You are on page 1of 19

หนา ๑

เลม ๑๒๔ ตอนที่ ๔๓ ก ราชกิจจานุเบกษา ๑๖ สิงหาคม ๒๕๕๐

กฎขอบังคับสําหรับการตรวจเรือ
(ฉบับที่ ๓๓)
พ.ศ. ๒๕๕๐

อาศั ยอํ านาจตามความในมาตรา ๑๖๓ แห ง พระราชบั ญ ญั ติ การเดิ น เรื อ ในน านน้ํ า ไทย
พระพุทธศักราช ๒๔๕๖ ซึ่งแกไขเพิ่มเติมโดยมาตรา ๑๒ แหงพระราชบัญญัติการเดินเรือในนานน้ําไทย
(ฉบั บที่ ๑๓) พ.ศ. ๒๕๒๕ และมาตรา ๑๖๕ แห งพระราชบั ญญั ติ ก ารเดิ น เรื อ ในน า นน้ํ าไทย
พระพุ ทธศักราช ๒๔๕๖ เจาทาโดยอนุมัติรั ฐมนตรีวาการกระทรวงคมนาคมออกกฎขอบั งคับสํ าหรั บ
การตรวจเรือไว ดังตอไปนี้
ขอ ๑ กฎขอบังคับนี้เรียกวา “กฎขอบังคับสําหรับการตรวจเรือ (ฉบับที่ ๓๓) พ.ศ. ๒๕๕๐”
ขอ ๒ กฎข อ บั ง คั บ นี้ ให ใ ช บั ง คั บ เมื่ อ พ น กํ า หนด ๖๐ วั น นั บ แต วั น ประกาศใน
ราชกิจจานุเบกษาเปนตนไป
ขอ ๓ บรรดากฎข อบั งคั บ และระเบี ย บในส ว นที่ บั ญ ญั ติ ไว แ ล ว ซึ่ ง ขั ด หรื อแย ง กั บ
บทแหงกฎขอบังคับนี้ ใหใชกฎขอบังคับนี้แทน
ขอ ๔ ใหยกเลิกความในหมวด ฉ การวัดและการคิดระวางบรรทุกของเรือโปะจาย เรือสําเภา
และเรือลํ าเลี ยง ข อ ๑๑ ข อ ๑๒ และข อ ๑๓ ของกฎข อบั งคั บสําหรั บการตรวจเรือ (ฉบั บที่ ๑๕)
พ.ศ. ๒๕๒๘ และใหใชขอความตอไปนี้แทน
“การวัดลําเรือและคํานวณระวางบรรทุกของเรือที่มิใชเรือกลที่เดินภายในประเทศ
ขอ ๑๑ สวนยาว คือ ความยาวบนดาดฟาตอเนื่องชั้นบนสุด วัดจากปลายสุดดานหัวเรือจนถึง
ปลายสุดดานทายเรือ
หนา ๒
เลม ๑๒๔ ตอนที่ ๔๓ ก ราชกิจจานุเบกษา ๑๖ สิงหาคม ๒๕๕๐
ขอ ๑๒ สวนกวาง คือ หมายความวา ความกวางสูงสุดที่กึ่งกลางลํา วัดถึงเสนขอบกงสําหรับเรือ
ที่ตอดวยเหล็ก และวัดถึงผิวนอกของตัวเรือ สําหรับเรือที่ตอดวยวัสดุอื่น
ขอ ๑๓ สวนลึก คือ ระยะที่กึ่งกลางลํา วัดตามแนวดิ่งตั้งแตใตพื้นดาดฟาลงไปถึงดานบนของ
แผนทองเรือ
ขนาดของเรือเปนตันกรอสส เมื่อวัดสวนตาง ๆ เปนเมตร ใหคิดจากสูตรตอไปนี้
ตันกรอสส = ยxกxลxค
๒.๘๓
ตันเนต = ๐.๘๕ ตันกรอสส
ย = สวนยาว
ก = สวนกวาง
ล = สวนลึก
ค = ๐.๗๕ สําหรับเรือที่ตอดวยไม
ค = ๐.๙๐ สําหรับเรือที่ตอดวยเหล็ก
ค = ๐.๘๕ สําหรับเรือที่ตอดวยวัสดุอื่น ๆ”
ขอ ๕ การบังคับใช
๕.๑ ขอ ๔ ของกฎขอบั งคั บนี้ให ใช กั บเรื อที่ ต อสร างหรือดั ดแปลงในวั นที่หรื อ
หลังจากวันที่กฎขอบังคับนี้มีผลใชบังคับ
๕.๒ สําหรับกฎขอบังคับนี้ ตั้งแตหมวด ก. ถึง หมวด ช. ใหใชกับเรือที่มิใชเรือกล
ที่เดินภายในประเทศทุกลํา ที่มีขนาดความยาวฉากตั้งแต ๒๔ เมตรขึ้นไป
หมวด ก.
ขอบังคับทั่วไป

ขอ ๖ ในกฎขอบังคับนี้
“เรือเดินทะเลที่มิใชเรื อกล” หมายความวา เรือที่มิไดขับเคลื่ อนโดยเครื่องจักรกลแตอย างใด
มีลักษณะสําหรับใชในทะเล และมีเขตการเดินเรือในทะเลตามที่เจาพนักงานตรวจเรือกําหนด
“เรือลําน้ําที่มิใชเรือกล” หมายความวา เรือที่มิไดขับเคลื่อนโดยเครื่องจักรกลแตอยางใด ที่ใชอยู
ในแมน้ํา ลําคลอง หวย หนอง บึง ทะเลสาบ และไมแลนพนออกจากปากแมน้ํานั้น ๆ
หนา ๓
เลม ๑๒๔ ตอนที่ ๔๓ ก ราชกิจจานุเบกษา ๑๖ สิงหาคม ๒๕๕๐

“ความยาว” หมายความวา ความยาวบนดาดฟาตอเนื่องชั้นบนสุด วัดจากปลายสุดดานหัวเรือจนถึง


ปลายสุดดานทายเรือ
“ความยาวฉาก” หมายความวา ความยาวบนดาดฟาตอเนื่องชั้นบนสุด วัดจากปลายสุดดานหัวเรือ
จนถึงตอนหนาของแกนหางเสือ หากไมมีแกนหางเสือใหวัดจนถึงปลายสุดดานทายเรือ
“ความกวาง” หมายความว า ความกวางสู งสุดที่กึ่งกลางลํา วัดถึงเสนขอบกงสําหรั บเรือที่ต อ
ดวยเหล็ก และวัดถึงผิวนอกของตัวเรือ สําหรับเรือที่ตอดวยวัสดุอื่น
“ความลึก” หมายความวา ระยะกึ่งกลางลํา วัดตามแนวดิ่งจากสวนบนของพื้นดาดฟาลงไปถึง
ดานบนของแผนทองเรือ
“สัมประสิทธิ์ แทงตั น (Cb)” หมายความวา คาที่คํานวณได จาก ปริมาตรระวางขับน้ําที่ระยะ
รอยละ ๘๕ ของความลึก/ (ความยาว x ความกวาง x ระยะที่รอยละ ๘๕ ของความลึก)
“ปริมาตรระวางขับน้ํา” หมายความวา ปริมาตรแทนที่น้ํา (ลูกบาศกเมตร) ที่ระดับความลึกตาง ๆ
โดยวัดถึงเสนขอบภายในเรือ สําหรับเรือที่มีเปลือกเรือเปนเหล็ก และถึงเสนขอบภายนอกเรือสําหรับเรือ
ที่มีเปลือกเรือเปนวัสดุอื่น
“เรือเบา” หมายความวา เรือที่มิไดบรรทุกสินคา น้ํามันเชื้อเพลิง น้ํามันหลอลื่น น้ําอับเฉา น้ําจืด
ของใชสิ้นเปลือง ผูโดยสาร และลูกเรือ
“น้ําหนักบรรทุก (Deadweight)” หมายความวา ความสามารถในการบรรทุกของเรือ (เมตริกตัน)
คํานวณไดจากผลตางของปริมาตรระวางขับน้ําที่แนวน้ําบรรทุกที่กําหนดใหสูงสุดกับปริมาตรระวางขับน้ํา
เรือเบาคูณดวยคาคงที่เทากับ ๑.๐๐ สําหรับเรือลําน้ําที่มิใชเรือกล หรือคูณดวย ๑.๐๒๕ สําหรับเรือเดินทะเล
ที่มิใชเรือกล
“ดาดฟาฟรีบอร ด” หมายความวา ดาดฟาที่โดยปกติเป นดาดฟ าชั้นบนสุดที่สัมผัสอากาศและ
น้ําทะเล ซึ่งมีการปดชองเปดในสวนที่สัมผัสกับอากาศอยางถาวร ชองเปดขางตัวเรือใตดาดฟานี้ ปดดวย
เครื่องปดอยางถาวรและผนึกน้ํา ในเรือที่มีดาดฟาฟรีบอรดไมตอเนื่องเสนต่ําที่สุดของดาดฟาเปด และ
สวนต อของเสนนั้ น ขนานกั บสวนบนของดาดฟา ใหถื อเปนดาดฟ าฟรีบอรด กรณี ที่ดาดฟาชั้นลางนี้
เปนชั้น ๆ เสนต่ําที่สุดของดาดฟาและเสนที่ลากตอจากเสนนี้ขนานกับสวนบนของดาดฟาถือเปนดาดฟา
ฟรีบอรด เมื่อกําหนดใหดาดฟาชั้นลางเปนดาดฟาฟรีบอรด
หนา ๔
เลม ๑๒๔ ตอนที่ ๔๓ ก ราชกิจจานุเบกษา ๑๖ สิงหาคม ๒๕๕๐
“ซูเปอรสตรัคเจอร” หมายความวา โครงสรางบนดาดฟาฟรีบอรด มีความกวางจากกราบหนึ่ง
ไปยั งอี กกราบหนึ่ งของเรือ หรือจรดแผ นขางเรือที่ไม ล้ําเข ามาจากแผ นเหล็ กตัวเรื อมากกวารอยละ ๔
ของความกวาง ดาดฟายกทายเรือใหถือเปนซูเปอรสตรัคเจอร
“การผนึกคลื่นลม” หมายความวา ในสภาวะคลื่นลมใด ๆ น้ําจะไมซึมเขาไปในเรือ
หมวด ข.
ระยะฟรีบอรดสําหรับเรือเดินทะเลที่มิใชเรือกล

ขอ ๗ ชนิดของเรือ
(๑) เพื่อจุดประสงคในการคํานวณระยะฟรีบอรด เรือแบงออกเปนแบบ “ก” และ แบบ “ข”
(๒) เรือแบบ “ก” คือ เรือที่ออกแบบสําหรับบรรทุกสินคาของเหลวจํานวนมาก และในถังสินคา
ที่ชองทางผานเขาออกเล็ก ๆ ชองนี้ปดดวยฝาเหล็กมีแปกกิ้งผนึกน้ํา หรือวัสดุอื่นที่ทัดเทียมกัน เรือเหลานี้
ตองมีคุณสมบัติตอไปนี้
(ก) ดาดฟาที่สัมผัสกับอากาศมีความแข็งแรงมั่นคงสูง
(ข) มีการปองกันมิใหน้ําเขาเรืออยางดี ทั้งนี้เปนผลมาจากคาความซึมต่ําของระวางสินคา
ที่บรรทุก และการกั้นระวางที่จัดไวตามปกติ
(๓) เรือทุกลําที่มิไดเปนไปตามเงื่อนไขที่ใชกับเรือแบบ “ก” ตองพิจารณาวาเปนเรือแบบ “ข”ทั้งสิ้น
ขอ ๘ ตารางระยะฟรีบอรด
(๑) สําหรับเรือที่ตอดวยเหล็ก ระยะฟรีบอรด สําหรับเรือแบบ “ก” เรือแบบ “ข” ที่มีปากระวาง
และฝาปดระวางเปนไปตามขอกําหนดของขอที่ ๑๔ และเรือแบบ “ข” ที่มีปากระวางและฝาปดระวาง
ไมเปนไปตามขอกําหนด ใหกําหนดคาตามตารางตอไปนี้
เรือแบบ “ก” เรือแบบ “ข” ที่มีปากระวางและฝาปด เรือแบบ “ข” ที่มีปากระวางและฝา
ระวางเปนไปตามขอกําหนด ปดระวางไมเปนไปตามขอกําหนด
ความยาว ระยะฟรีบอรด ความยาว ระยะฟรีบอรด ความยาว ระยะฟรีบอรด
(เมตร) (มิลลิเมตร) (เมตร) (มิลลิเมตร) (เมตร) (มิลลิเมตร)
๒๔ ๑๕๐ ๒๔ ๑๕๐ ๒๔ ๒๐๐
๒๕ ๑๕๖ ๒๕ ๑๕๖ ๒๕ ๒๐๖
๒๖ ๑๖๓ ๒๖ ๑๖๓ ๒๖ ๒๑๓
หนา ๕
เลม ๑๒๔ ตอนที่ ๔๓ ก ราชกิจจานุเบกษา ๑๖ สิงหาคม ๒๕๕๐
เรือแบบ “ก” เรือแบบ “ข” ที่มีปากระวางและฝาปด เรือแบบ “ข” ที่มีปากระวางและฝา
ระวางเปนไปตามขอกําหนด ปดระวางไมเปนไปตามขอกําหนด
ความยาว ระยะฟรีบอรด ความยาว ระยะฟรีบอรด ความยาว ระยะฟรีบอรด
(เมตร) (มิลลิเมตร) (เมตร) (มิลลิเมตร) (เมตร) (มิลลิเมตร)
๒๗ ๑๖๙ ๒๗ ๑๖๙ ๒๗ ๒๑๙
๒๘ ๑๗๕ ๒๘ ๑๗๕ ๒๘ ๒๒๕
๒๙ ๑๘๒ ๒๙ ๑๘๒ ๒๙ ๒๓๒
๓๐ ๑๘๘ ๓๐ ๑๘๘ ๓๐ ๒๓๘
๓๑ ๑๙๔ ๓๑ ๑๙๔ ๓๑ ๒๔๔
๓๒ ๒๐๐ ๓๒ ๒๐๐ ๓๒ ๒๕๐
๓๓ ๒๐๖ ๓๓ ๒๐๖ ๓๓ ๒๕๖
๓๔ ๒๑๒ ๓๔ ๒๑๒ ๓๔ ๒๖๒
๓๕ ๒๑๙ ๓๕ ๒๑๙ ๓๕ ๒๖๙
๓๖ ๒๒๕ ๓๖ ๒๒๕ ๓๖ ๒๗๕
๓๗ ๒๓๑ ๓๗ ๒๓๑ ๓๗ ๒๘๑
๓๘ ๒๓๗ ๓๘ ๒๓๗ ๓๘ ๒๘๗
๓๙ ๒๔๔ ๓๙ ๒๔๔ ๓๙ ๒๙๔
๔๐ ๒๕๑ ๔๐ ๒๕๑ ๔๐ ๓๐๑
๔๑ ๒๕๘ ๔๑ ๒๕๘ ๔๑ ๓๐๘
๔๒ ๒๖๖ ๔๒ ๒๖๖ ๔๒ ๓๑๖
๔๓ ๒๗๓ ๔๓ ๒๗๓ ๔๓ ๓๒๓
๔๔ ๒๘๑ ๔๔ ๒๘๑ ๔๔ ๓๓๑
๔๕ ๒๘๙ ๔๕ ๒๘๙ ๔๕ ๓๓๙
๔๖ ๒๙๗ ๔๖ ๒๙๗ ๔๖ ๓๔๗
๔๗ ๓๐๖ ๔๗ ๓๐๖ ๔๗ ๓๕๖
๔๘ ๓๑๕ ๔๘ ๓๑๕ ๔๘ ๓๖๕
๔๙ ๓๒๔ ๔๙ ๓๒๔ ๔๙ ๓๗๔
๕๐ ๓๓๒ ๕๐ ๓๓๒ ๕๐ ๓๘๒
๕๑ ๓๔๑ ๕๑ ๓๔๑ ๕๑ ๓๙๑
๕๒ ๓๕๐ ๕๒ ๓๕๐ ๕๒ ๔๐๐
๕๓ ๓๕๙ ๕๓ ๓๕๙ ๕๓ ๔๐๙
๕๔ ๓๖๘ ๕๔ ๓๖๘ ๕๔ ๔๑๘
หนา ๖
เลม ๑๒๔ ตอนที่ ๔๓ ก ราชกิจจานุเบกษา ๑๖ สิงหาคม ๒๕๕๐
เรือแบบ “ก” เรือแบบ “ข” ที่มีปากระวางและฝาปด เรือแบบ “ข” ที่มีปากระวางและฝา
ระวางเปนไปตามขอกําหนด ปดระวางไมเปนไปตามขอกําหนด
ความยาว ระยะฟรีบอรด ความยาว ระยะฟรีบอรด ความยาว ระยะฟรีบอรด
(เมตร) (มิลลิเมตร) (เมตร) (มิลลิเมตร) (เมตร) (มิลลิเมตร)
๕๕ ๓๗๗ ๕๕ ๓๗๗ ๕๕ ๔๒๗
๕๖ ๓๘๗ ๕๖ ๓๘๗ ๕๖ ๔๓๗
๕๗ ๓๙๘ ๕๗ ๓๙๘ ๕๗ ๔๔๘
๕๘ ๔๐๘ ๕๘ ๔๐๘ ๕๘ ๔๕๘
๕๙ ๔๑๙ ๕๙ ๔๑๙ ๕๙ ๔๖๙
๖๐ ๔๓๐ ๖๐ ๔๓๐ ๖๐ ๔๘๐
๖๑ ๔๔๐ ๖๑ ๔๔๐ ๖๑ ๔๙๐
๖๒ ๔๕๐ ๖๒ ๔๕๑ ๖๒ ๕๐๑
๖๓ ๔๖๐ ๖๓ ๔๖๑ ๖๓ ๕๑๑
๖๔ ๔๗๐ ๖๔ ๔๗๒ ๖๔ ๕๒๒
๖๕ ๔๗๙ ๖๕ ๔๘๓ ๖๕ ๕๓๓
๖๖ ๔๙๐ ๖๖ ๔๙๔ ๖๖ ๕๔๔
๖๗ ๕๐๐ ๖๗ ๕๐๖ ๖๗ ๕๕๖
๖๘ ๕๑๐ ๖๘ ๕๑๗ ๖๘ ๕๖๗
๖๙ ๕๒๐ ๖๙ ๕๒๙ ๖๙ ๕๗๙
๗๐ ๕๓๐ ๗๐ ๕๔๑ ๗๐ ๕๙๑
๗๑ ๕๔๐ ๗๑ ๕๕๔ ๗๑ ๖๐๔
๗๒ ๕๕๐ ๗๒ ๕๖๖ ๗๒ ๖๑๖
๗๓ ๕๖๐ ๗๓ ๕๗๗ ๗๓ ๖๒๗
๗๔ ๕๗๐ ๗๔ ๕๘๘ ๗๔ ๖๓๘
๗๕ ๕๘๐ ๗๕ ๖๐๐ ๗๕ ๖๕๐
๗๖ ๕๙๐ ๗๖ ๖๑๒ ๗๖ ๖๖๒
๗๗ ๖๐๐ ๗๗ ๖๒๕ ๗๗ ๖๗๕
๗๘ ๖๑๑ ๗๘ ๖๓๘ ๗๘ ๖๘๘
๗๙ ๖๒๑ ๗๙ ๖๕๑ ๗๙ ๗๐๑
๘๐ ๖๓๑ ๘๐ ๖๖๕ ๘๐ ๗๑๕
๘๑ ๖๔๑ ๘๑ ๖๗๙ ๘๑ ๗๒๙
๘๒ ๖๕๒ ๘๒ ๖๙๒ ๘๒ ๗๔๒
หนา ๗
เลม ๑๒๔ ตอนที่ ๔๓ ก ราชกิจจานุเบกษา ๑๖ สิงหาคม ๒๕๕๐
เรือแบบ “ก” เรือแบบ “ข” ที่มีปากระวางและฝาปด เรือแบบ “ข” ที่มีปากระวางและฝา
ระวางเปนไปตามขอกําหนด ปดระวางไมเปนไปตามขอกําหนด
ความยาว ระยะฟรีบอรด ความยาว ระยะฟรีบอรด ความยาว ระยะฟรีบอรด
(เมตร) (มิลลิเมตร) (เมตร) (มิลลิเมตร) (เมตร) (มิลลิเมตร)
๘๓ ๖๖๒ ๘๓ ๗๐๗ ๘๓ ๗๕๗
๘๔ ๖๗๓ ๘๔ ๗๒๐ ๘๔ ๗๗๐
๘๕ ๖๘๓ ๘๕ ๗๓๔ ๘๕ ๗๘๔
๘๖ ๖๙๕ ๘๖ ๗๔๗ ๘๖ ๗๙๗
๘๗ ๗๐๕ ๘๗ ๗๖๑ ๘๗ ๘๑๑
๘๘ ๗๑๖ ๘๘ ๗๗๖ ๘๘ ๘๒๖
๘๙ ๗๒๗ ๘๙ ๗๙๑ ๘๙ ๘๔๑
๙๐ ๗๓๘ ๙๐ ๘๐๖ ๙๐ ๘๕๖
๙๑ ๗๔๙ ๙๑ ๘๒๒ ๙๑ ๘๗๒
๙๒ ๗๖๑ ๙๒ ๘๓๗ ๙๒ ๘๘๗
๙๓ ๗๗๒ ๙๓ ๘๕๑ ๙๓ ๙๐๑
๙๔ ๗๘๓ ๙๔ ๘๖๖ ๙๔ ๙๑๖
๙๕ ๗๙๔ ๙๕ ๘๗๙ ๙๕ ๙๒๙
๙๖ ๘๐๖ ๙๖ ๘๙๓ ๙๖ ๙๔๓
๙๗ ๘๑๗ ๙๗ ๙๐๗ ๙๗ ๙๕๗
๙๘ ๘๒๙ ๙๘ ๙๒๒ ๙๘ ๙๗๒
๙๙ ๘๔๐ ๙๙ ๙๓๘ ๙๙ ๙๘๘
๑๐๐ ๘๕๑ ๑๐๐ ๙๕๓ ๑๐๐ ๑๐๐๓

ระยะฟรีบอรดของเรือที่มีความยาวอยูระหวางคาความยาวสองคา หาไดโดยวิธีบัญญัติไตรยางศ สําหรับเรือ


ที่มีความยาวเกินกวา ๑๐๐ เมตร ใหใชคาตามตารางระยะฟรีบอรดที่กําหนดไวในกฎขอบังคับสําหรั บ
การตรวจเรือ (ฉบับที่ ๒๐) พ.ศ. ๒๕๓๕
(๒) สําหรับเรือที่ตอดวยวัสดุอื่น ใหใชคาระยะฟรีบอรดจากตารางคูณดวย ๑.๔
ขอ ๙ การปรับแกระยะฟรีบอรด
(๑) การปรับแกจากคาสัมประสิทธิ์แทงตัน
ในกรณีที่สัมประสิทธิ์แทงตัน (Cb) มากกวา ๐.๖๘ ระยะฟรีบอรดจากตารางที่ระบุไวใน
ขอที่ ๘ จะตองคูณดวยคา (Cb+๐.๖๘)/๑.๓๖
หนา ๘
เลม ๑๒๔ ตอนที่ ๔๓ ก ราชกิจจานุเบกษา ๑๖ สิงหาคม ๒๕๕๐
(๒) การปรับแกจากความลึก
ในกรณีที่ความลึกมากกวา ความยาว/๑๕ ระยะฟรีบอรดจะตองเพิ่มขึ้นเทากับ
(ความลึก - ความยาว/๑๕) x ค. (มิลลิเมตร)
โดย ค. = คาความยาวหารดวย ๐.๔๘
ขอ ๑๐ การกําหนดระยะฟรีบอรดตามเขตการเดินเรือ
ระยะฟรีบอรดน้ําทะเลเขตอบอุน
(๑) ระยะฟรี บอรดเขตอบอุ น ให มี ค าอย างน อยเทากั บระยะฟรี บอร ดที่ ไดจากการลด
คาระยะฟรีบอรดที่คํานวณไดตามขอ ๘ และ ๙ ลงเทากับ ๑/๔๘ ของระยะที่วัดจากดานบนของกระดูกงูถึงระดับ
กินน้ําลึกที่สัมพันธกับระยะฟรีบอรดนั้น
(๒) ระยะฟรี บอร ดที่ คํ านวณได ตามกฎข อนี้ ต องไม น อยกว า ๕๐ มิ ลลิ เมตร
สําหรับเรือที่มีปากระวางและฝาปดระวางที่ไมไดเปนไปตามขอกําหนดนั้น ตองมีระยะฟรีบอรดไมนอยกวา
๑๕๐ มิลลิเมตร
ระยะฟรีบอรดน้ําจืดเขตอบอุน
(๓) ระยะฟรี บอรดน้ําจืดเขตอบอุน ให เท ากั บระยะฟรี บอรดที่ไดจากการปรับลด
คาระยะฟรีบอรดที่คํานวณตาม (๑) และ (๒) ลงเทากับ ∇ / (๔๐ x TPC) (เซนติเมตร)
โดย ∇ = ระวางขับน้ํา (ตัน) ณ แนวน้ําบรรทุกน้ําทะเลเขตอบอุน
TPC = จํานวนตันที่ทําใหเรือจม ๑ เซนติเมตรในน้ําทะเล ณ แนวน้ําบรรทุก
เขตอบอุน
(๔) ในกรณี ระวางขั บน้ํ าที่ แนวน้ํ าบรรทุ กเขตอบอุ นไม สามารถหาค าได แน นอน
ใหปรับลดระยะฟรีบอรดลงเทากับ ๑/๔๘ ของระยะกินน้ําลึ กเขตอบอุนที่วัดจากดานบนของกระดูกงู
ถึงระดับเสนฐานสามเหลี่ยมของเครื่องหมายแนวน้ําบรรทุก
หมวด ค.
ระยะฟรีบอรดสําหรับเรือลําน้ําที่มิใชเรือกล

ขอ ๑๑ ระยะฟรีบอรดสําหรับเรือลําน้ําที่มิใชเรือกลนั้น ใหมีคาอยางนอยเทากับคาที่คํานวณ


ไดจาก
ระยะฟรีบอรด (มิลลิเมตร) = ๑๒๕ + ๗๕ x ความยาว (เมตร)
๒๔
หนา ๙
เลม ๑๒๔ ตอนที่ ๔๓ ก ราชกิจจานุเบกษา ๑๖ สิงหาคม ๒๕๕๐
หมวด ง.
เงื่อนไขของการกําหนดระยะฟรีบอรด

ขอ ๑๒ ประตู
(๑) ชองเปดที่ผานไดทุกชองในฝากั้นดานปลายสุดของซูเปอรสตรัคเจอรที่ปดทึบ ตองติดตั้ง
ประตูเหล็ กหรื อวั สดุ อย างอื่ นที่ เท าเที ยมกันอยางถาวรแข็ งแรง วิ ธี การที่ ให ประตู เหล านี้ ผนึ กคลื่ นลม
ตองประกอบดวย กาสเกตและเครื่องยึด หรือวิธีการอื่นที่เทาเทียมกัน
(๒) ความสูงของธรณีชองเปดที่ผานไดในฝากั้นดานปลายสุดของซูเปอรสตรัคเจอรที่ปดทึบใหสูง
จากดาดฟาไมนอยกวา ๓๘๐ มิลลิเมตร สําหรับเรือลําน้ําที่มิใชเรือกลใหลดความสูงลงไดไมเกินกึ่งหนึ่ง
ขอ ๑๓ ตําแหนงของปากระวาง ชองประตู และเครื่องระบายอากาศ
เพื่ อจุ ดมุ งหมายของกฎขอบั งคับนี้ ให กํ าหนดตําแหนงของปากระวาง ช องประตู
และเครื่องระบายอากาศ ไวดังนี้
ตําแหนงที่ ๑ บนดาดฟ าฟรีบอร ดสวนที่เปดและดาดฟายกทายเรือ และบนดาดฟ า
ซูเปอรสตรัคเจอร สวนที่เปด ณ ที่ ๑/๔ ของความยาวเรือนับจากเสนตั้งฉากหัวเรือ อยูขางหนา
ตําแหนงที่ ๒ บนดาดฟาซูเปอรสตรัคเจอรสวนที่เปด ณ ที่ ๑/๔ ของความยาวเรือ
นับจากเสนตั้งฉากหัวเรือ อยูขางทาย
ขอ ๑๔ ปากระวางสินคาและปากระวางอื่น ๆ
(๑) ขอบตั้งปากระวาง ตองแข็งแรงเพียงพอ และความสูงของขอบตั้งปากระวางเหนือดาดฟาตอง
ไมนอยกวา
๖๐๐ มิลลิเมตร หากอยูในตําแหนงที่ ๑
๔๕๐ มิลลิเมตร หากอยูในตําแหนงที่ ๒
(๒) ฝาปดปากระวาง บีมที่ถอดได ฝาปดระวางแบบพอนทูน ที่รองรับหรือบา ลูกตน แบทเทน
ผาใบคลุมระวาง ความยึดแนนของฝาปดปากระวางตองเปนไปอยางเหมาะสม
(๓) การป ดปากระวางโดยฝาเหล็กผนึกคลื่ นลม หรื อวัสดุ อื่นที่ทั ดเที ยมกันดวยแกสเกตและ
เหล็กปะกับใหเปนไปอยางเหมาะสม
ขอ ๑๕ ชองเปดอื่น ๆ บนดาดฟาฟรีบอรดและดาดฟาซูเปอรสตรัคเจอร
หนา ๑๐
เลม ๑๒๔ ตอนที่ ๔๓ ก ราชกิจจานุเบกษา ๑๖ สิงหาคม ๒๕๕๐
(๑) ชองคนผานและชองกระจกกั้นน้ํา ในตําแหนงที่ ๑ และ ๒ หรือภายในซูเปอรสตรัคเจอร
ปดทึบ ใหปดโดยฝาปดที่ผนึกน้ําติดตั้งอยางถาวร นอกจากจะปดโดยใชสลักเกลียวเปนระยะ ๆ อยางสนิท
(๒) ชองเปดในดาดฟาฟรีบอรดซึ่งมิใชปากระวาง ชองคนผานและชองกระจกกั้นน้ํา ตองอยู
ภายในซูเปอร สตรัคเจอรปดทึบหรือชองบันไดที่มีความแข็ งแรงทัดเทียมกันและผนึกคลื่ นลม ชองเป ด
เชนวานั้นในดาดฟาซูเปอรสตรัคเจอรเปด หรือในตอนบนของหองที่อยูบนดาดฟาฟรีบอรด หรือที่วาง
ภายในซูเปอรสตรัคเจอรปดทึบตองกั้นโดยหองหรือชองบันไดอยางแข็งแรง ชองประตูในหองเชนวานั้น
หรือชองบันไดตองติดประตูตามขอกําหนดของขอ ๑๒
(๓) ในตําแหนงที่ ๑ ความสูงของธรณีประตูเหนือดาดฟาที่เขาไปยังชองประตูในชองบันได
ใหสูงอยางนอย ๖๐๐ มิลลิเมตร และในตําแหนงที่ ๒ ใหสูงอยางนอย ๓๘๐ มิลลิเมตร หรือเปนไปตาม
ขอกําหนดของขอ ๑๒ (๒)
ขอ ๑๖ เครื่องระบายอากาศ
(๑) เครื่องระบายอากาศในตําแหนงที่ ๑ หรือ ๒ เมื่อระบายอากาศในที่วางใตดาดฟาฟรีบอรด
หรือใตดาดฟาซูเปอรสตรัคเจอรปดทึบ ใหมีขอบตั้งที่ทําดวยเหล็ก หรือวัสดุอื่นที่ทัดเทียมกัน สรางอยาง
แข็งแรงและติดตั้งบนดาดฟาอยางมั่นคง ในกรณีที่ขอบตั้งของเครื่องระบายอากาศสูงมากกวา ๙๐๐ มิลลิเมตร
ตองมีที่รองรับไวอยางแข็งแรง
(๒) เครื่องระบายอากาศที่ระบายไปยังซูเปอรสตรัคเจอรอื่น ๆ นอกจากซูเปอรสตรัคเจอรปดทึบ
ตองมีขอบตั้งที่ทําดวยเหล็กหรือวัสดุอื่นที่ทัดเทียมกัน สรางอยางแข็งแรงบนดาดฟาฟรีบอรด
(๓) เครื่องระบายอากาศในตําแหนงที่ ๑ ซึ่งมีขอบตั้งสูงจากดาดฟามากกวา ๔.๕ เมตร และ
ในตําแหนงที่ ๒ ซึ่งมีขอบตั้งสูงจากดาดฟามากกวา ๒.๓ เมตร ไมตองติดเครื่องปด
(๔) นอกจากที่บัญญัติไวใน (๓) ชองเปดของเครื่องระบายอากาศจะตองมีเครื่องปดที่ผนึกคลื่นลม
อยางมีประสิทธิภาพติดอยูดวยในเรือที่มีความยาวไมเกิน ๑๐๐ เมตร เครื่องปดตองติดตั้งอยางถาวร สําหรับ
เรืออื่น ๆ เครื่องปดตองติดตั้งไวในที่ซึ่งสะดวกและใกลกับเครื่องระบายอากาศนั้น เครื่องระบายอากาศ
ในตําแหนงที่ ๑ ตองมีขอบตั้งสูงจากดาดฟาอยางนอย ๙๐๐ มิลลิเมตร และในตําแหนงที่ ๒ ขอบตั้งตองสูง
จากดาดฟาอยางนอย ๗๖๐ มิลลิเมตร
ขอ ๑๗ ทออากาศ
ในกรณีที่ทออากาศไปยังถังอับเฉาและถังอื่น ๆ ตอขึ้นไปเหนือดาดฟาฟรีบอรดหรือดาดฟา
ซูเปอรสตรัคเจอร สวนของทออากาศที่พนดาดฟาขึ้นไปตองสรางอยางแข็งแรง ความสูงจากดาดฟาถึงที่
หนา ๑๑
เลม ๑๒๔ ตอนที่ ๔๓ ก ราชกิจจานุเบกษา ๑๖ สิงหาคม ๒๕๕๐

ซึ่งน้ําอาจเขาไปสูเบื้องลางได ตองสูงอยางนอย ๗๖๐ มิลลิเมตรจากดาดฟาฟรีบอรดและ ๔๕๐ มิลลิเมตร


จากดาดฟ า ซู เ ปอร ส ตรั ค เจอร ในกรณี ที่ ค วามสู ง เหล า นี้ อ าจเป น อุ ป สรรคต อ การทํ า งานในเรื อ
เจาพนักงานตรวจเรืออาจยอมใหใชความสูงที่นอยกวาได
ขอ ๑๘ ชองสินคาหรือชองเปดอื่น ๆ
(๑) ชองสินคาหรือชองเปดอื่น ๆ ที่คลายกันที่อยูขางเรือใตดาดฟาฟรีบอรด ตองติดตั้งประตู
ที่ออกแบบใหผนึกน้ํา และมีโครงสรางแข็งแรงเขารูปกับแผนเหล็กตัวเรือ ชองเปดเชนวานั้นตองมีจํานวน
นอยที่สุด เหมาะสมกับการออกแบบและเหมาะกับงานของเรือ
(๒) ขอบลางของชองเปดเชนวานั้น ตองไมต่ํากวาเสนซึ่งลากขนานกับดาดฟาฟรีบอรดขางเรือ
ซึ่งมีจุดต่ําสุดของขอบลางของชองเปดอยูที่ขอบบนของเสนแนวน้ําบรรทุกเสนบนสุด
ขอ ๑๙ การคุมครองคนประจําเรือ
(๑) ความแข็งแรงของที่พักอาศัยของคนประจําเรือบนดาดฟา ตองเปนไปตามความเห็นชอบของ
เจาพนักงานตรวจเรือ
(๒) ตองจัดใหมีวิธีการอันเหมาะสม ในรูปแบบของราวกันตก ราวลวด บันได หรือชองทางเดิน
ใตดาดฟา เพื่อปองกันอันตรายใหแกคนประจําเรือขณะเดินทางระหวางหองพักอาศัย และที่อื่น ๆ ที่ใช
ในการทํางานในเรือ
(๓) ความสูงของกราบออนและราวกันตกตองสูงกวาดาดฟาอยางนอยที่สุด ๑ เมตร หากความสูงนี้
เปนอุปสรรคตอการทํางานตามปกติ เจาพนักงานตรวจเรืออาจยอมใหใชความสูงที่นอยกวาได
(๔) ชองเปดที่อยูใตจุดต่ําสุดของราวกันตกตองไมเกิน ๒๓๐ มิลลิเมตร แนวของราวกันตกอื่น ๆ
ตองหางกันไมมากกวา ๓๘๐ มิลลิเมตร
(๕) สินคาที่บรรทุกบนดาดฟาบนเรือลําหนึ่งลําใด ตองเก็บในลักษณะที่ชองเปดใด ๆ อันอยูใน
ทางผานของสินคา และเปนทางเขาออกไปยังหองคนประจําเรือและสวนอื่น ๆ ทั้งหมดที่จําเปนสําหรับ
ทํางานในเรือ ตองสามารถปดและยึดใหแนนเพื่อปองกันมิใหน้ําเขาได จะตองจัดใหมีการปองกันอยางมี
ประสิทธิภาพในรูปของราวกันตก หรือราวลวดไวเหนือสินคาที่อยูบนดาดฟา ถาไมมีทางผานอื่นที่สะดวก
ที่อยูบนหรือใตดาดฟาของเรือ
หนา ๑๒
เลม ๑๒๔ ตอนที่ ๔๓ ก ราชกิจจานุเบกษา ๑๖ สิงหาคม ๒๕๕๐
หมวด จ.
เครื่องหมายแนวน้ําบรรทุก

ขอ ๒๐ เสนดาดฟา
เส นดาดฟ าเป นเส นระดั บยาว ๒๐๐ มิ ลลิ เมตร และกว าง ๒๕ มิ ลลิ เมตร ทํ าไว
ณ กึ่งกลางทั้งสองกราบ โดยขอบบนของเสนดาดฟานี้ผานจุดซึ่งผิวพื้นบนของดาดฟาฟรีบอรดตอออกไป
ตัดกับผิวพื้นดานนอกของเปลือกเรือ นอกเสียจากวาเสนดาดฟาอาจจะกําหนดใหเชื่อมโยงกับจุดอื่นที่แนนอน
บนเรือ โดยมีเงื่อนไขวาฟรีบอรดถูกตองในทุกกรณี ตําแหนงจากจุดที่กลาวนั้นและตําแหนงของดาดฟา
ฟรีบอรดจะตองแสดงไวในใบสําคัญรับรองแนวน้ําบรรทุก
ขอ ๒๑ เครื่องหมายแนวน้ําบรรทุกสําหรับเรือเดินทะเลที่มิใชเรือกล
(๑) เครื่องหมายแนวน้ําบรรทุกของเรือนั้น ประกอบดวยสามเหลี่ยมดานเทาที่มีขนาดความยาว
ดานละ ๒๐๐ มิลลิเมตร บนเสนระดับที่มีความยาว ๓๕๐ มิลลิเมตร และกวาง ๒๕ มิลลิเมตรโดยมุมหนึ่ง
ของสามเหลี่ยมอยูกึ่งกลางที่ขอบบนของเสนระดับ และมีระยะอยางนอยเทากับฟรีบอรดที่กําหนดตามขอ ๑๐
โดยใหวัดตามแนวดิ่งจากใตขอบบนเสนดาดฟาลงมา (ตามที่แสดงไวในรูปที่ ๑)
(๒) เส นต าง ๆ ที่แสดงเสนแนวน้ํ าบรรทุ กที่กํ าหนดตามกฎเหล านี้ ตองเป นเส นระดั บยาว
๒๐๐ มิ ลลิ เ มตร กว าง ๒๕ มิ ลลิ เ มตร ซึ่ งยื่ น ไปทางหั วเรื อ และเป น มุ ม ฉากกั บเส น ดิ่ งซึ่ งกว าง
๒๕ มิลลิเมตร ที่ทําเครื่องหมายไวซึ่งมีระยะหางจากมุมฐานสามเหลี่ยมไปทางหัว ๕๔๐ มิลลิเมตร (ตามที่
แสดงไวในรูปที่ ๑)
(๓) การทําเครื่องหมายเสนแนวน้ําบรรทุกตาง ๆ มีรายละเอียด ดังตอไปนี้
(ก) เสนแนวน้ําบรรทุกในน้ําทะเลเขตอบอุนแสดงโดยขอบบนของเสนดวยเครื่องหมาย T
และทําเครื่องหมายไปทางดานหัวเรือของเสนดิ่ง
(ข) เสนแนวน้ําบรรทุกในน้ําจืดในเขตอบอุนแสดงโดยขอบบนของเสนที่มีเครื่องหมาย TF
และทําเครื่องหมายไปทางดานทายเรือของเสนดิ่ง
ขอ ๒๒ เครื่องหมายแนวน้ําบรรทุกสําหรับเรือลําน้ําที่มิใชเรือกล
เครื่ องหมายแนวน้ํ าบรรทุ กของเรือนั้ น ประกอบด วยสามเหลี่ยมดานเทาที่ มีขนาด
ความยาวดานละ ๒๐๐ มิลลิเมตร บนเสนระดับที่มีความยาว ๓๕๐ มิลลิเมตร และกวาง ๒๕ มิลลิเมตร
หนา ๑๓
เลม ๑๒๔ ตอนที่ ๔๓ ก ราชกิจจานุเบกษา ๑๖ สิงหาคม ๒๕๕๐

โดยมุ มหนึ่งของสามเหลี่ ยมอยู กึ่งกลางที่ ขอบบนของเสนระดับ และมีระยะอยางน อยเทากับฟรี บอร ด


ที่กําหนดตามขอ ๑๑ โดยใหวัดตามแนวดิ่งจากใตขอบบนเสนดาดฟาลงมา (ตามที่แสดงไวในรูปที่ ๒)
หมวด ฉ.
ใบสําคัญรับรองแนวน้ําบรรทุก

ขอ ๒๓ ใบสําคัญรับรองแนวน้ําบรรทุกใหเปนไปตามแบบแนบทายกฎขอบังคับนี้ โดยมีกําหนด


ไมเกิน ๕ ป และอายุใบสําคัญรับรองใหถือเปนอันสิ้นสุด หากไมไดรับการตรวจประจําปเพื่อสลักหลัง
ในใบสําคัญรับรอง
ขอ ๒๔ อัตราคาธรรมเนียมสําหรับการตรวจเรือ เพื่อออกหรือสลักหลังใบสําคัญรับรองแนวน้ํา
บรรทุกใหเปนไปตามอัตราทายกฎขอบังคับนี้
หมวด ช.
บทเฉพาะกาล

ขอ ๒๕ สําหรั บเรื อที่ตอสรางกอนวันที่ มีผลใชบังคับ ใหบั งคับใชภายในวันที่ครบกํ าหนด


การตรวจเรือบนอูแหงครั้งถัดไป แตไมเกิน ๒๔ เดือนนับจากวันที่กฎขอบังคับนี้มีผลบังคับใช
ขอ ๒๖ ใหอธิบดีกรมการขนสงทางน้ําและพาณิชยนาวีเปนผูรักษาการตามกฎขอบังคับนี้

ประกาศ ณ วันที่ ๒๗ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๐


ประสงค ตันมณีวัฒนา
อธิบดีกรมการขนสงทางน้ําและพาณิชยนาวี
รูปที่ ๑ แสดงเครื่องหมายแนวน้ําบรรทุกสําหรับเรือเดินทะเลที่มิใชเรือกล

รูปที่ ๒ แสดงเครื่องหมายแนวน้ําบรรทุกสําหรับเรือลําน้ําที่มิใชเรือกล
-๒-

ใบสําคัญรับรองเลขที่

กรมการขนสงทางน้ําและพาณิชยนาวี
ใบสําคัญรับรองแนวน้ําบรรทุก
สําหรับเรือเดินทะเลที่มิใชเรือกล
ออกภายใตกฎขอบังคับสําหรับการตรวจเรือ (ฉบับที่ ๓๓) พ.ศ. ๒๕๕๐

ชื่อเรือ หมายเลขทะเบียน เมืองทาจดทะเบียน ความยาว

แบบเรือ : แบบ ก / แบบ ข

ระยะฟรีบอรดจากเสนดาดฟา
เสนแนวน้ําบรรทุกในน้ําทะเลเขตอบอุน มม. (mm.) (T)
เสนแนวน้ําบรรทุกในน้ําจืดเขตอบอุน มม. (mm.) (TF)

ใหไวเพื่อรับรองวาเรือไดผานการตรวจเรือแลว ระยะฟรีบอรดและแนวน้ําบรรทุกที่กําหนดใหไว เปนไปตาม


กฎขอบังคับสําหรับการตรวจเรือ (ฉบับที่ ๓๓) พ.ศ. ๒๕๕๐ ทุกประการ

ใบสําคัญรับรองฉบับนี้ใหใชไดจนถึงวันที่
ออกให ณ ที่ทําการ เมื่อวันที่

(...........................................................)
สําเนาถูกตอง เจาพนักงานตรวจเรือ

(นายภิมุข ประยูรพรหม)
ผูอํานวยการสํานักมาตรฐานเรือ
-๓-

การลงนามสลักหลังสําหรับการตรวจสอบประจําป
เพื่อเปนการรับรองวา เรือผานการตรวจสอบตามระยะเวลาตามขอกําหนดที่ ๒๓ ของกฎขอบังคับนี้

การตรวจสอบประจําปครั้งที่ ๑
ลงนาม
สถานที่
วันที่

การตรวจสอบประจําปครั้งที่ ๒
ลงนาม
สถานที่
วันที่

การตรวจสอบประจําปครั้งที่ ๓
ลงนาม
สถานที่
วันที่

การตรวจสอบประจําปครั้งที่ ๔
ลงนาม
สถานที่
วันที่

สําเนาถูกตอง

(นายภิมุข ประยูรพรหม)
ผูอํานวยการสํานักมาตรฐานเรือ

หมายเหตุ
การตรวจเรือประจําปเพื่อสลักหลังใบสําคัญรับรอง ใหกระทําภายในชวงเวลา ๑ เดือน กอนหรือหลังจากวันครบรอบการออกใบสําคัญรับรอง
-๔-

ใบสําคัญรับรองเลขที่

กรมการขนสงทางน้ําและพาณิชยนาวี
ใบสําคัญรับรองแนวน้ําบรรทุก
สําหรับเรือลําน้ําที่มิใชเรือกล
ออกภายใตกฎขอบังคับสําหรับการตรวจเรือ (ฉบับที่ ๓๓) พ.ศ. ๒๕๕๐

ชื่อเรือ หมายเลขทะเบียน เมืองทาจดทะเบียน ความยาว

ระยะฟรีบอรดจากเสนดาดฟา มม. (mm.)

ใหไวเพื่อรับรองวาเรือไดผานการตรวจเรือแลว ระยะฟรีบอรดและแนวน้ําบรรทุกที่กําหนดใหไว เปนไปตาม


กฎขอบังคับสําหรับการตรวจเรือ (ฉบับที่ ๓๓) พ.ศ. ๒๕๕๐ ทุกประการ

ใบสําคัญรับรองฉบับนี้ใหใชไดจนถึงวันที่
ออกให ณ ที่ทําการ เมื่อวันที่

(...........................................................)
เจาพนักงานตรวจเรือ

สําเนาถูกตอง

(นายภิมุข ประยูรพรหม)
ผูอํานวยการสํานักมาตรฐานเรือ
-๕-

การลงนามสลักหลังสําหรับการตรวจสอบประจําป
เพื่อเปนการรับรองวา เรือผานการตรวจสอบตามระยะเวลาตามขอกําหนดที่ ๒๓ ของกฎขอบังคับนี้

การตรวจสอบประจําปครั้งที่ ๑
ลงนาม
สถานที่
วันที่

การตรวจสอบประจําปครั้งที่ ๒
ลงนาม
สถานที่
วันที่

การตรวจสอบประจําปครั้งที่ ๓
ลงนาม
สถานที่
วันที่

การตรวจสอบประจําปครั้งที่ ๔
ลงนาม
สถานที่
วันที่

สําเนาถูกตอง

(นายภิมุข ประยูรพรหม)
ผูอํานวยการสํานักมาตรฐานเรือ

หมายเหตุ
การตรวจเรือประจําปเพื่อสลักหลังใบสําคัญรับรอง ใหกระทําภายในชวงเวลา ๑ เดือน กอนหรือหลังจากวันครบรอบการออกใบสําคัญรับรอง
-๖-

อัตราคาธรรมเนียมการตรวจเรือเพื่อออกใบสําคัญรับรองแนวน้ําบรรทุก
และเพื่อสลักหลังใบสําคัญรับรองแนวน้ําบรรทุก

ขนาดตันกรอสส ตรวจเรือเพื่อออกใบสําคัญรับรองครั้งละ ตรวจเรือเพื่อสลักหลังครั้งละ


(บาท) (บาท)
ไมเกิน ๖๐ ๑๐๐ ๕๐
เกิน ๖๐ ถึง ๒๐๐ ๒๐๐ ๑๐๐
เกิน ๒๐๐ ถึง ๕๐๐ ๓๐๐ ๑๕๐
เกิน ๕๐๐ ถึง ๑๐๐๐ ๔๐๐ ๒๐๐
เกิน ๑๐๐๐ ถึง ๓๐๐๐ ๖๐๐ ๓๐๐
เกิน ๓๐๐๐ ถึง ๙๐๐๐ ๑๐๐๐ ๕๐๐

ถาเรือมีขนาดเกิน ๙๐๐๐ ตันกรอสสขึ้นไป ใหเรียกเก็บคาธรรมเนียมการตรวจเรือเพื่อออกใบสําคัญรับรอง


เพิ่มขึ้นอีก ๕๐ บาท ตอทุก ๆ ๑๐๐ ตันกรอสส เศษของ ๑๐๐ ตันกรอสส ถาเกินครึ่งใหคิดเปน ๑๐๐ ตันกรอสส
ถาไมถึงครึ่งไมตองเรียกเก็บ สําหรับการตรวจเรือเพื่อสลักหลังใบสําคัญรับรองใหเรียกเก็บในอัตรากึ่งหนึ่ง
ของอัตราคาธรรมเนียมการตรวจเรือเพื่อออกใบสําคัญรับรอง

สําเนาถูกตอง

(นายภิมุข ประยูรพรหม)
ผูอํานวยการสํานักมาตรฐานเรือ

You might also like