You are on page 1of 5

ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 13 ทักษะ

ทักษะวิทยาศาสตร์ขันพื้นฐาน 8 ทักษะ
ทักษะที่ 2 การวัด คือ การใช้เครื่องมือสำหรับวัดข้อมูล
ในเชิงปริมาณของสิง่ ต่างๆ
ทักษะที่ 1 การสังเกตุ คือ เป็ นทักษะเพื่อการแสวงหาความรู้
ทั่วไป ประกอบด้วย จมูก ลิน
้ กายสัมผัส
ทักษะที่ 11 การกำหนด และ ควบคุมตัวแปร คือ การบ่งชี ้ และกำหนด
ลักษณะ
ตัวแปรใดๆๆ
ทักษะที่ 12 การทดลอง คือ กระบวนการปฎิบัติ และทำซ้ำในขัน
้ ตอนเพื่อ
หา
คำตอบจากสมมติฐาน
ทักษะที่ 3 การคำนวณ คือ การนับจำนวนของวัตถุและการนับตัวเลขที่ได้
จากการนับ
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขน
ั ้ ูรณาการ 5 ทักษะ
ทักษะที่ 9 การตัง้ สมมติฐาน คือ การตัง้ คำถามหรือคิดคำตอบ่วงหน้าก่อน
การทดลอง
ทักษะที่ 10 การกำหนดนิยามเชิงปฎิบัติการ คือ การกำหนด และ อธิบาย
ความหมาย
และ ขอบเขตของคำต่างๆๆ
ทักษะที่ 4 การจำแนกประเภท คือ การเรียงลำดับ และแบ่งกลุ่มวัตถุหรือ
รายละ
เอียดข้อมูลด้วยเกณฑ์ความแตกต่าง
ทักษะที่ 8 การพยากรณ์ คือ การทำนายหรือคาดคะเนคำตอบ โดยอาศัย
ข้อมูลที่ได้จากกาังเกตหรือทำซ้ำ
ทักษะที่ 5 การหาความสัมพันธ์ระหว่างสเปสกับสเปส และ สเปสกับเวลา
สเปสของวัตถุ คือ ที่ว่างที่วตถุนน
ั ้ ครองอยู่
ความสัมพันธ์ระหว่างสเปสของวัตถุกับเวลา ได้แก่ความสัมพันธ์ของการ
เปลี่ยน
แปลงตำแหน่งของวัตถุกับช่วงเวลา
ทักษะที่ 7 การลงความเ็นจากข้อมูล คือ การเพิ่ม
ความคิดเห็นของตนต่อข้อมูลที่ได้จากการสังเกตอย่าง
มีเหตุผล
ทักษะที่ 6 การจัดกระทำ คือ การนำข้อมูลที่ได้จากการสังเกต และการวัด
มาจัดกระทำให้มีความหมาย
ทักษะที่ 13 การตีความหมายข้อมูล และการลงข้อมูล คือ การแปรความ
หมายหรือ
การบรรยายลักษณะและสมบัติของข้อมูลที่มีอยู่

ทักษะที่ 1 ทักษะการสั งเกต (Observation)


ความหมาย : เป็ นวิธีการหาข้อมูลโดยตรงจากการใช้ประสาทสัมผัสทั้งห้า ได้แก่ การดู การดม การฟัง การชิม และการสัมผัส ทั้งนี้ โดยไม่ใส่ ความเห็นหรื อประสบการณ์เดิมของผู ้
สังเกตลงไป
ข้อมูลที่ได้จากการสังเกตเป็ น ข้อมูลเชิงประจักษ์ 

     ทักษะที่ 2 ทักษะการวัด (Measurement)


ความหมาย : เป็ นการเลือกและการใช้เครื่ องมือ ทำการวัดหาปริ มาณของสิ่ งต่าง ๆ ออกมาเป็ นตัวเลขที่แน่นอนได้เหมาะสม และถูกต้อง โดยมีหน่วยกํากับเสมอ

ทักษะที่ 3 ทักษะการจำแนกประเภท (Classification)


ความหมาย : เป็ นการจัดแบ่งหรื อเรี ยงลำดับวัตถุหรื อสิ่ งของที่อยูใ่ นประสบการณ์ โดยมีเกณฑ์ซ่ ึงเกณฑ์น้ นั อาจใช้ความเหมือนความแตกต่าง ความสัมพันธ์อย่างใดอย่างหนึ่งก็ได้

     ทักษะที่ 4 การหาความสัมพันธ์ ระหว่ างสเปสกับสเปสและสเปสกับเวลา (Spacs / Spacs Reation and Space /Time Relation)
ความหมาย : เป็ นการจัดแบ่งหรื อเรี ยงลำดับวัตถุหรื อสิ่ งของที่อยูใ่ นประสบการณ์ โดยมีเกณฑ์ซ่ ึงเกณฑ์น้ นั อาจใช้ความเหมือน ความแตกต่างความสัมพันธ์อย่างใดอย่างหนึ่งก็ได้
    แกมมาออริ ซานอล Gamma Oryzanol มีคุณสมบัติดงั นี้
     ทักษะที่ 5 การคำนวน (Using Number)
ความหมาย : เป็ นการนับจำนวนของวัตถุและการนำตัวเลขแสดงจำนวนที่นบั ได้มาคิดคำนวน โดยการบวก ลบ คูณ หาร หรื อหาค่าเฉลี่ย

     ทักษะที่ 6 การจัดทำและสื่อความหมายข้ อมูล (Organizing Data and Communication)


ความหมาย : เป็ นการนำข้อมูลที่ได้รับจากการสังเกต การวัด การทดลอง และจากแหล่งอื่นๆ มาจัดกระทำเสี ยใหม่ โดยการหาความถี่เรี ยงลำดับ จัดแยกประเภท หรื อคำนวณหาค่า
ใหม่ เพื่อให้ผอู ้ ื่นเข้าใจความหมายของข้อมูลชุดนั้นดีข้ ึน โดยการนำเสนอในรู ปของตารางแผนภูมิ แผนภาพ ไดอะแกรม กราฟสมการ หรื อการเขียนบรรยาย

     ทักษะที่ 7 การลงความคิดเห็นจากข้ อมูล (Inferring)


ความหมาย : เป็ นการเพิ่มความคิดเห็นให้กบั ข้อมูลที่ได้จากการสังเกตอย่างมีเหตุผลโดยอาศัยประสบการณ์เดิมมาช่วย

     ทักษะที่ 8 การพยากรณ์ (Prediction)


ความหมาย : เป็ นการาดคะเนคำตอบล่วงหน้าก่อนทำการทดลอง โดยอาศัยประสบการณ์ที่เกิดซํ้า ๆ หลักการ กฏ หรื อทฤษฎีที่มีอยูแ่ ล้ว ในเรื่ องนั้นมาช่วยในการสรุ ป เช่น การ
พยากรณ์ขอ้ มูลที่เกี่ยวกับตัวเลข ได้แก่ ข้อมูลที่เป็ นตาราง หรื อ กราฟ ซึ่งทำได้ 2 แบบ คือ
1. การพยากรณ์ภายในขอบเขตของข้อมูล
2. การพยากรณ์ภายนอกขอบเขตของข้อมูล

     ทักษะที่ 9 การตั้งสมมติฐาน (Formulating Hypothesis)


ความหมาย : เป็ นการคิดหาคำตอบล่วงหน้าก่อนการทดลอง โดยอาศัยการสังเกตความรู้และประสบการณ์เดิมเป็ นฐาน

     ทักษะที่ 10 การกำหนดนิยามเชิงปฏิบัติการ (Defining Operation)


ความหมาย : เป็ นการกําหนดความหมายและขอบเขตของคำต่าง ๆ ที่อยูใ่ นสมมติฐานที่ตอ้ งการทดลองให้เกิดความเข้าใจตรงกันและสามารถสังเกตได้หรื อวัดได้ โดยให้คำตอบ
เกี่ยวกับการทดลองและบอกวิธีวดั
ตัวแปรที่เกี่ยวกับการทดลองนั้น

     ทักษะที่ 11 การกำหนดและควบคุมตัวแปร (Identifying and Controlling Variables)


ความหมาย : เป็ นการบ่งชี้ตวั แปนต้น ตัวแปรตาม และตัวแปรที่ตอ้ งควบคุมในการตั้ง สมมติฐานหนึ่งๆ

     ทักษะที่ 12 การทดลอง (Experiment)


ความหมาย : เป็ นกระบวนการปฏิบตั ิงานเพื่อหาคำตอบจากสมมติฐานที่ต้ งั ไว้ในการทดลอง ซี่งประกอบด้วย 3 ขั้นตอน ได้แก่
1. การออกแบบการทดลอง
2. การปฏิบตั ิการทดลอง
3. การบันทึกผลการทดลอง

     ทักษะที่ 13 การตีความหมายข้ อมูลและลงข้ อสรุ ป (Interperting Data and Making)


ความหมาย : เป็ นการแปลความหมายหรื อบรรยายลักษณะข้อมูลที่มีอยู่ การตีความหมายของข้อมูล ในบางครั้งอาจต้องใช้ทกั ษะอื่น ๆ ด้วย เช่น การสังเกต การคำนวน เป็ นต้น และ
การลงข้อสรุ ป หมายถึง การสรุ ปความสัมพันธ์ของข้อมูลทั้งหมด การลงข้อสรุ ป สามารถทำได้ 2 ระดับ คือ
1. การสรุ ปในระดับแคบ คือ การสรุ ปให้อยูเ่ ฉพาะกลุ่มตัวอย่างหรื อสิ่ งที่นำมาศึกษา
2. การสรุ ปในระดับกว้าง คือ การสรุ ปที่ออกนอกขอบเขตของกลุ ่มตัวอย่างแต่เป็ นการขยายกว้างไปสู่ ประชากรหรื อกลุ่มใหญ่ ข้อสรุ ปนี้ มีความเชื่อถือได้นอ้ ยกว่าแบบแรก
5.  ทักษะการใช้ ความสัมพันธ์ ระหว่ างสเปสกับสเปสและสเปสกับเวลา สเปส หมายถึง ที่วา่ งหรื อ
อวกาศ สเปสของวัตถุ หมายถึง ทางที่วตั ถุน้ ันครองที่หรื อกินอยู่ และมีรูปร่ างลักษณะเช่นเดียวกับวัตถุน้ นั โดย
ทัว่ ไปแล้วสเปสของวัตถุจะมี  3 มิติ คือ ความกว้าง ความยาว และ
ความสู ง (หรื อความหนา)  ความสัมพันธ์ระหว่างสเปสกับสเปสของวัตถุ ได้แก่ ความสัมพันธ์ระหว่าง
มิติ 3 มิติ กับ 2 มิติ ความสัมพันธ์ระหว่างตำแหน่งที่อยูข่ องวัตถุหนึ่งกับอีกวัตถุหนึ่งความสัมพันธ์ระหว่าง
สเปสของวัตถุกบั เวลา ได้แก่ ความสัมพันธ์ระหว่างการเปลี่ยนแปลงตำแหน่งที่อยูข่ องวัตถุกบั เวลาหรื อความ
สัมพันธ์ระหว่างการเปลี่ยนขนาดหรื อปริ มาณของวัตถุกบั เวลา
อาจกล่าวโดยภาพรวมได้วา่ การใช้ความสัมพันธ์เกี่ยวกับสเปส หมายถึง ความสามารถในการระบุความ
สัมพันธ์ระหว่างสิ่ งต่อไปนี้ คือ
     1.  ความสัมพันธ์ระหว่าง 2 มิติ กับ 3 มิติ
     2.  สิ่ งที่อยูห่ น้ากระจกเงากับภาพที่ปรากฏในกระจกเงาว่าจะเป็ นซ้ายขวาของกันและกันอย่างไร 
     3.  ตำแหน่งที่อยูข่ องวัตถุหนึ่งกับอีกวัตถุหนึ่ง
     4.  การเปลี่ยนแปลงตำแหน่งที่อยูข่ องวัตถุกบั เวลาหรื อสเปสของวัตถุที่เปลี่ยนไปกับเวลา

http://newjume1.blogspot.com/2013/01/blog-post_2638.html

You might also like