You are on page 1of 5

แผนการสอนเครื่องลมทองเหลืองเสียงสูง

แนวความคิด

แนวทรัมเป็ ตและฮอร์นเป็ นองค์ประกอบสำคัญในการแสดงถึงความ


เป็ นเพลงมาร์ช

วัตถุประสงค์

- นักเรียนสามารถออกเสียง (Articulation) และตัดลิน



(Tonguing) ได้ถูกต้อง (slur, accent, staccato, marcato,
phrase mark)
- นักเรียนสามารถสร้างความแตกต่างของไดนามิคของเพลง The
Thunderer March และ Notre Dame Victory March ได้ถูก
ต้องตามโน้ต

เนื้อหา

1. การออกเสียง(Articulation)

การออกเสียงของเครื่องลมทองเหลือง เริ่มจากการใช้ลน
ิ ้ เรียกว่าการตัด
ลิน
้ (Tonguing)

การตัดลิน
้ (Tonguing) คือ การใช้ลน
ิ ้ เพื่อให้เกิดความชัดเจนของ
โน้ต เราใช้ส่วนของปลายลิน
้ ในการตัดลิน
้ โดยการเคลื่อนไหวขึน
้ และลง
บริเวณที่ปลายลิน
้ ควรสัมผัสในการตัดลิน
้ คือ บริเวณโคนฟั นบนด้านหน้า
ระหว่างเหงือก โดยให้แนวคิดในการหาจุดสัมผัสด้วยการพูดคำว่า “ทา”
หรือ “ทู” จะทำให้เราสามารถเจอตำแหน่งที่ดีที่สุดสำหรับการตัดลิน
้ เมื่อ
ตัดลิน
้ แล้วลิน
้ ควรกลับมาอยู่ในตำแหน่งเดิม

นักดนตรีประเภทเครื่องลมทองเหลืองใช้คำพูดในการตัดลิน
้ ที่แตก
ต่างกันไปตามช่วงเสียง (range) เพื่อให้ช่องปากมีความเหมาะสมกับ
ความเร็วลมที่ใช้ในการตัดลิน
้ เช่น

“ooh” “อู” ใช้สำหรับช่วงเสียงต่ำ

“ah” “อา” ใช้สำหรับช่วงเสียงกลาง

“ee” “อี” ใช้สำหรับช่วงเสียงสูง

ทัง้ นีข
้ น
ึ ้ อยู่กับการเลือกใช้คำพูดขึน
้ อยู่กับความถนัดของแต่ละบุคคล อาจ
เปลี่ยนตัวอักษรเป็ น ด หรือ ท ก็ได้

การตัดลิน ั ้ มาจากการวางรูปปากที่ดี
้ ให้มีประสิทธิภาพที่ดีนน

(embouchure) และลมที่ใช้ (breath control) ทำงานไปพร้อม


กัน การฝึ กตัดลิน
้ เราจึงควรให้ความสำคัญเรื่องของการใช้ลมให้
ถูกต้องเป็ นอันดับแรก

การออกเสียงในแบบต่างๆ

โน้ตปกติ ไม่มีเครื่องหมายใดๆกำกับอยู่ให้เป่ าเต็ม


ค่าตัวโน้ตแยกตัวโน้ตเป็ นตัวๆ ออกจากกัน และให้
หางเสียงเบาลงเล็กน้อย
LEGATO (เสียงต่อเนื่อง) มีเครื่องหมาย “ . ”
และเครื่องหมายโยงเสียง กระแสลมไหลต่อเนื่อง
กัน(ไม่ขาดจากกัน)

TENATO(เสียงเต็ม) เป่ าเต็มค่าของตัวโน้ต เป่ า


แรงๆ หางเสียงไม่เบาลง

MARCATO(เน้น) กระแทกเสียงให้ดังมากกว่า
เครื่องหมายที่กำหนดความดังที่กำกับไว้ประมาณ 1
ขัน
้ และเบาลงเข้าหาความดังจริง เช่น ถ้าเดิมใช้
mf ให้กระแทกเสียงตัวโน้ตนัน
้ ด้วย f แล้วเบาลงเข้าหา mf ตามเดิม

STACCATO ตรงกันข้ามกับ LEGATO แปลว่าให้


แยกออกจากกันทำให้ค่าของตัวโน้ตเป็ นครึ่งเดียว
ของโน้ตที่บันทึกอยู่ เช่น ถ้าเล่นหมายความว่าให้
เป่ าเหลือ
2. ความเข้มของเสียง (Dynamic) หมายถึง ความดัง-เบาของเสียง
ประกอบด้วย สัญลักษณ์เครื่องหมาย ตัวอักษรย่อต่าง ๆ เพื่อสื่อ
อารมณ์เพลงให้ชัดเจนยิ่งขึน
้ เช่น
- Crescendo Cres. หรือ ค่อย ๆ ดังขึน
้ ทีละน้อย
- Diminuendo Dim. หรือ ค่อย ๆ เบาลงทีละน้อย
- Pianissimo (pp) เบามาก
- Piano (p) เบา
- Mezzo-Piano (mp) ค่อนข้างเบา
- Mezzo-Forte (mf) ดังปานกลาง
- Forte (f) ดัง
- Fortissimo (ff) ดังมาก

ขัน
้ นำ

1. ครูกล่าวทักทายนักเรียนพร้อมทำความรู้จักนักเรียน
2. ครูนำฝึ กแบบฝึ กหัดวอร์มลม
3. แยกกลุ่มตามเครื่องดนตรี
4. ครูทบทวนความรู้การออกเสียงและการตัดลิน
้ พร้อมทัง้ ทบทวน
บทเพลง The Thunderer March ในช่วงครึ่งแรกของเพลง
5. ครูกล่าวถึงแนวคิดของท่อน Trio ในบทเพลง The Thunderer
March

ขัน
้ สอน
1. ครูให้นักเรียนอธิบายการเล่นระดับเสียงดัง-เบา (Dynamic) ใน
ความเข้าใจของนักเรียนพร้อมให้นักเรียนสาธิต
2. ครูสอนการเล่นระดับเสียงความดัง-เบา (Dynamic) พร้อมทัง้
สาธิต
3. ครูให้นักเรียนเล่นเพลง The Thunderer March ท่อน Trio
และ Finale โดยใช้แนวคิดที่สอนมา
4. ครูให้นักเรียนเล่นเพลง Notre Dame Victory March โดยใช้
แนวคิดเดียวกับเพลง The Thunderer March ท่อน Trio โดย
ไม่ต้องบอกแนวคิดใหม่

ขัน
้ สรุป

1. นักเรียนอธิบายเรื่องการออกเสียง (Articulation) และการตัด


ลิน
้ (Tonguing)
2. นักเรียนอธิบายเรื่องการเล่นระดับเสียงความดัง-เบา (Dynamic)

You might also like