You are on page 1of 7

ใบความรู้

กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ (ดนตรี – นาฏศิลป์) หน่วยการเรียนรู้ที่ ๘ การขับร้องเพลง


เรื่อง เครื่องหมายและสัญลักษณ์ทางดนตรีสากล ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ เวลา ๒ ชั่วโมง
โรงเรียนบ้านชาด สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต ๓

๑. โน้ตดนตรีสากล
๑.๑. ตัวโน้ต คือ เครื่องหมายที่ใช้สาหรับบอกระดับเสียงดนตรีและความสั้นยาวของเสียงในบท
เพลง ดังนี้
โน้ตตัวกลม มีอัตราความยาวของเสียง 4 จังหวะ ( 1-2-3-4 ) เป็นตัวกาหนดให้ลาก
เสียงยาเท่ากับการที่เรานับ 1-4 จึงจะหยุด
โน้ตตัวขาว มีอัตราความยามของเสียง 2 จังหวะ ( 1-2 ) เป็นตัวกาหนดให้ลากเสียง ยาวเท่ากับ
การที่เรานับ 1-2 จึงจะหยุด
โน้ตตัวดา มีอัตราความยาว 1 จังหวะ เป็นตัวกาหนดให้ลากเสียงยาวเท่ากับการที่เรานับ 1 จึงจะ
หยุด
โน้ตตัวเขบ็ตหนึ่งชั้น มีอัตราความยาวเท่ากับ เศษ1ส่วน2 ของจังหวะโน้ตตัวดา มีควายยาวเสียง
ครึ่งหนึ่งของโน้ตตัวดา

๒. บรรทัด ๕ เส้น ใช้สาหรับบันทึกตัวโน้ต แสดงระดับเสียงสูง-ต่า ลักษณะของบรรทัด ๕ เส้น จะเป็นเส้นตรง


๕ เส้นขนานกันและมีช่องระหว่างเส้น ๔ ช่อง การบันทึกตัวโน้ตที่มเี สียงเกินเส้นที่ ๕ หรือต่ากว่าเส้นที่ ๑ ให้ใช้วิธีการขีด
เส้นสั้นๆเฉพาะตัวโน้ตที่บันทึกเท่านั้น เส้นที่ขีดเพิ่มขึ้นนีเ้ รียกว่า เส้นน้อย
๓. กุญแจประจาหลัก มีหน้าที่กาหนดเสียงของตัวโน้ตทีอ่ ยู่ในบรรทัด ๕ เส้น เหตุที่เรียกว่า กุญแจซอลเพราะว่าเส้นเริ่ม
ของการเขียนสัญลักษณ์นี้จะเริม่ ต้นเส้นที่ ๒ ซึ่งเป็นเสียงของ ซอล

๔. เครื่องหมายหยุด คือ เครื่องหมายที่ทาให้เสียงเงียบหรือหายไปชั่วขณะหรือชั่วคราวแต่จะนับจังหวะเช่นเดียวกัน

๕.เส้นกั้นห้อง คือ เส้นทีม่ ีขีดขวางตั้งฉากกับบรรทัด 5 เส้น ใช้แบ่งจังหวะเพลงโดยในแต่ละห้องจะมีอัตราจังหวะเท่ากัน


ใบงาน
กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ (ดนตรี – นาฏศิลป์) หน่วยการเรียนรู้ที่ ๘ การขับร้องเพลง
เรื่อง เครื่องหมายและสัญลักษณ์ทางดนตรีสากล ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ เวลา ๒ ชั่วโมง
ชื่อ - สกุล ...................................................................................... เลขที่............................
โรงเรียนบ้านชาด สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต ๓

๑. ให้นักเรียนฝึกเขียน ตัวโน้ตสากล อย่างละ ๑๐ ตัว ดังต่อไปนี้


๑.๑. โน้ตตัวกลม .................................................................................................................................................
๑.๒. โน้ตตัวขาว .................................................................................................................................................
๑.๓. โน้ตตัวดา ...................................................................................................................................................
๑.๔. โน้ตตัวเขบ็ต ๑ ชั้น ......................................................................................................................................

๒. ให้นักเรียนฝึกเขียน บรรทัด ๕ เส้น มาคนละ ๕ บรรทัด


๓. ให้นักเรียนฝึกเขียน กุญแจซอล มาคนละ ๔๐ ต้ว โดยเขียนลงในบรรทัด ๕ เส้นที่กาหนดให้ต่อไปนี้
ใบความรู้
กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ (ดนตรี – นาฏศิลป์) หน่วยการเรียนรู้ที่ เครื่องหมายและสัญลักษณ์ทางดนตรี
เรื่อง บันไดเสียง ๕ เสียง Pentatonic scale ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ เวลา ๒ ชั่วโมง
โรงเรียนบ้านชาด สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต ๓

บันไดเสี ยง ( Scale )
หมายถึง การจัดเรียนงระดับเสี ยงของดนตรีจากเสี ยงต่าไปหาเสี ยงสูง เป็ นขั้นๆ แต่ละ
ขัน
้ มีช่ื อเรียก และมีระยะห่างของเสี ยงไม่เท่ากันก็ได้ ตามลาดับ

บันไดเสี ยงเพนทาโทนิ ค (Pantatonic Scale)


บันไดเสี ยงที่จัดขัน
้ บันไดเป็ น ๕ ขัน
้ แต่ละขัน้ มีช่ื อเรียกระดับเสี ยง และว่างระยะห่างที่
แตกต่างกัน คือ ๑ เสี ยงเต็ม (Tone) และ ๑ ครึง ่ เสี ยง (๓ Samitones)

๑ เสี ยง
๑ ครึ่งเสี ยง

๑ เสี ยง ขัน
้ ที่ ๕
ขัน
้ ที่ ๔
๑ เสี ยง
ขัน
้ ที่ ๓
ขัน
้ ที่ ๒ จะเห็นได้ว่าเมือ่ เราเปรียบเทียบขั้นบันไดเสียง
ขัน
้ ที่ ๑ ระหว่าง บันไดเสียงเมเจอร์กับบันไดเสียเพนทา
โทนิค บันเสียงเมอร์ที่ ๗ ขั้น ส่วน บันไดเสียง
เพนทาโทนิค มีแค่เพียง ๕ ขั้นเท่านัน
Major Scale & Pantatonic Scale

pentatonic scale เกิดจากการตัดตัวที่


และ 7 ของ major scale 4
ออกไป เช่ น C Major scale = C D E F G A B พอตัด 4 กับ 7 ออก ก็มี
แค่ C D E G A ซึ่ งก็คอ
ื C Major pentatonic scale

เครื่องหมายแปลงเสียง
เป็นเครื่องหมายทีท่ าให้เสียงของตัวโน้ตสูงขึ้น หรือต่าลงครึง่ เสียง ตามปกติใช้เขียนหน้าตัวโน้ตที่ต้องการแปลงเสียง มีดังนี้
1) เครือ่ งหมายชาร์ป (Sharp) เป็นเครือ่ งหมายแปลงเสียงที่ทาให้เสียงทีท่ าให้ตัวโน้ตมีระดับเสียงสูงขึ้นกว่าปกติครึ่งเสียง

2) เครือ่ งหมายแฟลต (Flat) เป็นเครื่องหมายแปลงเสียงที่ทาให้ตัวโน้ตมีระดับเสียงต่าลงกว่าปกติครึ่งเสียง

3) เนเจอรัล (Natural) ใช้แปลงสภาพของตัวโน้ตที่เคยถูกเครื่องหมาย ชาร์ป หรือ แฟลต บังคับเสียงให้สูงขึ้นหรือต่าลงกว่าปกติ


ไว้แล้วให้กลับมาใช้เสียงเดิม
ใบงาน
กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ (ดนตรี – นาฏศิลป์) หน่วยการเรียนรู้ที่ เครื่องหมายและสัญลักษณ์ทางดนตรี
เรื่อง บันไดเสียง ๕ เสียง Pentatonic scale ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ เวลา ๒ ชั่วโมง
ชื่อ - สกุล ............................................................................... เลขที่ ...................................
โรงเรียนบ้านชาด สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต ๓

คาสั่ ง : ให้นักเรียนเขียนบันไดเสี ยง Pantatonic โดยให้เปลี่ยนจากบันได Major ที่


กาหนดให้ต่อไปนี้

๑. D E F# G A B C#
…………………………………………………………………..
………………………………………………………………….
๒. G A B C D E F#
………………………………………………………………..
…………………………………………………………………
๓. A B C# D E F# G#
………………………………………………………………….
………………………………………………………………….
๔. B C# D# E F# G# A#
………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………..
๕. E F# G# A B C# D#
………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………

You might also like