You are on page 1of 23

พืน้ ฐานความร้ เรืรองสงแวดลอม

พนฐานความรู ่องสิ่ งแวดล้ อม


LOGO

หัวข้ ออบรม
หวขออบรม
• มลพิษิ สิ่ิ งแวดล้้ อม
• กฎหมายสงแวดลอม
กฎหมายสิ่ งแวดล้ อม
• ความสํ าคัญของการจัดทํารายงานการวิเคราะห์ ผลกระทบ
สิ่ งแวดล้อม (EIA)
• ความสาคญของการตดตามตรวจสอบผลกระทบสงแวดลอม
ความสํ าคัญของการติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่ งแวดล้ อม
ฐ ISO 14001
• ความรูู้ ทั่วไปของมาตราฐาน
มลพิษสิ่ งแวดล้ อม
มลพษสงแวดลอม
• มลพิษิ ทางนํํา้
• มลพิษอากาศ
มลพษอากาศ
• มลพิษด้ านขยะและของเสี ยอันตราย
• มลพิษทางดิน
• มลพิษิ ทางเสีี ยง
• ภาวะโลกร้ อน
ภาวะโลกรอน

• นํ้าเสี ย … เกิดขึ้นจากกิจกรรมของมนุษย์ เช่น การปล่อยนํ้า


เสี ยจากชุมชนโรงงาน ฟาร์มปศุสตั ว์ การทําเกษตร เหมืองแร่
และคราบนํ้ามันจากเรื อหางยาวในแม่น้ าํ เป็ นต้น
นํ้าเสี ยที่มีสารอาหาร N กับ P มากจะส่ งผลกระทบให้เกิดยู
โทรฟิ เคชัน (Eutrophication) หรื อ แอลจีบลูม (Algae
Bloom)
• มลพิษทางนํา้ ..... มีการระบายหรื อทิง้ สิ่ งสกปรก ลงไปในนํา้
มากเกินไป จนทําให้ แหล่ งนํา้ นั้นไม่ สามารถฟอกตัวเอง (Self
Purification) ได้ไ ้ ทันตามธรรมชาติิ ... นํา้ํ จึึ งเน่่ าเสีี ย

4
• นํา้ เน่ า ได้ แก่ นํา้ ทีม่ สี ารอินทรีย์
ปะปนอยู่มาก
– จุจลิลนนทรยใชออกซเจนในการยอย
ทรีย์ใช้ ออกซิเจนในการย่ อย
สลายจนเหลือละลายอยู่น้อย
– นํา้ มีสี ี ดาํ คลํา้ และส่่ งกลินิ่ เหม็น็
เนื่องจากการปล่ อยก๊ าซไข่ เน่ า หรือ
ก๊๊ าซไฮโดรเจนซั
ไโ ลไฟด์
ไ ์ (H2S) จาก
การย่ อยสลายของแบคทีเรียชนิดที่
ไม่ ใช้ ออกซิเจน (Anaerobic
Bacteria)
5

1.1 AAerobic
bi Bacteria
B i (ทใช( ่ ใี ช้ O2)
สารอินทรี ย์
สารอนทรย
(C, H, O, N, S)

เปลี่ยนเป็ น

O3-+SO
NO SO4-2 +H2O+CO
O CO2 +...energy
ผลิติ ภัณ
ั ฑ์์ ทลี่ ะลายนํํา้ ได้
ไ ้ มกี ลินิ่ ไม่
ไ ่ รุนแรง 6
22. Anaerobic Bacteria (ไม่
(ไมใชO
ใช้ O2)
สารอินทรี ย์
(C, H, O, N, S)

เปลี่ยนเป็ น

CH4+H2S+H2O+N2+CO2+...energy
ผลิตภัณฑ์ ท่ ลี ะลายนํา้ ได้ น้อย
ก๊ าซไข่ เน่ ามีกลิ่นเหม็็นมาก
7

 เกดนาเนาเสย
เกิดนํา้ เน่ าเสี ย ทาใหมกลนเหมน
ทําให้ มกี ลิน่ เหม็น
 สู ญเสี ยระบบนิเวศ
 เกิดทัศนียภาพทีไ่ ม่ น่าดู
 เปนอนตรายตอสุ
เป็ นอันตรายต่ อสขภาพและอนามั
ขภาพและอนามยย
 ทําให้ เกิดโรคระบาด
 เกิดผลกระทบด้ านการพักผ่ อนหย่ อนใจ

8
สิ่ งทีค่ วรทราบเรื่อง นํนาเสย
สงทควรทราบเรอง า้ เสี ย
• BOD5 (Biochemical
( ่ ่ ้ ีถึง
Oxygen Demand)) เป็ป็ นคาบงชี
ความสกปรกของนํ้าเสี ยในรู ปของสารอินทรี ย ์
• เช่น BOD5 = 20 mg/L เป็ นค่ามาตราฐานนํ้าทิ้งทัว่ ไป
• เช่น นํ้าเสี ยจากบ้านอยูอ่ าศัย BOD5 = 200 mg/L
• เชน
เช่น นาเสยจากโรงอาหาร
นํ้าเสี ยจากโรงอาหาร BOD5 = 600 mg/L /L
• เช่น นํ้าเสี ยจากโรงงานสุุ รา BOD5 = 34,000
, mg/L g
• DO (Dissolved Oxygen) เป็ นค่าออกซิเจนละลายอยูใ่ นนํ้า

สิ่ งทีค่ วรทราบในเรื่อง มลพิ


สงทควรทราบในเรอง มลพษอากาศ
ษอากาศ
• PM10 คือ สารอนุภาคที่มีขนาดเล็กมาก ๆ (10 micron) ซึ่งสามารถแขวนลอยอยู่ได้ ใน
อากาศในชั
ใ ่ัวขณะหนึึ่ง และถูกสู ดเข้้ าไปได้
ไปไ ้ ในปอด

• PM10 มีขนาดเล็กกว่ าเส้ นผม 10 – 28 เท่ า เช่ น ไอเสี ยรถยนต์ ควันจากการเผาไหม้
PM10 มหนวยเปน
มีหน่ วยเป็ น ไมโครกรั
ไมโครกรมม / ลบ.ม
ลบ ม
• VOCs เป็ นสารอินทรีย์ระเหยง่ าย
• ฝนกรด
ฝ ( i rain)
(acid ึ ้ ํ ฝ ี่ ี ่
i ) หมายถงนาฝนทมคาความเปนกรด-เบส
ป็ ( value)
(pH ่ํ ่ ั
l ) ตากวาระดบ
5.6 กรดในนํ้าฝนเกิดจากการละลายนํ้าของก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ซัลเฟอร์ได
ออกไซด์ และไนทริ
ออกไซด และไนทรกออกไซด
กออกไซด์ ทีทมอยู
่มีอย่ในบรรยากาศซงเกดขนเองตามธรรมชาต
นบรรยากาศซึ่งเกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ และจาก
การกระทําของมนุษย์
• Carbon Footprint (CF) เป็ นค่าทางวิทยาศาสตร์ที่คาํ นวณปริ มาณการปลดปล่อยก๊าซ
เรื อนกระจกจากผลิตภัณฑ์หรื อกิจกรรมต่างๆ สู่บรรยากาศ โดยคํานวณออกมาในรู ป
คาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า
มลพิษอากาศ หรือ อากาศเสี ย
• หมายถึง ภาวะของอากาศทีม่ กี ารเจือปนของสารเหลือสิ่ งปนเปื้ อน
ในปริมาณทีม่ ากพอ ทําให้ อากาศเสื่ อมคุณภาพ หรือ ในปริมาณที่
สูสงกว่
งกวาระดบปกตเปนเวลานานพอทจะทาใหเกดอนตรายตอมนุ
าระดับปกติเป็ นเวลานานพอทีจ่ ะทําให้ เกิดอันตรายต่ อมนษย์ ษย
สั ตว์ และ พืช ทั้งทางตรงและทางอ้อม
–สารปนเปื้ อนในอากาศมีท้งั ในรูปของแข็ง ฝุ่ นละอองขนาด
ตางๆ
่ กันั ไอระเหย
ไ หรืือก๊๊ าซ รวมทั้งั กลินิ่ เขมา่ ควันั สาร
กัมมันตรังสี สารประกอบไฮโดรคาร์ บอน ปรอท ตะกัว่
ออกไซด์ ของไนโตรเจน กํามถัน และคาร์ บอน เป็ นต้ น

11

ระบบภาวะมลพิษอากาศ
(Air Pollution System)
อากาศหรือบรรยากาศ
(At
(Atmosphere)h )

สารมลพิษ การแพร่ กระจาย


(Pollutants) (Dispersion)

แหล่ งกําเนิดมลพิษอากาศ ผู้รับผลเสี ยหรือผลกระทบ


(Emission Sources) (Receptors)

12
แหลงกาเนดจากกจกรรมของมนุ
แหล่งกําเนิดจากกิจกรรมของมนษย์
ษย
1. แหล่ งกําเนิดทีเ่ คลือ่ นทีไ่ ด้
(Mobile Sources)
– รถยนต์
รถยนต
– เรือยนต์
– เครื่องบิน
2.2 แหล่
แหลงกาเนดทอยู
งกําเนิดทีอ่ ย่ กบท
บั ที่
(Stationary Sources)
– หลุมฝังกลบขยะ
– ฟาร์ มปศุุสัตว์
– โรงงานอุตสาหกรรม 13

ก๊ าซเรือนกระจก มาจากไหน ?
กาซเรอนกระจก

• ก๊ าซคาร์ บอนไดออกไซด์ (CO2) เป็ นก๊ าซชนิดทีท่ าํ ให้ เกิดพลังงานความ


ร้ อนสะสมในบรรยากาศของโลกมากทีส่ ุ ดในบรรดาก๊ าซเรือนกระจกชนิด
อืน่ ๆ เป็ นตัวการสํ าคัญทีส่ ุ ดของปรากฏการณ์ เรือนกระจกทีม่ นุษย์ เป็ น
ผูู้กระทํา ซึ่งเกิดจากการเผาไหม้ เชื้อเพลิงถ่ านหินเพือ่ ผลิตไฟฟ้า การตัดไม้
ทําลายป่ า
• กาซมเทน
ก๊ าซมีเทน (CH4) เปนกาซทเกดขนเองตามธรรมชาต
เป็ นก๊ าซทีเ่ กิดขึน้ เองตามธรรมชาติ เกดจากของเสยจาก
เกิดจากของเสี ยจาก
สั ตว์ เลีย้ ง เช่ น วัว ควาย การทํานาทีล่ ่ มุ นํา้ ท่ วมขัง การเผาไหม้ เชื้อเพลิงถ่ าน
หนกาซธรรมชาต
ิ ๊ ิ และการทาเหมองถานหน
ํ ื ่ ิ

14
• ก๊๊ าซไนตรั
ไ ัสออกไซด์
ไ ์ (N2O) เกิดิ ขึนึ้ เองตามธรรมชาติิ และจากการใช้
ใ ้ ปุ๋๋ ย
ไนเตรดในไร่ นา การขยายพืน้ ทีเ่ พาะปลูก การเผาไหม้ เผาหญ้ า มูลสั ตว์ ทยี่ ่ อย
สลาย และเชื้อเพลิงถ่ านหินจากอุตสาหกรรมทีใ่ ช้ กรดไนตริกใน
ขบวนการผลิต เชน
ขบวนการผลต เช่ น อุอตสาหกรรมผลิ
ตสาหกรรมผลตเสนใยไนลอน
ตเส้ นใยไนลอน อตสาหกรรมเคมี
อุตสาหกรรมเคม หรื หรออ
อุตสาหกรรมพลาสติกบางชนิด
• คลอโรฟลู
โ ฟ โอโรคาร์
โ ์ บอน (Chlorofluorocarbons - CFCs) เป็ นก๊ าซที่
สั งเคราะห์ ขนึ้ เพือ่ ใช้ ในการผลิตทางอุุตสาหกรรม เช่ น ใช้ ในเครื่องทําความ
เย็นชนิดต่ าง ๆ เป็ นก๊ าซขับดันในกระป๋ องสเปรย์ และเป็ นสารผสมทําให้ เกิด
ฟองในการผลิตโฟม เปนตน
ฟองในการผลตโฟม เป็ นต้ น CFCs มผลกระทบรุ
มีผลกระทบรนแรงต่
นแรงตอบรรยากาศ
อบรรยากาศ ทัทง้ง
ในด้ านทําให้ โลกร้ อนขึน้ ทําให้ เกิดปรากฎการณ์ เรือนกระจก และทําลาย
บรรยากาศโลกจนเกิ
โ ดิ รูรั่วในชั
ใ ้ันโอโซน
โโ
15

ขยะมูลฝอย
ขยะมลฝอย
• พระราชบัญั ญัตั ิการสาธารณสุ ข
พ.ศ.2535
– มูลฝอย หมายถึง เศษกระดาษ เศษผ้า
เศษอาหาร เศษสิ นค้า ถุงพลาสติก
ภาชนะทีี่ใส่่ อาหาร เถ้า้ มูลสัตั ว์ห์ รืื อ
ซากสัตว์ รวมตลอดถึงสิ่ งอื่นใดที่เก็บ
กวาดได้จากถนน ตลาด ทเลยงสตว
กวาดไดจากถนน ที่เลี้ยงสัตว์
หรื อที่อื่น ๆ
กําจัดอย่ างถูกวิธี เตาเผา
37%
กรุงเทพฯและพัทยา 24%
เท เทศบาล 12%
อบต. 1%หมักทําปุ๋ ย
กอง
ฝังกลบ กําจัดอย่่างไม่
ฝงกลบ ไ ่ ถูกวิธี 63%
(เทศบาลและอบต.)

สิ่ งทีค่ วรทราบในเรื่องขยะมลฝอย


สงทควรทราบในเรองขยะมู ลฝอย

• ปริ มาณขยะ (มูลฝอย) จากการทิ้งของแต่ละคน = 1 กก./คน/วัน

• ขยะทั
ขยะทวไปสามารถนามา
ว่ ไปสามารถนํามา Reduce
R d RReuse RRecyclel ไดเกอบทงหมด
ได้เกือบทั้งหมด

• ขยะก่อให้เกิดปั ญหากลิ่นเหม็น การปนเปื้ อนต่อคุณภาพนํ้า


ก่อให้เกิดโรค และก๊
กอใหเกดโรค และกาซเรอนกระจก
าซเรื อนกระจก
สิ่ งทีค่ วรทราบในเรื่องของเสี ยอันตราย
สงทควรทราบในเรองของเสยอนตราย
• ของเสีี ยอนตรายมี
ั ั ่ 4 ข้อ้
ีลกษณะหลกอยู

• ข้อ 1 ตดไฟได
ขอ ติดไฟได้
• ข้อ 2 กัดกร่ อนได้
• ข้อ 3 เกิดปฏิกิริยาเคมีได้
• ข้อ้ 4 มีีความเป็ป็ นพิษิ
• มีลกั ษณะเพียงข้อใดข้อหนึ่งก็จดั ได้วา่ เป็ นของเสี ย
มลกษณะเพยงขอใดขอหนงกจดไดวาเปนของเสย
อันตราย

หน่ วยงานภาครัฐทีม่ หี น้ าทีร่ ับผิดชอบเกีย่ วกับ


การจัดการสิ่ งแวดล้ อม
• กระทรวงอุตสาหกรรม
– กรมโรงงานอุตสาหกรรม
– การนิิคมอุตสาหกรรมแห่่ งปประเทศไทย

• กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้ อม
– กรมควบคุมมลพิษ
– สํ านักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้ อม
• กระทรวงอืน่ ๆ
– กรมชลประทาน
– กรมเจ้ าท่ า
– ฯลฯ
กฎหมายทีเ่ กีย่ วข้ องกับการจัดการสิ่ งแวดล้ อม
กฎหมายทเกยวของกบการจดการสงแวดลอม

• พ.ร.บ.โรงงาน พ.ศ. 2535


• พ.ร.บ.การส่่ งเสริิ มและรัักษาคุณภาพสิิ่ งแวดล้อ้ มแห่่งชาติิ พ.ศ.2535
• พ.ร.บ.การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย พ.ศ.2522
• พ.ร.บ.วัตถุอนั ตราย พ.ศ.2535
• พ ร บ การสาธารณสขข พ.ศ.2535
พ.ร.บ.การสาธารณสุ พ ศ 2535
• ฯลฯ

การใช้ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้ อม โดยคํานึงเฉพาะผลตอบแทน


ทางเศรษฐศาสตร์์ กบั ปัญหาสิ่ิ งแวดล้้ อมทีเี่ กิดิ จากการพัฒ
ั นา
ทรพยากรรอยหรอ
ทรั พยากรร่ อยหรอ
(Resource Depletion)

การใช้ทรัพยากร
ธรรมชาติ
Benefit
B fi ผลประโยชนทที่
ผลประโยชน์
มนุษย์ได้รับ มนุษย์
และสิ่ งแวดล้อม Cost จากการพัฒั นา
เพื่อการพัฒนา

ปัญหามลภาวะ
(P ll ti )
(Pollution)
การประเมินผลกระทบสิ่ งแวดล้ อม
(Environmental Impact Assessment :EIA)

1. ความหมายและแนวคดเกยวกบการประเมนผลกระทบ
ความหมายและแนวคิดเกีย่ วกับการประเมินผลกระทบ

ผลกระทบสิ่ งแวดล้ อม
การเปลี่ยนแปลงสภาวะแวดล้ อมทั้งขนาดและทิศทางจากกระทําของมนุุษย์
หรื อภัยธรรมชาติ การเปลี่ยนแปลงอาจเกิดขึน้ เป็ นส่ วนน้ อยหรื อมากภายใน
ระบบนิเวศหนึ่ง หรื อเป็ นการเปลี่ยนแปลงที่ดีหรื อเลวร้ ายก็ได้

ความหมาย
EIA

เป็ นการทํานายหรือ วางแผนการติดตาม


คาดการณ์ เกีย่ วกับ
คาดการณเกยวกบ การพิจารณา และ ตรวจสอบ
ผลกระทบในทางบวก เสนอมาตรการทีจ่ ะ ผลกระทบสิ่ งแวดล้ อม
และทางลบของ ใช้ ในการลด และ ของโครงการเพือ่
ของโครงการเพอ
โครงการพัฒนาทีจ่ ะมี ป้ องกันผลกระทบ ป้ องกันและลด
ต่ อสภาพแวดล้
ตอสภา แวดลอมใน
อมใน สิ่ งแวดล้ อม ผลเสี ยหายทีจ่ ะเกิดขึน้
ผลเสยหายทจะเกดขน
ทุกๆ ด้ าน
รัฐธรรมนญ
รฐธรรมนู ญ 2550
มาตรา 67 วรรคสอง
 การดําเนินการโครงการหรือกิจกรรมทีอ่ าจจะก่ อให้ เกิดผลกระทบต่ อ
ชุชมชนอย่
มชนอยางรุ
างรนแรง
นแรง ทัทงทางดานคุ
้งทางด้ านคณภาพสิ
ณภาพสงแวดลอม
่ งแวดล้ อม
ทรัพยากรธรรมชาติ และสุ ขภาพจะกระทํามิได้ เว้ นแต่ จะได้ ศึกษา
และประเมิ
ป นิ ผลกระทบต่่ อคุณภาพสิ่ิ งแวดล้้ อมและสุ ขภาพของ
ประชาชนในชุมชน

 จดใหมกระบวนการรบฟงความคดเหนของประชาชน
ั ใ ้ ี ั ฟั ิ ็ ป และองคการ

อิสระฯ ให้ ความเห็นประกอบก่ อนดําเนินโครงการ

ความสํ าคัญของ EIA


2
ช่ วยในการจําแนก
ทรัพยากรที่มอี ยู่อย่าง 3 4
จํากัด และผลกระทบ ช่ วยสนับสนุุนให้ มี
1 ต่ อสิ่ งแวดล้ อม
เป็เปนเอกสารทใหขอมู
นเอกสารทีใ่ ห้ ข้อมลล
ความสมดุลระหว่ าง
เกีย่ วข้ องของโครงการ
ช่ วยให้ มกี าร ตั้งแต่ ข้นั ตอนของการ ต่ อสาธารณชน เช่ น การตัดสิ นใจ
คํานึงถึงทรัพยากร
คานงถงทรพยากร วางแผนโครงการ เพอ เพือ่ ขอมู้ ลของสงแวดลอมท
ิ่ ้ ี่ (decision-making)
(decision making)
สิ่ งแวดล้ อม และ ช่ วยให้ มกี ารกําหนด อาจได้ รับผลกระทบ และการพัฒนา
สุ ขภาพอนามัยของ ทางเลือกทีเ่ หมาะสม
มนษย์
มนุ ษย ใช้ การจัดการ
ใชการจดการ
สิ่ งแวดล้ อมและ
เทคโนโลยีที่ดีทสี่ ุ ด
(best practice and
technologies)
การวิเคราะห์ ผลกระทบสิ่ งแวดล้ อม
ในประเทศไทย ประกาศประเภทและขนาด
โครงการเพิม่ เติมจาก 22 เป็ น 34
ประเทศไทยประกาศใช้ ประเภท
พ.ร.บ. ส่ งเสริมและรักษา พ.ศ. 2552
คุคณภาพสิ
ณภาพสงแวดลอม
่ งแวดล้ อม
แห่ งชาติ พ.ศ. 2518
จดทะเบียนนิติบุคคล พ.ศ. 2535
ทํารายงาน
พ.ศ. 2518
พ.ศ. 2553
พ ศ 2527
พ.ศ. พ.ร.บ. ส่่ งเสริิมและรัักษา
คุณภาพสิ่ งแวดล้ อมแห่ งชาติ
พ.ศ. 2535 มีการพัฒนาและ
ปรับปรุงขั้นตอนการพิจารณา ประกาศประเภทและขนาด
พ.ศ. 2524
รายงานการวิเคราะห์ โครงการรุนแรงตามมาตรา
ผลกระทบสิ่ งแวดล้ อม 67 ของรัฐธรรมนูญปี 50
ประกาศกําหนดประเภท จําํ นวน 11 รายการ
และขนาดทํารายงาน

ผูเู ้ กี่ยวข้องกับการจัดทํารายงานฯ
เสนอรายงาน
เจ้ าของโครงการ

• ตรวจสอบความถูกต้ อง/
ครบถ้ วนสมบูรณ์
ผู้มสี ิ ทธิจัดทํารายงาน สผ..
สผ • พิจารณาเบือ้ งต้ น
• สรุปความเห็นเสนอต่ อ
จัดทํารายงาน ผู้เกีย่ วข้ องกับการ คณะกรรมการผู้ชํานาญการ
จัดทํารายงานฯ
จดทารายงานฯ

หน่ วยงานผู้ให้ อนุญาต คณะกรรมการผู้ชํานาญการ


รอผลการพิจารณารายงาน
ประกอบการออกใบอนุญาต พิจารณาขั้นสุ ดท้ าย
องค์ ประกอบของการประเมินผลกระทบสิ่ งแวดล้ อม (EIA)
องคประกอบของการประเมนผลกระทบสงแวดลอม
1. ทรพยากรกายภาพ
ทรัพยากรกายภาพ
ศึกษาถึงผลกระทบทางกายภาพว่ามีการเปลี่ยนแปลงอย่างไร

2. ทรัพยากรชีวภาพ
ศึกษาการเปลี่ยนแปลงที่มีต่อระบบนิเวศ
3. คุณค่ าการใช้ ประโยชน์ ของมนุษย์
ศกษาการใช้
ึ ใ ป้ ระโยชนจากทรพยากรทงทางกายภาพและชวภาพของมนุ
โ ์ ั ้ั ี ษย ์
ว่าได้รับผลกระทบมากน้อยเพียงใด
4. คุณค่ าต่ อคุณภาพชีวติ
ศึกษาผลกระทบต่อมนุษย์ ชุมชน ระบบเศรษฐกิจ การประกอบอาชีพ
วัฒนธรรมประเพณี ความเชื่อ ค่านิยม ทัศนียภาพ คุณค่าความสวยงาม

แสดงหัวข้ อและประเด็นศึกษาในการจัดทํารายงานผลกระทบสิ่ งแวดล้ อม


หัวข้ อ ประเด็นศึกษา
1.ทรัพยากรสิ่ งแวดล้อมทางกายภาพ
ภูมิสนั ฐาน ลักษณะภูมิประเทศระดับความสูงลักษณะโดดเด่นเฉพาะทาง
กายภาพ (Unique physical feature) เช่น เกาะ หน้าผา ฯลฯ

ดิน
ดน ชนดประเภท
ชนิ ดประเภท สดสวน
สัดส่ วน (Profile of soil type extent of each) กษยการ
กษัยการ
ของดิน การตกตะกอน คุณสมบัติ กายภาพเคมี

ธรณี วทิ ยา ชีวภาพ สมรรถนะและศักยภาพของดินลักษณะทางธรณี วทิ ยา

ทรัพยากร การเกิดแผ่นดินไหว แหล่งแร่ ธาตุชนิดปริ มาณแร่ ธาตุในพื้นที่และ


บริ เวณใกล้เคียงโครงการ
แสดงหัวข้ อและประเด็นศึกษาในการจัดทํารายงานผลกระทบสิ่ งแวดล้ อม

หัวข้ อ ประเด็นศึกษา
นํ้าผิวดิน/นํ้าใต้ดิน แหล่งนํ้า ปริ มาณนํ้า คุณภาพนํ้า อัตราการไหล
นํ้าทะเล ลักษณะทางสมุทรศาสตร์คุณภาพนํ้า การหมุนเวียนของนํ้า การแบ่ง
ชนชั้นของนํ้ า (Stratification)

อากาศ ภูมิอากาศ (ปริ มาณนํ้าฝน ความชุก อุณหภูมิ) ปรากฏการณ์ช้ นั


อุณหภูมิผกผัน (inversion) หมอก พายุ คุณภาพอากาศ

เสี ยง ระดับความเข้มของสี ยง ความถี่

แสดงหัวข้ อและประเด็นศึกษาในการจัดทํารายงานผลกระทบสิ่ งแวดล้ อม

ประเภท ประเด็นศึกษา
2.ทรัพยากรสิ่ งแวดล้อมทางชีวภาพ

สัตว์ / พืช นิเวศวิทยา ชนิด ปริ มาณ การแพร่ กระจาย


สิ่ งมีชีวติ ที่หายาก แหล่งที่อยูอ่ าศัย การอพยพย้ายถิ่น ชนิด ปริ มาณ ความสําคัญ

3.คุณค่าการใช้ประโยชน์ของมนุษย์

นํ้ าํ ดืื่ม/นํ้ าํ ใช้


ใ ้ แหล่ง่ นํ้ าํ ปริ
ป ิ มาณ คุณภาพ ความเพีียงพอ

การขนส่ ง เส้นทางคมนาคม (ทางหลวง ทางรถไฟ การคมนาคม ขนส่ งทางนํ้า)


การไฟฟ้ าและพลังงาน แหล่งที่มา ชนิด ประเภท ความเพียงพอ
การควบคุุมนํ้าท่วม/การระบายนํ้า ระบบการควบคุุม ประสิ ทธิภาพ
แสดงหัวข้ อและประเด็นศึกษาในการจัดทํารายงานผลกระทบสิ่ งแวดล้ อม

หัวข้ อ ประเด็นศึกษา
การเกษตรกรรม การพัฒนาการเกษตร การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ าํ การชลประทาน การปลูก
ป่ า
การอตสาหกรรม
การอุ ตสาหกรรม ลักษณะการทําอตสาหกรรม
ลกษณะการทาอุ ตสาหกรรม

เหมืองแร่ ลักษณะการทําเหมืองแร่

สันทนาการ รู ปแบบลักษณะการใช้พ้นื ที่สนั ทนาการ พื้นที่พกั ผ่อนหย่อนใจของ


สาธารณะ พื้นที่สีเขียว

การใช้ที่ดิน สภาพการใช้ประโยชน์ที่ดินการกําหนดพื้นที่เฉพาะ

แสดงหัวข้ อและประเด็นศึกษาในการจัดทํารายงานผลกระทบสิ่ งแวดล้ อม

หัวข้ อ ประเด็นศึกษา
4.คุณค่าต่อคุณภาพชีวติ

เศรษฐกิจสังคม ข้อมูลประชากร (จํานวนอาชีพ รายได้ ภาษา ศาสนา ฯลฯ) การตั้งถิ่น


ฐาน ทัศนคติของประชาชนที่มีต่อโครงการ
การสาธารณสุ ข อัตราการเจ็บป่ วย โรคระบาด โรคประจําถิ่น การบริ การทาง
สาธารณสุ ข
สาธารณสข
อาชีวอนามัย โรคจากการทํางาน อุบตั ิเหตุจากการทํางานความเสี่ ยง (กรณี
โครงการที่มีความเสี่ ยง)

ประวัติศาสตร์ โบราณสถาน โบราณวัตถุ โบราณคดี ขนบธรรมเนียมประเพณี


วัฒนธรรมดั้งเดิม

สุ นทรี ยภาพ คุณค่าความงดงามของแหล่งท่องเที่ยว สถานที่สาํ คัญทางธรรมชาติ


แหล่งธรรมชาติอนั ควรอนรัรกกษษ์
แหลงธรรมชาตอนควรอนุ
โครงการ//กจกรรมทจะตองมการจดทา
โครงการ กิจกรรมที่จะต้องมีการจัดทํา EIA

เขื่อนเก็บนํ้าหรื ออ่างเก็บนํ้า >100 ล้านลบ


นลบ..ม หรื อมีพ้นื ที่เก็บกักนํ้า > 15 ตร
ตร..กม
กม..

พื้นที่การชลประทาน >80,
80,000 ไร่

สนามบินพาณิ ชย์ทุกขนาด

ระบบทางพิเศษ ตามกฎหมายว่าด้วยการทางพิเศษหรื อระบบขนส่ งมวลชนที่ใช้รางทุกชนิด

การทําเหมืองตามกฎหมายว่าด้วยแร่ ทุกขนาด

นิคมอุตสาหกรรมตามกฎหมายว่าด้วยนิคมอุตสาหกรรม

ท่าเรื อพาณิ ชย์ที่รับเรื อขนาด > 500 ตันกรอส

โรงไฟฟ้ าพลังความร้อนที่มีกาํ ลังผลิตกระแสไฟฟ้ า >10 เมกกะวัตต์

การอุตสาหกรรม :
อุอตสาหกรรมปิ
ตสาหกรรมปโตรเคม,
โตรเคมี กลนนามนปโตรเลยมทุ
กลัน่ นํ้ามันปิ โตรเลี่ยมทกชนิ
กชนด,ด
การแยกหรื อแปรสภาพก๊าซธรรมชาติทุกขนาด, อุตสาหกรรมคลอแอลคาไลน์,
อุอตสาหกรรมเหล็ ก/เหล็กกล้ามีกาํ ลังผลิต >100 ตน/วน,
ตสาหกรรมเหลก/เหลกกลามกาลงผลต ตัน/วัน ผลตปู
ผลิตปนซี
นซเมนตทุ
เมนต์ทกกขนาด
ขนาด,
ถลุงแร่ หลอมโลหะ มีกาํ ลังผลิต >50 ตัน/วัน, การผลิตเยือ่ กระดาษมีกาํ ลังผลิต>50 ตัน/วัน

โครงการทุกประเภทที่อยูใ่ นพื้นที่ที่คณะรัฐมนตรี มีมติเห็นชอบกําหนด


ให้เป็ นพื้นที่ล่มนา
ใหเปนพนทลุ นํ้า
อาคารที่ต้ งั ริ มแม่น้ าํ ทะเลสาบ ชายหาด ใกล้อุทยานแห่งชาติ อุทยานประวัติศาสตร์
อาคารสงง >23 เมตร / พนท
อาคารสู พื้นที่ >10,000
>10 000 ตร.ม.
ตร ม
การถมที่ในทะเลทุกขนาด
การจัดสรรที่ดินเพื่อที่อยูอ่ าศัย
จํานวนที่ดินแปลงย่อย >500 แปลง/ เนื้อที่ >100 ไร่
โรงพยาบาลที่มีเตียง >30 เตียง กรณี ต้ งั อยูร่ ิ มแม่น้ าํ /ทะเลสาบ/ชายหาด
ี ี 60 เตยงกรณนอกเหนอพนทดงกลาว
มเตยง>60 ี ี ื ้ื ี่ ั ่

ทางหลวงหรอถนนตามกฎหมายวาดวยทางหลวงทตดผานพนท
ทางหลวงหรื อถนนตามกฎหมายว่าด้วยทางหลวงที่ตดั ผ่านพื้นที่
พื้นที่เขตรักษาพันธุ์สตั ว์ป่า เขตห้ามล่าสัตว์ป่า
พื้นที่อททยานแห่
พนทอุ ยานแหงชาต พื้นที่ล่มนํนาชน
งชาติ พนทลุ ้ าชั้น 2 ตามทคณะรฐมนตรเหนชอบ
ตามที่คณะรัฐมนตรี เห็นชอบ
เขตพื้นที่ป่าชายเลนที่เป็ นป่ าสงวนแห่งชาติ
พื้นที่ชายฝั่งทะเลในระยะ 50 เมตรจากระดบนาทะเลขนสู
พนทชายฝงทะเลในระยะ เมตรจากระดับนํ้าทะเลขึ้นสงสดงสุ ด

อุตสาหกรรมทีี่ผลิิตสารออกฤทธิ์ ิ/ สารกําํ จัดั ศัตั รู พืช/สัตั ว์์

อุอตสาหกรรมที
ตสาหกรรมทผลตปุ
่ผลิตป๋ ยยเคมี
เคมโดยกระบวนการทางเคมทุ
โดยกระบวนการทางเคมีทกขนาด
กขนาด

โรงแรมหรื อสถานตากอากาศที่มีหอ้ งพัก >80 หอง


โรงแรมหรอสถานตากอากาศทมหองพก ห้อง

อาคารที่อยูอู่ าศัย ที่มีจาํ นวนชุุด >80 ห้อง

โรงงานปรับคุณภาพของเสี ยรวม เฉพาะสิ่ งปฏิกลู /วัสดุที่ไม่ใช้แล้ว ทุกขนาด


การพัฒนาปิ โตรเลียมทุกขนาด
การสํารวจและ/หรื อผลิตปิ โตรเลียม
ระบบการขนส่ งปิ โตรเลียมและนํ้ามันเชื้อเพลิงทางท่อ
อุอตสาหกรรมเกี ่ยวกับนํ้าตาล
ตสาหกรรมเกยวกบนาตาล
เจ้
เจาของโครงการ
าของโครงการ

 เห็นความสํ าคัญของ EIA และปฏิบัตใิ ห้ เป็ นไปตามมาตรการ


 มีความรับผิดชอบต่ อสั งคมและประชาชนทีอ่ ยู่โดยรอบ
 ( CSR – Corporate
C t Social
S i l Responsibility)
R ibilit )
 ให้ ความสํ าคัญต่ อกระบวนการมีส่วนร่ วมของประชาชนตั้งแต่ เริ่ม
จัดทําโครงการ

“ผู้ใดเป็ นผู้ก่อมลพิษ ผู้น้ันต้ องรับผิดชอบ”


(Polluter Pays Principle)
• หลักั การผู้ก่อมลพิษิ คือื ผู้จ่าย คือื ผู้ก่อใให้้ เกิดิ มลพิษิ ควรเป็ป็ น
ผู้รับผิดชอบในความเสี ยหาย
• การผู้รับผิดชอบในความเสี ยหายมี 4 ชนิดใหญ่ ได้ แก่
• 1)) เก็บ็ เงินิ คามลพิ
่ ษิ
• 2) สร้ างระบบเบีย้ ประกัน จููงใจให้ มเี บีย้ ประกันลดลง
• 3) เงินอุดหนุน เช่ น ลดภาษี เงินกู้ดอกเบีย้ ตํา่
• 4) ปรั
ป ับใในการกระทําํ ผิดิ ปิ ดโรงงาน

ประโยชน์ ของระบบมาตรฐาน ISO 14000
ประโยชนของระบบมาตรฐาน
☺ทรัพยากรธรรมชาติสามารถนํามาใช้ ให้ เกิดประโยชน์ ได้ มากทีส่ ุ ด
☺ลดปริมาณของเสี ยภายในโรงงาน ลดค่ าใช้ จ่ายในการบําบัดของเสี ย
☺เพิม่ ประสิ ทธิภาพในกระบวนการผลิต
☺เพมประสทธภาพในกระบวนการผลต
☺เพิม่ ศักยภาพในการแข่ งขันการตลาด โดยเฉพาะสิ นค้ าส่ งออก
☺ ้
☺สรางภาพพจนทดแกผู
์ ี่ ี ่ ้ ประกอบ ในการมสวนรวมรกษาสงแวดลอม
ใ ี่ ่ ั ิ่ ้
☺ขจัดปัญหา ขอเรียกร้ องจากชุมชน กรณีพพิ าทด้ านกฎหมายสิ่ งแวดล้ อม
การใช้ เทคโนโลยีสะอาด (Clean Technology)
การใช้
ใ ้ กรรมวิธิ ีหรืือกระบวนการผลิติ
ทีไ่ ม่ ก่อให้ เกิดกากของเสี ยหรือเกิดน้ อยทีส่ ุ ด(Waste Minimization)
เน้ นการป้ องกัน (Prevention and Precaution)

มาตรฐานว่ าด้ วยการจัดการด้ านสิ่ งแวดล้ อม


ถูถกกํ
กกาหนดโดย
าหนดโดย องค์
องคกรระหวางประเทศ
กรระหว่ างประเทศ
เพื่อการจัดทํามาตรฐาน (The International Organization for Standardization :ISO)
ทีี่เรีี ยก อนุกรมมาตรฐาน ISO 14000
เป็ นมาตรฐานทีว่ ่ าด้ วยการจัดระบบโครงสร้ างองค์ กร ระเบียบปฎิบัติ
กระบวนการและทรัพยากร เพือ่ การจัดการสิ่ งแวดล้ อมอย่ างมีประสิ ทธิภาพ
เป็ นทีย่ อมรับและนํามาใช้ ปฏิบัตใิ นระดับสากล
เปนทยอมรบและนามาใชปฏบตในระดบสากล
หลักการของ ISO 14000

THE END

You might also like