You are on page 1of 10

บทความวิจัย วารสารวิชาการ วิศวกรรมศาสตร์ ม.อบ.

ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2559 1

การประยุกต์ด้วยวิ ธีการทากุชิสาหรับค่าที่ดีที่สดุ ของกระบวนการกลึงชิ้ นงาน


ประกอบเพลาโดยผลกระทบของค่าพารามิ เตอร์ในเครื่องจักรที่ใช้ในการผลิ ต
Application of Taguchi Method for Optimizing Shaft Work Piece Assembly
Turning Process by the Effects of Machining Parameters
สุรพงศ์ บางพาน* พีรพันธ์ บางพาน นฤเบศร์ นางเมาะ พงศ์สวุ รรณ จันตาธิ
สาขาวิชาเทคโนโลยีอุตสาหการ สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา อ.เมือง จ.เชียงใหม่ 50300

Surapong Bangphan* Phiraphan Bangphan Naruebate Nangmor Phongsuwan Chantathi


Program of Industrial Technology, Department of Industrial Engineering, Faculty of Engineering,
Rajamangala University of Technology Lanna Chiang Mai Campus, Chiang Mai, Thailand, 50300
Tel: 0-5392-1444, Fax: 0-5321-3183 E-mail: pong_pang49@yahoo.com

บทคัดย่อ Abstract
ธรรมเนี ย มปฏิบ ัติท่ีผ่ า นมาวิธีก ารทากุ ชิถู ก ใช้ก ัน The traditional Taguchi method is widely used
อย่ า งแพร่ ห ลายส าหรั บ หาค่ า ที่ ดี ท่ี สุ ด พารามิ เ ตอร์ for optimizing the process parameters of a single
กระบวนการของปญั หาผลตอบแบบเดียว ค่าทีด่ ที ส่ี ุดด้วย response problem. Optimization of a single response
ผลลัพธ์ของผลตอบแบบเดียวทีเ่ ป็ นค่าทีไ่ ม่ดที ส่ี ุดสาหรับ results the non-optimum values for remaining. In
ค่าคงเหลืออยู่ ในการวิจยั นี้ วิธกี ารทากุชเิ ป็ น การใช้และ this research, the Taguchi method is used to find the
การค้นหาค่าพารามิเตอร์ของกระบวนการทีด่ ที ส่ี ุดสาหรับ optimal process parameters for turning process that
กระบวนการกลึง ที่ใช้เป็ นผลที่ได้จากการผลิตชิ้นงานที่ was used to produce a shaft work piece product. An
เป็ นเพลา ตารางแนวฉาก ผลกระทบหลัก อัตราส่วน S/N orthogonal array (OA), main effect, signal-to-noise
และการวิเ คราะห์ค วามแปรปรวน จะถู ก น ามาใช้แ ละ (S/N) ratio, and analysis of variance (ANOVA) were
สารวจในกระบวนการกลึงโดยการหาค่าพารามิเตอร์ ของ employed to investigate the turning process by the
เครื่องจักรทีใ่ ช้ในการผลิตที่มผี ลกระทบ ในงานวิจยั นี้ไม่ effects of machining parameters. This research, not
เพีย งหาค่ า พารามิเ ตอร์ ข องกระบวนที่ดีท่ีสุ ด ส าหรับ only can the optimal process parameters for shaft
กระบวนการกลึง ชิ้น ส่ ว นประกอบชิ้น งานที่เ ป็ น เพลา work piece assembly turning process be obtained,
เท่านัน้ แต่ยงั หาค่าพารามิเตอร์ทเ่ี ป็ นผลกระทบหลักของ but also the main process parameters that affect the
สมรรถนะเครื่องกลึงในการกลึงอีกด้วย ผลลัพธ์ทไ่ี ด้จาก turning performance of the shaft can be found.
การทดลองจะอยู่ภายใต้เงื่อนไขตลอดจนการยืนยันผลที่ Experimental results are provided to confirm the
ได้อย่างมีประสิทธิภาพด้วยวิธกี ารทากุชนิ ้ี effectiveness of this approach.
คาหลัก วิธกี ารทากุชิ กระบวนการกลึง ค่าพารามิเตอร์ Keyword: taguchi method, turning process,
ของเครื่องจักร ชิน้ งานประกอบเพลา ผลกระทบ machining parameter, shaft work piece assembly,
effect.
2 บทความวิจัย วารสารวิชาการ วิศวกรรมศาสตร์ ม.อบ. ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2559

1. บทนา
เครื่องกลึง (turning) เป็ นเครื่องจักรทีท่ างานโดยจับ
ยึดชิ้น งานให้แน่ นและชิ้นงานหมุ นเพื่อ ทาการตัด เฉือ น
โลหะชิ้นงานที่ถูกตัดเฉือนด้วยเครื่องกลึงซึ่งจะเคลื่อนที่
ไปตามความยาวของชิ้นงานที่ทาการตัดเฉือน การกลึง
ตัดเฉือนประกอบด้วย การกลึงปาดหน้า ลบคม กลึงปอก
กลึงเกลียว ตลอดจนการเจาะชิ้นงานบนเครื่องกลึงเป็ น
ต้น ซึง่ ต้องอาศัยความเร็วรอบ อัตราการป้อน และความ รูปที่ 2 ส่วนต่าง ๆ ของมีดกลึงปอกขวา [1]
ลึกในการตัดเฉือน รวมทัง้ น้ าหล่อเย็นทีช่ ่วยให้การกลึงมี
ประสิทธิภาพ เครื่องกลึงจึงนิยมใช้กนั อย่างแพร่หลาย รูป ร่ า งและลัก ษณะต่ า งๆ ของมีด กลึง อธิบ ายตาม
สามารถทาการผลิตได้หลากหลายรูปแบบส่วนเครื่องกลึง หมายเลขดังนี้
ทีใ่ ช้ในการทดสอบหาประสิทธิภาพแสดงดังรูปที่ 1 1) ความยาวคมตัด
1.1 มีดกลึง (cutting tool ) 2) ลาตัว
มี ด กลึ ง ที่ ใ ช้ ง านโดยทั ว่ ไป จะท ามาจากเหล็ ก 3) คมตัด
เครื่องมือ (tool steel) ทีต่ ้องทนความร้อนได้สงู มีความ 4) ปลายคมตัด
เหนี ย ว มีค วามแข็ง ตัว อย่ า งเช่ น เหล็ก รอบสูง (high 5) คมตัดด้านหน้า
speed steel) ทังสเตนคาร์ไบต์ (carbide tip) หรือเซรา 6) ผิวข้างของคมตัด
มิก (ceramic) เป็ น ต้น รูป ร่า งลักษณะมีด กลึง ที่ทาจาก
เหล็กรอบสูงจะมีทงั ้ ชนิดทีเ่ ป็ นแท่งใหญ่ไม่ต้องใช้ดา้ มจับ
ในขณะทางานและแท่งขนาดเล็กต้องอาศัยด้ามจับขณะ
ทางาน แต่ในงานวิจยั นี้จะเลือกมีดกลึง ชนิดเป็ นแท่งใหญ่
ไม่ต้องใช้ดา้ มจับทีท่ าจากวัสดุเหล็กรอบสูง (high speed
steel) แสดงดังรูปที่ 2 ส่วนรูปที่ 3 ตัวอย่างการกลึงปอก
ชิน้ งานด้วยมีดกลึงคมตัดขวา (right hand tool)
รูปที่ 3 ตัวอย่างการกลึงปอกขวา [1]

ในการกลึงประกอบด้วยความเร็ว และการเคลื่อนที่
ของเครื่ อ ง มื อ ตั ด เฉื อ นที่ เ ป็ นลั ก ษณะเฉพาะของ
ค่าพารามิเ ตอร์ท งั ้ หลาย ค่ าพารามิเตอร์ท่ที าการเลือ ก
สาหรับ แต่ ล ะพื้น ฐานในการท างานจะขึ้น อยู่ ก ับ วัส ดุ ท่ี
นามาทาชิ้นงาน วัสดุเครื่องมือ ขนาดเครื่องมือและค่า
ต่างๆที่เกี่ยวข้องกับการกลึง ค่ าพารามิเตอร์ในการกลึง
ชิ้นงานจะมีผลกระทบต่อกระบวนการปฏิบตั ิงานดังเช่น
[1-3]
1) ความเร็วในการตัด ความเร็วของผิวชิน้ งานจะมี
รูปที่ 1 เครือ่ งกลึงทีใ่ ช้ในการหาประสิทธิภาพการทดสอบ [1] ความสัมพันธ์กบั มุมขอบของเครื่องมือตัดเฉือนในระหว่าง
ท าการตั ด การวัด ผิ ว ชิ้ น งานหน่ ว ยเป็ น ฟุ ต ต่ อ นาที
(FSM)
2) ความเร็วเพลาหมุน ความเร็วในการหมุนของ
บทความวิจัย วารสารวิชาการ วิศวกรรมศาสตร์ ม.อบ. ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2559 3

เพลาหมุ น กับ ชิ้น งานหน่ ว ยเป็ น รอบต่ อ นาที (rev/min) 1.3 อัตราการกาจัดเศษ (Material Removal Rate,
ความเร็วเพลาหมุนต้องสัม พันธ์ก ับความเร็วในการตัด MRR)
เฉือนในขณะทีห่ มุนรอบของชิน้ งาน ทัง้ นี้ขน้ึ อยู่กบั ขนาด อัตราการกาจัดเศษ (MRR) คือน้ าหนักเริม่ ต้นของ
ที่ท าการตัด เฉื อ น ในการตัด เฉื อ นจ าเป็ น ต้ อ งควบคุ ม ชิ้นงานลบด้วยน้ าหนักสุดท้ายหลังจากทาการตัดเฉือน
ความเร็วตัดเฉือน ความเร็วเพลาหมุนอาจจะแปรผันตาม หารด้ ว ยเวลาที่ ใ ช้ ใ นการตัด เฉื อ น เช่ น ชิ้ น งานที่ 1
แรงการตัดเฉือนขนาดของชิน้ งานในขณะที่นาเครื่องมือ น้าหนักเริม่ ต้นเท่ากับ 1,210 กรัม ลบด้วยน้าหนักสุดท้าย
มาตัดเฉือน ถ้าความเร็วเพลาหมุนคือค่าทีก่ าหนดดังนัน้ ทีท่ าการตัดเฉือนเท่ากับ 800 กรัม โดยหารด้วยเวลาที่
ค่าความเร็วตัดเฉือนจะมีความผันแปรตามไปด้วย ใช้ในการตัดเฉือนเท่ากับ 45.81 วินาที จะได้อตั ราการ
3) อัตราการป้อน ความเร็วของเครื่องมือตัดเฉือน กาจัดเศษอยู่ท่ี 8.95 เป็ นต้น ส่วนการพิจารณาปรับแก้
ในการเคลื่อ นที่จ ะมีค วามสัม พัน ธ์ก ับ ชิ้น งานตามที่ใ ช้ ไขด้วยอัตราส่วน S/N จะใช้โปรแกรม Minitab release
เครื่องมือในการตัดเฉือน อัตราการป้อนจะทาการวัดเป็ น 15.00 มาช่วยในการคานวณ ซึง่ อัตราการกาจัดเศษหาได้
หน่วย มิลลิเมตรต่อรอบ (mm/rev) จากสมการที่ 1 ดังนี้
4) ระยะป้อนลึกความลึกสาหรับเครื่องมือระหว่าง
เส้ น รั ศ มี ข องชิ้ น งานในขณะที่ ท าการตั ด เฉื อ นของ MRR = น้าหนักเริม่ ต้น – น้าหนักสุดท้าย (1)
เครื่องจักร ระยะป้อนลึกขนาดความกว้างจะต้องการอัตรา เวลาทีใ่ ช้การผลิต
การป้ อนที่ต่ าหรือมิฉ ะนัน้ ความลึก ในการตัด เฉือ นมาก
เกินไปของเครื่องมือจะทาให้อายุคมมีดลดลง ดังนัน้ ใน ดังนัน้ งานวิจยั นี้เป็ นการนาเอาเทคนิควิธกี ารทากุชิ
การป้อนลึกโดยทัวๆ ่ ไปทีพ่ บบ่อยของเครื่องกลึงถ้ามีการ มาช่ว ยในการวิเคราะห์เ พื่อท าการตรวจสอบอัตราการ
้ปอนลึกมากเกินไปจะทาให้ผวิ ชิ้นงานไม่เรียบและทาให้ นาเอาเศษวัสดุออกจากชิ้นงานจากเหล็กเหนียวที่นามา
อายุคมมีดสัน้ ลงทัง้ นี้ข้นึ อยู่กบั ความเร็วรอบ อัตราการ ทดสอบโดยทดสอบกับมีดกลึงทีท่ ามาจากวัสดุเหล็กรอบ
ป้อน วัสดุท่นี ามาทามาการตัดเฉือน และวัสดุท่ีนามาทา สูง โดยปจั จัยทีค่ วบคุมได้แก่ ความเร็วเพลาหมุน อัตรา
มีดกลึง รวมทัง้ น้าหล่อเย็น เป็ นต้น [1-3] การป้ อนและระยะป้ อนลึ ก เพื่ อ วิ เ คราะห์ ผ ลที่ ไ ด้ ก ั บ
1.2 วัสดุชิ้นงานที่ทาการศึกษา กระบวนการกลึงชิน้ งานด้วยเครื่องกลึงทีใ่ ช้ในการผลิต
วัสดุทน่ี ามาทาชิน้ งานจะเลือกเหล็กเหนียวสาหรับทา การออกแบบการทดลองโดยวิธีทากุชิ เป็ นการ
การทดลองเพื่อ หาค่ า ที่ดีท่ีสุ ด ต่ อ อัต ราการก าจัด เศษ ประยุกต์การออกแบบการทดลอง ปจั จัยควบคุม(control
(Material Removal Rate, MRR) โดยทีว่ สั ดุช้นิ งานมี factor) ปจั จัยทีค่ วบคุมไม่ได้ (uncontrollable factor)
ขนาดเส้นผ่า นศูนย์กลางเท่ากับ 50.8 มิลลิเมตร ความ หรือ Noise Factor ซึง่ ตัวแปรเหล่านี้ยงั เป็ นแหล่งของ
ยาวทัง้ หมดเท่ากับ 80 มิลลิเมตรและส่วนทีต่ ้องการวัดค่า ความผันแปรอีกด้วย ซึง่ อิทธิพลทีเ่ กิดจากตัวแปรเหล่านี้
ได้ทาการกลึงปอกความยาวเท่ากับ 30 มิลลิเมตรและกลึง ไม่สามารถที่จะกาจัดได้ เพราะฉะนัน้ หน้ าที่หลักของ
ลดขนาดให้เ หลือ เส้นผ่า นศูน ย์กลางเป็ น 22 มิลลิเ มตร วิธกี ารทากุชิ คือการลดความผันแปรของผลิตภัณฑ์ โดย
แสดงดังรูปที่ 4 ทาการเลือกปรับปจั จัยควบคุม (control factor) ผลการ
ทดลองจากข้อมูลดิบจะถูกแปลงให้อยู่ในรูปของอัตราส่วน
 ของ Signal to Noise (S/N Ratio) ซึง่ มีความสาคัญเป็ น
50.8  22 mm. อย่างมาก ในการหาเป้าหมายทีถ่ ูกต้องเพื่อหาค่าทีด่ ที ส่ี ุด
mm.
(optimize) โดยทีค่ ุณลักษณะของ S/N Ratio สามารถ
30 mm.
แบ่งออกได้เป็ น 3 ชนิด คือ Smaller - the - Better Type
mm.
Problem, Nominal - the - Best - Type Problem และ
80 mm. Larger - the - Better Type Problem และประโยชน์ทไ่ี ด้
รูปที่ 4 ตัวอย่างขนาดชิน้ mm.
งานทีจ่ ะทาการกลึงปอกเพือ่ ลดขนาด จากวิธกี ารทากุชเิ ป็ นการช่วยลดจานวนของการทดลอง
ทาให้ประหยัดเวลา และ ต้นทุนในการทดลอง ช่วยทาให้
4 บทความวิจัย วารสารวิชาการ วิศวกรรมศาสตร์ ม.อบ. ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2559

การทดลองง่ายสะดวกยิง่ ขึน้ และให้ผลลัพธ์ทน่ี ่าเชื่อถือได้ Orthogonal Array อย่างเหมาะสม ตามรูปที่ 5 ดัง


ทาให้ผลิตภัณฑ์มคี วามเชื่อมันมากขึ
่ น้ [1-3] ขัน้ ตอนต่อไปนี้
พิจ ารณาตัว แปรที่มีผ ลต่ อ กระบวนการกลึง ด้ว ย
2. วิ ธีการดาเนิ นการทดลอง เครื่องกลึง ประกอบด้วย 3 ตัวแปร 3 ระดับ แสดงดัง
2.1 ขัน้ ตอนการทดสอบเพื่อหาประสิ ทธิ ภาพ ตารางที่ 1 ส่วนตัวแปรทีไ่ ม่ต้องการศึกษาจะต้องกาหนด
วิธีการควบคุมตัวแปรเพื่อให้ความแปรปรวนเนื่องจาก
เตรียมวัสดุ ปัจจัยควบคุม
- เหล็กเพลาเหนียวจานวน 9 ชิน้ -คว า มเ ร็ ว เ พ ล า ปจั จัยภายนอก เกิดขึน้ น้อยที่สุดเช่น อุณหภูมภิ ายนอก
หมุน และสถานทีท่ าการทดลองตลอดจนผูป้ ฏิบตั งิ าน เป็ นต้น
-อัตราการป้อน
-ระยะป้อนลึก ั ยและพารามิเตอร์ต่าง ๆ ทีใ่ ช้ในการทดลอง
ตารางที่ 1 ปจจั
ทดสอบหาประสิ ทธิ ภาพ ั ยควบคุม
ปจจั ระดับการทดลอง MRR
ตามที่ได้ออกแบบไว้ด้วย 1 2
วิ ธีการทากุชิ
ความเร็วเพลาหมุน 220 840 -
ทาการตรวจวัดและ (rev/min)
ตรวจสอบด้วยสายตา อัตราการป้อน 0.221 0.476 -
ตรวจสอบหา (mm/rev)
ค่าที่ดีที่สุด ระยะป้อนลึก 0.5 1.0 -
(mm)

หมายเหตุ : ระดับการทดลองได้กาหนดไว้ท่ี 2 ระดับ ทัง้


ด้วยค่าอัตราการ
ไม่เหมาะสม 3 ปจั จัยประกอบด้วยความเร็วเพลาหมุน ระดับที่ 1 และ
กาจัดเศษน้ อย 2 เท่ากับ 220 และ 840 รอบต่อนาที (ความเร็วเพลาหมุน
ที่สุด
ของเครื่องกลึงอยู่ระหว่าง 220 ถึง 840 รอบต่อนาที) ,
อัตราการป้อน ระดับที่ 1 และ 2 คือ 0.221 และ0.476
เหมาะสม
มิลลิเมตรต่อรอบ(โดยปกติอตั ราการป้อนที่เหมาะสมอยู่
ในช่วงระหว่าง 0.221 ถึง 0.476 มิลลิเมตรต่อรอบ) ส่วน
สรุปเขียนรายงาน
ถ้าค่าที่ได้มคี วามเหมาะสมจาก ระยะการป้อนลึกระดับที่ 1 และ 2 เป็ น 0.5 และ 1.0
ป ัจ จั ย ที่ ท า กา รควบ คุ ม หลั ง
จากนัน้ จะทาการวิเคราะห์ความ มิลลิเมตร (ในการกาหนดระยะการป้อนลึกอยู่ระหว่าง 0.5
แปรปรวน วิเคราะห์การถดถอย ถึง 1.0 มิลลิเมตร เพราะว่ามีดกลึงทาจากเหล็กรอบสูง
และสัม ประสิ ท ธิ ก์ ารตั ด สิ น ใจ
ต่อไปเพื่อสรุปและเขียนรายงาน
และวัสดุทท่ี าการทดลองเป็ นเหล็กเหนียว) ทัง้ นี้ขน้ึ อยู่กบั
ปจั จัยอื่นๆทีเ่ กี่ยวข้องในการผลิต ดังเช่น มุมมีดกลึง(ใน
รูปที่ 5 ขันตอนการทดสอบของกระบวนการกลึ
้ งเพือ่ หาค่าทีด่ ที ส่ี ุด งานวิจยั นี้ได้มกี ารปรับค่าการลับมุมมีดให้เหมาะสมกับ
ด้วยวิธกี ารทากุช ิ [1-2] ชิ้นงานโดยที่มุมตัดลดลงอีกประมาณ 0.5 องศาและมุม
คลายปรับค่าลงตามมาตรฐานอีก 0.5 องศาเช่นกัน และ
เมื่อผู้ออกแบบการทดลองทราบจานวนของปจั จัย ตัว เครื่อ งกลึง ต่ อ กระบวนการผลิต แสดงดัง รูป ที่ 1 ได้
ควบคุม (control factor) และระดับของปจั จัยควบคุม ปรับแต่งอย่างเหมาะสมต่อการทดลองเป็ นทีเ่ รียบร้อย อีก
(control factor level) ทีไ่ ด้ออกแบบไว้ ก็จะนาค่าทัง้ สอง ทัง้ ยังมีปจั จัยหนึ่งทีม่ ผี ลต่อการทดสอบคืออุปกรณ์ในการ
นี้มาทาการพิจารณาเลือกใช้ชนิด Orthogonal Array การ วัดค่า เช่ น เวอร์เนียร์คาลิปเปอร์ไ ด้มีการปรับค่า อย่า ง
ใช้ Orthogonal Array จะทาให้สามารถหาอิทธิพลของ เหมาะสมแล้วเช่นกัน)
ป จั จัย ที่มีห ลายป จั จัย ได้ อ ย่ า งมี ป ระสิท ธิภ าพในการ
ก าหนดป จั จัย ควบคุ ม หรือ ตัว แปรที่ไ ด้อ อกแบบไว้ใ น
บทความวิจัย วารสารวิชาการ วิศวกรรมศาสตร์ ม.อบ. ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2559 5

2.2 การออกแบบการทดลองโดยวิ ธีการทากุชิ กาหนดให้ขอ้ มูลมีความละเอียดมากสุดของปจั จัยทัง้ หมด


2.2.1 วิธกี ารทากุชิ ทีม่ ผี ลกระทบต่อสมรรถนะของค่าพารามิเตอร์ท่นี ามาทา
วิธกี ารทากุชเิ ป็ นเทคนิคสาหรับการออกแบบและทา การทดลองของกระบวนการ [7]
การทดลองตลอดจนเป็ นกระบวนการเพื่อค้นหาผลลัพธ์ท่ี 2.3 การคานวณ
เกิดขึน้ ที่ได้จ ากปจั จัยในการนามาทาการศึกษาทดลอง หลัง จากเลือ กข้อ มู ล ท าการวิเ คราะห์ ห าค่ า เฉลี่ ย
(ตั ว แปรน าเข้ า ) วิ ธี ก ารทากุ ชิ คื อ สิ่ง ที่ ต้ อ งการการ สาหรับการคานวณด้วยอัตราส่วน S/N อัตราส่วน S/N
ออกแบบซึ่ง เป็ น ขัน้ ตอนสุ ด ท้ า ยโดยได้ ท าการเลือ ก คือความเข้าใจทางด้านคุณภาพซึง่ มุ่งเน้นไปทีผ่ ลกระทบ
สมรรถนะทีด่ ที ส่ี ดุ ภายใต้เงื่อนไขทีไ่ ด้กาหนด เครื่องมือที่ ส าหรั บ การเปลี่ ย นแปลงโดยค่ า พารามิ เ ตอร์ ข อง
ใช้สาหรับวิธกี ารทากุชกิ ค็ อื Orthogonal array (OA) OA กระบวนการในสมรรถนะของกระบวนการหรือผลผลิตที่
เป็ นระบบ เมตริกส์ข องจานวนข้อกาหนดในระดับ แถว ได้จากการประเมิน ดังนัน้ ข้อกาหนดในการปรับของการ
และคอลัมส์ วิธกี ารทากุชคิ อื การใช้อตั ราส่วนแบบ Signal วัด เรีย กว่ า signal-to-noise อัต ราส่ว น S/N เป็ น การ
- to - noise (S/N) จะหาจานวนของตัวแปรทีม่ อี ยู่ S/N รวมเข้าด้วยกันระหว่างค่าเฉลีย่ และค่าเบีย่ งเบนมาตรฐาน
คือค่าเฉลีย่ ทีใ่ ช้ในการวัดของผลกระทบของปจั จัย noise การวัดค่าของข้อมูลที่นามาวิเคราะห์ด้วยการออกแบบ
ตามลักษณะของสมรรถนะของตัวแปร และจะทาการวัด robust ซึง่ คุณลักษณะของ อัตราส่วน S/N แบ่งได้เป็ น 3
ค่าทัง้ สองคือ S/N ของจานวนตัวแปรในข้อมูลของผล ชนิด ดังทีก่ ล่าวมาแล้วข้างต้นนัน้ สามารถคานวณได้ดงั นี้
ตอบและเพื่อให้เข้าใกล้ค่าเฉลี่ยผลตอบของเป้าหมายที่
ต้องการทีส่ ดุ [1-2,4] ปัญหาชนิ ด Smaller - is - Better
ทากุชไิ ด้เสนอ 8 ขัน้ ตอนมาตรฐานดังนี้ เป็ นการสมมติอตั ราส่วน S/N ของค่าเป้าหมายนัน้ ๆ
1. จาแนกการดาเนินงานหลัก ซึง่ อาจจะส่งผล สาหรับผลตอบทีเ่ ป็ นศูนย์และเป็ นค่าทีเ่ หมาะสมเมื่อแสดง
กระทบข้างเคียงและโหมดความเสียหายทีจ่ ะเกิดขึน้ รายละเอียดเฉพาะพิกดั ความเผื่อจากัดด้านบนหาได้จาก
2. จาแนกปจั จัย Noise ภายใต้เงื่อนไขของการ สูตรสมการที่ (2) ดังนี้
ทดสอบ และลักษณะเฉพาะของคุณภาพ 1 n 
S / N S  10 log  yi2  (2)
3. จาแนกเป้าหมายของการดาเนินงานจนได้ค่าทีด่ ี  n i 1 
ทีส่ ดุ
4. จาแนกปจั จัยควบคุมและระดับต่างๆ ปัญหาชนิ ด Larger-is-Better
5. เลือก การทดลองเมตริกส์แบบ Orthogonal เป็ นการสมมติอตั ราส่วน S/N เป้าหมายคือค่าสูงสุด
Array ของผลตอบและเป็ นค่าทีเ่ หมาะสมเมื่อแสดงรายละเอียด
6. ดาเนินการทดลองแบบเมตริกส์ เฉพาะพิกดั ความเผื่อจากัดด้านล่างหาได้จากสูตรสมการ
7. วิเคราะห์ขอ้ มูล ทานายผลในระดับทีค่ าดหวัง ที่ (3) ดังนี้
และสมรรถนะขบวนการทีด่ ที ส่ี ดุ
1 1 
8. ดาเนินการทดลองเพื่อพิสจู น์หาความจริง S / N L  10 log  2  (3)
n yi 
และวางแผนการดาเนินงานในอนาคต [1-2, 6]
2.2.2 นิยามของวิธกี ารทากุชิ (definition of Taguchi
ปัญหาชนิ ด Target-Value-is-Best
method)
เป็ นการสมมติอตั ราส่วน S/N นัน้ ให้ค่าเป้าหมาย
ทากุชเิ ป็ นการคิดค้นวิธใี หม่โดยดาเนินการออกแบบ
คือ ค่ า ดีท่ีสุ ด และเป็ น ค่ า ที่เ หมาะสมเมื่อ ค่ า นั น้ เป็ น ค่ า
การทดลอง วิธีก ารทากุ ชิใ ช้ ก ารจัด ล าดับ แบบพิเ ศษ
เป้าหมาย กับค่าพิกดั ความเผื่อจากัดด้านบนและด้านล่าง
เรียกว่า ลาดับของ Orthogonal มาตรฐานการจัดลาดับ
หาได้จากสูตรสมการที่ (4) ดังนี้
เป็ นการกาหนดทีเ่ ป็ นแนวทางการดาเนินงานของจานวน
ตัว เลขที่มี ค่ า น้ อ ยสุ ด ส าหรับ การทดลองซึ่ ง สามารถ

S / N N  10 log y / S 2
2
 (4)
6 บทความวิจัย วารสารวิชาการ วิศวกรรมศาสตร์ ม.อบ. ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2559

ในงานวิจ ัย นี้ จึง เลือ กเป้ าหมายของการทดลอง ตารางที่ 3 Taguchi Orthogonal Array
สาหรับสถานการณ์ Smaller-is-Better เนื่องจากต้องการ ลาดับ ปจั จัย MRR
ทดลอง
ผลลั พ ธ์ คื อ อั ต ราการก าจั ด เศษน้ อ ยที่ สุ ด ได้ มี ก าร
1 1 1 1 -
ปรับเปลีย่ นค่าปจั จัยทีท่ าการศึกษาทัง้ นี้เพื่อให้เหมาะสม
2 1 1 2 -
กับชิน้ งานทีน่ ามาทาการทดลองดังนัน้ จึงเลือกการทดลอง 3 2 2 1 -
ด้วยวิธี Smaller-is-Better 4 2 2 2 -
2.3.1 ศึ ก ษาป จั จัย ที่ เ หมาะสมต่ อ การกลึ ง ด้ ว ย 5 1 2 1 -
กระบวนการกลึงสาหรับมีดกลึงที่ทามาจากเหล็กรอบสูง 6 1 2 2 -
กับชิน้ งานทีเ่ ป็ นวัสดุเหล็กเหนียวโดยวิธกี ารทากุชิ 7 2 1 1 -
การออกแบบการทดลองด้วยวิธี Taguchi ในการ 8 2 1 2 -
ทดลองนี้ได้ศึกษาปจั จัยที่มีผลต่ อกระบวนการกลึงด้วย
เครื่องกลึงกับมีดกลึง และชิ้นงานที่นามาทดสอบ ซึ่งมี 3. อภิ ปรายผล
ทัง้ หมด 3 ปจั จัยโดยแต่ละปจั จัยมี 2 ระดับ ใช้ 3.1 ศึกษาประสิ ทธิ ภาพของกระบวนการกลึงด้วย
Orthogonal array (OAs) แบบ L-8 (23) ทาการทดลอง เครือ่ งกลึงกับมีดกลึงที่ทาจากเหล็กรอบสูง
ครัง้ แรกและทาการทดลองซ้าครัง้ ทีส่ องและยืนยันผลการ เมื่อท าการกลึงชิ้นงานด้วยเครื่อ งกลึง ที่วสั ดุ ทามีด
ทดลองในการหาประสิทธิภาพ ดังนัน้ จึงได้ทาการทดลอง กลึงเป็ นเหล็กรอบสูง และนาไปทดสอบหาประสิทธิภาพ
เท่ากับ 16 รัน(run) และยืนยันผลการทดลองอีก 5 รัน ของอัตราการกาจัดเศษตามสภาวะทีไ่ ด้จากการออกแบบ
(run) ประกอบด้วยจานวนการทดลองทีข่ น้ึ อยู่ก ับระดับ โดยวิธกี ารทากุชทิ งั ้ 8 การทดลอง และนาชิน้ งานทีไ่ ด้มา
ของปจั จัยที่กาหนดแสดงดังตารางที่ 2 และตารางที่ 3 ทาการวัดเพื่อหาค่าน้ าหนักและจากการจับเวลา ส่วน
การจัดวางลาดับแบบ Orthogonal L-8 (23) Array ทีใ่ ช้ใน เวลาในการกลึงเป็ นการบันทึกโดยการจับเวลาและวัดค่า
การศึกษาครัง้ นี้ [1-2,4] สุ ด ท้า ยของการกลึง งานทัง้ หมด อัต ราการก าจัด เศษ
(Material removal rate, MRR) เป็ นการคานวณโดยใช้
ตารางที่ 2 L-8 (23) Orthogonal Array ความสัมพันธ์ระหว่าง (น้าหนักเริม่ ต้น - น้ าหนักสุดท้าย /
ลาดับ ปจั จัย MRR เวลาในการกลึง) และจากการวิเคราะห์พบว่าการทดลองที่
ทดลอง ทาให้ได้ค่าสภาวะเหมาะสมทีส่ ดุ ผิวดีทส่ี ดุ คือ การทดลอง
1 220 0.221 0.5 -
ที่ 5 โดยมีปจั จัยทีห่ นึ่งได้แก่ ความเร็วเพลาหมุ น 220
2 220 0.221 1.0 -
3 840 0.476 0.5 -
รอบต่อนาที ปจั จัยทีส่ องคืออัตราการป้อนเท่ากับ 0.476
4 840 0.476 1.0 - มิลลิเมตรต่ อรอบและปจั จัยที่สามเป็ นระยะการป้อนลึก
5 220 0.476 0.5 - 0.50 มิลลิเมตร ได้อตั ราการกาจัดเศษเป็ น 9.45 กรัมต่อ
6 220 0.476 1.0 - นาทีแต่ใช้เวลา 41.269 นาที ผิวชิน้ งานดีทส่ี ุด ทดลองซ้า
7 840 0.221 0.5 - ผลแสดงดังตารางที่ 6 และเพื่อให้มคี วามมันใจเพิ ่ ม่ มาก
8 840 0.221 1.0 - ยิง่ ขึน้ ได้ทาการทดลองซ้าเฉพาะในลาดับการที่ 1 อีก 5
รัน (run) พบว่าค่าเฉลี่ยที่ได้ในส่วนของอัตราการกาจัด
2.3.2 Taguchi orthogonal array เศษเท่ากับ 8.95 กรัมต่อนาที ใช้เวลาเฉลีย่ เป็ น 45.81
การจัดวางลาดับ Orthogonal ของทากุชิเป็ นการ นาที ส่ ว นอัต ราการก าจัด เศษสูง ที่สุ ด อยู่ ท่ีล าดับ การ
ออกแบบโดยกาหนดค่าปจั จัย เท่ากับ 3 ตัวแปร และ 2 ทดลองที่ 8 โดยมีปจั จัยทีห่ นึ่งได้แก่ ความเร็วเพลาหมุน
ระดับเพื่อทาการทดลองทีใ่ ช้กบั พารามิเตอร์ในการกลึงจะ 840 รอบต่อนาที ปจั จัยที่สองคืออัตราการป้อนเท่ากับ
ทาการทดสอบโดยใช้โปรแกรม Minitab release 15.00 0.221 มิลลิเมตรต่อรอบและปจั จัยที่สามเป็ นระยะการ
มาช่วยในการคานวณแสดงดังตารางที่ 3 ป้อนลึก 1.00 มิลลิเมตร ได้อตั ราการกาจัดเศษทีส่ งู ทีส่ ุด
เท่ากับ 75.47 กรัมต่อนาทีแต่ใช้เวลา เพียง 5.168 นาที
บทความวิจัย วารสารวิชาการ วิศวกรรมศาสตร์ ม.อบ. ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2559 7

ผิว ชิ้น งานที่ไ ด้ไ ม่ค่ อยจะดีเท่ าที่ค วร ส่ว นลาดับการ Main Effects Plot for SN ratios
Data Means

ทดลองทีเ่ หลือของแต่ละปจั จัยแต่ละระดับแสดงดังตาราง -20


SS FR

ที่ 4 -24

-28

Mean of SN ratios
-32

ตารางที่ 4 ค่าทีไ่ ด้จากการสังเกตในช่วงแรก 220 840 0.221 0.476


DC
-20
Job No. A B C D E F G H
-24
1 220 0.221 0.5 45.81 1,210 800 410 8.95
-28
2 220 0.221 1.0 35.18 1,200 810 390 11.09
-32
3 840 0.476 0.5 13.137 1,210 800 410 31.21
0.5 1.0
4 840 0.476 1.0 6.562 1,210 800 410 62.48
Signal-to-noise: Smaller is better
5 220 0.476 0.5 41.269 1,200 810 390 9.45
6 220 0.476 1.0 32.077 1,200 800 400 12.47 หมายเหตุ:
7 840 0.221 0.5 14.513 1,200 800 400 27.56 SS = ความเร็วเพลาหมุน
8 840 0.221 1.0 5.168 1,200 810 390 75.47
FR = อัตราการป้อน
หมายเหตุ:
DC = ระยะการป้อนลึก
A = Spindle speed (rev/min)
B = Feed rate (mm/rev)
C = Dept of cut (mm) รูปที่ 6 ผลกระทบสาหรับปจั จัยการควบคุมในอัตราส่วน S/N
D = Time (sec)
E = Initial weight (g) Main Effects Plot for Means
Data Means

F = Final weight (g) 50


SS FR

G = Different of weight (g) 40

30
H = Material removal rate (MRR) 20
Mean of Means

10
220 840 0.221 0.476

3.2 การวิ เคราะห์ผลลัพธ์ 50


DC

40
หลังจากหาค่าทัง้ หมดที่ได้จากการสังเกตแสดงดัง 30

ตารางที่ 4 อัต ราส่ ว น S/N และค่ า เฉลี่ย ได้ จ ากการ 20

10

คานวณและกราฟทีแ่ ต่ละปจั จัยและแต่ละระดับของปจั จัย 0.5 1.0

สาหรับทาการวิเคราะห์ อัตราส่วน S/N สาหรับค่า MRR


รูปที่ 7 ผลกระทบสาหรับปจั จัยการควบคุมในอัตราส่วน Mean
ที่ได้จากการคานวณด้วยโปรแกรม Minitab release
15.00 โดยวิธี ก ารทากุ ชิ ซ่ึง ในงานวิ จ ัย นี้ จ ะท าอยู่ บ น ตารางที่ 5 ผลลัพธ์และค่าทีไ่ ด้จากการสังเกตสาหรับเหล็กเหนียว
พื้นฐานการวิเคราะห์ท ัง้ หมดด้ว ยวิธีก ารทากุชิโดยการ NO. A B C MRR S/N MEAN
1 220 0.221 0.5 8.95 -18.6280 6.76
ตัดสินใจด้วยผลกระทบหลักสาหรับค่าพารามิเตอร์ของ
2 220 0.221 1.0 11.09 -21.3071 13.28
กระบวนการ ทาการดาเนินการด้วยการวิเคราะห์ความ 3 840 0.476 0.5 31.21 -29.4774 29.02
แปรปรวน (ANOVA) การวิเ คราะห์ส มั ประสิท ธิก์ าร 4 840 0.476 1.0 62.48 -36.3233 64.67
5 220 0.476 0.5 9.45 -19.9171 11.64
ถดถอย สัมประสิทธิการตั ์ ดสินใจ และการกาหนดเงื่อนไข 6 220 0.476 1.0 12.47 -21.5089 10.28
ค่าพารามิเตอร์ท่ดี ที ส่ี ุด การวิเคราะห์ผลกระทบหลักเป็ น 7 840 0.221 0.5 27.56 -29.2140 29.75
8 840 0.221 1.0 75.47 -37.1471 73.28
การนามาใช้ในการศึกษานี้ ส่วนแนวโน้มของผลกระทบ
แต่ละปจั จัยของ S/N แสดงดังรูปที่ 6 และผลกระทบแต่ละ 3.2.1 ทดลองซ้าการทดลอง
ปจั จัยของอัตราส่วน Mean แสดงดังรูปที่ 7 สมรรถนะ การทดลองครัง้ ทีส่ องเป็ นการทดลองซ้ากับปจั จัยเดิม
ของเครื่องจักรเป็ นปจั จัยสาคัญของการวิเคราะห์ความ ด้วยการดาเนินการตามขัน้ ตอนเดิมแสดงดังตารางที่ 6
แปรปรวนสาหรับแต่ละการทดลองของ L-8 ซึ่งสามารถ
คานวณโดยการคาดการณ์จากค่าทีส่ งั เกตแสดงดังตาราง
ที่ 5
8 บทความวิจัย วารสารวิชาการ วิศวกรรมศาสตร์ ม.อบ. ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2559

ตารางที่ 6 ค่าทีไ่ ด้จากการทดลองซ้า นัยสาคัญ 5% (0.05) สรุปว่าทัง้ สามปจั จัยและปจั จัยร่วม


Job No. A B C D E F G H ทัง้ สามไม่มผี ลต่อค่า S/N (ไม่มนี ยั สาคัญ)
1 220 0.221 0.5 45.86 1,210 800 410 8.94
2 220 0.221 1.0 35.104 1,200 810 390 11.11
3 840 0.476 0.5 13.282 1,210 800 410 30.87
ตารางที่ 8 การวิเคราะห์ความแปรปรวนสาหรับอัตราส่วน S/N
4 840 0.476 1.0 6.635 1,210 800 410 61.79
5 220 0.476 0.5 41.009 1,200 810 390 9.51 Analysis of Variance for S/N ratios
6 220 0.476 1.0 31.949 1,200 800 400 12.52 Source DF Adj SS Adj MS F P
7 840 0.221 0.5 14.488 1,200 800 400 27.61 SS 1 322.589 322.589 241.72 0.041
8 840 0.221 1.0 5.173 1,200 810 390 75.39
FR 1 0.108 0.108 0.08 0.823
DC 1 45.361 45.361 33.99 0.108
จากตารางที่ 6 ผลลัพธ์ทไ่ี ด้จากการซ้าการทดลองมี SS*FR 1 0.526 0.526 0.39 0.643
SS*DC 1 13.802 13.802 10.34 0.192
ความแตกต่างกันเพียงเล็กน้อยสาหรับเวลาทีท่ าการกลึง
FR*DC 1 0.591 0.591 0.44 0.626
และอัตราการกาจัดเศษลดลง ส่วนค่ าน้ า หนัก ก่อนและ Residual 1 1.335 1.335
หลังไม่ แตกต่ างกันมากนัก ทัง้ นี้อาจเกิดจากควบคุ ม Error
Total 384.312 384.312
กระบวนการกลึงและตรวจสอบอุปกรณ์เครื่องมือที่ใช้ใน
การทดลองและผู้ปฏิบตั ิงานจึงทาให้ค่าที่ได้มที งั ้ เพิม่ ขึ้น รูปแบบการประมาณค่าสัมประสิทธิส์ าหรับอัตราส่วน
และลดลงซึง่ ไม่มคี วามแตกต่างกันมากนัก S/N ค่า P-Value เท่ากับ 0.041 และการปรับค่ า
ในส่วนของการคานวณหาสัมประสิทธิความถดถอย
์ สัมประสิทธิการตั
์ ดสินใจเท่ากับ 97.6 % แสดงดังตารางที่
และการวิเคราะห์ความแปรปรวนแสดงดังตารางที่ 7 และ 7 ในการวิเ คราะห์ ค วามแปรปรวนจาก P-Value
8 ตามลาดับ อัตราส่วน S/N มีค่าน้อยกว่า 0.05 แสดงดังตารางที่ 8
ตารางที่ 7 หุ่นจาลองสัมประสิทธิ ์สาหรับอัตราส่วน S/N ส่วนสมการสัมประสิทธิการถดถอยส
์ าหรับ ค่าอัตราส่วน
Estimated Model Coefficients for SN ratios S/N ตามสมการที่ 5 คือ
Term Coef SE Coef T P
Constant -26.6904 0.4084 -65.348 0.010
SS 220 6.3501 0.4084 0.041 0.041 = -26.6904+SS220(6.3501)+ FR 0.221 (0.1163)
FR 0.221 0.1163 0.4084 0.285 0.823 + DC 0.5 (2.3812)+ SS220*FR0.221
DC 0.5 2.3812 0.4084 5.830 0.108
SS*FR 220 0.221 0.2564 0.4084 0.628 0.643 (0.2564)- SS220*DC0.5 (1.3135)
SS*DC 220 0.5 -1.3135 0.4084 0.192 0.192 + FR0.221*DC0.5( 0.2718 )
FR*DC 0.221 0.5 0.2718 0.4084 0.665 0.626
S = 1.155 R-Sq = 99.7% R-Sq(adj) = 97.6% (5)

จากค่า p-value ในตารางที่ 7 ผลลัพธ์สมั ประสิทธิ ์ 4. สรุปผลการทดลอง


สาหรับอัตราส่วน S/Nn ของกระบวนการกลึง ที่ระดับ ในงานวิจ ัย นี้ พิจ ารณาผลกระทบหลัก ในการป้ อน
นัยสาคัญ 5%(0.05) คือ ปจั จัยที่ 1 (SS220) ผลลัพธ์ของ ค่าพารามิเตอร์ของกระบวนการกลึงในการกลึงชิ้นงานที่
หุ่นจาลองสัมประสิทธิของค่
์ า S/N ซึง่ มีค่า p-value ทีไ่ ม่ ทาจากเหล็กเหนียวและมีดกลึง ทีท่ าจากเหล็กรอบสูงโดย
เกินระดับนัยสาคัญ 5% (0.05) สรุปว่ามีผลต่อค่า S/N (มี ใช้วธิ กี ารทากุชนิ นั ้ พบว่าสภาวะทีเ่ หมาะสมคือลาดับการ
นัยสาคัญ) ส่วนปจั จัยที่ 2 (FR0.221) ปจั จัยที่ 3 (DC ทดลองที่ 5 กล่าวคือความเร็วเพลาหมุน 220 รอบต่อ
0.50) และปจั จัยร่วมระหว่าง SS*FR 220 0.221, SS*DC นาที อัตราการป้อน 0.476 มิลลิเมตรต่อรอบ และระยะ
220 0.5 และ ค่า FR*DC 0.221 0.5 ผลลัพธ์ของ การป้อนลึกเท่ากับ 0.50 มิลลิเมตรทาให้ได้รอ้ ยละอัตรา
หุ่นจาลองสัมประสิทธิของค่
์ า S/N ซึง่ มีค่า p-value ทีเ่ กิน การกาจัดเศษอยู่ท่ี 9.45 กรัมต่อนาที ใช้เวลาในการกลึง
ระดับนัยสาคัญ 5% (0.05) สรุปว่าไม่มผี ลต่อค่า S/N (ไม่ เท่ากับ 41.269 นาที อัตราส่วน S/N อยู่ท่ี -19.9171
มีนยั สาคัญ) ในส่วนตารางที่ 8 ผลลัพธ์การวิเคราะห์ความ และค่าเฉลีย่ เท่ากับ 11.64 เพราะว่าผิวของชิน้ งานดีทส่ี ุด
แปรปรวนของค่า S/N ซึ่งมีค่า p-value ที่เกินระดับ ในการทดลองได้ท าซ้า การทดลองรวมทัง้ ยืน ยันพบว่ า
ค่าที่ได้มีค่าใกล้เคียงกับการทดลองในช่วงแรกด้วยการ
บทความวิจัย วารสารวิชาการ วิศวกรรมศาสตร์ ม.อบ. ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2559 9

ค านวณโดยวิธีท ากุ ชิ ซึ่ง ถือ ว่ า เป็ น ค่ า ที่ย อมรับ ได้ 5. ข้อเสนอแนะ


กล่าวคือในช่วงแรกก่อนการทดลองได้กาหนดค่าเบือ้ งต้น การน าเอาเทคนิ ค วิ ธี ก ารทากุ ชิ ม าช่ ว ยในการ
ได้แก่ ความเร็วเพลาหมุน 220 รอบต่อนาที ปจั จัยทีส่ อง ออกแบบการทดลอง ง่ายสะดวกและเป็ นวิธดี าเนินการที่
คืออัตราการป้อนเท่ากับ 0.476 มิลลิเมตรต่อรอบและ มีประสิทธิภาพสาหรับการหาค่าที่ดีท่สี ุด ที่ต้องการด้วย
ปจั จัยที่สามเป็ นระยะการป้อนลึก 0.50 มิลลิเมตร ได้ การเข้าใกล้ค่าพารามิเตอร์ท่ไี ด้ทาการออกแบบไว้อย่าง
อัตราการกาจัดเศษเป็ น 9.83 กรัมต่ อนาทีแต่ใช้เวลา เหมาะสมที่สุดกับมีการปรับค่าบางค่าตามเงื่อ นไขของ
43.321 นาที ผิวชิ้น งานดีท่ีสุด ส่ว นค่ า ที่ไ ด้จ ากการ ข้อกาหนดและการตัดสินใจพิจ ารณาปจั จัยหลักที่ส่งผล
ออกแบบการทดลองในครัง้ แรกพบว่า ได้อตั ราการกาจัด กระทบต่อกระบวนการ การออกแบบทากุชเิ ป็ นเครื่องมือ
เศษเป็ น 9.45 กรัมต่ อนาทีแต่ ใช้เวลา 41.269 นาที ทีส่ าคัญ ทากุชไิ ด้ให้คาแนะนาอย่างง่ายและเป็ นวิธที เ่ี ป็ น
ผิวชิ้นงานดีท่สี ุด และผลการทดลองเพื่อยืนยันผลพบว่า ระบบจนนาไปสู่สมรรถนะ ต้นทุน ที่ต่ าและคุณภาพของ
อัต ราการก าจัด เศษเท่ า กับ 9.51 ใช้เ วลาอยู่ท่ี 41.009 กระบวนการผลิต
นาที ได้ผิว ชิ้น งานดีท่ีสุ ด เช่ น กัน จะเห็น ได้ว่ า เวลาจะ จะเห็น ได้ว่ า วิธีก ารทากุ ชิเ ป็ น วิธีก ารการควบคุ ม
ลดลงแต่อตั รากาจัดเศษจะเพิม่ ขึน้ แต่ไม่มากนักทัง้ นี้อาจ คุณภาพอีกหนึ่งวิธีท่สี ามารถช่วยปรับปรุงกระบวนการ
เกิดจากการปรับแต่งปจั จัยทีท่ าการควบคุมทาให้ค่าทีไ่ ด้ ผลิต ควบคุมกระบวนการผลิต ตลอดจนสามารถช่วยลด
ไม่มคี วามแตกต่างกันมากนัก ดังนัน้ วิธกี ารทากุชสิ ามารถ เวลา ประหยัด วัสดุ งานที่ไ ด้มีคุ ณ ภาพสามารถยืน ยัน
นามาออกแบบกระบวนการกลึง ด้วยการกลึงโดยใช้มีด ผลได้แต่ ละลาดับการทดลองตามที่ได้อ อกแบบทดลอง
กลึงที่ทาจากเหล็กรอบสูงได้อย่างมีประสิทธิภาพ และ ด้ ว ยวิ ธีก ารทากุ ชิ ที่ผ่ า นมาผู้ วิจ ั ย และคณะได้ ศึก ษา
สภาวะดังกล่าวจะถูกนาไปเพื่อใช้ในอุตสาหกรรมการผลิต ค้นคว้าด้วยวิธกี ารทากุชสิ ามารถยืนยันผลการทดลองได้
ทีไ่ ด้จากกระบวนการผลิตด้วยเครื่องกลึงให้ดยี งิ่ ขึน้ ต่อไป เป็ นอย่ างดี 2 บทความด้วยวิธีการดังกล่ าวโดยทาการ
ใ น ง า น วิ จ ั ย นี้ ต้ อ ง ก า ร ศึ ก ษ า ผ ล ก ร ะ ท บ ต่ อ ทดลองเครื่องกลึงเครื่องเดิม มีดกลึงใช้วสั ดุเดิม อุปกรณ์ท่ี
ค่า พารามิเ ตอร์ท่ีนาเข้าเป็ น หลักซึ่งมีผลต่ อ ร้อ ยละของ ใช้ในการผลิตชนิดเดิม แตกต่างกันทางด้านการเลือกวัสดุ
อัตราการกาจัดเศษซึง่ นามาวิเคราะห์และพิจารณาเลือก ที่นามาทาการทดลอง สามารถพิสูจน์หาผลลัพธ์ท่ไี ด้คือ
เป็ นแบบผลตอบเดียวในกระบวนการกลึง ด้วยการกลึง ค่าทีด่ ที เ่ี หมาะสมทีส่ ดุ ต่อกระบวนการผลิตโดยเฉพาะการ
จากวัสดุมดี กลึงทีใ่ ช้เหล็กรอบสูงกับวัสดุชน้ิ งานทีใ่ ช้เหล็ก ผลิตด้วยเครื่องกลึงแต่ทงั ้ นี้ ผปู้ ฏิบตั งิ านจาเป็ นต้องมีการ
เหนี ย วมาท าการทดสอบ ผลลัพ ธ์ท่ีได้จ ะแสดงจ านวน วางแผนการเตรีย มงานอย่ า งเป็ น ระบบว่ า จะเลือ กใช้
ปจั จัยนาเข้าทีม่ ผี ลกระทบต่อกระบวนการกลึงด้วยมีดกลึง เครื่ อ งมื อ ตรวจสอบชนิ ด ใดให้ เ หมาะสมกั บ งานที่
ที่ทาจากเหล็กรอบสูง พบว่าปจั จัยทัง้ สามมีความสาคัญ ทาการศึกษาวิจยั และเลือกเครื่องมือตรวจสอบชนิดใดให้
ต่อกระบวนการ กล่าวคือ ความเร็วเพลาหมุน ทีม่ ากกว่า เหมาะสมถูก ต้อ ง เหตุ ผลดัง ที่กล่ าวมานี้ มีความจาเป็ น
ในรายงานจะมีผลต่อประสิทธิภาพในการกลึง อัตราการ ทีส่ ดุ ต่อกระบวนการผลิต
ป้อนต่าหรือสูงขึน้ จะมีผลต่อผิวของชิน้ งาน และระยะการ
ป้อนลึกทีป่ ้ อนเข้าไปถ้ามากเกินไปจะทาให้อายุคมมีดกลึง กิ ตติ กรรมประกาศ
สัน้ ลงสึก หรอเร็ว ขึ้น หมายความว่ า จะได้ ผิว ชิ้น งานที่ โครงการวิ จ ั ย นี้ ไ ด้ ร ั บ ทุ น อุ ด หนุ นการวิ จ ั ย จ าก
หยาบ เพราะฉะนัน้ ป จั จัย ทัง้ สามที่ไ ด้ก าหนดและค่ า ที่ งบประมาณ โครงการยกระดับ ปริญ ญานิ พ นธ์เ ป็ น
เหมาะสมที่สุดจะช่วยให้มปี ระสิทธิภาพและทาให้ได้ค่า งานวิจยั ตีพมิ พ์ งานสร้างสรรค์ และงานบริการวิชาการสู่
เหมาะสมที่สุดในกระบวนการกลึงด้วยเครื่องกลึง ให้ได้ ชุมชน ประจาปี 2557 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล
อัตราส่วนการกาจัดเศษต่ าสุด ส่วนวัสดุช้นิ งาน วัสดุทา ล้านนา เชียงใหม่ ที่ให้การสนับสนุ นทุนในการนาเสนอ
มีดกลึง เครื่องกลึง น้าหล่อเย็น และสภาพแวดล้อมในการ ผลงานในครัง้ นี้
ทางานตลอดจนผู้ปฏิบตั ิงานก็เป็ นปจั จัยในกระบวนการ
ผลิต
10 บทความวิจัย วารสารวิชาการ วิศวกรรมศาสตร์ ม.อบ. ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2559

เอกสารอ้างอิ ง
[1] สุรพงศ์ บางพาน, พีรพันธ์ บางพาน, ธิติกานต์
บุญแข็ง. การประยุกต์วธิ กี ารทากุชสิ าหรับ ค่าทีด่ ี
ทีส่ ดุ โดยศึกษาของกระบวนการ กะเทาะข้าวกล้อง
ด้วยลูกยางกะเทาะเปลือก. วารสารวิศวกรรมศาสตร์
ม.ช. 2557; 22(1):59-67.
[2] สุรพงศ์ บางพาน. การประยุกต์วธิ กี ารทากุชสิ าหรับ
กระบวนกลึงทีด่ ที ส่ี ดุ โดยศึกษาค่าพารามิเตอร์ของ
เครื่องจักรทีใ่ ช้ในการผลิต.วารสารวิชาการ วิศวกรรม
ศาสตร์ ม.อบ. 2557; 7(2):104-112.
[3] Krishankant, Jatin Taneja, Mohit Bector, Rajesh
Kumar. Application of taguchi method for
optimizing turning process by the effects of
machining parameters. International Journal of
Engineering and Advanced Technology (IJEAT).
2012; 2(1).
[4] Roy, R.K. A primer on the Taguchi competitive
manufacturing Series. Van Nostrand Reinhold
New York. 1990.
[5] Roy, R. K. Design of experiments using
the Taguchi approach. John Wiley & Sons, Inc.,
New York. 2001.
[6] Umass [Internet]. 2014 [cited Feb 23 2014]
Available from: http;//www.ecs.umass.edu/
Mie/labs/fea/.
[7] Kujar, R., Ranchi, H. Application of Taguchi
method for process parameters optimization in
semi-solid forging of A356 Al-Alloy. IRACST-
Engineering Science and Technology: An
International Journal (ESTIJ) ISSN: 2250-
3498. 2012; 2(4).

You might also like