด้วยระบบธรรมาภิบาลเพื่อเพิ่มศักยภาพการทางานขององค์กร

3) เป้าประสงค์ (Goals)
1. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน เป็นแหล่งการศึกษาด้านวิชาชีพทางเทคโนโลยีเชิง
บูรณาการ ที่มีความเข้มแข็งด้านวิชาการ เป็นที่พึ่งของประชาชนในทุกพื้นที่ ให้สามารถเรียนรู้ได้ตลอดชีวิต
2. ผลิตบัณฑิตทางวิชาชีพ ที่มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยี มีคุณธรรม และปฏิบัติงานได้
อย่างมืออาชีพ
3. ประชาชนมีศักยภาพในการสร้างงานด้านวิชาชีพ ด้านเทคโนโลยี ที่สามารถแข่งขันได้
4) ประเด็นยุทธศาสตร์ (Strategic Issues)
1. ศูนย์กลางการศึกษาและความรู้ (Hub) ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่มีความเข้มแข็ง
2. สร้างคนดี คนเก่ง ที่มีทักษะในการทางานทาให้เป็นทุนมนุษย์ (Human capital) ของ
ประเทศ
3. ศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดจนการถ่ายทอดความรู้ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเชิง
บูรณาการที่ได้ มาตรฐาน เพื่อความเป็นอยู่ที่ดีของคนไทย

เอกสารประกอบการสอนวิชา Heat transfer จัดทาโดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน และ ดร.จาริณี จงปลื้มปิติ


ปรับปรุงล่าสุด 1 พฤศจิกายน 2562

ปรัชญา ความสาคัญ และวัตถุประสงค์ของหลักสูตร

1) ปรัชญา
เพื่อผลิ ตบั ณฑิตให้ มีความเป็ นผู้ นาด้านการปฏิบัติ สามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในงานวิศวกรรม
เครื่องจักรกลเกษตร ตลอดจนมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ และมีคุณธรรม จริยธรรม
2) วัตถุประสงค์
1) เพื่อผลิ ตวิศวกรปฏิบั ติการระดับปริญญาตรีที่มี คุณสมบัติเหมาะสม สามารถปฏิบัติ งาน
วิศวกรรมเครื่องจักรกลเกษตรในสภาพปัจจุบัน
2) เพื่อผลิตวิศวกรด้านเครื่องจักรกลเกษตร ที่มีความสามารถปฏิบัติงานเฉพาะด้าน สามารถใช้
หลักวิชาเพื่อแก้ปัญหาในด้านวิศวกรรมเครื่องจักรกลเกษตรและอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้อง มีความรู้ขั้นพื้นฐาน
ทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ เกษตรศาสตร์ สังคมศาสตร์และอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อนามาประยุกต์ใช้ในงาน
วิ ศ วกรรมเครื่ อ งจั ก รกลเกษตรได้ เป็ น อย่ างดี สามารถปฏิ บั ติ ง านด้ า นวิ ศ วกรรมในลั ก ษณะที่ เ พิ่ ม พู น
ประสิทธิภาพ เพิ่มผลผลิตทางการเกษตร การรักษาสภาวะแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ เพื่อให้คุณภาพ
ชีวิตดีขึ้น
3) เพื่อฝึกฝนให้มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ มีกิจนิสัยในการค้นคว้า ปรับปรุงตนเองให้ก้าวหน้าอยู่
เสมอ สามารถวางแผนเพื่อกาหนดการปฏิบัติงานและควบคุมที่ถูกหลักวิชาการ ซึ่งจะก่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์
ตามเป้าหมายอย่างประหยัด รวดเร็ว ตรงต่อเวลาและมีคุณภาพ
4) เพื่อเสริ มสร้ างคุ ณธรรม จริยธรรม ความมีระเบี ยบวินั ย ตรงต่อเวลา ความซื่อสั ตย์ สุ จ ริ ต
ขยันหมั่นเพียรความสานึกในจรรยาบรรณแห่งวิชาชีพ ความรับผิดชอบต่อหน้าที่และสังคม

เอกสารประกอบการสอนวิชา Heat transfer จัดทาโดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน และ ดร.จาริณี จงปลื้มปิติ


ปรับปรุงล่าสุด 1 พฤศจิกายน 2562

ลักษณะรายวิชา
1. รหัสและชื่อวิชา 04-031-305 การถ่ายโอนความร้อน (Heat transfer)
2. สภาพรายวิชา วิชาชีพบังคับ
3. ระดับรายวิชา ชั้นปีที่ 3
4. วิชาบังคับก่อน 04-030-203 กลศาสตร์ของไหล 1 และ
04-030-202 เทอร์โมไดนามิกส์ 1
5. เวลาเรียน ทฤษฎี 45 คาบ ปฏิบัติ – คาบต่อสัปดาห์และนักศึกษาจะต้องใช้เวลาศึกษา
ค้นคว้านอกเวลา 6 ชั่วโมงต่อสัปดาห์
6. จานวนหน่วยกิต 3 (3-0-6) หน่วยกิต
7. จุดประสงค์รายวิชา 1. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้หลักการเบื้องต้นของการถ่ายเทความร้อน โดย
การน า การพา และการแผ่ รั ง สี ค านวณหาอุ ณ หภู มิ แ ละความร้ อ น
สาหรับการนาความร้อนสภาวะสม่าเสมอและไม่สม่าเสมอในหนึ่งและสอง
มิติ การหาค่าฉนวนความร้อน รู้ จักการนาวิธีไฟไนต์ดิฟเฟอเรนท์มาช่วย
ในการแก้ปัญหาการนาความร้อน ศึกษารูปแบบของการพาความร้ อน
แบบอิสระและแบบบังคับ ศึกษาการแผ่ รังสี ความร้อนส าหรับรูปทรง
ต่างๆ การเดือดและการควบแน่น เรียนรู้พื้นฐานการเลือกของอุปกรณ์
ถ่ายเทความร้อน อุปกรณ์เพิ่มการถ่ายเทความร้อน
2. เพื่อให้นักศึกษาสามารถใช้เทคโนโลยีในการสืบค้น คิดและวิเคราะห์ เพื่อ
แก้ปัญหาด้านกลศาสตร์ได้อย่างเป็นระบบ
3. เพื่อให้นักศึกษามีเจตคติที่ดีในการนาความรู้วิชากลศาสตร์ไปใช้ในงาน
วิศวกรรม
8. คาอธิบายรายวิชา ศึกษาเกี่ยวกับความรู้พื้นฐานของการถ่ายเทความร้อน โดยการนา การพา
และการแผ่รังสี คานวณหาอุณหภูมิและความร้อน สาหรับการนาความร้อน
สภาวะสม่าเสมอและไม่สม่าเสมอในหนึ่งและสองมิติ การหาค่าฉนวนความ
ร้อน รู้จักการนาวิธีไฟไนต์ดิฟเฟอเรนท์ มาช่วยในการแก้ปัญหาการนาความ
ร้อน ศึกษารูปแบบของการพาความร้อนแบบอิสระและแบบบังคับ ศึกษาการ
แผ่ รั งสี ความร้อนส าหรับรูปทรงต่างๆ การเดือดและการควบแน่น เรียนรู้
พื้นฐานการเลือกของอุปกรณ์ถ่ายเทความร้อน อุปกรณ์เพิ่มการถ่ายเทความ
ร้อน

เอกสารประกอบการสอนวิชา Heat transfer จัดทาโดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน และ ดร.จาริณี จงปลื้มปิติ


ปรับปรุงล่าสุด 1 พฤศจิกายน 2562

การแบ่งหน่วยเรียน

ชั่วโมงเรียน
รายการ
ทฤษฎี ปฏิบัติ
หน่วยที่ 1 บทนา 9 0
1.1 พืน้ ฐานการถ่ายโอนความร้อน
1.2 กลไกการถ่ายโอนความร้อน
หน่วยที่ 2 การนาความร้อน 12 0
2.1 สมการนาความร้อน
2.2 การนาความร้อนในสภาวะคงตัว
2.3 การนาความร้อนในสภาวะไม่คงตัว
2.4 วิธีเชิงตัวเลขในการหาค่าการนาความร้อน
หน่วยที่ 3 การพาความร้อน 9 0
3.1 พื้นฐานการพาความร้อน
3.2 การพาความร้อนแบบบังคับจากแรงภายนอก
3.3 การพาความร้อนแบบบังคับจากแรงภายใน
3.4 การพาแบบธรรมชาติ
หน่วยที่ 4 การแผ่รังสี 6 0
4.1 พื้นฐานของการแผ่รังสีทางความร้อน
4.2 การถ่ายโอนความร้อนด้วยการแผ่รังสี
หน่วยที่ 5 เครื่องแลกเปลี่ยนความร้อน 9 0
5.1 ประเภทของเครื่องแลกเปลี่ยนความร้อน
5.2 สัมประสิทธิ์การถ่ายโอนความร้อน
5.3 การวิเคราะห์การถ่ายเทความร้อนในเครื่องแลกเปลี่ยนความร้อน
รวมทฤษฎี 45 ชม.
รวมปฏิบตั ิ 0 ชม.
ทดสอบ 6 ชม.
รวม 51 ชม.

เอกสารประกอบการสอนวิชา Heat transfer จัดทาโดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน และ ดร.จาริณี จงปลื้มปิติ


ปรับปรุงล่าสุด 1 พฤศจิกายน 2562
13

จุดประสงค์การสอน
เวลาเรียน
หน่วยที่ รายการ ทฤษฎี ปฏิบัติ
(ชั่วโมง) (ชั่วโมง)
หน่วยที่ 1 บทนา 9 0
1.1 รู้พื้นฐานการถ่ายโอนความร้อน
1.1.1 บอกอุณหพลศาสตร์และการถ่ายโอนความร้อน
1.1.2 บอกการถ่ายโอนความร้อนทางวิศวกรรม
1.1.3 บอกรูปแบบของพลังงาน
1.1.4 บอกความร้อนจาเพาะของก๊าซ ของเหลว และของแข็ง
1.1.5 บอกการถ่ายโอนพลังงาน
1.1.6 บอกกฎข้อทีห่ นึ่งของอุณหพลศาสตร์
1.2 รู้กลไกการถ่ายโอนความร้อน
1.2.1 บอกการนาความร้อน
1.2.2 บอกการพาความร้อน
1.2.3 บอกการแผ่รังสี
หน่วยที่ 2 การนาความร้อน 12 0
2.1 เข้าใจสมการนาความร้อน
2.1.1 อธิบายระบบพิกัดในการอ้างอิง
2.1.2 อธิบายการถ่ายโอนความร้อนในสภาวะคงตัวและไม่คงตัว
2.1.3 อธิบายการสร้างความร้อน
2.1.4 อธิบายสมการการนาความร้อนในหนึ่งมิติ
2.1.5 อธิบายสมการการนาความร้อนแบบปกติ
2.2 เข้าใจการนาความร้อนในสภาวะคงตัว
2.2.1 อธิบายการนาความร้อนสภาวะคงตัวในแผ่นเรียบ
2.2.2 อธิบายความต้านทานความร้อน
2.2.3 อธิบายการสร้างโครงข่ายความต้านทานความร้อน
2.3 คานวณการนาความร้อนในสภาวะไม่คงตัว
2.3.1 คานวณการวิเคราะห์แบบกลุ่มก้อน
2.3.2 คานวณการนาความร้อนในสภาวะไม่คงตัวในระบบใหญ่
2.4 คานวณวิธีเชิงตัวเลขในการหาค่าการนาความร้อน
2.4.1 คานวณระเบียบวิธีการเชิงตัวเลข
2.4.2 คานวณระเบียบวิธีการไฟไนต์ดิฟเฟอเรนต์
2.4.3 คานวณการนาความร้อนในหนึ่งมิติ
2.4.4 คานวณการนาความร้อนในสองมิติ
2.4.5 คานวณการนาความร้อนในสภาวะไม่คงตัว
หน่วยที่ 3 การพาความร้อน 9 0
3.1 เข้าใจพื้นฐานการพาความร้อน
3.1.1 อธิบายกลไกการพาความร้อน

เอกสารประกอบการสอนวิชา Heat transfer จัดทาโดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน และ ดร.จาริณี จงปลื้มปิติ


ปรับปรุงล่าสุด 1 พฤศจิกายน 2562
14

เวลาเรียน
หน่วยที่ รายการ ทฤษฎี ปฏิบัติ
(ชั่วโมง) (ชั่วโมง)
3.1.2 อธิบายประเภทของการไหล
3.1.3 อธิบายชั้นความเร็ว
3.1.4 อธิบายชั้นความร้อน
3.1.5 อธิบายการไหลแบบราบเรียบและการไหลแบบปั่นป่วน
3.1.6 อธิบายการอนุพันธ์ของสมการการพาความร้อน
3.2 เข้าใจการพาความร้อนแบบบังคับจากแรงภายนอก
3.2.1 อธิบายแรงฉุดและการถ่ายโอนความร้อนจากภายนอก
3.2.2 อธิบายการไหลขนานบนแผ่นบาง
3.2.3 อธิบายการไหลบนทรงกระบอกและทรงกลม
3.3 คานวณการพาความร้อนแบบบังคับจากแรงภายใน
3.3.1 คานวณความเร็วและอุณหภูมิเฉลีย่
3.3.2 คานวณพื้นที่ทางเข้า
3.3.3 คานวณการวิเคราะห์อุณหภูมแิ บบปกติ
3.3.4 คานวณการไหลราบเรียบภายในท่อ
3.3.5 คานวณการไหลปั่นป่วนภายในท่อ
3.4 คานวณการพาแบบธรรมชาติ
3.4.1 คานวณกลไกการพาความร้อนแบบธรรมชาติ
3.4.2 คานวณสมการการเคลื่อนที่และตัวเลข Grashof
3.4.3 คานวณการพาความร้อนแบบธรรมชาติบนผิวเรียบ
หน่วยที่ 4 การแผ่รังสี 6 0
4.1 เข้าใจพื้นฐานของการแผ่รังสีทางความร้อน
4.1.1 อธิบายพฤติกรรมการแผ่รังสี
4.1.2 อธิบายการแผ่รังสีความร้อน
4.1.3 อธิบายการแผ่รังสีความร้อนของวัตถุดา
4.1.4 อธิบายความเข้มของการแผ่นรังสี
4.1.5 อธิบายสมบัติการแผ่รังสี
4.2 คานวณการถ่ายโอนความร้อนด้วยการแผ่รังสี
4.2.1 คานวณตัวประกอบทิศทาง
4.2.2 คานวณความสัมพันธ์ตัวประกอบทิศทาง
4.2.3 คานวณการถ่ายโอนความร้อนบนผิวสีดา
หน่วยที่ 5 เครื่องแลกเปลี่ยนความร้อน 9 0
5.1 รู้ประเภทของเครื่องแลกเปลี่ยนความร้อน
5.1.1 บอกลักษณะของอุปกรณ์แลกเปลีย่ นความร้อนแบบไหลขนานและไหลสวน
ทาง
5.1.2 บอกลักษณะของอุปกรณ์แลกเปลีย่ นความร้อนแบบไหลผสมและไม่ผสม
5.1.3 บอกลักษณะของอุปกรณ์แลกเปลีย่ นความร้อนแบบเปลือกและท่อ
5.2 เข้าใจสัมประสิทธิ์การถ่ายโอนความร้อน
5.2.1 อธิบายสัมประสิทธิก์ ารถ่ายโอนความร้อนในเครื่องแลกเปลี่ยนความร้อน
เอกสารประกอบการสอนวิชา Heat transfer จัดทาโดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน และ ดร.จาริณี จงปลื้มปิติ
ปรับปรุงล่าสุด 1 พฤศจิกายน 2562
15

เวลาเรียน
หน่วยที่ รายการ ทฤษฎี ปฏิบัติ
(ชั่วโมง) (ชั่วโมง)
5.2.2 อธิบายการสร้างโครงข่ายค่าความต้านทานความร้อน
5.3 คานวณการถ่ายเทความร้อนในเครื่องแลกเปลี่ยนความร้อน
5.3.1 คานวณการถ่ายเทความร้อนในเครื่องแลกเปลี่ยนความร้อนด้วยวิธกี าร log
mean temperature differeness
5.3.2 คานวณการถ่ายเทความร้อนในเครื่องแลกเปลี่ยนความร้อนด้วยวิธกี าร
effectiveness-NTU

เอกสารประกอบการสอนวิชา Heat transfer จัดทาโดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน และ ดร.จาริณี จงปลื้มปิติ


ปรับปรุงล่าสุด 1 พฤศจิกายน 2562

กาหนดการสอน
สัปดาห์ ว/ด/ป ชม. ที่ รายการ หมายเหตุ
ที่
1 1-3 พื้นฐานการถ่ายโอนความร้อน
2 1-3 พื้นฐานการถ่ายโอนความร้อน
3 1-3 กลไกการถ่ายโอนความร้อน
4 1-3 สมการนาความร้อน
5 1-3 การนาความร้อนในสภาวะคงตัว
6 1-3 การนาความร้อนในสภาวะไม่คงตัว
7 1-3 วิธีเชิงตัวเลขในการหาค่าการนาความร้อน
8 1-3 สอบกลางภาค
9 1-3 พื้นฐานการพาความร้อน
10 1-3 การพาความร้อนแบบบังคับจากแรงภายนอก
การพาความร้อนแบบบังคับจากแรงภายใน, การ
11 1-3
พาแบบธรรมชาติ
12 1-3 พื้นฐานของการแผ่รังสีทางความร้อน
13 1-3 การถ่ายโอนความร้อนด้วยการแผ่รังสี
14 1-3 ประเภทของเครื่องแลกเปลี่ยนความร้อน
15 1-3 สัมประสิทธิ์การถ่ายโอนความร้อน
การวิเคราะห์การถ่ายเทความร้อนในเครื่อง
16 1-3
แลกเปลี่ยนความร้อน
17 1-3 สอบปลายภาค

เอกสารประกอบการสอนวิชา Heat transfer จัดทาโดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน และ ดร.จาริณี จงปลื้มปิติ


ปรับปรุงล่าสุด 1 พฤศจิกายน 2562

การประเมินผลรายวิชา
1. เกณฑ์การพิจารณา
รายวิชานี้แบ่งเป็น 5 หน่วยเรียน การวัดและประเมินผลรายวิชาดาเนินการแยกเป็น 3 ส่วน โดย
แบ่งแยกคะแนนแต่ละส่วนจากคะแนนเต็ม ทั้งรายวิชา 100 คะแนน ดังนี้
1.1 ผลงานที่มอบหมาย 40 คะแนน หรือร้อยละ 40
1.2 พิจารณาจิตพิสัย (กิจนิสัย ความตั้งใจ และการร่วมกิจกรรม) 10 คะแนน หรือร้อยละ 10
1.3 การทดสอบแต่ละหน่วยเรียน 50 คะแนน หรือร้อยละ 50 โดยจัดแบ่งน้าหนักคะแนนในแต่ละ
หน่วยตามตารางกาหนดน้าหนักคะแนน
2. เกณฑ์ผ่านรายวิชา
ผู้ที่จะผ่านรายวิชานี้จะต้อง
2.1 มีเวลาเรียนไม่ต่ากว่า ร้อยละ 80
2.2 คะแนนรวมทั้งรายวิชาไม่ต่ากว่าร้อยละ 50 ของคะแนนรวม
3. เกณฑ์ค่าระดับคะแนน
การประเมินแบ่งออกเป็น 2 ขั้นตอน ดังนี้
3.1 พิจารณาตามเกณฑ์ผ่านรายวิชาตามข้อ 2 ผู้ไม่ผ่านเกณฑ์ข้อ 2 จะได้รับค่าระดับคะแนน จ หรือ
F
3.2 ผู้ที่สอบผ่านเกณฑ์ข้อ 2 จะได้รับค่าระดับคะแนน ตามเกณฑ์ ดังนี้
คะแนนร้อยละ 80 ขึ้นไป ได้ ก หรือ A
คะแนนร้อยละ 75-79 ได้ ข+ หรือ B+
คะแนนร้อยละ 70-74 ได้ ข หรือ B
คะแนนร้อยละ 65-69 ได้ ค+ หรือ C+
คะแนนร้อยละ 60-64 ได้ ค หรือ C
คะแนนร้อยละ 55-59 ได้ ง+ หรือ D+
คะแนนร้อยละ 50-54 ได้ ง หรือ D
คะแนนร้อยละ 49 ลงไป ได้ หรือ F

เอกสารประกอบการสอนวิชา Heat transfer จัดทาโดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน และ ดร.จาริณี จงปลื้มปิติ


ปรับปรุงล่าสุด 1 พฤศจิกายน 2562

ตารางกาหนดนาหนักคะแนน
คะแนนรายหน่วย น้าหนักคะแนน
และน้าหนักคะแนน พุทธพิสัย
เลขที่หน่วย

คะแนนรายหน่วย

การนาไปใช้
ความเข้าใจ

ทักษะพิสัย
ความรู้

สูงกว่า
ชื่อหน่วย
1 บทนา 10 5 5
2 การนาความร้อน 10 5 3 2
3 การพาความร้อน 10 5 3 2
4 การแผ่รังสี 10 5 3 2
5 เครื่องแลกเปลี่ยนความร้อน 10 5 3 2
ก คะแนนภาควิชาการ 50 25 17 8
ข คะแนนภาคผลงาน 40
ค คะแนนภาคจิตพิสัย 10
รวมทั้งสิ้น 100

เอกสารประกอบการสอนวิชา Heat transfer จัดทาโดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน และ ดร.จาริณี จงปลื้มปิติ


ปรับปรุงล่าสุด 1 พฤศจิกายน 2562
19

หน่วยที่ 1 บทนา

1.1 พื้นฐานการถ่ายโอนความร้อน
1.1.1 อุณหพลศาสตร์และการถ่ายโอนความร้อน
วิชาอุณหพลศาสตร์ (thermodynamics) เป็นวิชาที่เกี่ยวข้องกับการถ่ายเทของความ
ร้อนทั้งหมดที่ระบบหนึ่งระบบเข้าสู่สมดุลแต่ไม่ได้มีการกล่าวถึงช่วงเวลาของกระบวนการว่าเกิดขึ้นเป็น
ช่วงเวลาเท่าใด แต่ในทางวิศวกรรมจริงมีการวิเคราะห์ ในเรื่องของอัตราการถ่ายเทพลั งงานเข้ ามา
เกี่ยวข้องด้วย ซึ่งจะเรี ยกว่าการถ่ายโอนความร้อน (heat transfer) ในวิชานี้เป็นวิชาที่จะมี ความ
เกี่ยวข้องกับความร้อน (heat) คือรูปแบบหนึ่งของพลังงานที่สามารถเคลื่อนย้ายจากระบบหนึ่งไปสู่
ระบบหนึ่งได้ ซึ่งอัตราการถ่ายเทพลังงานจะเรียกว่าการถ่ายโอนความร้อน (heat transfer) ดังรูปที่
1-1 ที่มีการเคลื่อนที่ของความร้อนจากแก้วกาแฟที่มีความร้อนสูงกว่าบรรยากาศ

รูปที่ 1-1 กระแสของความร้อนจากแก้วกาแฟสู่บรรยากาศ


[1]

รูปที่ 1-2 การนาความร้อนของคาน


เอกสารประกอบการสอนวิชา Heat transfer จัดทาโดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน และ ดร.จาริณี จงปลื้มปิติ
ปรับปรุงล่าสุด 1 พฤศจิกายน 2562
20

1.1.2 การถ่ายโอนความร้อนทางวิศวกรรม
อุ ป กรณ์ ก ารถ่ า ยเทความร้ อ นไม่ ว่ า จะเป็ น ท่ อ แลกเปลี่ ย นความร้ อ น บอยเลอร์
คอนเดนเซอร์ ฮีทเตอร์ หรือโซล่าคอลเลคเตอร์ ล้วนแต่ออกแบบภายใต้หลักการของการถ่ายโอนความ
ร้อน โดยแบ่งเป็น 2 กลุ่มใหญ่ๆ ได้แก่ อัตรา และขนาดของปัญหา
1.1.3 รูปแบบของพลังงาน
พลั งงานสามารถอยู่ ได้หลายรูปแบบ เช่น ความร้อน พลั งงานเชิงกล พลั งงานจลน์
พลังงานศักย์ พลังงานไฟฟ้า พลังงานแม่เหล็ก พลังงานเคมี และพลังงานนิวเคลียร์ ซึ่งพลังงานเหล่านี้
สามารถรวมกันเป็นพลังงานทั้งหมด (total energy: E) ของระบบ โดยพลังงานในระบบ SI มีหน่วยเป็น
จู ล (J) ส่ ว นในระบบอั งกฤษมี ห น่ ว ยเป็ น British thermal unit (Btu) หมายถึ งพลั งงานที่ ต้ อ งเพิ่ ม
อุณหภูมิของน้ า 60 F ขึ้น 1 F หรือพลั งงานอาจจะมีหน่ว ยเป็ นแคลลอรี่ (calorie: cal) ซึ่งมี ค่ า
เท่ากับ 4.1868 J
1.1.4 ความร้อนจาเพาะของก๊าซ ของเหลว และของแข็ง
ความร้อนจาเพาะ หมายถึง พลังงานที่ต้องการที่จะทาให้สสารมี อุณหภูมิเพิ่มขึ้นหนึ่ง
องศาต่อหนึ่งหน่วยสสารดังรูปที่ 1-3 ในทางวิชาอุณหพลศาสตร์ให้ความสนใจในสองประเภทของความ
ร้อนจาเพาะได้แก่ ความร้อนจาเพาะเมื่อปริมาตรคงที่ (specific heat at constant volume; Cv) และ
ความร้อนจาเพาะเมื่อความดันคงที่ (specific heat at constant pressure, Cp) แต่ถ้าหากเป็นสสารที่
ไม่สามารถบีบอัดได้ (incompressible substance) ค่าของ Cv และ Cp จะมีค่าใกล้เคียงกันจึงให้มีแค่
ตัวแปร C ดังนั้นพลังงานที่จะทาให้ของแข็งหรือของเหลวมีอุณหภูมิเพิ่มขึ้นต่อหนึ่งหน่วยองศาสามารถ
คานวณได้จากสมการที่ (1-1)

รูปที่ 1-3 ความหมายของค่าความร้อนจาเพาะ


[1]
U  mC T (1-1)
โดยที่
U หมายถึงการเปลี่ยนแปลงพลังงานภายใน (J)
เอกสารประกอบการสอนวิชา Heat transfer จัดทาโดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน และ ดร.จาริณี จงปลื้มปิติ
ปรับปรุงล่าสุด 1 พฤศจิกายน 2562
21

m หมายถึงมวลของสสาร (kg)
C หมายถึงค่าความร้อนจาเพาะ (J/kg.K)
T หมายถึงผลต่างของอุณหภูมิ (K)
1.1.5 การถ่ายโอนพลังงาน
พลังงานสามารถถูกเคลื่อนย้ายจากรูปแบบหนึ่งไปรูปแบบหนึ่งได้โดยผ่าน 2 กลไกล
ได้แก่ ความร้ อน (heat: Q) และงาน (work: W) นั่นคือถ้าเกิดการถ่ายโอนความร้ อนก็จะเกิ ด การ
เคลื่อนที่ของพลังงาน และถ้ามีงานเกิดขึ้นก็จะเกิดการถ่ายโอนพลังงานเช่นกัน โดยที่งานต่อหนึ่งหน่วย
เวลาเรียกว่ากาลังงาน (power: W ) โดยกาลังงานมีหน่วยเป็นวัต (W) การคานวณหากาลังงานที่มี
หน่ วยเป็ นแรงม้า (horse power: hp) สามารถคานวณได้จากสมการที่ (1-2) รูปแบบของพลั งงาน
ต่างๆ จะถูกอ้างอิงในรูปแบบของพลังงานความร้อน (thermal energy) ซึ่งจะทาให้ไม่สับสนกับการ
ถ่ายโอนความร้อน รูปที่ 1-4 แสดงให้เห็นระบบที่มีพลังงานอยู่ภายในและการเคลื่อนย้ายของพลังงาน
เนื่องจากผลต่างของอุณหภูมิภายนอกระบบ
W
hp  (1-2)
746

รูปที่ 1-4 พลังงานที่แสดงออกและพลังงานแฝงที่เคลื่อนย้ายโดยผลต่างของอุณหภูมิ


[1]
พลังงานทั้งหมดที่ถ่ายโอนจากระบบหนึ่งไปสู่ระบบหนึ่งต่อหน่วยของเวลาเรียกได้ว่า
อัตราการถ่ายเทความร้อน (heat transfer rate: Q ) ดังนั้นการคานวณหาพลังงานความร้อนทั้งหมด
ที่ถูกถ่ายโอนจากระบบสามารถคานวณได้จากสมการที่ (1-3)
Q  Qt (1-3)
โดยที่
Q หมายถึงพลังงานความร้อนทั้งหมด (J)
Q หมายถึงอัตราการถ่ายโอนความร้อน (J/s หรือ W)
t หมายถึงความแตกต่างของเวลา (s)

เอกสารประกอบการสอนวิชา Heat transfer จัดทาโดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน และ ดร.จาริณี จงปลื้มปิติ


ปรับปรุงล่าสุด 1 พฤศจิกายน 2562
22

อัตราการถ่ายเทความร้อนต่อหนึ่งหน่วยพื้นที่จะเรียกว่าฟลัคความร้อน (heat flux) ซึ่ง


สามารถคานวณได้จากสมการที่ (1-4)
Q
q (1-4)
A
โดยที่
q หมายถึงฟลัคความร้อน (W/m2)
A หมายถึงพื้นที่ตั้งฉาก (m2)
ตัวอย่างที่ 1-1 Determine the average heat flux of wall as below figure.

วิธีทา

เอกสารประกอบการสอนวิชา Heat transfer จัดทาโดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน และ ดร.จาริณี จงปลื้มปิติ


ปรับปรุงล่าสุด 1 พฤศจิกายน 2562
23

ตัวอย่างที่ 1-2 A 10-cm diameter copper ball is to be heated from 100 °C to an


average temperature of 150 °C in 30 minutes. Taking the average
density and specific heat of copper in this temperature range to be 
= 8950 kg/m3 and Cp = 0.395 kJ/kg °C, respectively, determine (a) the
total amount of heat transfer to the copper ball, (b) the average rate
of heat transfer to the ball, and (c) the average heat flux.

วิธีทา

เอกสารประกอบการสอนวิชา Heat transfer จัดทาโดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน และ ดร.จาริณี จงปลื้มปิติ


ปรับปรุงล่าสุด 1 พฤศจิกายน 2562
24

1.1.6 กฎข้อที่หนึ่งของอุณหพลศาสตร์
กฎข้อที่หนึ่ งของอุณหพลศาสตร์เป็นกฎของการอนุรักษ์พลั งงาน นั่นคือพลั งงานไม่
สามารถสามารถหรือทาลายได้แต่สามารถเปลี่ยนรูปแบบได้ โดยสรุปแล้วกฏข้อที่หนึ่งมีความหมายว่า
การเปลี่ยนแปลงพลังงานภายในระบบทั้งหมดเท่ากับผลต่างของพลังงานที่เข้าสู่ระบบและพลังงานที่
ออกจากระบบซึ่งสามารถแสดงได้ดังสมการที่ (1-5) ซึ่งอยู่ในรูปของการสมดุลพลังงานและ (1-6) ซึ่งอยู่
ในรูปแบบของอัตราการเปลี่ยนแปลงพลังงาน [2]
E in  E out  E system (1-5)
E in  E out  E system (1-6)
โดยที่
E system หมายถึงการเปลี่ยนแปลงของพลังงานภายในระบบ (J)
E system หมายถึงอัตราการเปลี่ยนแปลงของพลังงานภายในระบบ (W)
E in หมายถึงพลังงานที่เข้าสู่ระบบ (J)
E in หมายถึงอัตราของพลังงานที่เข้าสู่ระบบ (W)
E out หมายถึงพลังงานที่ออกจากระบบ (J)
E out หมายถึงอัตราของพลังงานที่ออกจากระบบ (W)
ในการวิเคราะห์การถ่ายโอนความร้อนมักจะพิจารณาในส่วนของการเคลื่อนย้ายของ
พลังงานอันเนื่องมาจากความแตกต่างของอุณหภูมิ ซึ่งหากจะเขียนให้ครอบคลุมในส่วนของพลังงาน
นิวเคลียร์ พลังงานเคมีและพลังงานไฟฟ้าแล้ว สมการสมดุลพลังงานสามารถเขียนได้ดังสมการที่ (1-7)
Qin  Qout  E gen  Ethermal ,system (1-7)
โดยที่
Ethermal , system หมายถึงการเปลี่ยนแปลงพลังงานความร้อนภายในระบบ (J)
Qin หมายถึงพลังงานความร้อนที่เข้าสู่ระบบ (J)
Qout หมายถึงพลังงานความร้อนที่ออกจากระบบ (J)
E gen หมายถึงพลังงานที่สร้างขึ้นโดยระบบ (J)

เอกสารประกอบการสอนวิชา Heat transfer จัดทาโดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน และ ดร.จาริณี จงปลื้มปิติ


ปรับปรุงล่าสุด 1 พฤศจิกายน 2562
25

ตัวอย่างที่ 1-3 1.2 kg of liquid water initially at 15°C is to be heated to 95°C in a


teapot equipped with a 1200 W electric heating element inside. The
teapot is 0.5 kg and has an average specific heat of 0.7 kJ/kg °C. Taking
the specific heat of water to be 4. 18 kJ/kg °C and disregarding any
heat loss from the teapot, determine how long it will take for the
water to be heated.

วิธีทา

เอกสารประกอบการสอนวิชา Heat transfer จัดทาโดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน และ ดร.จาริณี จงปลื้มปิติ


ปรับปรุงล่าสุด 1 พฤศจิกายน 2562
26

1.2 กลไกการถ่ายโอนความร้อน
ความร้อนสามารถถ่ายโอนได้ด้วยหลักการ 3 หลักการได้แก่ การนาความร้อน การพาความร้อน
และการแผ่รังสี ซึ่งทั้ง 3 หลักการตั้งอยู่บนพื้นฐานของความแตกต่างระหว่างอุณหภูมิจากอุณหภูมิสูง
ไปสู่อุณหภูมิต่า
1.2.1 การนาความร้อน
การน าความร้ อนเป็ นการถ่ายโอนพลั งงานจากแหล่ งที่มีพลั งงานสู งไปสู่ พลั งงานต่า
เกิดขึ้นทั้งในของแข็ง ของเหลวและก๊าซ ในของเหลวและก๊าซเกิดขึ้ นโดยการชนและการแพร่ ของ
โมเลกุลที่เคลื่ อนที่แบบสุ่ม ส่วนของแข็งเกิดขึ้นเนื่องจากการสั่นของโมเลกุล และการเคลื่ อนที่ ของ
อิเลคตรอน อัตราการถ่ายโอนความร้อนโดยการนาความร้อนสามารถคานวณได้จากสมการที่ (1-8)
dT
Qcond  kA (1-8)
dx
โดยที่
Qcond หมายถึงอัตราการถ่ายโอนความร้อนเนื่องจากการนา (W)
k หมายถึงค่าการนาความร้อน (W/m C)
A หมายถึงพื้นที่ (m2)
dT
หมายถึงแกรเดี้ยนของอุณหภูมิ (C/m)
dx
1.2.2 การพาความร้อน
การพาความร้ อ นเป็ น รู ป แบบการถ่ า ยโอนความร้ อ นระหว่ า งผิ ว ของของแข็ ง และ
ของเหลวหรือก๊าซที่มีการเคลื่อนที่อยู่รอบๆ ซึ่งมันประกอบไปด้วยอิทธิพลของการนาความร้อนและการ
พาความร้อน ของไหลที่มีการเคลื่อนที่เร็วจะมีการพาความร้อนสูง ส่วนของไหลที่อยู่ติดกันกับผิวของ
ของแข็งจะมีการนาความร้อน เมื่อมีพื้นผิวที่มีความร้อนและถูกทาให้เย็นโดยอากาศไหลผ่านรอบแล้ว
พลังงานจะถูกส่งผ่านไปสู่ชั้นของของไหลที่ติดกันกับผิวของของแข็งอย่างรวดเร็ว จากนั้นพลังงานจึงจะ
ถูกถ่ายโอนด้วยการพานความร้อนดังรูปที่ 1-5

รูปที่ 1-5 การถ่ายโอนความร้อนจากพื้นผิวร้อนสู่อากาศโดยการพาความร้อน


[1]
เอกสารประกอบการสอนวิชา Heat transfer จัดทาโดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน และ ดร.จาริณี จงปลื้มปิติ
ปรับปรุงล่าสุด 1 พฤศจิกายน 2562
27

รูปที่ 1-6 ลักษณะของอากาศที่ไหลผ่านวัตถุ


การถ่ายโอนความร้อนโดยการพาความร้อนนั้นมีอยู่ 2 รูปแบบด้วยกัน ได้แก่ การพา
ความร้อนแบบบังคับ (force convection) หมายถึงในกรณีที่ของไหลเคลื่อนที่ผ่านผิวของของแข็งโดย
อุ ป กรณ์ ต่ า งๆ เช่ น ปั๊ ม พั ด ลม หรื อ ลมที่ มี ก ารพั ด และการพาความร้ อ นแบบอิ ส ระ (natural
convection หรือ free convection) หมายถึงในกรณีที่อากาศหรือของไหลเคลื่อนที่โดยแรงโบยานซี่
(buoyancy force) ซึ่งเป็ นแรงที่ถูกเหนี่ ยวน าโดยความแตกต่างของความหนาแน่ น ที่ เกิ ดจากการ
เปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิของอากาศดังรูปที่ 1-7

รูปที่ 1-7 ลักษณะของการพาความร้อน


[1]
การพาความร้อนสามารถคานวณได้จากสมการที่ (1-9) โดยที่ตัวอย่างค่าสัมประสิทธิ์การ
พาความร้อน (h) สามารถดูได้จากตารางที่ตารางที่ 1-1
Qconv  hAs  Ts  T   (1-9)

เอกสารประกอบการสอนวิชา Heat transfer จัดทาโดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน และ ดร.จาริณี จงปลื้มปิติ


ปรับปรุงล่าสุด 1 พฤศจิกายน 2562
28

ตารางที่ 1-1 ตัวอย่างค่าสัมประสิทธิ์การพาความร้อน


ประเภทของการพาความร้อน H (W/m2.C)
การพาความร้อนแบบอิสระของก๊าซ 2-25
การพาความร้อนแบบอิสระของของไหล 10-1,000
การพาความร้อนแบบบังคับของก๊าซ 25-250
การพาความร้อนแบบบังคับของของไหล 50-20,000
การเดือดและการกลั่นตัว 2,500-100,000
* หากต้องการคานวณให้อยู่ในหน่วยของ Btu/h.ft2.F ให้ใช้ค่าคงที่ 0.176
ตัวอย่างที่ 1-4 A 2-m-long, 0.3-cm-diameter electrical wire extends across a room
at 15°C. Heat is generated in the wire as a result of resistance heating,
and the surface temperature of the wire is measured to be 152°C in
steady operation. Also, the voltage drop and electric current through
the wire are measured to be 60 V and 1.5 A, respectively. Disregarding
any heat transfer by radiation, determine the convection heat transfer
coefficient for heat transfer between the outer surface of the wire and
the air in the room

วิธีทา

เอกสารประกอบการสอนวิชา Heat transfer จัดทาโดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน และ ดร.จาริณี จงปลื้มปิติ


ปรับปรุงล่าสุด 1 พฤศจิกายน 2562
29

1.2.3 การแผ่รังสี
การแผ่รังสีเป็นการแพร่กระจายความร้อนโดยสสารในรูปแบบของเคลื่อนแม่เหล็กไฟฟ้า
(electromagnetic waves หรือ photons) ซึ่งมีความแตกต่างกับการนาความร้อนและการพาความ
ร้ อนที่จ าเป็ นต้องอาศัยตัวกลาง ในวิชาการถ่ายโอนความร้อนจะพิจารณาการถ่ ายโอนความร้ อน
ระหว่างผิ วเป็ นหลั ก ซึ่งแสดงได้ดัง รูปที่ 1-8 การคานวณค่าความร้อนที่ถูกถ่ายโอนโดยการแผ่ รังสี
สามารถคานวณได้จากสมการที่ (1-10)
Qemit   As Ts4 (1-10)
โดยที่
Qemit หมายถึงอัตราการแพร่ความร้อน
 หมายถึงค่าการแผ่รังสีความร้อนของวัตถุดา สามารถพิจารณาได้จากตาราง
ที่ 1-2
 หมายถึงค่าคงที่ของสเตฟานโบล์ ทมานเท่ากับ 5.67x10-8 W/m2.K4 หรือ
เท่ากับ 0.1714x10-8 Btu/h.ft2.R4
As หมายถึงพื้นที่ผิวที่พิจารณา (m2)
Ts4 หมายถึงอุณหภูมิของผิวที่พิจารณา

รูปที่ 1-8 ตัวอย่างของการแผ่รังสีของวัตถุดา


[1]
ตารางที่ 1-2 ค่าการแผ่รังสีของวัสดุที่อุณหภูมิ 300 K [1]
วัสดุ Emissivity วัสดุ Emissivity
Aluminum foil 0.07 Black paint 0.98
Anodized aluminum 0.82 White paint 0.90
Polished copper 0.03 White paper 0.92-0.97
Polished gold 0.03 Asphalt pavement 0.85-0.93
Polished silver 0.02 Red brick 0.93-0.96
Wood 0.82-0.92 Human skin 0.95

เอกสารประกอบการสอนวิชา Heat transfer จัดทาโดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน และ ดร.จาริณี จงปลื้มปิติ


ปรับปรุงล่าสุด 1 พฤศจิกายน 2562
30

ในการพิจารณาการแผ่รังสีของวัตถุที่อยู่ภายใต้สถาวะแวดล้อมที่เราต้องการพิจารณา
สามารถคานวณหาค่าความร้อนที่มีการถ่ายโอนทั้งหมดได้จากสมการที่
Qrad   As  Ts4  Tsurr4  (1-11)
โดยที่
Qrad หมายถึงอัตราการถ่ายโอนความร้อนโดยการแผ่รังสี
4
Tsurr หมายถึงอุณหภูมิของสภาพแวดล้อมที่พิจารณา
ตัวอย่างที่ 1-5 Consider a person standing in a room maintained at 22°C at all
times. The inner surfaces of the walls, floors, and the ceiling of the
house are observed to be at an average temperature of 10°C in winter
and 25°C in summer. Determine the rate of radiation heat transfer
between this person and the surrounding surfaces if the exposed
surface area and the average outer surface temperature of the person
are 1.4 m2 and 30°C.

วิธีทา

เอกสารประกอบการสอนวิชา Heat transfer จัดทาโดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน และ ดร.จาริณี จงปลื้มปิติ


ปรับปรุงล่าสุด 1 พฤศจิกายน 2562
31

หน่วยที่ 2 การนาความร้อน
2.1 สมการนาความร้อน
2.1.1 ระบบพิกัดในการอ้างอิง
ในการวิเคราะห์การถ่ายโอนความร้อนจาเป็นต้องมีการวิเคราะห์ถึงทิศทางการเคลื่อนที่ของ
ความร้อนและค่าของการถ่ายโอนความร้อนดังรูปที่ 2-1 ดังนั้นจาเป็นต้องมีการกาหนดพิกัดที่สาคัญก่อนที่จะ
ทาการวิเคราะห์ เพื่ออธิบายปรากฏการณ์ของการถ่ายโอนความร้อน เช่น การบอกอุณหภูมิของผิ วว่ามี
อุณหภูมิ 18 C สามารถบอกได้โดยไม่ต้องกาหนดทิศทาง แต่ถ้าบอกว่ามีฟลัคซ์ความร้อนเท่ากับ 50 W/m2
จาเป็นต้องมีการบอกทิศทางว่าไปในทิศทางใด เป็นต้น

รูปที่ 2-1 ทิศทางและค่าของการถ่ายโอนความร้อน


[1]
เพื่อเป็นการป้องกันความผิดพลาดในการแปรความหมายของค่าการถ่ายโอนความร้อนที่มีทั้ง
ค่าบวกและค่าลบ จึงจาเป็นต้องการกาหนดทิศทางของแกนเพื่อบ่งบอกถึงทิศทางของการถ่ายโอนความร้อน
ขึ้ น ดั ง รู ป ที่ 2-2 ในการก าหนดพิ กั ด นั้ น มี อ ยู่ 3 พิ กั ด หลั ก ๆ ด้ ว ยกั น ได้ แ ก่ พิ กั ด ฉาก (rectangular
coordinates) จะระบุพิกัดเป็น (x, y, z) พิกัดทรงกระบอก (cylindrical coordinates) จะระบุพิกัดเป็น (r,
, z) และพิกัดทรงกลม (spherical coordinates) จะระบุพิกัดเป็น (r, , ) ดังรูปที่ 2-3

รูปที่ 2-2 การกาหนดทิศทางของการถ่ายโอนความร้อน


[1]

เอกสารประกอบการสอนวิชา Heat transfer จัดทาโดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน และ ดร.จาริณี จงปลื้มปิติ


ปรับปรุงล่าสุด 1 พฤศจิกายน 2562
32

รูปที่ 2-3 ระบบพิกัดที่ใช้ในการกาหนดทิศทางและตาแหน่ง


[1]

2.1.2 การถ่ายโอนความร้อนในสภาวะคงตัวและไม่คงตัว
การวิเคราะห์การถ่ายโอนความร้อนจะแบ่งปัญหาออกเป็น 2 กลุ่มใหญ่ๆ ได้แก่ ปัญหาใน
สภาวะคงตัว (steady state) และปั ญหาในสภาวะไม่คงตัว (transient หรือ unsteady) โดยที่ปัญหาใน
สภาวะคงตัวนั้นการถ่ายโอนความร้อนจะคงที่เสมอแม้ว่าเวลาจะมีการเปลี่ยนแปลง ส่วนปัญหาในสภาวะไม่
คงตัวจะมีการเปลี่ยนแปลงของการถ่ายโอนความร้อนเมื่อเวลาเปลี่ยนแปลงไปดังรูปที่

รูปที่ 2-4 การนาความร้อนในสภาวะคงตัวและไม่คงตัว


[1]
2.1.3 การสร้างความร้อน
อุ ป กรณ์ ที่ เป็ น ตั ว สร้ างความร้ อ นจะถู กเหนี่ ยวน าโดยการแปลงพลั ง งานไฟฟ้ า พลั งงาน
นิวเคลียร์ หรือพลังงานเคมีไปเป็นพลังงานภายใน เช่น ลวดความร้อนที่ถูกเหนี่ยวนาโดยไฟฟ้าจะมีการผลิต
พลังงานภายในด้วยอัตราเท่ากับ I2R โดยที่ I คือกระแสไฟฟ้า และ R คือความต้านทานไฟฟ้า และพลังงาน

เอกสารประกอบการสอนวิชา Heat transfer จัดทาโดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน และ ดร.จาริณี จงปลื้มปิติ


ปรับปรุงล่าสุด 1 พฤศจิกายน 2562
33

เหล่านี้จะถูกกระจายด้วยระบบระบายความร้อนภายในอุปกรณ์ โดยตัวอย่างของอุปกรณ์ที่ ใช้หลักการนี้


สามารถแสดงได้ดังรูปที่ 2-5

รูปที่ 2-5 อุปกรณ์สร้างความร้อนโดยคอยล์ร้อนจากพลังงานไฟฟ้า


[1]
2.1.4 สมการการนาความร้อนในหนึ่งมิติ
ในการพิจารณาการนาความร้อนที่เกิดขึ้นบนที่ผนังแผ่นเรียบในอาคารหรือบ้าน สภาพการนา
ความร้อนจะขึ้นอยู่กับรูปทรงของวัตถุนั้นๆ แต่หากเป็นผนังแผ่นบางสามารถทาให้เป็นปัญหาอย่างง่ายโดย
การวิเคราะห์การนาความร้อนในหนึ่งมิติ (one-dimensional) ได้ เนื่องจากการนาความร้อนสม่าเสมอตลอด
หน้าตัด โดยการพิจารณาผนังที่มีความหนา x ดังรูปที่ 2-6 และจากการสมดุลพลังงานจะได้ดังสมการที่
(2-1)
E element
Q x  Q x x  Gelement  (2-1)
t
โดยที่
Qx หมายถึงอัตราการนาความร้อนที่ตาแหน่ง x (W)
Q x x หมายถึงอัตราการนาความร้อนที่ตาแหน่ง x+x (W)
Gelement หมายถึงอัตราการสร้างความร้อนภายในขอบเขตที่พิจารณา (W)
E element หมายถึงอัตราการเปลี่ยนแปลงความร้อนภายในขอบเขตที่พิจารณา (J)
t หมายถึงช่วงระยะเวลาที่ทาการพิจารณา (s)

เอกสารประกอบการสอนวิชา Heat transfer จัดทาโดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน และ ดร.จาริณี จงปลื้มปิติ


ปรับปรุงล่าสุด 1 พฤศจิกายน 2562
34

รูปที่ 2-6 การนาความร้อนในหนึ่งมิติของผนังขนาดใหญ่


[1]
จากนั้นทาการวิเคราะห์สมการที่ (2-1) จะได้สมการการนาความร้อนในหนึ่งมิติดังสมการที่
(2-2) ถึงสมการที่ (2-4)
d 2T g
ระบบสภาวะคงที่  0 (2-2)
dx 2 k
d 2T 1 T
ระบบสภาวะไม่คงที่  (2-3)
dx 2  t
ระบบสภาวะคงที่และไม่มีการ d 2T
สร้างพลังงานภายใน 0 (2-4)
dx 2
โดยที่
g หมายถึงอัตราการสร้างพลังงานจาเพาะ (W/m3)
k หมายถึงค่านาความร้อน (W/m2.K)
k
 หมายถึงการแพร่กระจายความร้อน =
C
2.1.5 สมการการนาความร้อนแบบปกติ
ในหัวข้อที่ผ่านมาเป็นการพิจารณาการนาความร้อนในหนึ่งมิติเท่านั้น แต่ในความเป็นจริงแล้ว
ความร้อนจะมีการนาทุกทิศทาง ซึ่งสามารถแสดงได้ดังรูปที่ 2-7 และสมการที่ (2-5)

เอกสารประกอบการสอนวิชา Heat transfer จัดทาโดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน และ ดร.จาริณี จงปลื้มปิติ


ปรับปรุงล่าสุด 1 พฤศจิกายน 2562
35

รูปที่ 2-7 การนาความร้อนในสามมิติของปริมาตรที่พิจารณา


E element
Q x  Q y  Q z  Q x x  Q y y  Q z z  Gelement  (2-5)
t
จากสมการที่ได้นั้นจะสามารถนาเอาไปประยุกต์ใช้กับปัญหาต่างๆ ได้ดังสมการที่ (2-6) ถึง
สมการที่ (2-8)
ระบบสภาวะคงที่ (poission  2T  2T  2T g
   0 (2-6)
equation) x 2 y 2 z 2 k
ระบบสภาวะไม่คงที่ (diffusion  2T  2T  2T 1 T
   (2-7)
equation) x 2 y 2 z 2  t
ระบบสภาวะคงที่และไม่มีการสร้าง  2T  2T  2T
  0 (2-8)
พลังงานภายใน (laplace equation) x 2 y 2 z 2

2.2 การนาความร้อนในสภาวะคงตัว
2.2.1 การนาความร้อนสภาวะคงตัวในแผ่นเรียบ
การพิจารณาการนาความร้อนในสภาวะคงตัวผ่านผนังจะเห็นได้ว่าความร้อนจะสูญเสียอย่าง
ต่อเนื่องจากภายในสู่ภายนอกของผนังดัง รูปที่ (2-8) ซึ่งเรียกทิศทางการเคลื่อนที่ของอุณหภูมิว่าแกรเดี้ยน
(temperature gradient) จะสังเกตว่าในกรณีนี้ไม่มีการสร้างพลังงานความร้อนภายใน ดังนั้นสมการสมดุล
ความร้อนที่มีความสัมพันธ์กับเวลาจะสร้างได้ดังสมการที่ (2-9)

เอกสารประกอบการสอนวิชา Heat transfer จัดทาโดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน และ ดร.จาริณี จงปลื้มปิติ


ปรับปรุงล่าสุด 1 พฤศจิกายน 2562
36

รูปที่ 2-8 การไหลของความร้อนผ่านผนังในหนึ่งมิติ


[1]
dEwall
Qin  Qout  (2-9)
dt
dEwall
และหากพิ จ ารณาว่ าระบบเป็ นระบบสภาวะคงที่ แล้ ว จะส่ งผลให้ เทอมของ 0
dt
เพราะฉะนั้นจะทาให้อัตราการถ่ายเทความร้อนเข้าเท่ากับอัตราการถ่ายเทความร้อนออก นั่นคืออัตราการ
ถ่ายเทความร้อนผ่านผนังจะมีค่าคงที่ ซึ่งตามกฎของฟูเรียร์แล้วการนาความร้อนสามารถเขียนได้ดังสมการที่
dT
(2-10) ซึ่งเมื่อพิจารณาให้ เป็นค่าคงที่ตลอดความหนาของผนังแล้วจะสามารถทาการปริพันธ์สมการที่
dx
(2-10) ได้ดังสมการที่ (2-11)
dT
Qcond ,wall  kA (2-10)
dx
T1  T2
Qcond ,wall  kA (2-11)
L

2.2.2 ความต้านทานความร้อน
จากสมการที่ (2-11) สามารถนามาจัดรูปได้ใหม่ให้อยู่ในรูปของสมการที่ (2-12)
T1  T2
Qcond ,wall  (2-12)
Rwall
โดยที่
L
Rwall  (2-13)
kA

เอกสารประกอบการสอนวิชา Heat transfer จัดทาโดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน และ ดร.จาริณี จงปลื้มปิติ


ปรับปรุงล่าสุด 1 พฤศจิกายน 2562
37

สมการที่ (2-13) จะเรียกว่าสมการตัวต้านทานการนาความร้อน (conduction resistance)


ซึ่งมีส่วนที่คล้ายคลึงกันกับกระแสที่ไหลผ่านตัวต้านทานในการคานวณกระแสไฟฟ้าดังรูปที่ 2-9

รูปที่ 2-9 การเปรียบเทียบระหว่างแนวคิดของความต้านทานความร้อนและไฟฟ้า


[1]
ในส่วนของการนาพาความร้อนก็เช่นเดียวกันหากใช้แนวคิดของความต้านทานความร้อนดัง
เมื่ อน าเอาสมการของการพาความร้ อนมาพิ จารณาจะได้ ดั งสมการที่ (2-14) และ (2-15) โดยที่ Rconv
หมายถึงค่าความต้านทานการพาความร้อน (convection resistance)

รูปที่ 2-10 แผนภาพแนวคิดความต้านทานความร้อนเนื่องจากการพา


[1]
Ts  T
Qconv  (2-14)
Rconv
1
Rconv  (2-15)
hAs
เมื่อพื้นที่รอบๆ ผนังล้อมรอบไปด้วยก๊าซการแผ่รังสีจะต้องถูกนามาพิจารณาในกรณีนี้ด้วย
สมการการแผ่รังสีสามารถแสดงได้ดังสมการที่ (2-16) และค่าความต้านทานในการแผ่รังสี (radiation heat
transfer coefficient) สามารถแสดงได้ดังสมการที่ (2-17)
T T
Qrad  s surr (2-16)
Rrad
เอกสารประกอบการสอนวิชา Heat transfer จัดทาโดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน และ ดร.จาริณี จงปลื้มปิติ
ปรับปรุงล่าสุด 1 พฤศจิกายน 2562
38

1
Rrad  (2-17)
hrad As
ภายในสมการที่ (2-17) จะประกอบไปด้ ว ยตั ว แปร hrad ซึ่ ง เป็ น ตั ว แปรที่ เ รี ย กว่ า ค่ า
สัมประสิทธิ์การแผ่รังสี (radiation heat transfer coefficient) โดยทั้งตัวแปร Ts และ Tsurr จะต้องอยู่ใน
ค่า K ของตัวแปร hrad ค่าสัมประสิทธิ์การแผ่รังสีนั้นสามารถนาเอาไปรวมกับค่าสัมประสิทธิ์ของการพา
ความร้อนได้ซึ่งสามารถแสดงได้ดังสมการที่ (2-18)
hcombined  hconv  hrad (2-18)
โดยที่
hcombined หมายถึงค่าสัมประสิทธิ์การถ่ายโอนความร้อนรวม (W/m2.K)

2.2.3 การสร้างโครงข่ายความต้านทานความร้อน
การสร้างโครงข่ายความต้านทานความร้อนนั้นหากพิจารณาในหนึ่งมิติจะสามารถพิจารณาได้
ง่ายและเข้าใจมากยิ่งขึ้น เมื่อกาหนดให้ความหนาของผนังมีค่าเท่ากับ L พื้นที่ของผนังเท่ากับ A และมีค่าการ
นาความร้อนเท่ากับ k และกาหนดให้ผนังเผชิญกับอุณหภูมิภายนอกที่ T1 และ T 2 โดยที่ค่าสัมประ
สิทธิการพาความร้อนของอากาศทั้งสองด้านมีค่าเท่ากับ h1 และ h2 ดังรูปที่ 2-11 เมื่ออัตราการพาความร้อน
เข้าสู่ผนังมีค่าเท่ากับอัตราการนาความร้อนจากผนังด้าน T1 สู่ผนังด้าน T2 มีค่าเท่ากับอัตราการพาความร้อน
ออกจากผนังจะสามารถเขียนสมการสมดุลความร้อนได้ดังสมการที่ (2-19)

รูปที่ 2-11 โครงข่ายความต้านทานความร้อนที่ผ่านผนังแผ่นเรียบ


[1]
T1  T2
Q  h1 A  T1  T1   kA  h2 A  T2  T 2  (2-19)
L
เมื่อทาการจัดสมการที่ (2-19) ใหม่ จะได้สมการที่ (2-20)

เอกสารประกอบการสอนวิชา Heat transfer จัดทาโดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน และ ดร.จาริณี จงปลื้มปิติ


ปรับปรุงล่าสุด 1 พฤศจิกายน 2562
39

T1  T1 T1  T2 T2  T 2
Q   (2-20)
Rconv ,1 Rwall Rconv ,2
เมื่อพิจารณาจากสมการที่ และ ที่ผ่านมาสามารถสรุปได้ว่าอัตราการถ่ายเทความร้อนมีค่าดัง
สมการที่ (2-21)
T T
Q  1  2 (2-21)
Rtotal
โดยที่ค่า Rtotal ที่มีหน่วยเป็น C/W สามารถคานวณได้จากสมการที่ (2-22)
1 L 1
Rtotal  Rconv ,1  Rwall  Rconv ,2    (2-22)
h1 A kA h2 A
ในกรณีที่มีผนั งหลายชั้นสามารถใช้หลักการโครงข่ายความต้านทานความร้อนมาพิจารณา
เช่นเดียวกัน เมื่อพิจารณาผนังในรูปที่ 2-12 จะเห็นว่าผนังมีสองชั้น เมื่อทาการสมดุลความร้อนจากหลักการ
ที่ผ่านมาจะได้อัตราการถ่ายโอนความร้อนผ่านผนังดังสมการที่ (2-23)
1 L L 1
Rtotal  Rconv ,1  Rwall ,1  Rwall,2  Rconv ,2     (2-23)
h1 A k1 A k2 A h2 A

รูปที่ 2-12 โครงข่ายความต้านทานความร้อนสาหรับผนังสองชั้นเมื่อมีการพาความร้อนทั้งสองด้าน


[1]

เอกสารประกอบการสอนวิชา Heat transfer จัดทาโดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน และ ดร.จาริณี จงปลื้มปิติ


ปรับปรุงล่าสุด 1 พฤศจิกายน 2562
40

ตัวอย่างที่ 2-1 Consider a 3-m-high, 5-m-wide, and 0.3-m-thick wall whose thermal
conductivity is k = 0.9 W/m.°C. On a certain day, the temperatures of
the inner and the outer surfaces of the wall are measured to be 16°C
and 2°C, respectively. Determine the rate of heat loss through the wall
on that day

วิธีทา

เอกสารประกอบการสอนวิชา Heat transfer จัดทาโดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน และ ดร.จาริณี จงปลื้มปิติ


ปรับปรุงล่าสุด 1 พฤศจิกายน 2562
41

ตัวอย่างที่ 2-2 Consider a 0.8-m-high and 1.5-m-wide glass window with a


thickness of 8 mm and a thermal conductivity of k = 0.78 W/m · °C.
Determine the steady rate of heat transfer through this glass window
and the temperature of its inner surface for a day during which the
room is maintained at 20°C while the temperature of the outdoors is
= 10°C. Take the heat transfer coefficients on the inner and outer
surfaces of the window to be h1 = 10 W/m2.°C and h2 = 40 W/m2.°C,
which includes the effects of radiation.

วิธีทา

เอกสารประกอบการสอนวิชา Heat transfer จัดทาโดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน และ ดร.จาริณี จงปลื้มปิติ


ปรับปรุงล่าสุด 1 พฤศจิกายน 2562
42

2.3 การนาความร้อนในสภาวะไม่คงตัว
2.3.1 การวิเคราะห์แบบกลุ่มก้อน (lumped system analysis)
อุณหภูมิภายในวัตถุส่วนใหญ่แล้วจะขึ้นอยู่กับเวลาและตาแหน่งที่อยู่บนวัตถุนั้น ดังนั้นฟังก์ชั่น
ของอุณหภูมิจึงเขียนเป็นสมการคือ T(x, y, z, t) โดยที่ (x, y, z) เป็นพิกัดฉากซึ่งแสดงถึงตาแหน่งบนวัตถุ
นั้นๆ ส่วน t แสดงถึงตัวแปรของเวลา การวิเคราะห์ในส่วนของการนาความร้อนในสภาวะไม่คงตัวนั้นจะเริ่ม
จากการวิเคราะห์ปัญหาเป็นแบบระบบกลุ่มก้อม (lumped system) ก่อน จะเห็นว่าถ้าพิจารณาจากรูปที่
2-13 ลูกบอลจะมีอุณหภูมิสม่าเสมอทั้งก้อนนั่นแสดงถึงอุณหภูมิจะมีค่าคงที่ตลอดทั้งตาแหน่งแต่ไม่คงที่
ตลอดเมื่อเวลาผ่ านไปนั่ นคืออุณหภูมิที่ลู กบอลไม่มีตาแหน่งอ้างอิง แต่หากพิจารณาถึงอุณหภูมิภายใน
เนื้อสัตว์แล้วจะเห็นได้ว่าอุณหภูมิในแต่ละจุดมีความแตกต่างกันจึงไม่สามารถวิเคราะห์เป็นแบบระบบแบบ
กลุ่มก้อนได้

รูปที่ 2-13 เปรียบเทียบการกระจายตัวของอุณหภูมิในลูกบอลและเนื้อสัตว์


[1]
การพิจารณาวัตถุที่มีมวล m ปริมาตร V พื้นที่ As ความหนาแน่น  และค่าความร้อนจาเพาะ
Cp ดังรูปที่ 2-14 เมื่อเวลาผ่านไป dt ความแตกต่างของอุณหภูมิ dT สามารถหาค่าได้โดยการสร้างสมดุลของ
ความร้อนที่เข้าสู่ระบบโดยที่ความร้อนที่เข้าสู่ระบบโดยการพาความร้อนมีค่าเท่ากั บความร้อนที่เพิ่มขึ้นใน
ระบบดังสมการที่ (2-24)

เอกสารประกอบการสอนวิชา Heat transfer จัดทาโดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน และ ดร.จาริณี จงปลื้มปิติ


ปรับปรุงล่าสุด 1 พฤศจิกายน 2562
43

รูปที่ 2-14 รูปทรงเรขาคณิตและตัวแปรในการวิเคราะห์ระบบกลุ่มก้อน


[1]
hAs  T  T  dt  mC p dT (2-24)
เมื่อทาการกาหนดค่าตัวแปรต่างๆ กาหนดสภาวะเริ่มต้น และแก้สมการเพื่อหาคาตอบจะได้
ความสาพันธ์ของอุณหภูมิดังสมการที่ (2-25)
T t   T
 e  bt (2-25)
Ti  T
โดยทีเ่ รียกตัวแปร b ในสมการที่ (2-26) ว่าคงที่ของเวลา (time constant)
hA
b s (2-26)
VC p
จากนั้นเมื่อทาการพิจารณาการถ่ายโอนความร้อนเนื่องจากการพาตามกฎการทาความเย็น
ของนิวตันแล้วจะได้อัตราการถ่ายโอนความร้อนดังสมการที่ (2-27)
Q t   hAs T t   T  (2-27)
ซึ่งการคานวณหาค่าการถ่ายโอนความร้อนทั้งหมดที่เกิดขึ้นระหว่างวัตถุและสิ่งแวดล้ อมที่
ระยะเวลาเริ่มต้นถึงเวลา t สามารถคานวณได้จากสมการที่ (2-28)
Q  mC p T t   Ti  (2-28)
โดยที่
Q หมายถึงอัตราการถ่ายโอนความร้อน (W)
Q หมายถึงปริมาณความร้อน (J)
T t  หมายถึงอุณหภูมิ ณ เวลาใดๆ (K)
Ti หมายถึงอุณหภูมิ ณ เวลาเริ่มต้น (K)

เอกสารประกอบการสอนวิชา Heat transfer จัดทาโดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน และ ดร.จาริณี จงปลื้มปิติ


ปรับปรุงล่าสุด 1 พฤศจิกายน 2562
44

2.3.2 การนาความร้อนในสภาวะไม่คงตัวในระบบใหญ่
ในหัวข้อที่ผ่านมาเป็นการพิจารณาอุณหภูมิที่เปลี่ยนแปลงไปตามเวลาโดยไม่ได้พิจารณาถึง
อุณหภูมิภายในวัตถุ แต่ในความเป็นจริงแล้วภายในวัตถุต่างๆ มีความแตกต่างกันของอุณหภูมิ เช่น ผนังแผ่น
เรียบ แท่งทรงกระบอกหรือวัตถุทรงกลม ดังรูปที่ 2-15

รูปที่ 2-15 การกระจายอุณหภูมิของวัตถุรูปทรงต่างๆ


[1]

2.4 วิธีเชิงตัวเลขในการหาค่าการนาความร้อน
2.4.1 ระเบียบวิธีการเชิงตัวเลข
เนื่องจากในปัจจุบันได้มีโปรแกรมที่สามารถใช้จาลองสถานการณ์ทางกายภาพของปัญหาทาง
วิศวกรรมและประกอบกับคอมพิวเตอร์สมรรถนะสูง (high-speed computer) ส่งผลให้วิศวกรมีเครื่องมือที่
มีประสิทธิภาพสูงในการวิเคราะห์ปัญหาทางวิศวกรรม แต่ก่อนที่จะนาเอาโปรแกรมทางวิศวกรรมมาใช้งาน
ผู้ใช้ควรมีพื้นฐานว่าการวิเคราะห์มีที่มาอย่างไร ระเบียบวิธีการเชิงตัวเลขเป็นระเบียบวิธีการที่ใช้ในการ
ประมาณค่าคาตอบซึ่งมีความเหมาะสมที่จะนามาใช้ประดิษฐ์เป็นโปรแกรมทางวิศวกรรม ตัวอย่างของการ
ประดิษฐ์สมการที่ใช้ในการวิเคราะห์การนาความร้อนในวัตถุทรงกลมสามารถแสดงได้ดังสมการที่ (2-29)
1 d  2 dT  g0
r  0 (2-29)
r 2 dr  dr  k
โดยมีขอบเขตคือ
dT 0 
0
dr
T r 0   T1
ดังนั้นจากการวิเคราะห์หาคาตอบของสมการที่ (2-29) จะได้คาตอบดังสมการที่ (2-30)
g0 2 2
T r   T1 
6k
 r0  r  (2-30)

เอกสารประกอบการสอนวิชา Heat transfer จัดทาโดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน และ ดร.จาริณี จงปลื้มปิติ


ปรับปรุงล่าสุด 1 พฤศจิกายน 2562
45

เมื่อนาเอาค่า T(r) จากสมการที่ (2-30) ไปแทนในกฎของฟลูเรียย์จะได้ดังสมการที่ (2-31)


dT 2  g0 r  4 g0 r 3
Q r   kA   k  4 r      (2-31)
dr  3k  3
จะเห็นได้ว่ากระบวนการต่างๆ กว่าจะได้มาซึ่งสมการที่ (2-31) มีกระบวนการซับซ้อนและ
ยุ่งยากต่อการนาไปใช้จึงมีแนวทางที่จะนาเอาระเบียบวิธีการเชิงตัวเลขมาใช้ในการหาคาตอบแทน
2.4.2 ระเบียบวิธีการไฟไนต์ดิฟเฟอเรนต์
ระเบียบวิธีการเชิงตัวเลขที่นามาใช้ในการแก้ สมการเชิงอนุพันธ์ (differential equation)
ตั้งอยู่บนพื้นฐานของการสร้างสมการอนุพันธ์จากสมการพีชคณิต หนึ่งในระเบียบวิธีการที่ถูกนามาใช้งาน
ได้แก่ระเบียบวิธีการไฟไนต์ดิฟเฟอเรนต์ (finite difference method) เป็นหลักการที่นาเอาผลต่างไปแทนที่
อนุพันธ์ของสมการดังรูปที่ 2-16 เช่น อนุพันธ์อันดับหนึ่งของ f(x) เมื่อเทียบกับ x สามารถนิยามได้ดังสมการ
ที่ (2-32)
df  x  f f  x  x   f  x 
 lim  lim (2-32)
dx x 0 x x 0 x
เมื่อ x  0 จะได้ว่า
df  x  f  x  x   f  x 
 (2-33)
dx x

รูปที่ 2-16 การอนุพันธ์ฟังก์ชันที่จุดที่แสดงให้เห็นถึงความชัน


[1]
สมการที่ (2-33) สามารถหาค าตอบได้ โ ดยการใช้ อ นุ ก รมของเทเลอร์ (Taylor series
expansion) เพื่อใช้ในการอฺธิบายฟังห์ชั่น f ที่จุด x ดังสมการที่ (2-34)
df  x  1 2 df 2  x 
f  x  x   f  x   x  x  (2-34)
dx 2 dx 2

เอกสารประกอบการสอนวิชา Heat transfer จัดทาโดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน และ ดร.จาริณี จงปลื้มปิติ


ปรับปรุงล่าสุด 1 พฤศจิกายน 2562
46

นาอนุกรมเทเลอร์ไปใช้ในการทานายค่าโดยการพิจารณาสภาวะคงที่ในหนึ่งมิติที่มีการถ่าย
โอนความร้อนผ่านผนังหนา L และมีการสร้างพลังงานภายใน ผนังจะถูกแบ่งเป็น M ส่วนโดยมีความหนา
เท่าๆ กันเท่ากับ x = L/M ในทิศทาง x มีจานวนจุด (node) เท่ากับ M+1 จุด โดยมีจุดที่ 0, 1, 2, …, m-1,
m+1,…, M เรียกว่า nodes หรือ nodal points ที่แสดงได้ดัง

รูปที่ 2-17 แผนผังจุดและอุณหภูมิของแต่ละจุดเมื่อมีการใช้หลักการของไฟไนต์ดิฟเฟอเรนต์


ดังนั้ นในการหาอนุ พันธ์อันดับหนึ่งและอันดับสองจากรูปที่ 2-17 และอนุกรมเทเลอร์จะ
สามารถคานวณได้จากสมการที่ (2-35) ถึงสมการที่ (2-37)
dT T T
 m m1 (2-35)
dx m 1 x
2
dT Tm1  Tm
 (2-36)
dx m
1 x
2
dT dT

d 2T dx m
1 dx m
1

 2 2

dx 2 m x
Tm1  Tm Tm  Tm1 (2-37)

  x x
x
T  2Tm  Tm1
 m1
x 2

เอกสารประกอบการสอนวิชา Heat transfer จัดทาโดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน และ ดร.จาริณี จงปลื้มปิติ


ปรับปรุงล่าสุด 1 พฤศจิกายน 2562
47

2.4.3 การนาความร้อนในหนึ่งมิติ
ในการสร้างสมการไฟไนต์ดิฟเฟอเรนท์การนาความร้อนในหนึ่งมิตินั้นอยู่ภายใต้หลักการของ
การสร้างสมการสมดุลความร้อน (energy balance method) ให้อยู่ในรูปของการแบ่งส่วนของปริมาตรและ
น าเอาสมการสมดุลความร้ อนใส่ เข้าไปในแต่ละจุดต่อ เริ่มจากการเลื อกจุดเริ่มต้นหรือ nodal point ที่
ต้องการคานวณ จากนั้นเขียนเส้นกึ่งกลางระหว่างจุดเพื่อหาขอบเขตกึ่งกลางที่จะนามาคานวณโดยหลักการ
ไฟไนต์ดิฟเฟอเรนท์โดยพื้นที่ที่อยู่ตรงกลางเรียกว่าเอลิเมนต (element) สมมติให้อุณหภูมิระหว่างจุดต่อเป็น
สัดส่วนโดยตรง จากนั้นสมติฐานให้ความร้อนเป็นไปตามหลักการสมดุลความร้อนจะได้ว่าอัตราการนาความ
ร้อนจากด้านซ้ายรวมกับอัตราการนาความร้อนจากด้านขาวรวมกับอัตราการสร้างพลังงานภายในมีค่าเท่ากับ
อัตราการเปลี่ยนแปลงพลังงานภายในเอลิเมนต์สามารถเขียนเป็นสมการได้ดังสมการที่ (2-38)

รูปที่ 2-18 จุดเริ่มต้นและปริมาตรสาหรับการคานวณการนาความร้อนในหนึ่งมิติ


[1]
Eelement
Qcond ,left  Qcond ,right  Gelement  0 (2-38)
t

ตัวอย่างที่ 2-3 Consider a large uranium plate of thickness L = 4 cm and thermal


conductivity k = 28 W/m.°C in which heat is generated uniformly at a
constant rate of g·= 5 x 106 W/m3. One side of the plate is maintained
at 0°C by iced water while the other side is subjected to convection
to an environment at T = 30°C with a heat transfer coefficient of h
= 45 W/m2 °C. Considering a total of three equally spaced nodes in
the medium, two at the boundaries and one at the middle, estimate
the exposed surface temperature of the plate under steady
conditions using the finite difference approach.

เอกสารประกอบการสอนวิชา Heat transfer จัดทาโดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน และ ดร.จาริณี จงปลื้มปิติ


ปรับปรุงล่าสุด 1 พฤศจิกายน 2562
48

วิธีทา

2.4.4 การนาความร้อนในสองมิติ
การวิเคราะห์ในส่วนนี้เป็นการวิเคราะห์ผมเฉลยของสมการไฟไนต์ดิฟเฟอเรนท์ในสภาวะคงตัว
ของการนาความร้อน โดยพิจารณาระบบพิกัดฉาก x และ y โดยให้ระยะที่ถูกแบ่งในแนวแกน x เป็น x
และระยะที่ถูกแบ่งในแนวแกน y เป็น y จะได้เอลิเมนต์ที่มีขนาด x X y X 1 โดยมีจุดศูนย์กลางอยู่ที่
พิกัด (m, n) เป็นพิกัดที่สร้างพลังงานภายในดังรูปที่ 2-19 และรูปที่ 2-20

เอกสารประกอบการสอนวิชา Heat transfer จัดทาโดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน และ ดร.จาริณี จงปลื้มปิติ


ปรับปรุงล่าสุด 1 พฤศจิกายน 2562
49

รูปที่ 2-19 โครงข่ายของจุดต่อในระเบียบวิธีการทางไฟไนต์ดิฟเฟอเรนท์


[1]

รูปที่ 2-20 เอลิเมนต์ของจุด (m, n) สาหรับพิกัดฉาก


[1]
จากนั้นทาการวิเคราะห์ภายในสมดุลความร้อนของเอลิเมนต์ที่ทาการพิจารณาจะได้ ว่าอัตร
การนาความร้อนทั้ง 4 ทิศทางรวมกับอัตราการสร้างพลังงานภายในเท่ากับอัตราการเปลี่ยนแปลงพลังงาน
ภายในเอลิเมนต์ดังสมการที่ (2-39)
Eelement
Qcond ,left  Qcond ,top  Qcond ,right  Qcond ,bottom  Gelement  0 (2-39)
t
เมื่อทาการจัดรูปให้อยู่ในรูปแบบอย่างง่ายจะได้ดังสมการที่ (2-40)
Tm1,n  2Tm,n  Tm1,n Tm1,n  2Tm ,n  Tm1,n gm ,n
  0 (2-40)
x 2 y 2 k

เอกสารประกอบการสอนวิชา Heat transfer จัดทาโดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน และ ดร.จาริณี จงปลื้มปิติ


ปรับปรุงล่าสุด 1 พฤศจิกายน 2562
50

ตัวอย่างที่ 2-4 Consider steady heat transfer in an L-shaped solid body whose
cross section is in figure. Heat transfer in the direction normal to the
plane of the paper is negligible, and thus heat transfer in the body is
two-dimensional. The thermal conductivity of the body is k = 15
W/m °C, and heat is generated in the body at a rate of g ·= 2 x 106
W/m3. The left surface of the body is insulated, and the bottom
surface is maintained at a uniform temperature of 90°C. The entire
top surface is subjected to convection to ambient air at T = 25°C
with a convection coefficient of h = 80 W/m2.°C, and the right surface
is subjected to heat flux at a uniform rate of q· R = 5000 W/m2. The
nodal network of the problem consists of 15 equally spaced nodes
with x = y = 1.2 cm, as shown in the figure. Five of the nodes are
at the bottom surface, and thus their temperatures are known. Obtain
the finite difference equations at the remaining nine nodes and
determine the nodal temperatures by solving them.

วิธีทา

เอกสารประกอบการสอนวิชา Heat transfer จัดทาโดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน และ ดร.จาริณี จงปลื้มปิติ


ปรับปรุงล่าสุด 1 พฤศจิกายน 2562
51

2.4.5 การนาความร้อนในสภาวะไม่คงตัว
ในส่วนที่ผ่านมาเป็นการวิเคราะห์ปัญหาการถ่ายโอนความร้อนในสภาวะคงตัวซึ่งเป็นสภาวะที่
ไม่ขึ้นกับเวลา แต่ในหัวข้อนี้เป็นการสร้างสมการโดยระเบียบวิธีการทางไฟไนต์ดิฟเฟอเรนท์ที่การถ่ายโอน
ความร้อนมีการเปลี่ยนแปลงตามเวลา ในการสร้างสมการที่ขึ้นอยู่กับเวลานั้นสามารถสร้างได้โดยใช้หลักการ
คล้ายๆ กันกับตาแหน่ง โดยเริ่มจากการสร้างโครงข่ายภายในขอบเขตที่สนใจดังรูปที่ 2-21 แบ่งแกนนอนเป็น
แกน x และแกนตั้งเป็นแกนของเวลา โดยแบ่งเป็นส่วนละ t (time step size) เท่าๆ กันเพื่อพิจารณาส่วน
ที่ไม่ทราบค่า ซึ่งอุณหภูมิเริ่มต้นกาหนดให้เป็น Ti ที่เวลา t=0 ตัวสัญลักษณะ i แทนที่ time step

รูปที่ 2-21 การสร้างโครงข่ายและกาหนดตัวแปรในการวิเคราะห์ปัญหาสภาวะไม่คงตัว


[1]

เอกสารประกอบการสอนวิชา Heat transfer จัดทาโดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน และ ดร.จาริณี จงปลื้มปิติ


ปรับปรุงล่าสุด 1 พฤศจิกายน 2562
52

ตัวอย่างที่ 2-5 Consider a large uranium plate of thickness L = 4 cm, thermal


conductivity k = 28 W/m.°C, and thermal diffusivity  = 12.5 X 10-6
m2/s that is initially at a uniform temperature of 200°C. Heat is
generated uniformly in the plate at a constant rate of g = 5 X 106
W/m3. At time t = 0, one side of the plate is brought into contact with
iced water and is maintained at 0°C at all times, while the other side
is subjected to convection to an environment at T = 30°C with a
heat transfer coefficient of h = 45 W/m2.°C, as shown in figure.
Considering a total of three equally spaced nodes in the medium, two
at the boundaries and one at the middle, estimate the exposed
surface temperature of the plate 2.5 min after the start of cooling
using (a) the explicit method and (b) the implicit method.

วิธีทา

เอกสารประกอบการสอนวิชา Heat transfer จัดทาโดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน และ ดร.จาริณี จงปลื้มปิติ


ปรับปรุงล่าสุด 1 พฤศจิกายน 2562
53

หน่วยที่ 3 การพาความร้อน
3.1 พื้นฐานการพาความร้อน
3.1.1 กลไกการพาความร้อน
กลไกการพาความร้อนมีหลักการที่คล้ายกับการนาความร้อนคือต้องอาศัยตัวกลางในการถ่าย
โอน แต่แตกต่างคือการพาความร้อนต้องการให้ของไหลเกิดการเคลื่อนที่ มี 2 ประเภทหลักๆ ได้แก่การพา
แบบบั งคับ (force convection) และการพาแบบอิสระ (free convection) ดังรูปที่ 3-1 ส าหรับการพา
ความร้อนสามารถคานวณได้ตามกฎของนิวตันได้ดังสมการที่ (3-1)

รูปที่ 3-1 การถ่ายโอนความร้อนจากผิวร้อนสู่สิ่งแวดล้อมโดยการพาและการนา


[1]
qconv  h  Ts  T  (3-1)
Qconv  hAs  Ts  T  (3-2)
โดยที่
qconv หมายถึงฟลัคซ์ความร้อน (W/m2)
Qconv หมายถึงอัตราการถ่ายโอนความร้อน (W)
h หมายถึงค่าสัมประสิทธิการพาความร้อน (W/m2,C)
As หมายถึงพื้นทีท่ ี่มีการถ่ายโอนความร้อน (m2)
Ts หมายถึงอุณหภูมิผิว (C)
T หมายถึงอุณหภูมิของของไหลที่ห่างจากผิวที่พิจารณา (C)

เอกสารประกอบการสอนวิชา Heat transfer จัดทาโดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน และ ดร.จาริณี จงปลื้มปิติ


ปรับปรุงล่าสุด 1 พฤศจิกายน 2562
54

3.1.2 ประเภทของการไหล
การถ่ายโอนความร้อนโดยการพามีหลั กการที่ใกล้เคียงกับกลศาสตร์การไหลซึ่งเป็นวิชาที่
เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมของของไหล การเคลื่อนที่ และแรงปฏิกิริยาภายใน ซึ่งประกอบไปด้วยหลากหลาย
ปั ญหาที่ควรจะศึกษา ดั งนั้ นก่อนที่จะศึกษาระบบการพาความร้อนควรที่จะทราบประเภทของการไหล
เบื้องต้นเสียก่อน
3.1.2.1 การไหลแบบหนืดและการไหลแบบไม่มีความหนืด (viscous and inviscid flow)
3.1.2.2 การไหลภายในและการไหลภายนอก (internal and external flow)
3.1.2.3 การไหลบีบอัดและการไหลแบบอัดตัวไม่ได้ (compressible and incompressible
flow)
3.1.2.4 การไหลราบเรียบและการไหลแบบปั่นป่วน (laminar and turbulent flow)
3.1.2.5 การไหลแบบธรรมชาติและการไหลบังครับ (natural or unforced and force
flow)
3.1.2.6 การไหลในสภาวะคงตัวและไม่คงตัว (steady and unsteady or transient flow)
3.1.2.7 การไหลในระบบหนึ่งมิติ สองมิติ และสามมิติ (one- two- and three-
dimensional flow)
3.1.3 ชั้นความเร็ว
เมื่อพิจารณาการไหลขนานของของไหลบนแผ่นเรียบดังรูปที่ 3-2 จะเห็นได้ว่าความเร็วที่อยู่
ติดแผ่นเรียบจะมีค่าเท่ากับศูนย์ และจะมีค่าสูงขึ้นตามระยะ y จนมีความเร็วเข้าใกล้ u เมื่อ y  

รูปที่ 3-2 การเปลี่ยนแปลงในชั้นของไหลบนแผ่นเรียบที่ระบบการไหลที่แตกต่างกัน


[1]

3.1.4 ชั้นความร้อน
เมื่อมีของไหลที่มีอุณหภูมิเท่ากับ T ไหลบนแผ่นเรียบอุณหภูมิ T แล้วลักษณะของชั้น
ความร้อนที่เกิดขึ้นจะมีค่าแปรผันตามระยะที่ห่างจากแผ่นเรียบแสดงได้ดังรูปที่ 3-3

เอกสารประกอบการสอนวิชา Heat transfer จัดทาโดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน และ ดร.จาริณี จงปลื้มปิติ


ปรับปรุงล่าสุด 1 พฤศจิกายน 2562
55

รูปที่ 3-3 ชั้นความร้อนที่เกิดขึ้นบนแผ่นบาง


[1]

3.1.5 การไหลแบบราบเรียบและการไหลแบบปั่นป่วน
การไหลแบบราบเรียบ (laminar flow) หมายถึงการไหลของของไหลที่มีลักษณะของเส้นการ
ไหลแบบเรียบ ส่วนการไหลแบบปั่นป่วน (turbulent flow) หมายถึงการไหลที่ลักษณะของการไหลมีความ
ผันผวนสูง การเกิดการไหลแบบปั่นป่วนจะไม่เกิดขึ้นทันทีทันใดแต่จะค่อยๆ เปลี่ยนจากช่วงไหลราบเรียบไปสู่
การไหลปั่นป่วนอย่างสมบูรณ์ (fully turbulent) ดัง

รูปที่ 3-4 ระบบการไหลแบบเรียบเรียบและปั่นป่วนของควันบุหรี่


[1]
การเปลี่ยนแปลงการไหลจากราบเรียบสู่การไหลแบบปั่นป่วนนั้นขึ้นอยู่กับรูปทรงของพื้นผิว
ความขรุขระ ความเร็ว อุณหภูมิและประเภทของของไหล โดยในช่วงปี ค.ศ. 1880s นักวิทยาศาสตร์ชื่อ
Osborn Reynolds ได้ค้นพบว่าลักษณะการไหลนี้จะขึ้นอยู่กับสัดส่วนของแรงเฉื่อยต่อความหนืดของของ
ไหลที่เรียกว่าตัวเลขของเรย์โนลด์ (Reynolds number) ดังสมการที่
 Le  Le
Re   (3-3)
 
โดยที่
Re หมายถึงตัวเลขของเรย์โนลด์
เอกสารประกอบการสอนวิชา Heat transfer จัดทาโดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน และ ดร.จาริณี จงปลื้มปิติ
ปรับปรุงล่าสุด 1 พฤศจิกายน 2562
56

 หมายถึงความเร็ว
Le หมายถึงความยาวเฉพาะ
 หมายถึงความหนืดจลน์
 หมายถึงความหนืด
3.1.6 การอนุพันธ์ของสมการการพาความร้อน
ส่วนนี้เป็นการวิเคราะห์โดยสมมติให้การไหลเป็นแบบสภาวะคงตัวและเป็นสองมิติ พฤติกรรม
ของของไหลเป็นแบบนิวโทเนี่ยนมีสมบัติคงที่ โดยทาการเลือกพื้นที่เล็กบนของไหลดังรูปที่ 3-5 โดยให้ความ
ยาวเท่ากับ dx และความสูงเท่ากับ dy และมีความหนาหนึ่งหน่วยในทิศแกน z ของไหลไหลผ่านแผ่นเรียบ
ด้วยความเร็ว u แต่ความเร็วในแต่ละชั้นจะประกอบไปด้วยความเร็วในสองทิศทางได้แก่ u ในทิศทาง x
และ v ในทิศทาง y ดังนั้นความเร็วของ u = u(x, y) และ v = v(x, y) ในการวิเคราะห์การไหลในสองมิติ

รูปที่ 3-5 ปริมาตรควบคุมที่ใช้ในการอนุพันธ์ของสมดุลมวล


[1]
จากรูปที่ 3-5 จะได้ว่าอัตราการไหลเข้าในปริมาตรควบคุมจะมีค่าเท่ากับอัตราการไหลออก
จากปริมาตรควบคุม ดังนั้นจะสามารถสรุปสมการความต่อเนื่อง (continuity equation) หรือสมดุลมวล
(mass balance) ได้ดังสมการที่ (3-4) และเมื่อดาเนินการสมการที่ (3-4) แล้ว จะได้ดังสมการที่ (3-5)
u
 u  dy  1   v  dx  1    u  dx   dy  1
 x 
(3-4)
 v 
   v  dy   dx  1
 y 
u v
 0 (3-5)
x y
ในส่วนของรูปแบบของการเคลื่อนที่ของปริมาตรควบคุมที่พิจารณารวมกันกับกฎข้อที่สองของ
นิวตันสามารถวิเคราะห์ และนาไปสู่การวิเคราะห์ ได้ดัง สมการที่ (3-6) ซึ่งสมการนี้เรียกว่าสมการอนุรักษ์
โมเมนตัม (conservation of momentum) ในทิศทาง x

เอกสารประกอบการสอนวิชา Heat transfer จัดทาโดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน และ ดร.จาริณี จงปลื้มปิติ


ปรับปรุงล่าสุด 1 พฤศจิกายน 2562
57

 u u   2 u P
u  v    2  (3-6)
  x y   y x
การวิเคราะห์สมดุลพลังงานในระบบสามารถสรุปได้ว่าพลังงานที่เข้าสู่ระบบลบด้วยพลังงานที่
ออกจากระบบเท่ากับการเปลี่ยนแปลงพลังงานในระบบ ซึ่งในสภาวะคงตัวนั้นการเปลี่ยนแปลงพลังงานใน
ระบบจะมีค่าเท่ากับศูนย์ดังนั้นจะได้ว่าอัตราพลังงานที่เข้าลบด้วยอัตราพลังงานที่ออกจากระบบมีค่าเท่ากับ
ศูนย์ดังนั้นจะสามารถสรุปสมการสภาวะคงตัวในสองมิติของของไหลที่มีสมบัติคงตัวได้ดังสมการที่ (3-7)
 T T    2T  2T 
Cp  u  v   k  2  2  (3-7)
 x y   x y 

ตัวอย่างที่ 3-1 The flow of oil in a journal bearing can be approximated as parallel
flow between two large plates with one plate moving and the other
stationary. Such flows are known as Couette flow.
Consider two large isothermal plates separated by 2-mm-thick oil film.
The upper plates moves at a constant velocity of 12 m/s, while the lower
plate is stationary. Both plates are maintained at 20˚C. (a) Obtain relations
for the velocity and temperature distributions in the oil. (b) Determine the
maximum temperature in the oil and the heat flux from the oil to each
plate

วิธีทา

เอกสารประกอบการสอนวิชา Heat transfer จัดทาโดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน และ ดร.จาริณี จงปลื้มปิติ


ปรับปรุงล่าสุด 1 พฤศจิกายน 2562
58

3.2 การพาความร้อนแบบบังคับจากแรงภายนอก
3.2.1 แรงฉุดและการถ่ายโอนความร้อนจากภายนอก
เมื่อมีของไหลไหลผ่านวัตถุแล้วจะเกิดปรากฎการณ์ทางฟิสิกส์ต่างๆ เกิดขึ้น เช่น แรงฉุด (drag
force) ที่กระทาบนยานยนต์ ต้นไม้ หรือใต้น้า แรงยก (lift force) ที่กระทาบนปีกเครื่องบิน กระแสลมยก
(upward draft) ในขณะเกิดฝน หิมะหรือลูกเห็บ การลดอุณหภูมิ (cooling) ในโลหะ พลาสติก หรือเส้นลวด
ซึ่งการทาความเข้าใจกับปรากฏการณ์เหล่านี้ของการไหลภายนอก (external flow) เป็นสิ่งที่สาคัญสาหรับ
วิศวกรที่จะนาเอาไปใช้ในการออกแบบ เช่น อากาศยาน ระบบยานยนต์ การสร้างอาคาร การออกแบบ
ชิ้นส่วนอิเลคทรอนิกส์ หรือการออกแบบใบพัดของเทอร์บาย ความเร็วของของไหลที่อยู่ห่างจากวัตถุไกลจะ
เรียกว่า free-stream velocity ใช้สัญลักษณ์คือ u ซึ่งส่วนใหญ่แล้วจะมีค่าเท่ากับ upstream velocity
หรือ approach velocity ใช้สัญลักษณ์  แนวคิดคือเมื่อมีของไหลไหลผ่านวัตถุแล้วจะมีความเร็วที่ติดกับ
ผิวของวัตถุเท่ากับศูนย์ และเมื่อห่างออกไปเรื่อยๆ จะมีค่าความเร็วเข้าใกล้ free-stream ซึ่งโดยส่วนใหญ่
แล้วการออกแบบจะสมมติให้อยู่ในสภาวะคงตัว
3.2.2 การไหลขนานบนแผ่นบาง
เมื่อพิจารณาการไหลบนแผ่นบางดังรูปที่ 3-6 จะสังเกตได้ว่ามีลักษณะการไหลอยู่ 2 ลักษณะ
ได้แก่การไหลแบบรายเรียบ (laminar) และการไหลแบบปั่นป่วน (turbulent) ซึ่งลักษณะของการไหลขึ้นอยู่
กับค่าตัวเลขเรโนลด์ซึ่งเป็นตัวแปรไร้มิติ ส่วนของการเปลี่ยนแปลงลักษณะของการไหลจากการไหลแบบ
ราบเรียบไปสู่การไหลแบบปั่นป่วนขึ้นอยู่กับลักษณะของพื้ นผิว ค่าความขรุขระ ความเร็วของไหล อุณหภูมิ
และประเภทของของไหล สาหรับการไหลบนแผ่นเรียบนั้นถ้าตัวเลขเรโนลด์มีค่าตั้งแต่ 5 x 105 ถึง 3 x 106
จะมีลักษณะการไหลแบบปั่นปั่วน ส่วนตัวเลขที่ต่ากว่านี้จะเป็นการไหลแบบราบเรียบ

เอกสารประกอบการสอนวิชา Heat transfer จัดทาโดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน และ ดร.จาริณี จงปลื้มปิติ


ปรับปรุงล่าสุด 1 พฤศจิกายน 2562
59

รูปที่ 3-6 ช่วงการไหลแบบราบเรียบและปั่นป่วนของชั่นของไหลระหว่างการไหลบนแผ่นเรียบ


[1]
การวิเคราะห์ค่าสัมประสิทธิ์แรงเสียดทาน (friction coefficient) นั้นขึ้นอยู่กับลักษณะของ
การไหล ซึ่งสามารถคานวณได้ดังสมการที่ ) และสมการที่ (3-9)
สาหรับการไหลแบบ 0.664
C f , x  1/2 , Re x  5 x10 5 (3-8)
ราบเรียบ Re x
สาหรับการไหลแบบ 0.0592
C f , x  1/2 , 5 x10 5  Re x  10 7 (3-9)
ปั่นป่วน Re x

ตัวอย่างที่ 3-2 Engine oil at 60°C flows over the upper surface of a 5-m-long flat plate
whose temperature is 20°C with a velocity of 2 m/s as figure showed.
Determine the total drag force and the rate of heat transfer per unit width
of the entire plate.

วิธีทา

เอกสารประกอบการสอนวิชา Heat transfer จัดทาโดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน และ ดร.จาริณี จงปลื้มปิติ


ปรับปรุงล่าสุด 1 พฤศจิกายน 2562
60

3.2.3 การไหลบนทรงกระบอกและทรงกลม
ตัวอย่างของของไหลที่ไหลผ่านวัตถุทรงกระบอกและวัตถุทรงกลมในงานทางด้านวิศวกรรม
ได้แก่ ท่อในระบบแลกเปลี่ยนความร้อน ลูกฟุตบอลที่ถูกเตะออกไป ลูกเทนนิสที่ถูกตีออกไป หรือลูกกอล์ฟ
ดังรูปที่รูปที่ 3-7 ซึ่งการไหลประเภทนี้มีการคานวณค่าตัวเลขเรโนลด์ได้ดังสมการที่ (3-10) โดยที่การไหล
แบบราบเรียบจะมีค่าตัวเลขเรโนลด์ไม่เกิน 2 x 105 ส่วนการไหลแบบปั่นป่วนจะมีค่าตัวเลขเรโนลด์ตั้งแต่ 2 x
105 เป็นต้นไป
D
Re  (3-10)

โดยที่
Re หมายถึงตัวเลขเรโนลด์
 หมายถึงความเร็วของของไหลที่มีลักษณะคงตัวแล้ว
D หมายถึงเส้นผ่านศูนย์กลางภายนอก
 หมายถึงค่าความหนืดจลน์ หรืออัตราส่วนระหว่างความหนืดพลวัต (dynamic
viscosity) หารด้วยความหนาแน่นของของไหล

รูปที่ 3-7 รูปแบบการไหลของของไหลที่ไหลผ่านท่อทรงกระบอก


[1]

เอกสารประกอบการสอนวิชา Heat transfer จัดทาโดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน และ ดร.จาริณี จงปลื้มปิติ


ปรับปรุงล่าสุด 1 พฤศจิกายน 2562
61

3.3 การพาความร้อนแบบบังคับจากแรงภายใน
3.3.1 ความเร็วและอุณหภูมิเฉลี่ย
การขนถ่ายของไหลส่วนใหญ่จะสังเกตได้ว่ามีการขนถ่ายโดยใช้ท่อกลมและท่อเหลี่ยม ซึ่งถ้า
เป็นของไหลที่มีความแตกต่างของความดันภายในและภายนอกสูงจะใช้ท่อกลม ส่วนถ้าความแตกต่างของ
ความดันต่าจะใช้ท่อที่ไม่กลมดังรูปที่ 3-8

รูปที่ 3-8 ลักษณะของหน้าตัดที่ใช้ในการขนถ่ายของไหลแต่ละประเภท


[1]
ในการไหลภายนอกความเร็วอิสระจะใช้ในการคานวณค่าตัวเลขเรโนลด์ได้เลย แต่ในการไหล
ภายในจะไม่มีความเร็วอิสระดังนั้นจึงจาเป็นต้องคานวณโดยการใช้ความเร็วเฉลี่ยและอุณหภูมิเฉลี่ย
3.3.2 พื้นที่ทางเข้า
การพิจารณาการไหลในท่อของของไหลที่ความเร็วคงที่จะเห็นได้ว่าของไหลจะมี ความเร็ว
เท่ากับศูนย์ที่ผิวของท่อและจะเพิ่มขึ้นจนเข้าสู่ศูนย์กลาง ส่วนนี้จะเป็นส่วนที่เรียกว่าบริเวณทางเข้าอุทก
พลวัต (hydrodynamic entrance region) [3] และเรียกความยาวของส่วนนี้ว่าความยาวบริเวณทางเข้า
อุทกพลวัต (hydrodynamic entrance region) จากนั้นของไหลจะเข้าสู่ช่วงที่เรียกว่าบริเวณการไหลเต็ม
ท่อ (hydrodynamically fully developed region) [3] ซึ่งเป็นส่วนที่ของไหลมีความเร็วคงตัวตลอดความ
ยาวดังรูปที่ 3-9 ส่วนที่ความหนืดมีผลต่อความเร็วอย่างมีนัยยะสาคัญเรียกว่าชั้นขอบเขตความเร็ว (velocity
boundary layer) ส่วนชั้นที่ความหนืดไม่ส่งผลต่อความเร็วได้แก่ส่วนที่เรียกว่า irrotational (core) flow
region

รูปที่ 3-9 บริเวณทางเข้าและการไหลแบบเต็มท่อ


[1]
3.3.3 การวิเคราะห์อุณหภูมิแบบปกติ

เอกสารประกอบการสอนวิชา Heat transfer จัดทาโดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน และ ดร.จาริณี จงปลื้มปิติ


ปรับปรุงล่าสุด 1 พฤศจิกายน 2562
62

ในกรที่ค่าฟลักซ์ความร้อนที่ผิวท่อคงที่จะสามารถเขียนสมการได้ดังสมการที่ (3-11) ดังนั้น


อุณหภูมิเฉลี่ยจึงสามารถคานวณได้ดังสมการที่ (3-12)
Q  qs As  mC p  Te  Ti  (3-11)
qs As
Te  Ti  (3-12)
mC p
สาหรับการวิเคราะห์การถ่ายโอนความร้อนในกรณีที่อุณหภูมิผิวท่อคงที่สามารถคานวณได้
จากสมการที่ (3-13)
Q  hAs Tln (3-13)
โดยที่ Tln สามารถคานวณได้จากสมการที่ (3-14)
Ti  Te Te  Ti
Tln   (3-14)
ln  Ts  Te  /  Ts  Ti   ln  Te / Ti 

ตัวอย่างที่ 3-3 Water enters a 2.5-cm-internal-diameter thin copper tube of a heat


exchanger at 15°C at a rate of 0.3 kg/s, and is heated by steam condensing
outside at 120°C. If the average heat transfer coefficient is 800 W/m2 C,
determine the length of the tube required in order to heat the water to
115°C

วิธีทา

เอกสารประกอบการสอนวิชา Heat transfer จัดทาโดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน และ ดร.จาริณี จงปลื้มปิติ


ปรับปรุงล่าสุด 1 พฤศจิกายน 2562
63

3.3.4 การไหลราบเรียบภายในท่อ
ในกรณีที่ท่อมีความยาวมากเมื่อเทียบกับทางเข้าและมีค่าตัวเลขเรโนลด์น้อยกว่า 2300 แล้ว
จะถูกพิจารณาให้เป็นการไหลแบบราบเรียบในสภาวะคงตัว
ตัวอย่างที่ 3-4 Water at 40°F ( = 62.42 lbm/ft3 and  = 3.74 lbm/fth) is flowing in a
0.15-in.-diameter 30-ft-long pipe steadily at an average velocity of 3 ft/s.
Determine the pressure drop and the pumping power requirement to
overcome this pressure drop.

วิธีทา

เอกสารประกอบการสอนวิชา Heat transfer จัดทาโดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน และ ดร.จาริณี จงปลื้มปิติ


ปรับปรุงล่าสุด 1 พฤศจิกายน 2562
64

3.3.5 การไหลปั่นป่วนภายในท่อ
ของไหลที่ไหลในท่อราบเรียบจะมีลักษณะการปั่นป่วนเมื่อมีค่าตัวเลขเรโนลด์มากกว่า 10,000
ขึ้นไป
ตัวอย่างที่ 3-5 Water at 60°F (  = 62.36 lbm/ft3 and2.713 lbm/ft h) is flowing steadily
in a 2-in.-diameter horizontal pipe made of stainless steel at a rate of 0.2
ft3/s. Determine the pressure drop and the required pumping power input
for flow through a 200-ft-long section of the pipe.

วิธีทา

3.4 การพาแบบธรรมชาติ
3.4.1 กลไกการพาความร้อนแบบธรรมชาติ
กลไกการพาความร้อนแบบธรรมชาติสังเกตได้จากเมื่อมีวัตถุที่มีอุณหภูมิสูงถูกวางไว้วัตถุจะมี
อุณหภูมิลดลงจนมีอุณหภูมิใกล้เคียงกับสิ่งแวดล้อม เนื่องจากมีการถ่ายโอนความร้อนจากวัตถุสู่สิ่งแวดล้อม
การเคลื่อนที่ของอากาศร้อนรอบๆ วัตถุเรียกว่ ากระแสการพาความร้อน (natural convention current)
เอกสารประกอบการสอนวิชา Heat transfer จัดทาโดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน และ ดร.จาริณี จงปลื้มปิติ
ปรับปรุงล่าสุด 1 พฤศจิกายน 2562
65

และความร้อนที่ถ่ายโอนรอบๆ วัตถุเรียกว่าอัตราการพาความร้อนแบบธรรมชาติ (natural convection


heat transfer) ดังรู ปที่ 3-10 ส่ วนรู ปที่ 3-11 เป็นการแสดงทิศทางของของไหลที่เคลื่ อนที่ผ่ านวัตถุที่มี
อุณหภูมิต่ากว่าอุณหภูมิสิ่งแวดล้อม

รูปที่ 3-10 การลดความร้อนของไข่โดยการพาความร้อนแบบธรรมชาติ


[1]

รูปที่ 3-11 การเพิ่มอุณหภูมิของสิ่งแวดล้อมกับกระป๋องโซดาโดยการพาความร้อนแบบธรรมชาติ


[1]

3.4.2 สมการการเคลื่อนที่และตัวเลข Grashof


สมการการพาความร้อนและขอบเขตเงื่อนไขสามารถทาให้เป็นตัวแปรไร้มิติได้ดังสมการที่ (3-15)
g   Ts  T  L3c
GrL  (3-15)
 2

โดยที่
g หมายถึงความเร่งเนื่องจากแรงโน้มถ่วงของโลก (m/s2)
 หมายถึงค่าสัมประสิทธิ์การแผ่ (1/K)
Ts หมายถึงอุณหภูมิที่ผิวของวัตถุ (ºC)
T หมายถึงอุณหภูมิของของไหล (ºC)
Lc หมายถึงความยาวลักษณะของวัตถุ (m)
 หมายถึงความหนืดจลน์ของของไหล (m2/s)
เอกสารประกอบการสอนวิชา Heat transfer จัดทาโดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน และ ดร.จาริณี จงปลื้มปิติ
ปรับปรุงล่าสุด 1 พฤศจิกายน 2562
66

3.4.3 การพาความร้อนแบบธรรมชาติบนผิวเรียบ
การพาความร้อนบนจาเป็นต้องมีการพิจารณาจากตัวเลขนัทเซล (Nusselt number: Nu) ซึง่
สามารถคานวณได้จากสมการที่ (3-16)
hLe
 C  GrL Pr   CRaLn
n
Nu  (3-16)
k
โดยที่ตัวเลขเรย์เลท (Rayleigh number: RaL) สามารถคานวณได้จากตัวเลขของเคอร์ชอฟ
และตัวเลขพัทเดิ้ล ดังสมการที่
g   Ts  T  L3e
RaL  GrL Pr  Pr (3-17)
 2

ตัวอย่างที่ 3-6 A 6-m-long section of an 8-cm-diameter horizontal hot water pipe


shown in Figure 9–13 passes through a large room whose temperature is
20˚C. If the outer surface temperature of the pipe is 70˚C, determine the
rate of heat loss from the pipe by natural convection.

วิธีทา

เอกสารประกอบการสอนวิชา Heat transfer จัดทาโดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน และ ดร.จาริณี จงปลื้มปิติ


ปรับปรุงล่าสุด 1 พฤศจิกายน 2562
67

หน่วยที่ 4 การแผ่รังสี
4.1 พื้นฐานของการแผ่รังสีทางความร้อน
4.1.1 พฤติกรรมการแผ่รังสี
การแผ่รังสีหมายถึงการถ่ายโอนความร้อนจากวัตถุหนึ่งสู่วัตถุหนึ่งโดยไม่ต้องอาศัยตัวกลางใน
การนาความร้อน แต่เกี่ยวข้องกับการปลดปล่อยพลังงานภายในของวัตถุ ซึ่งสามารถเกิดในสสารทุกสถานะ
ไม่ว่าจะเป็นของแข็ง ของเหลวหรือก๊าซ แต่จะเกิดขึ้นที่ของแข็งได้ดีที่สุด พฤติกรรมการแผ่รังสีสามารถแสดง
ได้ดังรูปที่ 4-1

รูปที่ 4-1 การแผ่รังสีระหว่างคนและกองไฟ


[1]
ทฤษฎีการแผ่รังสีถูกค้นคว้าในปี 1864 โดย James Clerk Maxwll ซึ่งพบการเปลี่ยนแปลง
ของสนามไฟฟ้า โดยการเคลื่อนที่อย่างรวดเร็วของสนามไฟฟ้าเรียกว่าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (electromagnetic
waves) หรือการแผ่รังสีแม่เหล็กไฟฟ้า (electromagnetic radiations) โดยเคลื่อนแม่เหล็กไฟฟ้าถูกเรียก
ตามลักษณะเฉพาะตามความถี่ ความยาวคลื่นและความเร็วแสงในสูญญากาศ ดังสมการที่ (4-1)
c
 (4-1)

ในการแผ่รังสีนั้นค่าพลังงานการเเผ่รังสีความร้อนของวัตถุใด ๆ สามารถคานวณได้จาก (4-2)
ในขณะที่พลังงานการแผ่รังสีความร้อนของวัตถุดาสามารถคานวณได้จากสมการที่ (4-5) ซึ่งค่าทั้ง 2 ที่ผ่าน
การคานวณแล้วจะนาไปใช้คานวณหาความสามารถในการแผ่รังสีความร้อน (thermal radiation) ของวัตถุที่
อุณหภูมิใด ๆ โดยการคานวณหาค่าอัตราส่วนของพลังงานการแผ่รังสีความร้อน (emissive power) ของ
วัตถุใด ๆ และพลังงานการแผ่รังสีความร้อนของวัตถุดา ณ อุณหภูมิเดียวกันเรียกว่า สัมประสิทธิ์การแผ่รังสี
ความร้อน (emissivity, ) [1] สามารถคานวณได้ดังสมการที่ (4-4)
E  T    T 4 (4-2)
Eb  T    T 4 (4-3)
E T 
 T   (4-4)
Eb  T 
เอกสารประกอบการสอนวิชา Heat transfer จัดทาโดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน และ ดร.จาริณี จงปลื้มปิติ
ปรับปรุงล่าสุด 1 พฤศจิกายน 2562
68

โดยที่
E(T) หมายถึงค่าพลังงานการเเผ่รังสีความร้อนของวัตถุใด ๆ
Eb(T) หมายถึงค่าพลังงานการเเผ่รังสีความร้อนจากวัตถุดา
 หมายถึงค่าคงที่ของสเตฟานโบลท์มานน์ มีค่าเท่ากับ 5.67 x 10-8 W/m2K4
4.1.2 การแผ่รังสีความร้อน
พลังงานการแผ่รังสีมาจากพลั งงานการแผ่รังสีที่ความยาวคลื่นต่างกันจากการแจงแจงความ
ยาวคลื่ อน (spectral distribution) และการแจกแจงของทิ ศทางการแผ่ รังสี (directional distribution)
สเปกตรัมของการแผ่รังสีสามารถแสดงได้ดงั รูปที่ 4-2

รูปที่ 4-2 สเปกตรัมการแผ่รังสีของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า


[1]

4.1.3 การแผ่รังสีความร้อนของวัตถุดา
การแผ่รังสีความร้อนจะแบ่งตามคุณสมบัติการสะท้อน การดูดกลืนและการส่งผ่านรังสี ดังนี้
[3]
4.1.3.1 วัตถุดา (black body) หมายถึงวัตถุที่สามารถดูดกลืนพลังงานความร้อนการอาบ
รังสีลงบนวัตถุได้ทั้งหมด และวัตถุดายังสามารถแผ่รังสีความร้อนได้สูงสุดอีกด้วย
4.1.3.2 วัตถุทึบแสง (opaque body) หมายถึงวัตถุที่สามารถดูดกลืนพลั งงานความร้ อน
และสะท้อนกับโดยไม่มพี ลังงานความร้อนส่งผ่านวัตถุได้ เช่น เหล็ก โลหะ ไม้ หิน เป็นต้น
4.1.3.3 วัตถุโปร่งใส (transparent body) หมายถึงวัตถุที่สามารถส่งผ่านพลังงานความร้อน
ได้ทั้งหมดจากการอาบรังสีความร้อนลงบนวัตถุนั้น

เอกสารประกอบการสอนวิชา Heat transfer จัดทาโดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน และ ดร.จาริณี จงปลื้มปิติ


ปรับปรุงล่าสุด 1 พฤศจิกายน 2562
69

4.1.3.4 วัตถุกิ่งโปร่งใส (semitransparent body) หมายถึงวัตถุที่มีความสามารถดูดกลืน


ส่งผ่านและสะท้อนกับพลังงานความร้อนจากการอาบรังความร้อนลงบนวัตถุนั้น
4.1.4 ความเข้มของการแผ่นรังสี
ความเข้มของการแผ่รังสีคือหน่วยการวัดปริมาณการแผ่รังสีที่ปลดปล่อยออกมาจากวัตถุ โดย
วัตถุดาที่มีรังสีความร้อนความยาวคลื่น  สามารถคานวณค่าความเข้มการแผ่รังสีเชิงเปกตรัมได้ดังสมการที่
(4-5)
2 hc 02
Ib   , T   5 (4-5)
 exp  hc 0 /  kT   1
โดยที่
Ib   , T  หมายถึงค่าความเข้าการแผ่รังสีเชิงสเปกตรัม (W/m2msr)
h หมายถึงค่าคงที่ของพลังค์ (Planck constant)
c0 หมายถึงค่าความเร็วแสงในสูญญากาศ
 หมายถึงค่าความยาวคลื่น (m)
k หมายถึงค่างคงที่ของโบลต์ซมันน์ (1.38065 x 10-23 J/k)
โดยที่ค่าพลังงานการปลอดปล่อยรังสีของวัตถุดาสามารถคานวณได้จากสมการที่ (4-6)
Eb   , T    Ib   , T  (4-6)

เอกสารประกอบการสอนวิชา Heat transfer จัดทาโดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน และ ดร.จาริณี จงปลื้มปิติ


ปรับปรุงล่าสุด 1 พฤศจิกายน 2562
70

ตัวอย่างที่ 4-1 A small surface of area A1 = 3 cm2 emits radiation as a blackbody at T1


= 600 K. Part of the radiation emitted by A1 strikes another small surface
of area A2 5 cm2 oriented as shown in figure. Determine the solid angle
subtended by A2 when viewed from A1, and the rate at which radiation
emitted by A1 that strikes A2.

วิธีทา

4.1.5 สมบัติการแผ่รังสี
สมบัติการแผ่รังสีของพื้นผิวหนึ่งๆ ได้แก่ สัมประสิทธิ์การแผ่รังสีความร้อน หรือ สภาพเปล่ง
รั ง สี (emissivity:  หรื อ ) สภาพดู ด กลื น รั ง สี (absorptivity:  หรื อ ) สภาพสะท้ อ นรั ง สี
(reflectivity:  หรือ ) และสภาพส่งผ่านรังสี (transmissivity:  หรือ ) โดยสมบัติการแผ่รังสีของ
พื้นผิวพิจารณาเป็นปริมาณเชิงสเปกตรัมแผ่คลุมครึ่งทรงกลม (   และ ) และแผ่คลุมครึ่งทรง
เอกสารประกอบการสอนวิชา Heat transfer จัดทาโดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน และ ดร.จาริณี จงปลื้มปิติ
ปรับปรุงล่าสุด 1 พฤศจิกายน 2562
71

กลมตลอดทุกความยาวคลื่น (   และ ) [3] โดยสมการที่ใช้ในการคานวณแสดงในสมการที่ (4-7) ถึง


(4-14)
E  ,T 
ปริมาณเชิงสเปกตรัม    ,T    (4-7)
E b   , T 
G  
ปริมาณเชิงสเปกตรัม        ,abs (4-8)
G   
G  
ปริมาณเชิงสเปกตรัม        ,ref (4-9)
G   
G  
ปริมาณเชิงสเปกตรัม        ,tr (4-10)
G   

     , T  E b   , T  d
ปริมาณทั้งหมด (4-11)
 T   0

T 4

   G d 
ปริมาณทั้งหมด  0
 (4-12)
 G d 
0

   G d 
ปริมาณทั้งหมด  0
 (4-13)
 G d 
0

   G d 
ปริมาณทั้งหมด  0
 (4-14)
 G d 
0

รูปที่ 4-3 การแผ่รังสีของวัตถุดา

เอกสารประกอบการสอนวิชา Heat transfer จัดทาโดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน และ ดร.จาริณี จงปลื้มปิติ


ปรับปรุงล่าสุด 1 พฤศจิกายน 2562
72

รูปที่ 4-4 การดูดซับ การสะท้อนและการส่งผ่านของวัตถุเมื่อเจอรังสีความร้อน

ตัวอย่างที่ 4-2 The spectral emissivity function of an opaque surface at 800 K is


approximated as

Determine the average emissivity of the surface and its emissive power
วิธีทา

เอกสารประกอบการสอนวิชา Heat transfer จัดทาโดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน และ ดร.จาริณี จงปลื้มปิติ


ปรับปรุงล่าสุด 1 พฤศจิกายน 2562
73

4.2 การถ่ายโอนความร้อนด้วยการแผ่รังสี
4.2.1 ตัวประกอบทิศทาง
ค่าการถ่ายโอนความร้ อนโดยการแผ่รังสีนั้นขึ้นอยู่กับการวางตัวของผิวที่เป็นตัวถ่ายทอด
พลังงานความร้อนและรับพลังงานความร้อน การพิจารณาสามารถแสดงได้ดังรูปที่ 4-5 โดยการแผ่รังสีจาก
ผิว dA1 อย่างสไปสู่ผิว dA2 ซึ่งอยู่ห่างกันเป็นระยะ r เมื่อมุมที่กระทาระหว่างสองผิวเป็น 1 และ 2 ผิวที่ 1
เปล่งรังสีโดยความเข้ม I1 และมุมที่ผิว dA2 กระทากับผิว dA2 คือ d21 จะสามารถคานวณตัวประกอบ
ทิศทางได้จากสมการที่ (4-15) ซึ่งหมายถึงผิว A1 แผ่รังสีสู่ผิว A2 จะได้ค่าตัวประกอบเป็น FA1  A2 หรือ F12

รูปที่ 4-5 รูปทรงที่ใช้ในการวิเคราะห์ค่าตัวประกอบระหว่างผิวสองผิว


Q 1 cos1 cos 2
F12  FA  A  A1 A 2    dA1 dA2 (4-15)
1 2
Q A1 2 1A1 A A  r2
จากความสัมพันธ์นี้นาไปสู่ความสัมพันธ์ซึ่งกันและกันของผิวและตัวประกอบทิศทางดังสมการ
ที่ (4-16) ซึ่งเรี ยกความสมการนี้ ว่ าความสั มพั นธ์ ซึ่งกั นและกัน (reciprocity relation) ของตัวประกอบ
ทิศทาง
A1 F12  A2 F21 (4-16)

4.2.2 ความสัมพันธ์ตัวประกอบทิศทาง
การวิเคราะห์การถ่ายโอนความร้อนเนื่องจากการแผ่รังสี เมื่อมีผิวจานวน N ผิว จาเป็นต้อง
ทราบค่า N2 ของตัวประกอบทิศทาง แต่ในทางปฏิบัติแล้ วการคานวณต้ องใช้เวลานานดั งนั้นจึงควรใช้
ความสัมพันธ์ของตัวประกอบทิศทางที่มีการพิสูจน์มาแล้ว ตัวอย่างของตัวประกอบทิศทางในแต่ละรูปแบบ
สามารถแสดงได้ดังรูปที่ 4-6 ถึงรูปที่ 4-8

เอกสารประกอบการสอนวิชา Heat transfer จัดทาโดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน และ ดร.จาริณี จงปลื้มปิติ


ปรับปรุงล่าสุด 1 พฤศจิกายน 2562
74

รูปที่ 4-6 ตัวประกอบทิศทางระหว่างแผ่นสี่เหลี่ยมขนาดเท่ากันวางขนานกัน


[1]

รูปที่ 4-7 ตัวประกอบทิศทางของแผ่นสี่เหลี่ยมที่วางตั้งฉากกัน


[1]

เอกสารประกอบการสอนวิชา Heat transfer จัดทาโดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน และ ดร.จาริณี จงปลื้มปิติ


ปรับปรุงล่าสุด 1 พฤศจิกายน 2562
75

รูปที่ 4-8 ตัวประกอบการถ่ายโอนความร้อนระหว่างแผ่นกลมที่วางในแนวเส้นตรงเดียวกัน


[1]

4.2.3 การถ่ายโอนความร้อนบนผิวสีดา
ปัจจุบันการพิจารณาการถ่ายโอนความร้อนโดยการแผ่รังสีเป็นปัญหาที่ซับซ้อนเนื่องจากมี
ปั จจั ยหลายๆ อย่ างที่น ามาใช้ในการวิเคราะห์ ร่วม ดังนั้นการวิเคราะห์ จึงมักนาเอาวัตถุดามาใช้ในการ
วิเคราะห์เนื่องจากสามารถละทิ้งส่วนของการสะท้อนออกไปได้ รูปที่ 4-9 แสดงการแลกเปลี่ยนพลังงานโดย
การแผ่รังสีความร้อนของพื้นผิววัตถุดา ซึ่งสามารถคานวณค่าอัตราการแลกเปลี่ยนความร้อนได้จากสมการที่

รูปที่ 4-9 การแลกเปลี่ยนพลังงานความร้อนระหว่างผิวของวัตถุดา


[1]
Q12  A1F12  T14  T24  (4-17)

เอกสารประกอบการสอนวิชา Heat transfer จัดทาโดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน และ ดร.จาริณี จงปลื้มปิติ


ปรับปรุงล่าสุด 1 พฤศจิกายน 2562
76

ตัวอย่างที่ 4-3 Consider the 5 m x 5 m x 5 m cubical furnace shown in figure, whose


surfaces closely approximate black surfaces. The base, top, and side
surfaces of the furnace are maintained at uniform temperatures of 800 K,
1500 K, and 500 K, respectively. Determine (a) the net rate of radiation
heat transfer between the base and the side surfaces, (b) the net rate of
radiation heat transfer between the base and the top surface, and (c) the
net radiation heat transfer from the base surface.

วิธีทา

เอกสารประกอบการสอนวิชา Heat transfer จัดทาโดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน และ ดร.จาริณี จงปลื้มปิติ


ปรับปรุงล่าสุด 1 พฤศจิกายน 2562
77

หน่วยที่ 5 เครื่องแลกเปลี่ยนความร้อน
5.1 ประเภทของเครื่องแลกเปลี่ยนความร้อน
5.1.1 แบบไหลขนานและไหลสวนทาง
การน าเอาเครื่ องแลกเปลี่ ยนความร้ อนไปใช้ งานในแต่ ล ะงานจ าเป็ นต้ องมี อุ ปกรณ์ แ ละ
เครื่องมือที่แตกต่างกัน ตัวอย่างของเครื่องแลกเปลี่ยนความร้อนที่ง่ายที่สุดได้แก่เครื่องแลกเปลี่ยนความร้อน
ชนิ ดสองท่อ (double-pipe) โดยแบ่ งออกเป็นสองประเภท ประเภทที่หนึ่งคือไหลแบบขนาน (parallel
flow) หมายถึงของไหลที่มีอุณหภูมิสูงและอุณหภูมิต่าไหลในทิศทางเดียวกัน ส่วนประเภทที่สองได้แก่ไหล
แบบสวนทาง (counter flow) นั่นคือของไหลที่มีอุณหภูมิต่าไหลสวนทางกับของไหลที่มีอุณหภูมิสูงดัง รูปที่
5-1

รูปที่ 5-1 ลักษณะการไหลที่แตกต่างกันและเส้นการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของเครื่องแลกเปลี่ยนความร้อน


แบบสองท่อ
[1]

5.1.2 แบบไหลผสมและไม่ผสม
เครื่องแลกเปลี่ยนความร้อนอีกประเภทที่การออกแบบได้ตะหนักถึงอัตราการถ่ายเทความ
ร้ อ นต่ อ หนึ่ ง หน่ ว ยของปริ ม าตรได้ แ ก่ เ ครื่ อ งแลกเปลี่ ย นความร้ อ นแบบกระทั ด รั ด (compact heat
exchanger) โดยอัตราส่วนของพื้นที่ในการถ่ายเทความร้อนต่อปริมาตรเรียกว่าความหนาแน่นพื้นที่ (area
density: ) โดยที่เครื่องแลกเปลี่ยนความร้อนที่มีอัตราส่วนความหนาแน่นพื้นที่มากกว่า 700 m2/m3 หรือ
200 ft2/ft3 จะถูกจัดอยู่ในประเภทเครื่องแลกเปลี่ยนความร้อนกะทัดรัด เช่น เครื่องแลกเปลี่ยนความร้อนใน
รถ เครื่องแลกเปลี่ยนความร้อนในกระบวนการผลิตเซลามิค เครื่องยนต์สเตอร์ลิง เป็นต้น ส่วนมากเครื่อง
เอกสารประกอบการสอนวิชา Heat transfer จัดทาโดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน และ ดร.จาริณี จงปลื้มปิติ
ปรับปรุงล่าสุด 1 พฤศจิกายน 2562
78

แลกเปลี่ยนความร้อนแบบกระทัดรัดจะมีของไหลสองชนิดไหลตั้งฉากกัน (cross-flow) โดยจะแบ่งเป็นแบบ


ไหลผสมและไหลไม่ผสมกันขึ้นอยู่กับการนาไปใช้ดังรูปที่ 5-2

รูปที่ 5-2 ความแตกต่างของลักษณะของเครื่องแลกเปลี่ยนความร้อนแบบไหลผสมและไหลไม่ผสม


[1]

5.1.3 แบบเปลือกและท่อ
เครื่องแลกเปลี่ยนความร้อนชนิดนี้จะประกอบไปด้วยของไหลสองชนิดซึ่งชนิดหนึ่งถูกทาให้
เคลื่อนที่อยู่ในเปลือก ส่วนอีกชนิดหนึ่งถูกทาให้เคลื่อนที่อยู่ในท่อ อาจจะไหลขนาน ไหลสวนทางหรือไหล
แบบตั้งฉากกันก็ได้ดงั รูปที่ 5-3

รูปที่ 5-3 เครื่องแลกเปลี่ยนความร้อนแบบเปลือกและท่อ


[1]

5.2 สัมประสิทธิ์การถ่ายโอนความร้อน
5.2.1 สัมประสิทธิ์การถ่ายโอนความร้อนในเครื่องแลกเปลี่ยนความร้อน
เครื่องแลกเปลี่ยนความร้อนดั้งเดิมประกอบไปด้วยของไหลสองส่วนแยกกันด้วยผนัง โดยการ
ถ่ายโอนความร้อนจะเคลื่อนที่จะของไหลที่มีอุณหภูมิสูงกว่าไปสู่ของไหลที่มีอุณหภูมิต่ากว่า โดยของไหลถ่าย
โอนความร้อนสู่ผนังโดยการพาความร้อนจากนั้นความร้อนจึงผ่านผนังโดยการนาความร้อน และสุดท้าย

เอกสารประกอบการสอนวิชา Heat transfer จัดทาโดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน และ ดร.จาริณี จงปลื้มปิติ


ปรับปรุงล่าสุด 1 พฤศจิกายน 2562
79

ความร้อนจะผ่านออกจากผิวผนังสู่ของไหลที่มีอุณหภูมิต่ากว่าด้วยการพาอีกครั้ง โดยผลกระทบของการถ่าย
โอนความร้อนด้วยการแผ่รังสีจะถูกคิดอยู่ในสัมประสิทธิ์การพาความร้อนดังรูปที่ 5-4

รูปที่ 5-4 ลักษณะการเคลื่อนที่ของพลังงานความร้อนในท่อ


[1]
5.2.2 การสร้างโครงข่ายค่าความต้านทานความร้อน
จากรูปที่ 5-4 จะเห็นได้ว่าลักษณะการเคลื่อนที่ของพลังงานความร้อนสามารถนามาสร้างเป็น
โครงข่ายค่าความต้านทานความร้อนได้ดังรูปที่ 5-5

รูปที่ 5-5 โครงข่ายค่าความต้านทานความร้อน


[1]

เอกสารประกอบการสอนวิชา Heat transfer จัดทาโดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน และ ดร.จาริณี จงปลื้มปิติ


ปรับปรุงล่าสุด 1 พฤศจิกายน 2562
80

ตัวอย่างที่ 5-1 Hot oil is to be cooled in a double-tube counter-flow heat exchanger.


The copper inner tubes have a diameter of 2 cm and negligible thickness.
The inner diameter of the outer tube (the shell) is 3 cm. Water flows
through the tube at a rate of 0.5 kg/s, and the oil through the shell at a
rate of 0.8 kg/s. Taking the average temperatures of the water and the oil
to be 458C and 808C, respectively, determine the overall heat transfer
coefficient of this heat exchanger.

วิธีทา

เอกสารประกอบการสอนวิชา Heat transfer จัดทาโดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน และ ดร.จาริณี จงปลื้มปิติ


ปรับปรุงล่าสุด 1 พฤศจิกายน 2562
81

5.3 การวิเคราะห์การถ่ายเทความร้อนในเครื่องแลกเปลี่ยนความร้อน
5.3.1 วิธีการ log mean temperature differeness
วิธีการ log mean temperature differeness (LMTD) หรือวิธีการหาความแตกต่างอุณหภูมิ
เฉลี่ยแบบล็อก ใช้เพื่อคานวณหาขนาดของอุปกรณ์แลกเปลี่ยนความร้อน ซึ่งจาเป็นต้องทราบค่าอุณหภูมิทั้ง
ขาเข้าและขาออกของทุกพื้นที่ โดยมีขั้นตอนในการวิเคราะห์ดังนี้
1) เลือกชนิดของเครื่องแลกเปลี่ยนความร้อน และทิศทางของการไหลว่าเป็นการไหล
สวนทาง หรือการไหลแบบขนาด
2) คานวณค่าอัตราการถ่ายโอนความร้อนที่ต้องการจากสมการที่ (5-1)
Q  mc T (5-1)
3) ค านวณค่ า สั ม ประสิ ท ธิ ก ารถ่ า ยโอนความร้ อ นรวม (overall heat transfer
coefficient, U)
4) คานวณหาพื้นที่ที่ต้องการ
5) เลือกขนาดและชนิดของอุปกรณ์ถ่ายเทความร้อนจากพื้นที่ผิวถ่ายโอนความร้อนที่
คานวณได้

ตัวอย่างที่ 5-2 Steam in the condenser of a power plant is to be condensed at a


temperature of 30 C with cooling water from a nearby lake, which enters
the tubes of the condenser at 14 C and leaves at 22 C. The surface
area of the tubes is 45 m2, and the overall heat transfer coefficient is 2100
W/m2K. Determine the mass flow rate of the cooling water needed and
the rate of condensation of the steam in the condenser.

วิธีทา

เอกสารประกอบการสอนวิชา Heat transfer จัดทาโดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน และ ดร.จาริณี จงปลื้มปิติ


ปรับปรุงล่าสุด 1 พฤศจิกายน 2562
82

5.3.2 วิธีการ effectiveness-NTU


วิธีการ effectiveness-NTU หรือวิธีการของค่าประสิทธิผลเอ็นทียู ใช้เพื่อเปรียบเทียบความ
ได้เปรียบของการถ่ายโอนความร้อนโดยค่าประสิทธิผลสามรรถคานวณได้จากสมการที่ (5-2) การถ่ายเท
ความร้อนที่ได้จริ งอาจคานวณได้ทั้งการคานวณพลั งงานที่สู ญเสี ยโดยออกจากของไหลร้อนหรือค่าของ
พลังงานโดยของไหลเย็นที่รับความร้อนเพิ่ม พิจารณาเครื่องแลกเปลี่ยนความร้อนแบบไหลขนานกันและแบบ
ไหลตัดกัน
q
 (5-2)
qmax
การถ่ายเทความร้อนที่ได้จริงคานวณได้ทั้งการคานวณพลังงานที่สูญเสียโดยออกจากของไหล
ร้อนหรือ ค่าของพลังงานโดยของไหลเย็นที่รับความร้อนเพิ่ม พิจารณาเครื่องแลกเปลี่ยนความร้อนแบบไหล
ขนานกันและ แบบไหลตัดกัน สาหรับเครื่องแลกเปลี่ยนความร้อนที่ไหลขนานกัน จากกฎการอนุรักษ์พลังงาน
จะได้ว่า อัตราการถ่ายโอนความร้อนจากของไหลที่ร้อน เท่ากับ อัตราการถ่ายโอนความร้อนของไหลเย็น ดัง
สมการที่ (5-3) และอัตราการถ่ายโอนความร้อนสูงสุดมีค่าเท่ากับความร้อนจาเพาะของของไหลที่ต่าที่สุดคูณ
กับผลต่างของอุณหภูมิของไหลอุณหภูมิสูงและต่า ณ อุณหภูมิเริ่มต้นดังสมการที่ (5-4)
q = C c  Tc,out - Tc,in  = C h  Th,in - Th,out  (5-3)
qmax = C min  Th,in - Tc,in  (5-4)

เอกสารประกอบการสอนวิชา Heat transfer จัดทาโดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน และ ดร.จาริณี จงปลื้มปิติ


ปรับปรุงล่าสุด 1 พฤศจิกายน 2562
83

ตัวอย่างที่ 5-3 Cold water enters a counter-flow heat exchanger at 10 C at a rate of


8 kg/s, where it is heated by a hot-water stream that enters the heat
exchanger at 70 C at a rate of 2 kg/s. Assuming the specific heat of water
to remain constant at cp 5 4.18 kJ/kgK, determine the maximum heat
transfer rate and the outlet temperatures of the cold- and the hot-water
streams for this limiting case

วิธีทา

เอกสารประกอบการสอนวิชา Heat transfer จัดทาโดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน และ ดร.จาริณี จงปลื้มปิติ


ปรับปรุงล่าสุด 1 พฤศจิกายน 2562
84

ภาคผนวก
ตารางที่ 0-1 สมบัติวัสดุ

เอกสารประกอบการสอนวิชา Heat transfer จัดทาโดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน และ ดร.จาริณี จงปลื้มปิติ


ปรับปรุงล่าสุด 1 พฤศจิกายน 2562
85

เอกสารประกอบการสอนวิชา Heat transfer จัดทาโดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน และ ดร.จาริณี จงปลื้มปิติ


ปรับปรุงล่าสุด 1 พฤศจิกายน 2562
86

ตารางที่ 0-2 สมบัติของน้า

เอกสารประกอบการสอนวิชา Heat transfer จัดทาโดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน และ ดร.จาริณี จงปลื้มปิติ


ปรับปรุงล่าสุด 1 พฤศจิกายน 2562
87

ตารางที่ 0-3 สมบัติอากาศที่ความดัน 1 atm

เอกสารประกอบการสอนวิชา Heat transfer จัดทาโดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน และ ดร.จาริณี จงปลื้มปิติ


ปรับปรุงล่าสุด 1 พฤศจิกายน 2562
88

ตารางที่ 0-4 สัมประสิทธิ์การแผ่รังสี

เอกสารประกอบการสอนวิชา Heat transfer จัดทาโดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน และ ดร.จาริณี จงปลื้มปิติ


ปรับปรุงล่าสุด 1 พฤศจิกายน 2562
89

เอกสารประกอบการสอนวิชา Heat transfer จัดทาโดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน และ ดร.จาริณี จงปลื้มปิติ


ปรับปรุงล่าสุด 1 พฤศจิกายน 2562
90

ตารางที่ 0-5 สมบัติการดูดซับรังสีดวงอาทิตย์ของวัสดุ

เอกสารประกอบการสอนวิชา Heat transfer จัดทาโดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน และ ดร.จาริณี จงปลื้มปิติ


ปรับปรุงล่าสุด 1 พฤศจิกายน 2562
91

เอกสารอ้างอิง
[1] Cengel, Y. A., and Ghajar, A. J., 2015, Heat and Mass Transfer, McGraw-Hill
Education, United States.
[2] Bergman, T. L., Lavine, A. S., Incropera, F. P., and DeWitt, D. P., 2011, Fundamentals
of Heat and Mass Transfer, Seventh Edition Binder Ready Version.
[3] มนตรี พิรุณเกษตร, 2542, การถ่ายเทความร้อน : ฉบับเตรียมสอบและเสริมประสบการณ์, บริษัทวิทยพัฒน์, ไทย.

เอกสารประกอบการสอนวิชา Heat transfer จัดทาโดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน และ ดร.จาริณี จงปลื้มปิติ


ปรับปรุงล่าสุด 1 พฤศจิกายน 2562
92

เอกสารประกอบการสอนวิชา Heat transfer จัดทาโดย ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน และ ดร.จาริณี จงปลื้มปิติ


ปรับปรุงล่าสุด 1 พฤศจิกายน 2562

You might also like