7 3 A Sunai

You might also like

You are on page 1of 31

1

การชาระเงินตามสัญญาซื้อขายระหว่ างประเทศ
(Finance of International Sales)

สุ นัย มโนมัยอุดม 

วิธีก ารชาระเงิ นตามสัญญาซื้ อขายระหว่างประเทศถื อว่าเป็ นสาระส าคัญ ของสัญญาซึ่ ง


คู่ สั ญ ญาจะต้อ งตกลงกัน ก่ อ น ส่ว นจะเลื อ กใช้ วิธี ใดนัน้ มี ปั จ จัย ประกอบในการพิ จ ารณา ๔
ประการ คือ เวลา วิธีการ สถานที่ และสกุลของเงินตรา วิธีที่คู่สัญญามักจะตกลงทามี ๔ วิธี คือ
๑. การชาระเงินสดล่วงหน้า (Advance Payment)
๒. การเปิ ดบัญชี (Open Account)
๓. การใช้ตวั๋ แลกเงิน (Bill of Exchange)
๔. การเปิ ดเลตเตอร์ออฟเครดิต (Letter of Credit)

๑. การชาระเงินสดล่วงหน้ า (Avance Payment)


วิธีน้ ี ผซู ้ ้ื อสิ นค้าจะชาระเงินพร้อมกับการสั่งสิ นค้า เป็ นการชาระเงินล่วงหน้า ผูซ้ ้ื อจึงเป็ น
ฝ่ ายเสี ยเปรี ยบ เพราะต้องชาระเงิ นไปก่อนที่จะได้รับสิ นค้า นอกจากนี้ ผูซ้ ้ื อยังต้องเสี่ ยงต่อการที่
ผู ข้ ายเมื่ อ ได้รับ เงิ น แล้ว อาจไม่ ส่ ง สิ น ค้าให้ ต ามจ านวน คุ ณ ภาพ และภายในเวลาที่ ต กลงกัน
ส่ วนผูข้ ายเป็ นฝ่ ายได้เปรี ย บเพราะจะได้รับ เงิ น ก่ อน ผู ซ้ ้ื อ จึ งมัก จะยอมใช้วิธี น้ ี เฉพาะในขณะ
ที่สินค้าหายาก และเป็ นที่ตอ้ งการกันทัว่ ไป

๒. การเปิ ดบัญชี (Open Account)


วิธีน้ ี ตรงกันข้ามกับวิธีแรก โดยผูข้ ายจะส่ งสิ นค้าให้ผูซ้ ้ื อก่อน และลงบัญชี ค่าสิ นค้าใน
บัญชีเงินเชื่อ (Open Account) ส่ วนผูซ้ ้ื อจะชาระเงินให้ผขู ้ ายตามระยะเวลาที่ตกลงกันเช่น ๑ เดือน
๓ เดื อน หรื อนานกว่านั้น วิธีน้ ี ผูซ้ ้ื อเป็ นฝ่ ายได้เปรี ยบเพราะได้รับสิ นค้ามาขายก่อนแล้วจึงชาระ
เงินทีหลัง ส่ วนผูข้ ายเป็ นฝ่ ายเสี ยเปรี ยบเพราะต้องส่ งสิ นค้าก่อนและไม่มีหลักประกันการชาระเงิน
จากผูซ้ ้ื อผูข้ ายมักจะยอมใช้วิธีน้ ี แก่ผูซ้ ้ื อที่ มีเครดิ ตดี หรื อเมื่ อไม่สามารถขายสิ นค้าให้แก่ ผูอ้ ื่ นได้
หรื อใช้สาหรับการขายสิ นค้าโดยวิธีฝากขาย (Consignment) ผูซ้ ้ื ออาจชาระเงินให้ผขู ้ ายโดยส่ งเช็ค
ไปให้ผขู ้ าย โอนเข้าบัญชีผขู ้ ายหรื อโดยซื้ อดร๊ าฟท์จากธนาคารแล้วส่ งให้ผขู ้ าย


อดีตผูพ้ ิพากษาหัวหน้าคณะในศาลทรัพย์สินทางปั ญญาและการค้าระหว่างประเทศกลาง
ผูพ้ ิพากษาหัวหน้าคณะในศาลอุทธรณ์ อธิบดีกรมสอบสวนคดีพิเศษ เลขาธิการสานักงานป้ องกัน
และปราบปรามการทุจริ ตภาครัฐ ปั จจุบนั เป็ นผูพ้ ิพากษาอาวุโสในศาลอุทธรณ์ภาค 1
2

๓. การใช้ ตั๋วแลกเงิน (Bill of Exchange)


วิธีน้ ีเมื่อผูข้ ายจัดส่ งสิ นค้าลงเรื อให้ลูกค้าแล้ว ก็จะจัดทาตัว๋ แลกเงินส่ งไปให้ผซู ้ ้ื อชาระเงิน
หรื อรับรองการใช้เงิน วิธีน้ ี ให้ประโยชน์แก่ท้ งั ฝ่ ายผูซ้ ้ื อและผูข้ าย โดยผูข้ ายสามารถนาตัว๋ แลกเงิน
ซึ่ งรับรองการใช้เงิ นแล้วไปขาย หรื อใช้เป็ นหลักประกันในการกู้เงิ นจากธนาคารได้ ส่ วนผูซ้ ้ื อ
ได้รับประโยชน์จากระยะเวลาการชาระเงินเพราะไม่ตอ้ งชาระเงินแก่ผขู ้ ายทันที ยกเว้นตัว๋ แลกเงิน
ชนิดสั่งจ่ายเมื่อเห็น (payable at sight)
ประมวลกฎหมายแพ่ งและพาณิ ช ย์ มาตรา ๙๐๘ ให้ค าจากัดความตั๋วแลกเงิ น ไว้ดัง นี้
"อันว่าตัว๋ แลกเงิ น คือ หนังสื อตราสารซึ่ งบุคคลหนึ่ ง เรี ยกว่า ผูส้ ั่งจ่าย สั่งบุคคลอื่นอีกคนหนึ่ ง
เรี ยกว่า ผูจ้ ่าย ให้ใช้เงิ นจานวนหนึ่ งแก่ บุ คคลหนึ่ ง หรื อให้ใช้ตามคาสั่ งของบุ คคลคนหนึ่ งซึ่ ง
เรี ยกว่า ผูร้ ับเงิน"
ในการซื้ อขาย ผูส้ ั่งจ่ายก็คือผูท้ ี่จะให้มีการชาระเงินซึ่ งได้แก่ผขู ้ ายหรื อผูส้ ่ งออก ผูจ้ ่ายคือ
ผูท้ ี่ ต้องช าระเงิ น ซึ่ งได้แก่ ผูซ้ ้ื อหรื อผูน้ าเข้า ส่ วนผูร้ ั บ เงิ น ได้แก่ ผูส้ ั่ ง จ่ ายหรื อตัวแทนผูส้ ั่ ง จ่า ย
กรณี ที่ให้ธนาคารเป็ นผูเ้ รี ยกเก็บก็คือธนาคาร
ตัว๋ แลกเงิ นมี ท้ งั ประเภทที่ ไม่ ตอ้ งมี เอกสารประกอบ (Clean Bill) และประเภทที่ต้องมี
เอกสารประกอบ (Documentary Bill) ส าหรั บ ตั๋ ว แลกเงิ น ที่ นิ ยมใช้ ใ นการซื้ อขายสิ นค้ า
ระหว่า งประเทศ ได้แ ก่ ตั๋ว แลกเงิ น ที่ มี เอกสารประกอบ วิ ธี น้ ี เมื่ อ ผู ข้ ายส่ ง สิ น ค้าลงเรื อ แล้ว
ผู ้ ข ายก็ จะ อ อ ก ตั๋ ว แ ล ก เงิ น พ ร้ อ ม ม อ บ เอ ก ส ารก ารข น ส่ งสิ น ค้ า (shipping documents)
ให้แก่ธนาคารตัวแทนในประเทศของผูข้ ายเพื่อส่ งให้ธนาคารตัวแทนในประเทศผูซ้ ้ื อ และสั่งให้
ธนาคารตัวแทนในประเทศผูซ้ ้ื อยืน่ ตัว๋ แลกเงินให้แก่ผซู ้ ้ื อ หรื อผูข้ ายอาจส่ งให้แก่ตวั แทนของผูข้ าย
ซึ่ งอยู่ใ นประเทศผู ้ซ้ื อ ยื่ น ให้ แ ก่ ผู ซ้ ้ื อ โดยตรง กรณี ที่ ใ ห้ ธ นาคารเป็ นตัว แทน ผู ้ซ้ื อ เมื่ อ ได้รั บ
ตัว๋ แลกเงิ นแล้วก็ตอ้ งชาระเงินแก่ธนาคารตัวแทนทันทีหากตัว๋ แลกเงิ นเป็ นชนิ ดสั่งจ่ายเมื่อได้เห็ น
(Document Against Payment) หรื อรั บรองตัว๋ แลกเงิ นนั้น (Document against acceptance) ใน
กรณี ที่ตวั๋ แลกเงินเป็ นชนิ ดที่มีกาหนดเวลา ส่ วนธนาคารก็จะมอบเอกสารการขนส่ งสิ นค้าต่างๆ
ให้แก่ผซู ้ ้ื อเพื่อผูซ้ ้ื อจะได้นาไปเป็ นหลักฐานในการออกสิ นค้าต่อไป
การเรี ยกเก็บเงินวิธีน้ ี ธนาคารจะทาหน้าที่ในฐานะตัวแทน เพื่อให้ได้มาซึ่ งการรับรองหรื อ
จ่า ยเงิ น ตามตัว๋ เท่ านั้น ธนาคารไม่ มี ค วามผูก พัน ใดๆ ด้วย ในการเรี ย กเก็ บ เงิ น นี้ ธนาคารและ
ผู ้ที่ เกี่ ย วข้อ งมัก จะตกลงปฏิ บ ัติ ต ามกฎข้อ บัง คับ ส าหรั บ การเรี ย กเก็ บ เงิ น (Uniform Rules for
Collections) ซึ่ งร่ างโดยหอการค้านานาชาติ ฉบับแก้ไขใหม่ปี ๑๙๙๕ มีผลบังคับใช้ต้ งั แต่วนั ที่ ๑
มกราคม ๑๙๙๖ (๒๕๓๙) เป็ นต้นไป
เอกสารและหลักฐานในการซื้ อขายสิ นค้าซึ่ งจะต้องแนบมาพร้อมกับตัว๋ แลกเงินได้แก่บญั ชี
สิ นค้า (Invoice) ใบตราส่ ง (Bill of Lading) กรมธรรม์ประกันภัย (Insurance Policy) นอกจากนั้น
3

ในบางกรณี อาจต้องมี ใบส าคัญแสดงแหล่ งก าเนิ ดสิ นค้า (Certificate of Origin) ใบสาคัญ แสดง
การตรวจสิ นค้า (Certificate of Inspection) ใบกากับที่กงสุ ลรับรอง (Consular Invoice) และอื่นๆ
ตามแต่จะตกลงกัน
๔. การเปิ ดเลตเตอร์ ออฟเครดิต (Letter of Credit)
UCP 600 3 ข้อ 2 ให้คาจากัดความของเครดิตไว้ดงั นี้
เครดิต (Credit) หมายถึงการดาเนินการใด ๆ (arrangement) ไม่วา่ จะเรี ยก หรื อบรรยายไว้
อย่างไร ซึ่ งเพิกถอนไม่ได้ และก่อให้เกิดภาระผูกพันซึ่ งเพิกถอนไม่ได้ของธนาคารผูเ้ ปิ ด (Issuing
Bank) ในอันที่จะทาการชาระเงิน (Honors ) เมื่อมีการยื่นเอกสารที่ถูกต้องตรงตามที่กาหนด และ
เงื่อนไข (a complying presentation) ในเครดิต
การชาระเงิน (Honors) หมายถึง
(a) ชาระเงินเมื่อได้เห็นเอกสาร หากเครดิตเป็ นชนิดชาระเงินทันที่ที่เห็น (sight payment)
(b) รับจะชาระเงินในเวลาที่กาหนด และชาระเงินเมื่อถึ งกาหนดเวลานั้น หากเครดิ ตเป็ น
ชนิดชาระเงินแบบมีกาหนดเวลา (deferred payment)
(c) รับ รองตัวแลกเงิ น (draft) ซึ่ งผูร้ ั บประโยชน์เป็ นผู ้ออกและช าระเงิ น เมื่ อถึ งก าหนด
หากเครดิตเป็ นชนิดกาหนดให้มีการรับรอง (acceptance)
การยืนยันเอกสารตามที่ กาหนด (Complying presentation) หมายถึ ง การยื่นเอกสารตาม
ข้อตกลงและเงื่ อนไขในเครดิ ตโดยยึดข้อกาหนดของ UCP และหลักปฏิ บตั ิตามมาตรฐานสากล
ของธนาคาร
ข้อ 3 ให้ความหมายของเครดิตว่า เครดิตเป็ นประเภทที่เพิกถอนไม่ได้ (irrevocable) ถึงแม้
จะไม่ได้มีการระบุไว้ให้มีผลเช่นนั้นก็ตาม
กล่ า วโดยสรุ ป เลตเตอร์ อ อฟเครดิ ต ก็ คื อ ข้อ ตกลงซึ่ งธนาคารรั บ ด าเนิ น การตามค าสั่ ง
ของผู ข้ อเปิ ดในอัน ที่ จะจ่ ายเงิ น ให้ ผู ร้ ั บ ประโยชน์ ห รื อตามค าสั่ ง ของผูร้ ั บ ประโยชน์ เมื่ อ ได้มี
การยืน่ เอกสารถูกต้องตรงตามข้อตกลงและเงื่อนที่ได้ระบุไว้
ขั้นตอนในการชาระเงินโดยเลตเตอร์ ออฟเครดิตมีดงั ต่อไปนี้
๑) ผูข้ ายซึ่ งอยูป่ ระเทศหนึ่งและผูซ้ ้ื ออยูอ่ ีกประเทศหนึ่ ง ได้ทาความตกลงกันไว้ในสัญญา
ซื้ อขายว่า การชาระเงินตามสัญญาซื้ อขายให้กระทาโดยการเปิ ดเลตเตอร์ ออฟเครดิต
๒) ผูซ้ ้ื อซึ่ งอยูป่ ระเทศหนึ่ งก็จะติดต่อขอให้ธนาคารในประเทศของตน เรี ยกว่า ธนาคาร
ผู ้เปิ ดเครดิ ต (Issuing Bank) ให้ เปิ ดเลตเตอร์ อ อฟเครดิ ต ให้ แ ก่ ผู ้ข ายซึ่ งอยู่ อี ก ประเทศหนึ่ ง
โดยมีขอ้ กาหนดและเงื่อนไขตามที่ได้ตกลงกันไว้กบั ผูข้ าย

3
Uniform Customs and Practice for Documentary Credits No. 600 ดูคาอธิบายหน้า 22
4

๓) ธนาคารในประเทศผูซ้ ้ื อ (Issuing Bank) ก็จะแจ้งการเปิ ดเลตเตอร์ ออฟเครดิ ตพร้อม


ระบุ กาหนดและเงื่ อนไขต่างๆไปยังธนาคารตัวแทน 3 (Nominated Bank) ซึ่ งอยู่ในประเทศของ
ผูข้ าย และขอให้ ธ นาคารดัง กล่ าวช าระเงิ น (effect such payment) หรื อ รั บ รอง (accept) และ
จ่ายเงิน (pay) ตามตัว๋ แลกเงินที่ผูข้ ายสั่งจ่าย หรื อรับซื้ อ (negotiate) เมื่อผูข้ ายได้ส่งมอบเอกสาร
การขนส่ งสิ นค้าตรงตามข้อกาหนดและเงื่อนไขในเครดิต
๔) ธนาคารตัวแทนในประเทศผูข้ าย (Nominated Bank) ก็อาจจะเพียงแต่แจ้งให้ผูข้ าย
ทราบถึ ง การเปิ ดเลตเตอร์ อ อฟเครดิ ต (advice) เท่ านั้น โดยธนาคารตัวแทนไม่ ผูก พัน เกี่ ยวกับ
เครดิตนั้น หรื อธนาคารตัวแทนจะยืนยัน (Confirm) เลตเตอร์ออฟเครดิตนั้น ซึ่ งเท่ากับว่าธนาคาร
ตัวแทนยอมเข้าผูก พัน โดยรั บ รองแก่ ผูข้ ายว่าจะช าระเงิ น ให้ แก่ ผู ข้ ายเมื่ อ ผูข้ ายส่ งมอบเอกสาร
ตามข้อกาหนดและเงื่อนไขในเลตเตอร์ ออฟเครดิตครบถ้วนแล้ว
๕) ผู ้ข ายจัด ส่ ง สิ นค้า และท าตั๋ว แลกเงิ น 4 ขึ้ นพร้ อ มทั้ง แนบเอกสารการส่ ง สิ น ค้า
(Shipping Documents) เช่น ใบตราส่ ง บัญชี สินค้า กรมธรรม์ประกันภัยและเอกสารอื่นๆ ตามที่
ตกลงกันไว้ไปยื่นต่ อธนาคารตัวแทนเพื่ อขอรั บ ช าระเงิ นหรื อให้ รับ รองตัว๋ ธนาคารตัวแทนเมื่ อ
ตรวจดู ความถู กต้องของเอกสารแล้วก็จะชาระเงินหรื อรับรองตัว๋ แลกเงินนั้นแล้วส่ งเอกสารต่างๆ
มาให้ธนาคารผูเ้ ปิ ดเครดิต และถ้าธนาคารตัวแทนจ่ายเงินให้ผขู ้ ายไปแล้วก็จะหักบัญชี เงินฝากของ
ธนาคารผู เ้ ปิ ดเครดิ ต หรื อตั้งธนาคารผูเ้ ปิ ดเครดิ ตไว้เป็ นลู ก หนี้ เมื่ อธนาคารผูเ้ ปิ ดเครดิ ตได้รับ
เอกสารต่างๆ แล้วก็จะแจ้งให้ผซู ้ ้ื อนาเงินมาชาระค่าสิ นค้านั้น หรื อให้รับรองตัว๋ กรณี การชาระเงิน
มีกาหนดเวลาแน่ นอน เช่น ๑๘๐ วันนับแต่วนั ที่ระบุไว้ในใบตราส่ ง ธนาคารผูเ้ ปิ ดเครดิ ตอาจจะ
ออกตัว๋ แลกเงิ นกาหนดเวลาเดี ยวกันให้ผูซ้ ้ื อรับรองตัว๋ ก่ อนปล่ อยเอกสารการขนส่ งแก่ผูซ้ ้ื อ หรื อ
ทาทรัสต์รีซีท แล้วแต่กรณี แล้วปล่อยเอกสารการขนส่ งสิ นค้าเหล่านั้นให้ผูซ้ ้ื อนาไปออกสิ นค้า
ต่อไป

3
ธนาคารตัวแทน (Nominated Bank) หมายถึง ธนาคารที่ถูกกาหนดให้นาเครดิตไปขึ้นเงินได้ หรื อธนาคารใด ๆ
กรณี ที่เครดิตระบุให้ข้ ึนเงินกับธนาคารใด ๆ ก็ได้ (UCP 600 ข้อ 2)
4
UCP 600 ข้อ 6 (C) จะต้องไม่ออกเครดิตโดยให้เบิกเงินด้วยตัว๋ แลกเงินที่สงั่ จ่ายเอาแก่ผขู ้ อเปิ ดเครดิต (ผูซ้ ้ือ)
5

แผนผังวงจรของเลตเตอร์ ออฟเครดิต

ประเทศผูซ้ ้ือ ประเทศผูข้ าย


นาเอกสาร
ผู้ซื ้อ ไปออกสินค้ า ท่าเรื อ ส่งสินค้ า ผู้ขาย

ขอให้ ธนาคารเปิ ด นาเอกสารการ


เลตเตอร์ ออฟเครดิต ขนส่งสินค้ ามา
ขอรับเงินหรื อรับรองตัว๋

เรี ยกให้ ผ้ ซู ื ้อ ชาระ แจ้ งให้ ผ้ ขู าย


เงินหรื อรับรองตัว๋ ทราบหรื อยืนยัน
และมอบเอกสาร

ธนาคารผู้เปิ ดเครดิต ส่งเอกสาร ธนาคารตัวแทน


Issuing Bank การขนส่งสินค้ า Nominated Bank
เปิ ดเลตเตอร์ ออฟเครดิต ( Advising Bank or
Confirming Bank)

ในกรณี ที่ธนาคารในประเทศผูซ้ ้ื อและผูข้ ายเป็ นธนาคารเดี ยวกัน (มีสาขา 5อยูใ่ นประเทศ


ผูข้ าย) ขั้นตอนที่ ๓ และ ๔ อาจปฏิบตั ิรวมกันโดยธนาคารในประเทศผูซ้ ้ื อจะแจ้งให้ผขู ้ ายทราบถึง
การเปิ ดเลตเตอร์ ออฟเครดิ ตโดยตรง ส่ วนขั้นตอนที่ ๑ และที่ ๕ มีความสาคัญต่อผูซ้ ้ื อและผูข้ าย
มาก ในการทาสัญญาซื้ อขายผูข้ ายจะต้องกาหนดไว้ในสัญญาให้ชดั เจนถึ งชนิ ดของเลตเตอร์ ออฟ
เครดิ ต หน้าที่ และความรับ ผิดชอบของธนาคารตัวแทน (Nominated Bank) เช่ น ให้ ยืนยัน
(Confirm) หรื อ เพี ย งแต่ แ จ้ง (Advice) และผู ้ข ายต้อ งทราบถึ ง ข้อ ก าหนดและเงื่ อ นไขต่ า งๆ
เกี่ยวกับเอกสารการขนส่ งสิ นค้า (Shipping document) ที่ผขู ้ ายจะต้องยืน่ ต่อธนาคาร ทั้งนี้ เพราะ
ธนาคารท าหน้า ที่ เกี่ ย วกับ เอกสารเท่ านั้น ถ้าเอกสารนั้น มี ค วามสมบู รณ์ และตรงกับ เงื่ อนไขที่
กาหนดไว้ในเครดิ ต ธนาคารมี ภาระผูกพันที่ จะต้องชาระเงิ นตามสัญญานั้น ธนาคารไม่ตอ้ งรั บ
ผิ ด ชอบเกี่ ยวกั บ รู ปแบบ (form) ความพอเพี ย ง ( sufficiency) ความถู ก ต้ อ ง ( accuracy)
ความแท้จริ ง (genuineness) การปลอมแปลง (falsification) ปัญหากฎหมาย (legal effect) ของ

5
สาขาของธนาคารในต่างประเทศให้ถือว่าเป็ นธนาคารที่แยกออกจากกัน (UCP 600 ข้อ 3 )
6
เอกสารใดๆ รวมทั้ง ลัก ษณะของประเภทสิ นค้า (description) ปริ ม าณ (quantity) น้ าหนั ก
(weight) คุณภาพ (quality) สภาพ (condition) การบรรจุหีบห่อ (packing) การขนส่ ง (delivery)
มู ล ค่ า (value) หรื อความมี อ ยู่ จ ริ งของสิ นค้ า (existence of goods) บริ การ (services) หรื อ
การปฏิ บ ัติ ก าร (performance) ที่ บ รรยายไว้ใ นเอกสาร ฯลฯ (UCP 600 ข้อ 34) ทั้ง ไม่ มี ส่ ว น
เกี่ ยวข้องหรื อ ผูก พัน ตามสั ญ ญาซื้ อขายแต่ ป ระการใด ทั้ง นี้ เป็ นไปตามหลัก ความเป็ นเอกเทศ
ของเครดิ ต (The Autonomy หรื อIndependent Principal) ซึ่ งตาม UCP 600 ข้ อ 4 และข้อ 5
กาหนดไว้ดงั นี้
ข้อ 4 (a) เครดิตโดยสภาพเป็ นสัญญาที่แยกต่างหากจากสัญญาซื้ อขาย หรื อสัญญาอื่นอัน
เป็ นสัญญาหลักและธนาคารไม่เกี่ยวข้องหรื อผูกพันตามสัญญานั้นถึงแม้จะมีการอ้างอิงไว้ในสัญญา
ดังนั้นภาระผูกพันที่ธนาคารจะต้องชาระเงิน จึงไม่ข้ ึนอยูก่ บั ข้อเรี ยกร้อง หรื อโต้แย้งของผูข้ อเปิ ด
(Applicant) ที่เกิดขึ้นจากความสัมพันธ์ระหว่างตนกับธนาคารผูเ้ ปิ ดเครดิตหรื อกับผูร้ ับประโยชน์
ไม่ว่ากรณี ใดๆ ผูร้ ับประโยชน์ไม่สามารถถื อเอาประโยชน์จากความผูกพันตามสัญญา
ระหว่างธนาคารด้วยกัน หรื อระหว่างผูข้ อเปิ ดกับธนาคารผูเ้ ปิ ดเครดิต
ข้อ 5 ในการปฏิบตั ิเกี่ยวกับเครดิต ผูท้ ี่เกี่ยวข้องทุกฝ่ ายตกลงปฏิบตั ิหน้าที่เกี่ยวกับเอกสาร
และไม่เกี่ยวข้องกับสิ นค้า บริ การ หรื อการปฏิบตั ิอื่นใด ซึ่ งเอกสารนั้นอาจเกี่ยวพันไปถึง
ตัวอย่างคดีศาลอังกฤษ ได้แก่
Midland Bank Ltd. v. Seymour (๑๙๕๕) ๒ Lloyd's Rep ๑๔๗
ผูซ้ ้ื อในประเทศอังกฤษได้สั่งซื้ อขนเป็ ดจากผูข้ ายในฮ่องกงโดยวิธีเปิ ดเลตเตอร์ ออฟเครดิต
กับธนาคาร เมื่อผูข้ ายยื่นเอกสารต่อธนาคารถู กต้องตรงตามเงื่อนไขในเครดิ ต ธนาคารจึงจ่ายเงิ น
ให้ผขู ้ าย ต่อมาปรากฏว่าสิ นค้าที่ผขู ้ ายส่ งมาไม่มีคุณภาพ ผูซ้ ้ื อไม่ยอมชาระเงินให้ธนาคาร
ศาลพิพากษาว่า สัญญาเลตเตอร์ ออฟเครดิตนั้นแยกต่างหากจากสัญญาซื้ อขาย ตามสัญญา
เลตเตอร์ ออฟเครดิ ตนั้น ถ้าธนาคารได้ตรวจสอบเอกสารเห็ นว่าถู กต้องตรงตามเครดิ ต ธนาคารก็
ต้องจ่ายเงิน และผูซ้ ้ื อซึ่ งขอเปิ ดเครดิตต้องชาระเงินให้ธนาคาร
ตัวอย่างคาพิพากษาของศาลฎีกา
คาพิพากษาฎีกาที่ ๒๐๗/๒๕๑๑
โจทก์ได้นาหนังสื อ (เครดิต) ของจาเลยที่ ๑ ซึ่ งมีถึงธนาคารให้จ่ายเงินตามเลตเตอร์ ออฟ
เครดิตแก่โจทก์ไปแสดงต่อธนาคารจาเลยที่ ๒ จาเลยที่ ๒ ได้ประทับตราในหนังสื อนั้นมีขอ้ ความ
ว่า "ธนาคารได้ท ราบแล้ว จะจ่ายเงิ นให้ ในเมื่ อได้ส่ งเอกสารมาแลกเปลี่ ยนเงิ นตามเงื่ อนไขใน
เลตเตอร์ ออฟเครดิ ตดังกล่าวข้างบนแล้ว" เมื่ อโจทก์ส่งสิ นค้าให้แก่ จาเลยที่ ๑ แล้วให้ผูแ้ ทนเอา
หนังสื อ (เครดิ ต) ที่ ธนาคารประทับ ตราไว้น้ ันไปแลกเงิ น แต่ ไม่ ได้นาเลตเตอร์ ออฟเครดิ ตและ
เอกสารต่ างๆ ไปแลกเปลี่ ยน ธนาคารจึ งไม่ จ่ายเงิ น เช่ นนี้ ธนาคารจาเลยที่ ๒ ไม่ เป็ นฝ่ ายผิด
คารับรอง โจทก์จะฟ้องบังคับให้ธนาคารจาเลยที่ ๒ ชาระเงินหาได้ไม่
7
คาพิพากษาฎีกาที่ ๗๗๕/๒๕๒๕ (ประชุ มใหญ่ )
จาเลยเปิ ดเลตเตอร์ ออฟเครดิตกับธนาคารโจทก์ โดยมีขอ้ ตกลงว่า ในกรณี ที่เอกสารต่างๆ
ถู ก ต้อ งแล้ว ธนาคารโจทก์ ไ ม่ ต้อ งรั บ ผิ ด ชอบในกรณี สิ น ค้าที่ ส่ ง มาเสี ย หายขาดจ านวนหรื อ
บกพร่ อง และตกลงให้ถื อระเบี ยบประเพณี และพิ ธี ป ฏิ บ ัติเกี่ ย วกับ เครดิ ตที่ มี เอกสารประกอบ
(แก้ไขเพิ่ ม เติ ม ปี ค.ศ. 1962) ของสภาหอการค้านานาชาติ ซ่ ึ งระบุ ว่าให้ถื อเอาความถู ก ต้องของ
เอกสารเป็ นหลักเป็ นส่ วนหนึ่ งของข้อสัญญา เมื่อปรากฏว่าเอกสารต่างๆ ที่ส่งมาคือ รายการสิ นค้า
ที่ระบุไว้ในใบตราส่ ง (Bill of Lading) และบัญชีราคาสิ นค้า (Invoices) ทุกรายการถูกต้องตรง
กับรายการสิ นค้าในใบเสนอ (Offer) ซึ่ งแนบท้ายเลตเตอร์ ออฟเครดิ ตและบริ ษทั ผูข้ ายสิ นค้าได้
เสนอเอกสารต่ างๆ ถู กต้องตามเงื่ อนไขที่ ระบุ ในเลตเตอร์ ออฟเครดิ ตแล้ว แม้สิ นค้านั้นไม่ ตรงตาม
รายการที่ ระบุ ในใบตราส่ ง บัญชี ราคาสิ นค้าและใบเสนอดังกล่ าว และจาเลยได้สั่งให้ธนาคารโจทก์
ระงับการจ่ายเงินตามเลตเตอร์ ออฟเครดิตที่เปิ ดไปแล้วก็ตาม จาเลยก็ตอ้ งปฏิบตั ิตามข้อตกลงที่ได้
ทากันไว้
คาพิพากษาฎีกาที่ ๑๕๖๑/๒๕๒๙
ตามคาขอเปิ ดเลตเตอร์ ออฟเครดิ ต ให้โจทก์จ่ายเงิ นตามเลตเตอร์ ออฟเครดิ ตให้ผูข้ ายได้
เมื่อมี การยื่นตัว๋ แลกเงิน ใบตราส่ งสิ นค้าทางเรื อครบชุ ด บัญชี สินค้าพร้ อมลายมือชื่ อ ใบรับรอง
หรื อกรมธรรม์ประกันภัย และจาเลยจะชาระเงินให้โจทก์เมื่อจาเลยได้รับเอกสารดังกล่าวนั้นแล้ว
เมื่อใบตราส่ งสิ นค้าทางเรื อแสดงว่าได้มีการบรรทุกสิ นค้าขึ้นระวางเรื อแล้ว ธนาคารตัวแทนของ
โจทก์ก็มีหน้าที่ตอ้ งจ่ายเงินให้แก่ผูข้ ายไป โจทก์หรื อธนาคารตัวแทนโจทก์ไม่มีหน้าที่ตอ้ งตรวจ
ตราว่าความจริ งสิ นค้าได้บรรทุกลงเรื อแล้วหรื อไม่
อย่างไรก็ ตาม เพื่ อป้ องกันความเสี ย หาย ผูซ้ ้ื ออาจขอให้ มี ก ารตรวจสิ น ค้าและรั บ รอง
โดยองค์กรอิสระได้
คาพิพากษาฎีกาที่ ๒๖๐๗/๒๕๕๓
โจทก์สั่ ง ซื้ อ ครั่ ง เม็ด ชั้น คุ ณ ภาพ ข. จากจาเลยที่ 1 โดยระบุ ในสั ญ ญาว่าต้องได้รับ การ
ตรวจสอบและรับรองจากจาเลยที่ 2 ปรากฏว่าครั่งเม็ดไม่ได้มาตรฐาน ดังนี้ การกระทาของจาเลย
ที่ 2 จึงเป็ นการทาละเมิดต่อโจทก์และทาให้เกิ ดความเสี ยหายเป็ นค่าสิ นค้า ค่าธรรมเนี ยมธนาคาร
ค่าใช้จ่ายด้านพิธีการศุ ลกากร และค่าขนส่ งสิ นค้า และต้องรับผิดใช้ค่าเสี ยหายดังกล่ าวแก่ โจทก์
เช่ นเดี ยวกับจาเลยที่ 1 ซึ่ งต้องรับผิดในความเสี ยหายฐานผิดสัญญาซื้ อขาย แต่ไม่มีบทกฎหมายใด
ที่ให้ ล.1 และ ล.2 ต้องรับผิดอย่างลูกหนี้ร่วม
และหากผูข้ ายยื่นเอกสารต่ างๆ ถู ก ต้องตรงตามข้อก าหนดและเงื่ อนไขแล้ว ธนาคารก็
จะต้องรับเอกสารและจ่ายเงิ นหรื อรับรองและจ่ายเงิ นตามตัว๋ แลกเงิ นนั้นให้แก่ ผูข้ าย ธนาคารจะ
ปฏิเสธไม่จ่ายเงินด้วยเหตุใดๆ ไม่ได้ (UCP 600 ข้อ 7) ยกเว้นเพียงกรณี เดียวคือ ในกรณี ที่ธนาคาร
สามารถพิสูจน์จนเป็ นที่พอใจได้ว่ามีการทาเอกสารต่างๆเพื่อฉ้อโกง และผูข้ ายมี ส่ วนร่ วมในการ
8
กระทานั้นด้วย (Fraud Exception) (United City Merchants (Investments) Ltd. V. Royal Bank
of Canada (1983) 1 A.C. 168)
คาพิพากษาฎีกาที่ ๖๗๙๓/๒๕๔๓
โจทก์ฟ้องว่าจาเลยที่ 1 และจาเลยที่ 2 เป็ นบริ ษทั จากัดประเทศสหรัฐอเมริ กาจาเลยที่ 4 เป็ น
บริ ษทั จากัดประเทศสาธารณรัฐเกาหลี จาเลยที่ 3 ในฐานะส่ วนตัวและตัวแทนจาเลยที่ 1 ที่ 2 และที่
4 หลอกลวงว่าจ้างโจทก์ตดั เย็บเสื้ อผ้าโดยต้องสั่งวัตถุดิบจากจาเลยที่ 4 เพื่อส่ งขายให้แก่จาเลยที่ 1
และที่ 2 โจทก์จึงขอให้ธนาคารเปิ ดเลตเตอร์ ออฟเครดิต เพื่อชาระค่าวัตถุดิบแก่จาเลยที่ 4 ซึ่ งมีราคา
สู งเกิ นจริ ง ในที่ สุดจาเลยที่ 1 ที่ 2 และที่ 3 ไม่รับเสื้ อที่ โจทก์ตดั เย็บแล้วเสร็ จทาให้โจทก์เสี ยหาย
ขอให้บงั คับจาเลยทั้งสามร่ วมกันชาระค่าเสี ยหายแก่โจทก์ และขอคุม้ ครองชัว่ คราวกรณี ฉุกเฉิ นให้
อายัดเงินที่ธนาคารต้องชาระให้แก่จาเลยที่ 4
ศาลชั้นต้นมี คาสั่งให้อายัด ศาลอุ ท ธรณ์ พิ พ ากษายืน ศาลฎี กาพิ พากษากลับ ให้เพิ กถอน
คาสั่งดังกล่าว โดยให้เหตุผลว่าธนาคารมีหน้าที่ตรวจสอบเอกสารให้ถูกต้องตรงตามเงื่ อนไขก่อน
จ่ายเงินเท่านั้น นอกจากนั้นเลตเตอร์ ออฟเครดิตที่เปิ ดไปเป็ นชนิ ดที่รับซื้ อได้ หากธนาคารผูเ้ บิกไม่
ชาระเงินย่อมก่อให้เกิดผลเสี ยต่อเนื่ องถึงธนาคารหรื อบุคคลอื่นที่มีความผูกพันหรื อเกี่ยวข้องกันอีก
หลายกรณี การที่ศาลจะออกคาสั่งอายัดดังกล่าวจึงต้องทาด้วยความระมัดระวัง
หลัก ความเป็ นเอกเทศของเครดิ ต มี ผ ลท าให้ ผูซ้ ้ื อไม่ อาจกล่ าวอ้างถึ ง ความเสี ย หายอัน
เนื่ องจากการผิดสัญญาของผูข้ ายขึ้นหักกลบลบหนี้ ต่อสิ ทธิ ของผูข้ ายในการเรี ยกร้ องให้ธนาคาร
ช าระเงิ น ตามเครดิ ต (Power Curber International Ltd. V. National Bank of Kuwait SAK
(1981) 2 Lloyd's Rep 394) ขณะเดียวกันธนาคารในฐานะผูร้ ับตราส่ งก็ไม่มีสิทธิ นาเงิ นที่ได้จาก
การขายสิ นค้าไปหักชาระหนี้ รายอื่น แต่ตอ้ งนาเงินดังกล่าวไปชาระหนี้ ตามคาขอให้ออกเลตเตอร์
ออฟเครดิต (คาพิพากษาฎีกาที่ 8972/2553)
หลักการปฏิบัติโดยเคร่ งคัด (The Doctrine of strict compliance)
จะเห็ นได้วา่ หลักความเป็ นเอกเทศของเครดิตให้ความคุม้ ครองแก่ผขู ้ ายและธนาคารโดย
เมื่อผูข้ ายยื่นเอกสารถู กต้องตามข้อกาหนดแล้วธนาคารจะต้องชาระเงินแก่ผูข้ ายส่ วนธนาคารเมื่อ
ชาระเงิ นไปตามเงื่ อนไขและข้อกาหนดแล้ว ผูข้ อเปิ ดจะต้องชาระเงิ นคื นแก่ธนาคาร ดังนั้นเพื่อ
คุม้ ครองผูข้ อเปิ ดเครดิ ตว่าจะได้รับสิ นค้าตรงตามที่ตอ้ งการ ธนาคารจึงต้องปฏิบตั ิตามข้อกาหนด
และเงื่อนไขในเครดิ ตโดยเคร่ งครัดและต้องปฏิ เสธไม่รับเอกสารและไม่รับรองตัว๋ แลกเงิ นที่ออก
ตามเลตเตอร์ ออฟเครดิต หากเอกสารที่ยนื่ ไม่ตรงตามข้อกาหนดในเลตเตอร์ ออฟเครดิต ซึ่ งเรี ยกว่า
หลัก การปฏิ บ ัติโดยเคร่ ง ครั ด (The doctrine of strict compliance) ทั้ง นี้ ก็ โดยถื อว่าธนาคารที่
ได้รับแจ้งการเปิ ดเครดิต (Nominated bank) เป็ นตัวแทนของธนาคารผูเ้ ปิ ดเครดิต (Issuing bank)
ซึ่ งเป็ นตัวแทนอี ก ที หนึ่ งของผูซ้ ้ื อ หากตัวแทนปฏิ บ ตั ิ เกิ นไปกว่าอานาจที่ ตวั การมอบหมายไว้
ก็ย่อมไม่ผูกพันตัวการ และจะต้องเป็ นผูร้ ับผิดในความเสี ยหายที่เกิ ดขึ้นนั้นเอง กรณี ที่สินค้าใน
9
ตลาดมี ราคาตกลง ผู ้ซ้ื อ อาจถื อ โอกาสปฏิ เสธไม่ ช าระเงิ น ให้ แ ก่ ธ นาคารโดยอ้า งว่า เอกสาร
ที่ธนาคารรับมานั้นไม่ถูกต้องตามเงื่อนไขที่กาหนดไว้ในเครดิต

ตัวอย่างคาพิพากษาคดีในศาลอังกฤษ เกี่ยวกับหลักปฏิบตั ิน้ ีคือ


Equitable Trust Company of New York v. Dawson Partners Ltd. ( ๑ ๙ ๒ ๗ )
๒๗ LL.R ๔๙
จาเลยซื้ อเมล็ดถัว่ วานิลาจากผูข้ ายในประเทศอินโดนีเซี ย จาเลยได้ขอให้ธนาคารโจทก์เปิ ด
เลตเตอร์ ออฟเครดิตชนิ ดเพิกถอนไม่ได้ให้แก่ผขู ้ าย และให้โจทก์จ่ายเงินแก่ผขู ้ ายเมื่อผูข้ ายส่ งมอบ
เอกสารการขนส่ งสิ นค้ า รวมทั้ งหนั ง สื อรั บ รองคุ ณ ภาพ (Inspection Certificate) ออกโดย
ผูเ้ ชี่ ย วชาญหลายคน ("by experts") แต่ ธ นาคารผูเ้ ปิ ดเครดิ ต แจ้ง รหัส แก่ ธ นาคารผูแ้ จ้งเครดิ ต
ผิดพลาดเป็ นว่าหนังสื อรับรองคุณภาพออกโดยผูเ้ ชี่ ยวชาญคนเดียว ("by expert") ปรากฏว่าสิ นค้า
ที่ ส่งมาไม่ได้คุณภาพ เมื่ อธนาคารเรี ยกเก็บเงิ น จาเลยจึ งปฏิ เสธการจ่ายเงิ น ศาลสู งสุ ดอังกฤษ
วินิ จ ฉัย ว่า ธนาคารโจทก์ไ ม่ ป ฏิ บ ัติ ตามเงื่ อ นไขที่ ไ ด้ระบุ ไ ว้ใ นค าขอเปิ ดเลตเตอร์ ออฟเครดิ ต
ซี่ งระบุ ไว้ว่าต้องมี หนังสื อรั บ รองคุ ณภาพที่ ออกโดยผูเ้ ชี่ ยวชาญหลายคน ธนาคารจึ งไม่ มี สิ ท ธิ
เรี ยกร้องให้จาเลยชาระเงิน
Moralice (London) Ltd. V. E.D. and F. Man (๑๙๕๔) ๒ Lloyd's Rep. ๕๒๗
สัญญาซื้ อขายน้ าตาล ๕๐๐ ตัน บรรจุในถุง ถุงละ ๑๐๐ กิโลกรัม CIF ทริ บโบลีตกลง
ชาระเงินโดยเครดิตชนิ ดเพิกถอนไม่ได้ผา่ นธนาคารตัวแทนในลอนดอน คดีมีประเด็นว่าธนาคารมี
สิ ท ธิ ป ฏิ เสธเอกสารเพราะระบุ จานวนขาดไปเพี ยง ๓ ถุ งจากสิ น ค้าทั้งหมดจานวน ๕,๐๐๐ ถุ ง
หรื อไม่
วินิจฉัยว่าธนาคารจะต้องปฏิ บตั ิโดยเคร่ งครัดตามเงื่ อนไขที่ลูกค้ากาหนด หากไม่ปฏิ บตั ิ
ตามก็ถือว่าทาไปโดยความเสี่ ยงภัยของธนาคารเอง
UCP 600 ข้อ 30 ได้ ผ่ อ นปรนหลั ก เกณฑ์ น้ ี โดยให้ ธ นาคารสามารถรั บ เอกสารได้
หากปริ มาณสิ นค้ามีปริ มาณน้ าหนักบวกลบไม่เกิน 5 เปอร์ เซ็นต์ ของปริ มาณที่ระบุตราบเท่าที่ผรู ้ ับ
ประโยชน์ขอรับชาระราคาไม่เกินวงเงินในเลตเตอร์ ออฟเครดิต แต่มิให้ใช้บงั คับหากปริ มาณสิ นค้า
นั้นได้กาหนดเป็ นจานวนหน่วย
Soproma S.P.A. v. Marine & Animal By – Products Corporation (๑๙ ๖ ๖ ) ๑ Lloyd's
Rep. ๓๖๗
ผูซ้ ้ื อเป็ นบริ ษทั อิตาลีสั่งซื้ อเนื้ อปลา (chilean fish full meal) จากบริ ษทั ในนิวยอร์ คเป็ น
สัญญาซื้ อขายประเภท C and F (ปั จจุบนั CFR) โดยมีขอ้ ตกลงในสัญญาว่า ผูซ้ ้ื อจะเปิ ดเลตเตอร์
ออฟเครดิ ตก าหนดว่าเอกสารที่ ผูข้ ายจะต้องนามายื่นประกอบด้วยใบตราส่ ง (Bill of Lading)
ระบุว่าค่าระวางชาระแล้ว (freight prepaid) กับใบรับรองการวิเคราะห์คุณภาพสิ นค้า (certificate
10
of analysis) ว่าเนื้ อปลาจะต้องมี โปรตี น ๗๐% และให้ใช้ UCP ฉบับ แก้ไขปี ๑๙๕๑ บังคับ
ผูข้ ายได้ยื่นเอกสารต่อธนาคารผูแ้ จ้งเครดิ ตที่ นิวยอร์ คไม่ตรงตามเงื่ อนไข กล่าวคือใบตราส่ งเป็ น
ประเภทห้ามเปลี่ยนมือและระบุวา่ เรี ยกเก็บค่าระวางปลายทาง (freight collect) และใบรับรองการ
วิเคราะห์ คุณภาพสิ นค้าว่าเนื้ อปลามี โปรตี น ๖๗% บัญชี สินค้าระบุ เนื้ อปลาว่า Fish Full Meal
ส่ วนใบตราส่ ง ระบุ ว่า Fishmeal ธนาคารจึ ง ปฏิ เสธการจ่ ายเงิ น ผูข้ ายได้จดั การแก้ไ ขเอกสาร
ดังกล่ าว (เมื่ อระยะเวลาที่ ก าหนดไว้สิ้นสุ ดลง) แล้วส่ งใบเรี ยกเก็ บ เงิ นแก่ ผูซ้ ้ื อโดยตรง ผูซ้ ้ื อก็
ปฏิเสธการชาระเงินอีก
ศาลวินิจฉัยว่า
๑. การยื่นเอกสารโดยตรงต่อผูซ้ ้ื อไม่มีผลตามกฎหมาย เพราะคู่สัญญาจะต้องปฏิบตั ิตาม
เงื่อนไขในการชาระเงินโดยทางเลตเตอร์ ออฟเครดิตท่านั้น
๒. เอกสารที่ยนื่ ต่อธนาคารในนิวยอร์ คครั้งแรกไม่ถูกต้องตรงตามเงื่อนไข เพราะ
1. ใบตราส่ ง ไม่ ไ ด้ระบุ ว่า freight prepaid แต่ ก ลับ ระบุ ว่า freight collect และไม่
สามารถเปลี่ยนมือได้ ซึ่ งไม่สอดคล้องกับสัญญาซื้ อขายประเภท CIF หรื อ C and F
1. ใบรับรองการวิเคราะห์คุณภาพสิ นค้าระบุวา่ เนื้อปลามีคุณภาพโปรตีนต่าเกินไป
2. เนื้อปลาที่ระบุไว้ในใบตราส่ งว่า Fishmeal ใช้ได้เพราะเป็ นชื่อที่ใช้เรี ยกกัน
ทัว่ ไป ซึ่ งใบกากับสิ นค้าก็ได้ระบุชื่อเนื้อปลาถูกต้องแล้ว จึงถือได้วา่ สิ นค้าถูกต้องตาม
กาหนดแล้วตาม UCP (๑๙๕๑) ข้อ ๓๓
Midland Bank Ltd. v. Seymore (๑๙๙๕) ๒ Lloyd's Rep. ๑๔๗
ผูซ้ ้ื อก าหนดรายการสิ น ค้าว่าขนเป็ ดฮ่ องกงบริ สุ ท ธิ์ ๘๕ เปอร์ เซ็ น ต์ ๑๒ ห่ อ ห่ อละ
๑๙๐ ปอนด์ ๕ ซิ ลลิ่ งต่อปอนด์ ใบตราส่ งระบุ วา่ ขนเป็ ดฮ่องกง ๑๒ ห่ อ แต่เอกสารอื่ นๆ เช่ น
ใบกากับสิ นค้า ใบรับรองน้ าหนักและใบรับรองถิ่นกาเนิด เมื่ออ่านรวมกันแล้วได้ความตามที่ผซู ้ ้ื อ
กาหนด ศาลวินิจฉัยว่าธนาคารจ่ายเงินไปถูกต้องตามคาสั่งแล้ว
ตัวอย่างคาพิพากษาของศาลฎีกา
คาพิพากษาฎีกาที่ ๒๑๒๒/๒๔๙๙
จาเลยขอให้ ธ นาคารโจทก์ เปิ ดเครดิ ต ช าระค่ า ผ้า ที่ จ าเลยสั่ ง ซื้ อ จากบริ ษ ัท ในประเทศ
สหรัฐอเมริ กา โดยให้จ่ายเงิ นเมื่อบริ ษทั ผูข้ ายยื่นเอกสารต่างๆ รวมทั้งใบตราส่ งแสดงถึ งการส่ ง
สิ นค้า ว่าเป็ นผ้ากากีค๊อตตอนทวิลล์ ๑๐,๐๐๐ หลา โจทก์จ่ายเงินโดยปรากฏว่า เอกสาร ๒ ฉบับ
ไม่ตรงตามเงื่อนไข คือใบตราส่ งและกรมธรรม์ประกันภัยระบุรายการสิ นค้าว่าเป็ น "๑๖ มัด ผ้า
ฝ้ ายเป็ นชิ้ น" เมื่ อจาเลยรั บสิ นค้าแล้ว ปรากฏว่าผ้าที่ ส่ งมานั้นเป็ นเศษผ้าขี้ ริ้วทั้งหมด จาเลยจึ ง
ปฏิเสธการจ่ายเงิน
11
ศาลฎี กาวินิจฉัยว่า ค าว่า "ผ้ากากี ค๊อตตอนทวิลล์" กับ"ผ้าฝ้ ายเป็ นชิ้ น" ก็ แสดงว่าเป็ น
สิ น ค้าที่ อ าจแตกต่ างกัน ไปได้ม ากมาย แม้แต่ ผ า้ ค๊อตตอนทวิล ล์ สี ก ากี ก ับ สี อื่น ก็ อ าจผิด ความ
ประสงค์ เป็ นการผิดคาสั่งของจาเลยที่โจทก์ตกลงไปแล้ว นอกจากนี้ ปริ มาณของสิ นค้าที่ส่งตามที่
จาเลยสั่งว่าต้องเป็ นผ้า ๑๐,๐๐๐ หลา ก็กลับระบุเป็ นว่า ๑๖ มัด เป็ นหน้าที่ของตัวแทนโจทก์ที่
ต้องได้เห็นเอกสารทั้งหลายว่าตรงกับคาสั่งของจาเลยก่อนจ่ายเงินไป พิพากษายกฟ้องโจทก์
คาพิพากษาฎีกาที่ ๘๔๖/๒๕๑๘
โจทก์ขอให้ธนาคารจาเลยเปิ ดเครดิ ตเพื่อชาระราคาสิ นค้าที่โจทก์สั่งซื้ อจากประเทศญี่ปุ่น
ปรากฏว่า ผูข้ ายส่ งสิ นค้ามาขาดรายการโดยในบัญ ชี สิ น ค้า (อิน วอยซ์ ) ของผูข้ ายระบุ จานวน
สิ น ค้า ขาดรายการไป ซึ่ งผิ ด จากที่ ร ะบุ ไ ว้ใ นเครดิ ต และบัญ ชี สิ นค้าและราคา (โปรฟอร์ ม
มาอิ น วอยซ์ ) แต่ ธ นาคารในประเทศญี่ ปุ่ นซึ่ งเป็ นตัวแทนจาเลยได้จ่ายเงิ น ให้ แก่ ผู ข้ ายไปและ
ส่ งเอกสารทั้งหมดมาให้จาเลย จาเลยจึงได้หกั เงินของโจทก์ไว้ โจทก์จึงฟ้องให้จาเลยคืนเงินแก่ตน
ศาลฎีกาพิพากษาให้จาเลยคืนเงินแก่โจทก์
กรณี ที่ ธ นาคารช าระเงิ น ไปโดยรั บ เอกสารมาไม่ ถู ก ต้อ งตรงตามเงื่ อนไข หากผูซ้ ้ื อให้
สั ต ยาบัน แก่ ก ารกระท าของธนาคารแล้ว ก็ จ ะปฏิ เสธไม่ ช าระเงิ น ให้ แ ก่ ธ นาคารไม่ ไ ด้ การให้
สัตยาบันอาจกระทาได้โดยตรงหรื อโดยปริ ยาย

ตัวอย่างคดีในศาลอังกฤษ คือ
Bank Melli Iran v. Barcays Bank D.C.O. (๑๙๕๑) ๒ Lloyd's Rep. ๓๗๖
โจทก์เป็ นผูซ้ ้ื อชาวอิตาเลี่ยนสั่งซื้ อรถยนต์บรรทุกของอเมริ กาจากผูข้ ายในประเทศอังกฤษ
โดยระบุ เงื่ อนไขในเลตเตอร์ ออฟเครดิตว่าจะต้องมีเอกสารคือหนังสื อรับรองของรัฐบาลประเทศ
สหรัฐอเมริ การะบุ ว่าเป็ นรถยนต์บรรทุกเชฟโรเล็ตใหม่ (๑๐๐ new Chevrolet trucks) ผูข้ ายยื่น
บัญชี สินค้าระบุวา่ รถยนต์บรรทุกอยูใ่ นสภาพใหม่ (in a new condition) และหนังสื อรับรองของ
รัฐบาลสหรัฐอเมริ การะบุวา่ เป็ นรถใหม่ สภาพดี (new , good) ธนาคารจาเลยได้จ่ายเงินให้ผขู ้ าย
ไป ต่อมาโจทก์ตรวจพบรายการในเอกสารไม่ตรงตามเลตเตอร์ ออฟเครดิ ตจึงได้แจ้งข้อบกพร่ อง
ให้ธ นาคารจาเลยทราบ แต่ มิ ไ ด้ป ฏิ เสธเอกสารหลังจากนั้นโจทก์ย งั แจ้งให้ ธ นาคารจาเลยเพิ่ ม
วงเงินเครดิตให้ผขู ้ ายอีกด้วย
ศาลวินิจฉัยว่า ธนาคารจาเลยชาระเงินไปโดยผิดพลาดเพราะเอกสารไม่ตรงตามเลตเตอร์
ออฟเครดิ ต แต่ ค ดี น้ ี โจทก์ ท ราบความไม่ ถู ก ต้องแล้วยังสั่ ง ให้ ธ นาคารจาเลยเพิ่ ม วงเงิ น เครดิ ต
จึงเป็ นการกระทาที่ถือได้ว่าโจทก์ได้ให้สัตยาบันแล้ว และยังเห็ นอี กว่าการไม่โต้แย้งหรื อปล่อย
ให้ระยะเวลาล่วงเลยไปเป็ นเวลานานอาจถือว่าเป็ นการให้สัตยาบันโดยปริ ยายได้ 6

6
ดู UCP 600 ข้อ 16 (C) (F)
12
ในกรณี ที่ เอกสารไม่ ถู ก ต้องตามที่ ก าหนดไว้ในเครดิ ต และธนาคารปฏิ เสธไม่ ย อมรั บ
เอกสารดังกล่าว หากผูข้ ายไม่สามารถแก้ไขเอกสารให้ถูกต้องตามที่กาหนดไว้ สิ่ งที่ผขู ้ ายควรจะ
ปฏิ บตั ิก็คือ ผูข้ ายจะต้องติดต่อกับผูซ้ ้ื อโดยตรง และขอร้ องให้ผูซ้ ้ื อมีคาสั่งถึ งธนาคารให้ยอมรับ
เอกสารดังกล่าว 7
มาตรฐานในการตรวจเอกสารของธนาคาร
UCP 600 ข้อ 14 กาหนดหน้าที่ในการตรวจสอบเอกสารของธนาคารไว้ดงั นี้
ธนาคารต้องตรวจเอกสารเพียงอย่างเดียวว่าข้อมูลที่ปรากฎในเอกสารเหล่านั้น (appear on
their face) ถู ก ต้อ งตามข้อ ก าหนดและเงื่ อ นไขของเครดิ ต โดยยึ ด ข้อ ก าหนดของ UCP และ
หลักปฏิบตั ิตามมาตรฐานสากลของธนาคารด้วย (ข้อ 14 (a) )
ธนาคารแต่ละธนาคารมี เวลาที่ จะตรวจเอกสารและตัดสิ นใจว่าจะรับ เอกสารไว้หรื อไม่
ภายใน 5 วันทาการนับตั้งแต่วนั ยืน่ เอกสาร ( ข้อ 14 (b) )
หากมี ข ้อ ก าหนดให้ ผู ้ข ายจะต้อ งยื่ น ต้น ฉบับ เอกสารการขนส่ ง (transport document)
ฉบับเดียวหรื อหลายฉบับด้วย ผูข้ ายต้องยื่นเอกสารต่อธนาคารไม่ช้ากว่า 21 วัน หลังจากวันที่ส่ง
สิ นค้าแต่ทุกกรณี ตอ้ งไม่ชา้ กว่าวันหมดอายุของเครดิต ( ข้อ 14 (c) )
ข้อมูลต่าง ๆ ในเอกสารไม่จาเป็ นต้องเหมือนกันทุกประการ แต่ตอ้ งไม่ขดั แย้งกันเอง หรื อ
ขัดแย้งกับข้อมูลในเอกสารที่กาหนด หรื อ ตัวเครดิตเอง (ข้อ 14 (d) )
กรณี ที่ ธ นาคารเห็ น ว่ า ผู ้ข ายเสนอเอกสารไม่ ถู ก ต้อ งตามเงื่ อ นไขที่ ร ะบุ ไ ว้ใ นเครดิ ต
ธนาคารมีทางเลือกปฏิบตั ิดงั นี้ คือปฏิเสธไม่รับเอกสาร หรื ออาจใช้ดุลพินิจติดต่อกับผูข้ อเปิ ดเพื่อ
ขอให้ผขู ้ อเปิ ดสละข้อขัดแย้ง (Discrepancy) และขอแก้ไขเครดิต (Amendments) นั้น ภายใน 5 วัน
ทาการ (ข้อ 16 (b)) หรื ออาจเลือกที่จะรับเอกสารนั้นไว้และชาระเงินโดยขอให้ผขู ้ ายค้ าประกันการ
ชาระเงินดังกล่าว หรื อรับรองการชดใช้ค่าเสี ยหาย (indemnity) หรื อขอสงวนสิ ทธิ ที่จะไล่เบี้ยเอา
แก่ผขู ้ าย (payment under reserve) อย่างไรก็ตามการปฏิบตั ิดงั ที่กล่าวมาผูกพันเฉพาะธนาคารนั้น
กับผูท้ ี่เกี่ยวข้องเท่านั้น
หากธนาคารใดตัดสิ นใจจะปฏิ เสธเอกสาร ธนาคารนั้นจะต้องแจ้งธนาคารผูย้ ื่นเอกสาร
หรื อผูร้ ับประโยชน์หากได้รับเอกสารจากผูร้ ับประโยชน์ เพียงครั้งเดียว (single notice) โดยระบุถึง
1. ว่าธนาคารกาลังปฎิ เสธ………. การชาระเงิน 2. ข้อขัดแย้งแต่ละข้ออันเป็ นสาเหตุให้ธนาคาร
ปฏิ เสธเอกสารนั้นและ 3. ธนาคารยังคงถื อเอกสารต่าง ๆ ไว้เพื่อรอฟั งคาสั่งจากผูย้ ื่นเอกสาร และ
กาลังส่ งคืนเอกสารแก่ผยู ้ ื่น UCP 600 ข้อ 16 (c) หากธนาคารไม่ปฏิบตั ิดงั กล่าวก็จะหมดโอกาสที่จะ

7
UCP 600 ข้อ 10 ( a ) กาหนดว่า ..... เครดิตไม่สามารถแก้ไข หรื อยกเลิกโดยไม่ได้รับความยินยอมของธนาคาร
ผูเ้ ปิ ด ธนาคารผูย้ เู นียน (ถ้ามี) และผูร้ ับประโยชน์
13
โต้แย้งว่าเอกสารไม่ ถูก ต้อง และเมื่ อได้ป ฏิ บ ตั ิ เช่ นนั้นแล้ว ธนาคารก็มี สิ ท ธิ เรี ยกร้ องให้คืนเงิ น
พร้อมดอกเบี้ย (UPC 600 ข้อ 16 (g)

เอกสารทีเ่ กีย่ วข้ องกับเลตเตอร์ ออฟเครดิต เช่ น


๑) ตัว๋ แลกเงิ น (Drafts) ตัว๋ แลกเงิ นคื ออะไร วิธีป ฏิ บตั ิ ในการใช้ตวั๋ แลกเงิ นเป็ นอย่างไร
ได้กล่าวมาแล้ว
๒) ใบตราส่ ง (Bill of Lading) คื อเอกสารที่ ผูข้ นส่ งออกให้เพื่อแสดงว่าผูข้ นส่ งได้รับ
ของตามที่ระบุ ไว้เพื่อนาไปส่ งมอบให้แก่ผูม้ ี สิทธิ รับของนั้น ใบตราส่ งอาจระบุชื่อผูซ้ ้ื อเป็ นผูร้ ับ
ตราส่ งโดยตรง ซึ่ งเรี ยกว่า Straight Bill of Lading หรื อระบุว่าตามคาสั่งของผูซ้ ้ื อหรื อบุ คคลที่
สามหรื อตามค าสั่ งของผูข้ าย เรี ย กว่า Order Bill of Lading ซึ่ งเป็ นตราสารเปลี่ ยนมื อกัน ได้
โดยทัว่ ไปกรรมสิ ทธิ์ ในสิ นค้าจะเปลี่ยนมือเมื่อมีการสลักหลังและส่ งมอบใบตราส่ งนั้น
พระราชบัญญัติการรับขนของทางทะเล พ.ศ. ๒๕๓๔ ให้คาจากัดความของใบตราส่ งไว้ดงั นี้
มาตรา ๓
"ใบตราส่ ง" หมายความว่า เอกสารที่ผขู ้ นส่ งออกให้แก่ผูส้ ่ งของเป็ นหลักฐานแห่ งสัญญา
รับขนทางทะเล แสดงว่าผูข้ นส่ งได้รับของตามที่ระบุในใบตราส่ งไว้ในความดูแลหรื อบรรทุกของ
ลงเรื อแล้ว และผูข้ นส่ งรั บที่ จะส่ งมอบของดังกล่ าวให้แก่ ผูม้ ี สิท ธิ รับของนั้น เมื่ อได้รับเวนคื น
ใบตราส่ ง
UCP 600 ข้อ 20 กาหนดหลักเกณฑ์สาคัญเกี่ยวกับใบตราส่ งไว้ดงั นี้
ใบตราส่ งต้องระบุ ชื่อผูข้ นส่ ง และลงนามโดยผูข้ นส่ ง หรื อกับตันเรื อ หรื อตัวแทนของ
บุคคลดังกล่าว ระบุวา่ สิ นค้าได้รับการบรรทุกบนเรื อที่ระบุชื่อ ณ ท่าเรื อต้นทางตามที่ระบุไว้ ระบุ
วัน ส่ งสิ นค้า ระบุท่าเรื อต้นทางและปลายทาง ระบุวา่ เป็ นต้นฉบับเดี ยวหรื อเป็ นชุ ด ระบุขอ้ ตกลง
และเงื่อนไขในการขนส่ ง และอาจระบุให้ถ่ายลาเรื อได้หากการขนส่ งตลอดเส้นทางครอบคลุมโดย
ใบตราส่ งฉบับเดียว เอกสารการขนส่ งต้องไม่ระบุวา่ สิ นค้าถูกบรรทุกบนดาดฟ้ า (UCP 600 ข้อ 26)
ธนาคารจะรั บ เอกสารการขนส่ ง (Transport Document) ที่ เรี ย บร้ อ ย (clean) เท่ า นั้ น กล่ า วคื อ
ไม่มีขอ้ ความหรื อบันทึกแสดงถึงความบกพร่ องของสิ นค้า หรื อหี บห่อ (UCP 600 ข้อ 27)
๓) กรมธรรม์ ป ระกัน ภัย (Insurance Policy) คื อ เอกสารแสดงภาระผู ก พัน ที่ บ ริ ษ ัท
รับประกันภัยจะชาระค่าเสี ยหายตามจานวนเงินที่กาหนดแก่บุคคลที่ระบุไว้เมื่อเกิดความเสี ยหายขึ้น
แก่สินค้าที่ขนส่ งนั้น
เอกสารการประกัน ภัย ต้อ งออกและลงนามโดยบริ ษ ัท ผู ้รั บ ประกัน ภัย หรื อ ตัว แทน
วันที่ ออกเอกสารต้องไม่ช้ากว่าวันที่ ส่ งสิ นค้า เว้นแต่จะระบุ ว่าการคุ ม้ ครองมี ผลนับจากวันที่ ส่ ง
สิ นค้าเป็ นต้นไป ต้องระบุจานวนเงินที่เอาประกันเป็ นสกุลเดียวกับที่ระบุในเครดิต ต้องระบุความ
14
เสี่ ยงภัย อย่างน้อยจากสถานที่ รับ สิ น ค้าหรื อบรรทุ ก ลงเรื อถึ งสถานที่ ข นสิ น ค้าขึ้ น จากเรื อ หรื อ
สถานที่ปลายทางตามที่ระบุไว้ในเครดิต ระบุประเภทของภัยที่คุม้ ครอง (UCP 600 ข้อ 28) 8
๔) บัญชีสินค้า (Invoice) คือเอกสารที่ผขู ้ ายสิ นค้าทาขึ้นเพื่อมอบให้แก่ผซู ้ ้ื อสิ นค้าแสดง
ถึงรายละเอียดของสิ นค้าและราคาสิ นค้าที่ขาย
๕) ใบแสดงรายการน้ าหนักสิ นค้า (Weight List) คือเอกสารที่แสดงรายละเอียดน้ าหนัก
ของสิ นค้าที่ส่งแต่ละชิ้น
๖) ใบรั บ รองน้ าหนักสิ นค้ารวม (Weight Certificate) คื อเอกสารที่ จดั ท าขึ้ นเพื่ อแสดง
น้ าหนักของสิ นค้าทั้งจานวน
๗) ใบก ากั บ หี บห่ อ (Packing List) คื อ เอกสารที่ แ สดงจ านวนสิ นค้า ที่ บ รรจุ ไ ว้ใ น
แต่ละหี บห่อ
๘) ใบรั บ รองคุ ณ ภาพของสิ น ค้า (Inspection Certificate) คื อ เอกสารที่ ส ถาบัน ตรวจ
สิ นค้าแสดงคุณภาพ น้ าหนัก และสภาพของสิ นค้าที่ตรวจสอบ
๙) ใบรั บ รองถิ่ น ก าเนิ ด ของสิ นค้า (Certificate of Origin) เป็ นเอกสารแสดงประเทศ
ที่ผลิตสิ นค้าที่จดั ทาโดยหอการค้า องค์การอิสระ หรื อหน่วยงานของรัฐบาล
๑๐) ใบรับรองของกงสุ ล (Consular Invoice) เป็ นเอกสารที่ทาขึ้นและลงนามโดยกงสุ ล
ของประเทศที่ สั่ ง สิ น ค้า เข้า แสดงให้ เห็ น รายละเอี ย ดการส่ ง สิ น ค้า และกฎหมายที่ ใ ช้ บ ัง คับ
ในประเทศนั้น
๑๑) Custom Invoice เป็ นแบบฟอร์ ม ที่ ผู ้ข ายท าขึ้ น เพื่ อ แสดงรายละเอี ย ดของสิ น ค้า
เพื่อประโยชน์ในการเสี ยภาษี
๑๒) Sanitary or Health Certificate คื อ เอกสารที่ ท าขึ้ นโดยองค์ ก รอิ ส ระรั บ รอง
ความบริ สุทธิ์ (degree of purity) ความสะอาดและสภาพสิ นค้า หรื อสุ ขภาพของสัตว์มีชีวติ
๑๓) Certificate of Analysis คือใบรับรองการวิเคราะห์คุณภาพของสิ นค้า

ระยะเวลาในการเปิ ดเลตเตอร์ ออฟเครดิต


ปกติ ในสั ญ ญาซื้ อขายจะก าหนดระยะเวลาในการเปิ ดเลตเตอร์ อ อฟเครดิ ตไว้ ซึ่ งอาจ
กาหนดไว้ตามวันในปฏิทิน หรื อให้เปิ ดในทันทีทนั ใด หรื อเมื่อผูข้ ายได้แจ้งแก่ผซู ้ ้ื อว่าสิ นค้าพร้อม
ที่จะส่ งลงเรื อแล้ว ในกรณี ที่สัญญาซื้ อขายมิได้กาหนดระยะเวลาไว้ ผูซ้ ้ื อจะต้องเปิ ดเลตเตอร์ ออฟ
เครดิตในระยะเวลาอันสมควร (reasonable time) หมายถึ งระยะเวลาล่วงหน้าก่ อนที่ผูข้ ายจะส่ ง
สิ น ค้า เพื่ อให้ ผูข้ ายทราบถึ งหลักประกันในการช าระเงิ น ในคดี Pavia v. Thurmann Nielsen
(๑๙๕๒) ๒QB ๑๓ ๘๔. ศาลอัง กฤษวิ นิ จฉัย ว่า ในกรณี ที่ คู่ สั ญ ญาไม่ ไ ด้ต กลงเรื่ องเวลาเปิ ด
เลตเตอร์ ออฟเครดิ ตไว้ ผูซ้ ้ื อจะต้องเปิ ดเลตเตอร์ ออฟเครดิ ตล่วงหน้าในระยะเวลาสมควรพอที่จะ

8
UCP 600 ข้อนี้ไม่แตกต่างกับ UCP 500
15
ให้ผขู ้ ายสามารถส่ งสิ นค้าได้ ถ้าผูซ้ ้ื อไม่เปิ ดเครดิต ถือว่าผูซ้ ้ื อผิดสัญญา ผูข้ ายก็มีสิทธิ ไม่ส่งสิ นค้า
บอกเลิกสัญญาและเรี ยกค่าเสี ยหาย
คาพิพากษาฎีกาที่ ๘๔๖/๒๕๑๘
จาเลยที่ 1 ทาสัญญาซื้ อขายสิ นค้าจากโจทก์แล้วประสบปั ญหาทางการเงินไม่สามารถจัดทา
เลตเตอร์ ออฟเครดิต เพื่อสั่งซื้ อสิ นค้าได้ กรณี จึงเป็ นเรื่ องเกี่ยวกับการผิดสัญญาซื้ อขายหาใช่ละเมิด
ต่ อ โจทก์ไ ม่ การฟ้ อ งเรี ย กค่ าเสี ย หายจากการผิด สั ญ ญาไม่ มี ก ฎหมายบัญ ญัติ เรื่ องอายุค วามไว้
โดยเฉพาะจึ ง มี ก าหนดอายุค รบ 10 ปี ตามประมวลกฎหมายแพ่ ง และพาณิ ช ย์ มาตรา 193/30
เป็ นโจทก์จึงไม่ขาดอายุความ
โจทก์กบั จาเลยที่ 1 ทาสัญญาซื้ อขายสิ นค้าพิพาทกันไว้ สัญญาซื้ อขายจึงผูกพันคู่สัญญา
และมีผลใช้บงั คับได้นบั แต่วนั ทาสัญญา การเปิ ดเลตเตอร์ ออฟเครดิ ตเป็ นเพียงวิธีการชาระเงินค่า
สิ นค้าตามสัญญาซื้ อขายพิพาทเท่านั้น หาทาให้สัญญาซื้ อขายมี ผลใช้บ งั คับได้นับแต่วนั เปิ ดเลต
เตอร์ ออฟเครดิตไป จาเลยที่ 1 ไม่สมารถ...เลตเตอร์ ออฟเครดิตให้แก่โจทก์ได้ จึงเป็ นฝ่ ายผิดสัญญา
ซื้ อขาย....
จาเลยที่ 1 ผิดสัญญาซื้ อขายพิพาทโดยไม่สามารถปฏิ บตั ิตามเงื่ อนไขการชาระเงิ นสิ นค้า
ให้แก่โจทก์ ทาให้โจทก์ตอ้ งขายสิ นค้าพิพาทให้แก่ผอู ้ ื่นในราคาต่ากว่าราคาที่ตกลงไว้กบั จาเลยที่ 1
เป็ นเหตุให้โจทกขาดเงิ นที่โจทก์ควรได้จากจาเลยที่ 1 ซึ่ งถื อเป็ นความเสี ยหายเช่ นที่ตามปกติย่อม
เกิดขึ้น แต่การไม่ชาระหนี้ ตาม ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ มาตรา 222 วรรคหนึ่ ง โจทก์จึง
...ที่จะได้รับค่าสิ นไหมทดแทนอันเกิดจากการผิดสัญญาดังกล่าว
เครดิตถือว่าได้เปิ ดก็ต่อเมื่อได้มีการแจ้งถึงการเปิ ดเครดิตให้แก่ผขู ้ ายแล้ว

การขึน้ เงิน วันหมดอายุ และสถานทีส่ าหรับยื่นเอกสาร


เครดิตต้องระบุชื่อธนาคารใดธนาคารหนึ่ งหรื อหลายธนาคารเป็ นที่ข้ ึนเงิ น และต้องระบุ
ด้ ว ยว่ า เป็ นเครดิ ต ชนิ ด ช าระเงิ น ทัน ที (sight payment) ช าระตามก าหนด (deferred payment)
ให้รับรอง (acceptance) หรื อรับซื้ อ (negotiation) (UCP 600 ข้อ 6 (a) (b))
เครดิตต้องระบุวนั ที่หมดอายุสาหรับยื่นเอกสาร วันที่หมดอายุเพื่อชาระเงิน วันหมดอายุ
ที่ระบุไว้เพื่อชาระเงินตามตัว๋ หรื อรับซื้ อถือเป็ นวันหมดอายุของวันยืน่ เอกสารด้วย (ข้อ 6 (d))

การขยายวันหมดอายุหรื อวันสุ ดท้ ายของการยื่นเอกสาร


หากวันที่ หมดอายุของเครดิ ตหรื อวันสุ ดท้ายสาหรั บการยื่นเอกสารตรงกับวันที่ ธนาคาร
ผูร้ ับการยื่นเอกสารปิ ดทาการด้วยเหตุผลอื่น ๆ นอกจากเหตุสุดวิสัยตามข้อ 36 ผูย้ ื่นเอกสารอาจยื่น
ในวันแรกที่ธนาคารเปิ ดทาการได้ (UCP 600 ข้อ 29 (a) ) อย่างไรก็ตามข้อกาหนดนี้ จะไม่ใช้กบั
วันสุ ดท้ายของการส่ งสิ นค้า (ข้อ 29 (c) ) วันสุ ดท้ายของการส่ งสิ นค้าจะไม่ขยายตามข้อกาหนดนี้
กล่าวคือ เหตุสุดวิสัย การจราจล การก่อกบฎ สงคราม ฯลฯ
16
ธนาคารไม่ รับ ผิดชอบต่ อผลที่ เกิ ดขึ้ นจากเหตุ สุ ดวิสั ย การจราจล การก่ อกบฎ สงคราม
การก่อการร้าน นัดหยุดงาน ปิ ดโรงงาน หรื อเหตุนอกเหนื อการควบคุม และเมื่อเหตุการณ์เป็ นปกติ
แล้วธนาคาระไม่ชาระเงินหากเครดิตนั้นหมดอายุลง (UCP 600 ข้อ 6)

เลตเตอร์ ออฟเครดิตมีผลผูกพันธนาคารเมื่อใด
สาหรับ เครดิ ตชนิ ดเพิ กถอนไม่ ได้ (Irrevocable Credit) ในประเทศอังกฤษมีความเห็ น
ต่างกันเป็ น ๒ ฝ่ าย คือ ฝ่ ายแรกเห็นว่า เครดิตมีผลผูกพันเมื่อผูข้ ายได้รับแจ้ง 9การเปิ ดเครดิตจาก
ธนาคารได้แก่คดี Dexters, Ltd. V. Schenker & Co. (๑๙๒๓) LI. L.R. ๕๘๖
ส่ วนอีกฝ่ ายเห็ นว่า เครดิ ตมี ผลผูกพันเมื่ อผูข้ ายได้สนองรับโดยปฏิ บตั ิตามข้อกาหนดใน
เครดิต เช่น คดี Urguhart Lindsay & Co., Ltd. V. Eastern Bank,Ltd (๑๙๒๒) ๑.K.B. ๓๑๘

ตัวอย่างคาพิพากษาของศาลฎีกา
คาพิพากษาฎีกาที่ ๑๗๗๐/๒๕๙๙
วินิจฉัยว่า เลตเตอร์ ออฟเครดิ ต (ชนิ ดเพิ กถอนไม่ได้) ที่ธนาคารได้เปิ ดเพื่ อชาระราคา
สิ น ค้าของลู ก ค้าธนาคารนั้น ย่อมถื อว่าเป็ นค าเสนอ เมื่ อได้มี ก ารส่ งสิ นค้ามาตามที่ ระบุ ไ ว้ใ น
เลตเตอร์ ออฟเครดิตแล้ว ก็ยอ่ มถือได้วา่ มีคาสนองก่อให้เกิดสัญญาขึ้น
ส่ วนเครดิ ตชนิ ดเพิกถอนได้ธนาคารผูเ้ ปิ ดเครดิ ตยังไม่มีนิติสัมพันธ์ ในทางใดๆ กับ ผูร้ ั บ
ประโยชน์จนกว่าจะได้มีการชาระเงิน หรื อรับรองตัว๋ แลกเงินแล้ว

ชนิดของเลตเตอร์ ออฟเครดิต
๑. เครดิตชนิดเพิกถอนได้ 10(Revocable Credit)
เครดิตชนิ ดนี้ ธนาคารผูเ้ ปิ ดเครดิตสงวนสิ ทธิ ที่จะยกเลิกหรื อเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขในเครดิต
เมื่อใดก็ได้ และไม่จาเป็ นต้องแจ้งให้ผูร้ ับประโยชน์ทราบล่วงหน้า ธนาคารผูเ้ ปิ ดเครดิ ตไม่มีนิติ
สัมพันธ์ในทางใดๆ กับผูร้ ับประโยชน์ เว้นแต่จะได้มีการชาระเงินหรื อรับรองตัว๋ แลกเงินก่อนที่จะ
ได้รับแจ้งการเปลี่ยนแปลงหรื อยกเลิกเครดิตนั้น

9
การแจ้งเครดิตแสดงถึงว่าธนาคารผูแ้ จ้ง (Adving Bank) พอใจในเรื่ องความแท้จริ ง (authentisity)
และความ ถูกต้องของเครดิตแล้ว หากธนาคารผูแ้ จ้งยังไม่พอใจในเรื่ องดังกล่าวต้องแจ้งให้ธนาคารผูอ้ อกคาสัง่
ทราบ ( UCP 600 ข้อ 9 )
10
แม้ UCP 600 ข้อ 2 และ 3 ดูเหมือนจะยกเลิกเครดิตชนิดนี้แล้วแต่ UCP 600 มีผลใช้บงั คับอย่างเป็ นทางการเมื่อ
วันที่ 1 กรกฎาคม 2550 เป็ นต้นไป เครดิตที่เปิ ดมาก่อนจึงยังคงปรับตาม UCP 500 ทั้งข้อกาหนดใน UCP เป็ น
เพียงข้อตกลงในสัญญาเท่านั้น คูส่ ญ
ั ญาจึงอาจตกลงกันปรับปรุ งแก้ไข หรื อตัดออกได้ (UCP 600 ข้อ 1 )
17
คดีตัวอย่างในศาลอังกฤษ ได้แก่
Cape Asbestos Co v. Lloyd's Bank (๑๙๒๑) W.N. ๒๗๔
ธนาคารที่ ก รุ ง วอร์ ซ อร์ จ าเลยได้แ จ้ง การเปิ ดเครดิ ต ชนิ ด เพิ ก ถอนได้ใ ห้ โจทก์ โดยมี
ข้อความท้ายใบแจ้งว่าเป็ นแต่เพียงการแจ้งการเปิ ดเครดิตไม่ใช่เป็ นการยืนยันเครดิต โจทก์ส่งสิ นค้า
บางส่ วนแล้วขอรับชาระเงินจากจาเลย จาเลยยอมจ่ายเงินตามตัว๋ แลกเงินของโจทก์ ต่อมาเครดิตก็
ถูกเพิกถอน แต่จาเลยไม่ได้แจ้งการเพิกถอนให้โจทก์ทราบ โจทก์หลงเชื่อว่าเครดิตยังใช้อยู่ จึงส่ ง
สิ นค้าที่เหลือทั้งหมดไป คราวนี้ จาเลยไม่ยอมจ่ายเงิน โจทก์ไม่สามารถทวงเงินจากผูซ้ ้ื อได้จึงฟ้ อง
จาเลยตามจานวนเงินที่เหลืออยูต่ ามเครดิต จาเลยยอมรับว่าจาเลยหลงลืมมิได้แจ้งการยกเลิกเครดิต
ให้โจทก์ทราบ ศาลตัดสิ นให้จาเลยชนะคดี โดยถือว่าเครดิตชนิดที่เพิกถอนได้ จาเลยไม่มีหน้าที่ที่
จะต้องแจ้งการเพิกถอนให้โจทก์ทราบ
UCP 500 ข้อ 8 ก าหนดไว้ว่า เครดิ ตชนิ ดเพิ ก ถอนได้อาจถู ก แก้ไขหรื อเพิ ก ถอนโดย
ธนาคารผูเ้ ปิ ดครเดิ ตได้ตลอดเวลาโดยไม่ตอ้ งแจ้งให้ผูร้ ับประโยชน์ทราบล่วงหน้า อย่างไรก็ตาม
หากธนาคารตัวแทนได้จ่ายเงิ น หรื อ รั บ รองตัว๋ แลกเงิ น ไปโดยถู ก ต้องก่ อนที่ จะมี ก ารเพิ ก ถอน
ธนาคารผูเ้ ปิ ดเครดิตก็ตอ้ งชาระคืนแก่ธนาคารตัวแทน

2. เครดิตทีม่ ีการยืนยัน (Confirmed Credit)


ในกรณี ที่ผขู ้ ายสิ นค้าไม่เชื่อถือกธนาคารผูเ้ ปิ ดเครดิตผูข้ ายก็อาจตกลงกับผูซ้ ้ื อโดยให้ผซู ้ ้ื อ
เปิ ดเครดิตชนิ ดยืนยันแก่ผขู ้ าย กรณี เช่นนี้ ธนาคารผูเ้ ปิ ดเครดิตจะทาความตกลงกับธนาคารตัวแทน
ในประเทศผูข้ ายให้เพิ่มความรั บผิดลงไปในเครดิ ตด้วย โดยให้ธนาคารนั้นยืนยันเลตเตอร์ ออฟ
เครดิ ต ซึ่ งเท่ากับว่าธนาคารตัวแทนให้การรับรองแก่ผูร้ ับประโยชน์วา่ ธนาคารจะชาระเงิ นให้แก่
ผูร้ ับประโยชน์เมื่อผูร้ ับประโยชน์ปฏิ บตั ิตามเงื่อนไขที่กาหนดไว้ในเลตเอตร์ ออฟเครดิตครบถ้วน
แล้ว กล่าวคือ ธนาคารตัวแทนมีความรับผิดชอบจะต้องจ่ายเงิ นแม้วา่ ธนาคารผูเ้ ปิ ดเลตเตอร์ ออฟ
เครดิตจะได้เลิกกิจการหรื อไม่สามารถชาระเงินได้ไม่วา่ ด้วยประการใดๆ (UCP 600 ข้อ 8) กาหนด
หน้ า ที่ ของธนาคารผู ้ ยื น ยัน (Confirming Bank) ไว้ เช่ นเดี ย วกั น กั บ ธนาคารผู ้ เ ปิ ดเครดิ ต
(Issuing Bank)
ธนาคารผูย้ ืนยันเครดิตเมื่อชาระเงินให้แก่ผขู ้ ายแล้วไม่อาจไล่เบี้ยเอาค่าเสี ยหายแก่ผขู ้ ายได้
ยกเว้นแต่ได้ตกลงกับผูข้ ายในการสงวนสิ ทธิ ดงั กล่ าว หรื อการชาระเงิ นเกิ ดจากการฉ้อโกงของ
ผูข้ าย อย่างไรก็ตามธนาคารยังคงมีสิทธิ ได้รับชาระเงินจากธนาคารผูเ้ ปิ ดเครดิตหรื อจากผูซ้ ้ื อ
หากธนาคารที่ ได้รับ มอบหมายไม่ ประสงค์จะยืนยันเครดิ ตจะต้องแจ้งให้ธนาคารผูเ้ ปิ ด
เครดิ ตทราบโดยไม่ชัดช้า (without delay) และอาจเพียงแต่แจ้งการเปิ ดแครดิ ตโดยไม่ยืนยันการ
ชาระเงินให้ผขู ้ ายทราบ (UCP 600 ข้อ 8 (d))
18
ตัวอย่างคดีในศาลอังกฤษ คือ
Hamzeh Malas & Sons v. British Imex Industries Ltd. (๑๙๕๘) ๒ QB. ๑๒๗
บริ ษ ทั ในประเทศจอร์ แดนโจทก์สั่ งซื้ อเหล็ ก เส้ น จากบริ ษ ทั ในประเทศอังกฤษ โดยมี
ข้อตกลงให้แบ่งส่ งสิ นค้าเป็ น ๒ เที่ ยวเรื อ การชาระราคาโดยวิธีเปิ ดเลตเตอร์ ออฟเครดิ ตชนิ ด
ยืนยัน ๒ ฉบับ ฉบับละเที่ยว ได้มีการเปิ ดเครดิตตามสัญญาโดยถูกต้องและมีการยืนยันเครดิตไป
ยังผูข้ ายแล้ว แต่ปรากฏว่าเมื่อส่ งสิ นค้างวดแรกและผูข้ ายได้รับชาระเงินไปแล้ว ผูซ้ ้ื อพบว่าสิ นค้า
เที่ ยวแรกไม่ถูกต้องตรงตามสัญญา ผูซ้ ้ื อจึงยื่นคาร้ องต่อศาล ขอให้ศาลมีคาสั่งห้ามชัว่ คราวมิให้
ผูข้ ายเรี ยกเก็บเงินในการขนส่ งเที่ยวที่สอง ศาลอุทธรณ์องั กฤษยกคาร้องโดยวินิจฉัยว่าธนาคารซึ่ ง
ยืนยันเครดิ ตนั้นมี หน้าที่ ที่จะต้องจ่ายเงิ นให้แก่ ผูร้ ั บประโยชน์โดยไม่คานึ งว่าจะมี การปฏิ บ ตั ิ ผิด
สัญญาระหว่างผูซ้ ้ื อกับผูข้ ายหรื อไม่ และผูข้ ายย่อมได้หลักประกันว่าจะไม่มีสิ่งใดๆ มาขัดขวางมิ
ให้ตนได้รับชาระราคาได้

3. เครดิตทีไ่ ม่ มีการยืนยัน (Unconfirmed Credits)


UCP 600 ข้อ 12 กาหนดว่า เว้นแต่ธนาคารที่ ได้รับการแต่งตั้งเป็ นธนาคารผูย้ ืนยันการ
ชาระเงินด้วย การมอบอานาจให้ชาระเงิ น หรื อรับซื้ อตัว๋ เงินไม่ถือว่าธนาคารที่ได้รับการแต่งตั้งมี
ภาระผูกพันใด ๆ ที่จะต้องปฏบัติดงั กล่าว เว้นแต่ธนาคารนั้นจะได้ตกลงยินยอมไว้อย่างชัดเจนและ
แจ้งให้ผรู ้ ับประโยชน์ทราบ
เครดิ ต ชนิ ด นี้ ธนาคารในประเทศผู ้ข าย (ธนาคารผู ้แ จ้ง เครดิ ต ) เพี ย งแต่ แ จ้ง เครดิ ต
(advice) ให้ผูร้ ั บ ประโยชน์ ท ราบเท่ า นั้น มิ ไ ด้เข้า ไปยืน ยัน เครดิ ตฉบับ นั้น ด้วย เครดิ ต ชนิ ด นี้
ธนาคารผูแ้ จ้งเครดิตจึงยังไม่มีความรับผิดชอบใดๆ (UCP 600 ข้อ 9 (a)) จนกว่าจะรับเอกสารและ
ชาระเงิน หรื อรับรองตัว๋ แลกเงินแล้ว

4. เครดิตชนิดทีโ่ อนได้ (Transferable Credit)


เครดิ ตมี ท้ งั ชนิ ดที่ โอนได้และโอนไม่ได้ UCP 600 ข้อ 38 ให้ความหมายของเครดิตที่
โอนได้ว่า หมายถึ งเครดิตที่ ระบุ ไว้โดยเฉพาะว่า “สามารถโอนได้” (transferable”) เครดิ ตชนิ ดนี้
สามารถโอนได้เต็มจานวนหรื อบางส่ วนให้แก่ผรู ้ ับประโยชน์รายอื่น (ผูร้ ับประโยชน์อนั ดับที่สอง)
ตามคาขอของผูร้ ับประโยชน์ (ผูร้ ับประโยชน์ลาดับแรก)
เครดิตที่โอนได้อาจถูกโอนบางส่ วนให้แก่ผรู ้ ับประโยชน์ลาดับที่สองมากกว่าหนึ่งรายหาก
เครดิตอนุญาตการเบิกเงิน หรื อส่ งสิ นค้าบางส่ วน ( partial drawing or shipments are allowed)
ธนาคารที่ได้รับมอบหมายให้ทาการโอน (transferring bank) ไม่มีพนั ธะที่ จะต้องทาการ
โอน เว้นแต่จะอยูใ่ นขอบเขตและรู ปแบบที่ให้ความยินยอมไว้โดยชัดแจ้ง
ผูข้ ายอาจขอให้ผซู ้ ้ื อเปิ ดเครดิตชนิ ดที่โอนได้เพื่อนาไปโอนชาระให้แก่ผูผ้ ลิ ตสิ นค้าให้แก่
ตนอีกต่อหนึ่งหรื อผูข้ ายรายอื่น ซึ่ งโดยทัว่ ไปผูข้ ายรายแรกจะโอนชาระเพียงบางส่ วน ส่ วนที่เหลือ
19
เป็ นก าไรก็ จ ะเก็ บ ไว้เองในการนี้ ธนาคารที่ ไ ด้รับ มอบหมายจะออกเครดิ ต อี ก ฉบับ หนึ่ งแก่ ผู ้
รับประโยชน์คนที่สองในจานวนที่นอ้ ยกว่าเครดิตฉบับแรก
เครดิ ตชนิ ดที่โอนไม่ได้ ไม่ห้ามผูร้ ับประโยชน์ที่จะโอนไปในลักษณะของการโอนสิ ทธิ
เรี ยกร้อง (UCP 600 ข้อ 39)

5. รีวอลวิง่ เครดิต (Revolving Credit)


เครดิ ตชนิ ดนี้ ใช้สาหรับการซื้ อขายที่ มีการส่ งสิ นค้าหลายเที่ยว แทนที่จะมีการเปิ ด เลต
เตอร์ ออฟเครดิ ตแต่ละครั้ งไป ธนาคารอาจใช้วิธีเปิ ดเครดิ ตเพี ยงครั้ งเดี ยวให้มีกาหนดเวลานาน
พอที่จะครอบคลุมการส่ งสิ นค้าจนกว่าจะเสร็ จ แต่เนื่ องจากตัว๋ แลกเงินที่ผรู ้ ับประโยชน์สั่งจ่ายเมื่อ
รวมกันทุกครั้งแล้วอาจเกินวงเงินในเลตเตอร์ ออฟเครดิต จึงได้มีการกาหนดเงื่อนไขของการสั่งจ่าย
ตัว๋ แลกเงินไว้แตกต่างกัน เช่น ให้มีการกาหนดจานวนวงเงินใหม่ทุกครั้งที่มีการนาตัว๋ แลกเงินมา
ติ ดต่อ หรื อกาหนดจานวนเงิ นที่ แน่ นอนให้ผูร้ ับ ประโยชน์ สั่ งจ่ายตัว๋ แลกเงิ นเป็ นระยะๆ แต่ ไม่
สะสม เช่ น ให้ผูร้ ั บ ประโยชน์ นาตัว๋ แลกเงิ นมาขึ้ นเงิ นได้เดื อนละไม่ เกิ น ๕.๐๐๐ ปอนด์ เป็ น
ระยะเวลา ๖ เดือน เดือนใดที่ผรู ้ ับประโยชน์ไม่ได้สั่งจ่ายหรื อสั่งจ่ายไม่ครบ จานวนเงินนั้นก็เป็ น
อัน ยกเลิ ก ไป หรื อ อาจก าหนดให้ มี ก ารสะสมได้ ซึ่ งหมายความว่ า ให้ จ านวนเงิ น ที่ ผู ้รั บ
ประโยชน์ไม่ได้สั่งจ่ายหรื อสั่งจ่ายไม่ครบยกยอดไปใช้ในเดือนต่อไปได้

6. เครดิตหนุนเครดิต (Back to Back Credit)


เครดิ ตชนิ ดนี้ เป็ นเลตเตอร์ ออฟเครดิ ตที่ ธ นาคารเปิ ดขึ้ นให้แก่ ลู กค้าโดยมี เลตเตอร์ ออฟ
เครดิตอีกฉบับหนึ่ง ซึ่งลูกค้านามามอบไว้แก่ธนาคารเพื่อเป็ นประกัน วิธีน้ ี ใช้ในกรณี ที่มีพอ่ ค้าคน
กลางหลายคน เช่น พ่อค้าไทยสั่งซื้ อเครื่ องจักรจากพ่อค้าสิ งค์โปร์ พ่อค้าสิ งค์โปร์ ไม่มีเครื่ องจักร
ดังกล่าวแต่สามารถติดต่อขอซื้ อจากพ่อค้าอังกฤษได้ พ่อค้าสิ งค์โปร์ จึงตกลงขายสิ นค้าให้แก่พอ่ ค้า
ไทย ในการนี้ พ่อค้าไทยจะเปิ ดเลตเตอร์ ออฟเครดิตชนิ ดเพิกถอนไม่ได้เพื่อประโยชน์แก่พอ่ ค้าสิ งค์
โปร์ และพ่อค้าสิ งค์โปร์ ก็จะมอบเครดิ ตนั้นแก่ ธนาคารในประเทศตนเพื่ อสนับสนุ นการเปิ ดเลต
เตอร์ ออฟเครดิตเพื่อประโยชน์แก่พ่อค้าอังกฤษ พ่อค้าอังกฤษส่ งสิ นค้าไปยังประเทศไทยโดยตรง
แต่เอกสารต่างๆ จะส่ งมาที่ธนาคารสิ งค์โปร์ พ่อค้าสิ งค์โปร์ ออกใบกากับสิ นค้าและสั่งจ่ายตัว๋ แลก
เงินใหม่เอากับพ่อค้าไทยตามจานวนเงินในเครดิตที่พอ่ ค้าไทยเปิ ดมา ซึ่งพ่อค้าสิ งค์โปร์ ก็จะได้กาไร
จากผลต่างของเครดิตทั้งสอง

7. เครดิตทีม่ ีข้อกาหนดตัวแดง (Red Clause Credit)


เป็ นเครดิ ตที่ผูซ้ ้ื ออนุ ญาตให้ธนาคารจ่ายเงินล่ วงหน้าให้แก่ ผูข้ ายเพื่อนาไปเป็ นค่าใช้จ่าย
เกี่ยวกับการส่ งสิ นค้าก่อนที่ผขู ้ ายจะได้มอบเอกสารต่างๆ แก่ธนาคารตัวแทน ในกรณี เช่นนี้ อาจมี
ข้อกาหนดให้ผูข้ ายหาหลักประกันมาวาง เช่ น ใบรั บ ฝากสิ นค้า หรื อหาธนาคารมาค้ าประกัน
20
เมื่อผูข้ ายส่ งสิ นค้าแล้วก็จดั ทาตัว๋ แลกเงินและแนบเอกสารต่างๆ มามอบให้แก่ธนาคาร เพื่อขอรับ
เงินที่ยงั เหลืออยูเ่ มื่อหักจานวนที่รับไปล่วงหน้าแล้ว

8. เครดิตเพื่อการบรรจุ (Packing Credit)


เครดิ ตเพื่ อการบรรุ จทาหน้าที่ เช่ นเดี ยวกับเครดิ ตที่ มีขอ้ กาหนดตัวแดงแตกต่างกันตรงที่
ว่าเครดิตเพื่อการบรรจุน้ นั อยูใ่ นดุลพินิจและการริ เริ่ มของธนาคารตัวแทนเอง กรณี น้ ีเมื่อผูข้ ายได้รับ
เลตเตอร์ ออฟเครดิ ตจากผูซ้ ้ื อสิ นค้า แต่ไม่มีเงิ นเพี ยงพอในการจัดเตรี ยมสิ นค้าและบรรจุ หีบห่ อ
ผูข้ ายอาจติ ดต่อขอรั บความช่ วยเหลื อจากธนาคารผูแ้ จ้งเครดิ ต ขอรั บเงิ นล่ วงหน้าไปก่ อน โดยมี
หลักประกันเช่นให้ผขู ้ ายนาสิ นค้าไปฝากไว้ที่คลังสิ นค้าของธนาคาร หรื อนาใบรับฝาก สิ นค้าไป
จานาไว้แก่ธนาคาร หรื อหาหลักประกันอื่น เมื่อผูข้ ายพร้อมที่จะส่ งสิ นค้าแล้ว ผูข้ ายก็จะต้องให้คา
รับรองต่อธนาคารเป็ นลายลักษณ์ อกั ษรว่าจะนาตัว๋ แลกเงินและเอกสารต่างๆ มายื่นขายที่ธนาคาร
ก่อนเครดิตจะหมดอายุ ธนาคารจึงจะมอบใบรับฝากสิ นค้าให้ผขู ้ ายไปดาเนินการส่ งสิ นค้า

9. เครดิตทีร่ ับซื้อได้ (Negotiable Credit)


UCP 600 ข้อ 2 ให้คาจากัดความของการรับซื้ อ ( negotiation) ว่าหมายถึงการรับซื้ อตัว๋ แลก
เงินโดยธนาคารที่ได้รับการแต่งตั้ง (ที่สั่งจ่ายเอาแก่ธนาคารอื่นซึ่ งไม่ใช่ธนาคารที่แต่งตั้ง) และ/หรื อ
รับซื้ อเอกสารที่ยื่นมาตามข้อกาหนดและเงื่อนไขในเครดิ ตโดยการชาระเงินล่วงหน้า หรื อตกลงที่
จะชาระเงิ นล่ วงหน้าแก่ ผูร้ ั บ ประโยชน์ ในวันหรื อก่ อนวันทาการของธนาคาร โดยจะมี ก ารจ่าย
ชดเชยเงิ น ดัง กล่ า วคื น ให้ แ ก่ ธ นาคารผูไ้ ด้รับ การแต่ งตั้ง ที่ รับ ซื้ อไว้ กรณี L/C ระบุ ว่า Available
with/by any bake by negotiation ซึ่ งผูร้ ั บ ประโยชน์ ส ามารถน าเอกสารและตัว๋ แลกเงิ น ไปเสนอ
ขอรับเงิ นจากธนาคารใด ๆ ก็ได้ ธนาคารที่รับซื้ อเอกสารและจ่ายเงิ นไม่สามารถเรี ยกร้องเงินคืน
จากธนาคารผูเ้ ปิ ด L/C ได้

10. สแตนด์ บายเครดิต (Standby Credit)


ในทางการค้าสแตนด์บายเครดิตทาหน้าที่ไม่เหมือนกับเครดิตทัว่ ไปซึ่ งใช้เป็ นวิธีการชาระ
เงิ นอย่างหนึ่ งตามสั ญญาซื้ อขายหรื อบริ การ หากแต่เป็ นวิธีที่ ธนาคารให้ป ระกันการปฏิ บตั ิ ตาม
สัญ ญาซื้ อขายหรื อการให้ บ ริ ก ารแก่ คู่ สั ญ ญาฝ่ ายใดฝ่ ายหนึ่ ง โดยมี ล ัก ษณะแตกต่ า งกับ สั ญ ญา
ค้ าประกัน ทั่วไป UCP 600 ข้อ 1 ก าหนดว่ากฎข้อ บัง คับ ฉบับ นี้ ใช้บ ัง คับ กับ เครดิ ตที่ มี เอกสาร
ประกอบ (documentary credit) ทุ ก ประเภท รวมทั้ ง เลตเตอร์ อ อฟเครดิ ต เพื่ อ การค้ า ประกั น
( standby letter of credit) ด้วย ดังนี้ สแตนด์บายเครดิตโดยสภาพจึงเป็ นสัญญาที่แยกต่างหากจาก
สัญญาซื้ อขายหรื อสัญญาอื่นอันเป็ นสัญญาหลัก และคู่สัญญาไม่อาจกล่าวอ้างหรื อยกข้อต่อสู ้ใดๆ
อันเกิดจากความสัมพันธ์ตามสัญญาหลักมาเป็ นข้ออ้างในการไม่ปฏิบตั ิตามสัญญาได้ สแตนด์บาย
เครดิตจึงไม่ใช่สัญญาอุปกรณ์ เหมือนอย่างสัญญาค้ าประกันทัว่ ไป ซึ่ งผูค้ ้ าประกันอาจยกความไม่
21
สมบูรณ์ของสัญญาหลักหรื อ ข้อต่อสู ้ของลูกหนี้ ข้ ึนต่อสู ้เจ้าหนี้ ได้ และธนาคารจะต้องปฏิ บตั ิโดย
เคร่ งครัดเกี่ยวกับเอกสารและต้องชาระเงินแก่ผรู ้ ับประโยชน์เมื่อผูร้ ับประโยชน์ปฏิบตั ิถูกต้องตาม
เงื่ อนไขแล้ว สแตนด์บายเครดิ ตมี ลกั ษณะเช่ นเดี ยวกันกับ Demand Bonds ซึ่ งออกโดยธนาคาร
เพื่อประกันการปฏิบตั ิตามสัญญาของคู่สัญญา โดยธนาคารจะชาระเงินเมื่อผูร้ ับประโยชน์เรี ยกร้อง
ตามเงื่อนไขที่กาหนดและตกลงจะไม่ยกข้อต่อสู ้ใดๆ อันเกิดจากสัญญาหลักขึ้นต่อสู ้ผรู ้ ับประโยชน์
(ICC Uniform Rules for Demand Guarantees No. 458) วัตถุ ประสงค์ในการให้ทาประกันใน
ลักษณะเช่นนี้ก็เพื่อหลีกเลี่ยงการเป็ นคดีความในศาล

ความเกีย่ วพันตามกฎหมายระหว่ างคู่สัญญาต่ างๆ ในเลตเตอร์ ออฟเครดิต


คู่สัญญาตามเลตเตอร์ ออฟเครดิตมีดงั ต่อไปนี้
ก ผูข้ อเปิ ดเครดิตซึ่ งเป็ นผูซ้ ้ื อสิ นค้าหรื อผูส้ ั่งสิ นค้าเข้า (Buyer or Importer)
ข ผูข้ ายสิ นค้าหรื อผูร้ ับประโยชน์ (Seller or Beneficiary)
ค ธนาคารผูเ้ ปิ ดเครดิต (Issuing Bank)
ง ธนาคารผู ้แ จ้ง เครดิ ต (Advising Bank) หรื อ ธนาคารผู ้ยื น ยัน (Confirming Bank)
หรื อธนาคารผูจ้ ่ายเงิน (Paying Bank)
ความเกี่ ยวพันระหว่างผูซ้ ้ื อและผูข้ ายเป็ นไปตามสัญญาซื้ อขายระหว่างกันเองเพราะผูซ้ ้ื อ
และผูข้ ายเป็ นคู่สัญญาโดยตรง จึงย่อมที่จะฟ้ องหรื อถู กฟ้ องเป็ นคดีได้หากฝ่ ายใดฝ่ ายหนึ่ งปฏิบตั ิ
ผิดสัญญา กรณี ที่ไม่มีการชาระเงินตามเครดิตผูข้ ายย่อมสามารถฟ้องผูซ้ ้ื อได้
ความเกี่ ยวพัน ระหว่างผูข้ อเปิ ดเครดิ ตกับ ธนาคารผู เ้ ปิ ดเครดิ ตไม่ มี ก ฎหมายบัญ ญัติ ไ ว้
โดยเฉพาะ จึงต้องพิจารณาตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ ซึ่ งถือได้ว่าเป็ นเอกเทศสัญญา
ชนิ ดหนึ่ ง โดยคาขอเปิ ดเครดิตของผูข้ อเปิ ดเครดิตเป็ นคาเสนอ และธนาคารผูร้ ับเปิ ดเครดิตหาก
ตกลงยินยอมที่จะเปิ ดเครดิตให้ก็เป็ นคาสนอง

คาพิพากษาฎีกาที่ ๓๓๓๘/๒๕๒๖
จาเลยยื่นคาขอเปิ ดเลตเตอร์ ออฟเครดิ ตต่อโจทก์ โจทก์สนองรับย่อมเกิดเป็ นสัญญาผูกพัน
เมื่อโจทก์ชาระราคาสิ นค้าที่ จาเลยสั่งซื้ อให้แก่ผูข้ ายไป จาเลยย่อมมีหน้าที่ชาระเงิ นคืนแก่ โจทก์
พร้อมทั้งดอกเบี้ยและค่าบริ การ
ความเกี่ ยวพันระหว่างธนาคารผูเ้ ปิ ดเครดิ ตกับธนาคารผูแ้ จ้งเครดิ ตหรื อธนาคารผูจ้ ่ายเงิ น
ปรั บ เข้าได้ว่าเป็ นสั ญ ญาตัวการตัวแทนซึ่ งอยู่ภายใต้ UCP 600 ส่ วนหนึ่ งและหลัก ปฏิ บ ัติก าร
ธนาคารระหว่างประเทศ (International Banking Practice) อี กส่ วนหนึ่ ง สาหรับธนาคารผูเ้ ปิ ด
เครดิ ตกับผูร้ ับประโยชน์ก็เป็ นสัญญาชนิ ดหนึ่ งเช่ นเดียวกัน โดยถื อว่าธนาคารผูเ้ ปิ ดเครดิตเมื่อได้
เปิ ดเครดิ ตก็เท่ ากับ เป็ นการนาค าเสนอไปยังผูร้ ั บ ประโยชน์ ให้ส่ งสิ นค้ามาตามเครดิ ต เมื่อผูร้ ั บ
ประโยชน์ส่งสิ นค้ามาตามเครดิตแล้วก็ยอ่ มถือว่าเป็ นคาสนอง
22

คาพิพากษาฎีกาที่ ๑๗๗๐/๒๔๙๙
วินิจฉัยว่าเลตเตอร์ ออฟเครดิตที่ธนาคารได้เปิ ดเพื่อชาระราคาสิ นค้าของลูกค้าของธนาคาร
นั้นก็ยอ่ มถือว่าเป็ นคาเสนอ เมื่อได้มีการส่ งสิ นค้ามาตามที่ระบุไว้ในเลตเตอร์ ออฟเครดิตแล้วก็ยอ่ ม
ถือได้วา่ มีคาสนองก่อให้เกิดสัญญาขึ้น
สิ ทธิ เรี ยกร้องเงินที่ชาระไปตามเลตเตอร์ ออฟเครดิตไม่มีกฏบัญญัติไวเป็ นอย่างอื่นจึงมีอายุ
ความ ๑๐ ปี
สาหรับธนาคารผูแ้ จ้งเครดิต หากยืนยันเครดิตด้วย (Confirming Bank) ก็ถือว่ามีสัญญา
กับผูร้ ับประโยชน์ตามเงื่อนไขเดี ยวกับสัญญาระหว่างธนาคารผูเ้ ปิ ดเครดิตกับผูร้ ับประโยชน์ หาก
ไม่ยนื ยันก็ไม่มีความสัมพันธ์ใดๆ กับผูร้ ับประโยชน์

สิ ทธิของผู้ขายทีม่ ีต่อธนาคารและผู้ซื้อในกรณีธนาคารไม่ ชาระหนีต้ ามเครดิต


ตามกฎหมายอังกฤษ ผูข้ ายมีสิทธิ ฟ้องเรี ยกค่าเสี ยหายที่เกิดขึ้นจากธนาคารนอกเหนื อจาก
จานวนเงินในเครดิต
คดี Urguhart Lindsay & Co., Ltd. v. Eastern Bank Ltd. (๑๙๒๒) ๑ K.B.
ธนาคารจาเลยออกเครดิตเพื่อประโยชน์ของโจทก์ผขู ้ ายเป็ นเครดิตชนิ ดเพิกถอนไม่ได้ ซึ่ ง
ได้รับการยืนยันในการชาระราคาสิ นค้าที่ส่งเป็ นงวดๆ ธนาคารจาเลยได้จ่ายเงินให้แก่โจทก์แล้ว ๒
งวด แต่ ใ นการส่ งสิ นค้างวดที่ ส าม ธนาคารจาเลยปฏิ เสธไม่ จ่ายเงิ น ตามตัว๋ เงิ นที่ โจทก์สั่ งจ่ าย
โจทก์บอกเลิกสัญญาและฟ้องจาเลยเป็ นคดี
ศาลอังกฤษตัดสิ น ให้ จาเลยช าระเงิ น ตามตัว๋ แลกเงิ น และค่ าเสี ย หายอัน เกิ ด จากการผิ ด
สัญญา
มีปัญหาว่า ในกรณี เช่นนี้ผขู ้ ายจะเรี ยกให้ผซู ้ ้ื อชาระราคาสิ นค้าให้แก่ตนตามสัญญาซื้ อขาย
โดยไม่ตอ้ งฟ้ องธนาคารได้หรื อไม่ หรื อหากผูข้ ายฟ้ องธนาคารแต่ได้รับชาระหนี้ เพียงบางส่ วน
ผูข้ ายจะมีสิทธิ ฟ้องเรี ยกให้ผซู ้ ้ื อชาระในส่ วนที่ขาดจานวนอีกได้หรื อไม่
หลักกฎหมายอังกฤษถือว่า การที่สัญญากาหนดให้ชาระราคาสิ นค้าด้วยเครดิตแม้ผซู ้ ้ื อจะ
ได้จดั หาเครดิตให้ผขู ้ ายแล้วก็ตาม ก็ยงั ไม่ถือว่าผูซ้ ้ื อปฏิ บตั ิการชาระหนี้ ของตนเสร็ จสมบูรณ์ แล้ว
หากแต่ถือว่าเป็ นการชาระหนี้ โดยมีเงื่อนไข เว้นแต่จะมีการตกลงกันไว้เป็ นอย่างอื่น ผลก็คือ ผูซ้ ้ื อ
จะหลุ ดพ้น จากหนี้ ที่ ต้องช าระราคาแก่ ผูข้ ายต่ อเมื่ อธนาคารได้ช าระหนี้ ตามเครดิ ตแล้วเท่ านั้น
ถ้าธนาคารไม่ชาระหนี้ ผูซ้ ้ื อก็ยงั คงมีหน้าที่ที่จะต้องชาระราคาสิ นค้าให้แก่ผขู ้ ายตามสัญญา
23
คดี Newman Industries, Ltd, v. Indo – British Industries Ltd. (๑๙๕๒) ๒Lloyd's
Rep. ๒๑๙
โจทก์ขายสิ นค้าให้จาเลยโดยตกลงให้จาเลยชาระราคาด้วยเครดิต โจทก์ยื่นเอกสารและตัว๋
แลกเงิ นต่อธนาคาร แต่ธนาคารไม่ชาระเงิ น โจทก์จึงฟ้ องจาเลยเป็ นคดี น้ ี ศาลวินิจฉัยว่าโจทก์มี
สิ ทธิ ฟ้องผูซ้ ้ื อให้ชาระราคาได้ โดยถื อว่าการชาระเงินโดยวิธีน้ ี เป็ นวิธีการชาระเงินโดยมีเงื่อนไข
เท่านั้น และถ้าหากจะให้ถือว่าการชาระเงิ นโดยการออกตัว๋ แลกเงิ นเป็ นการชาระหนี้ อย่างเสร็ จ
เด็ดขาดก็ตอ้ งมีขอ้ ความกล่าวไว้อย่างชัดแจ้งในสัญญาซื้ อขาย
E.D. & F. Man Ltd. v. Nigerian Sweets & Confectionery Co. Ltd.
(๑๙๗๗)Lloyd's Rep. ๕๐
วินิจฉัยว่ากรณี ธนาคารในประเทศผูข้ ายสมัครใจเลิกกิจการไปก่อนที่ผขู ้ ายจะเรี ยกเก็บเงิน
ผูข้ ายสามารถเรี ยกให้ผูซ้ ้ื อชาระราคาได้ ถึงแม้ว่าผูซ้ ้ื อจะได้ส่งมอบเงินให้แก่ธนาคารแล้ว เพราะ
การชาระเงิ นด้วยเครดิ ตยังไม่ถือว่าเป็ นการชาระหนี้ เสร็ จสมบูรณ์ แล้ว แต่ถือว่าเป็ นการชาระหนี้
โดยมีเงื่อนไข ตราบใดที่ผขู ้ ายยังไม่ได้รับชาระเงิน หนี้ตามสัญญาซื้ อขายก็ยงั ไม่ระงับ
Hindley & Co. v. Tothill Watsan & Co. (๑๙๘๔) ๑๓ N.Z.L.R. ๑๓
คดีน้ ี ปรากฏข้อเท็จจริ งว่า ธนาคารได้รับรองตัว๋ แลกเงินที่ผขู ้ ายสั่งจ่ายเอาจากธนาคารตาม
เงื่อนไขในเครดิตแล้ว ธนาคารไม่ชาระเงินเมื่อตัว๋ เงินถึงกาหนด ผูข้ ายจึงฟ้ องผูซ้ ้ื อเป็ นจาเลย ศาล
ตัดสิ นให้จาเลยใช้เงิ นแก่โจทก์ โดยไม่เห็ นด้วยกับข้อโต้แย้งของจาเลยว่า การรับรองตัว๋ แลกเงิ น
โดยธนาคารมีผลเท่ากับการชาระเงิน ซึ่ งทาให้ผซู ้ ้ื อหลุดพ้นจากความรับผิดชอบในการชาระราคาสิ นค้า

ระเบียบประเพณีและพิธีปฏิบัติเกีย่ วกับเครดิตทีม่ ีเอกสารประกอบ


(Uniform Customs and Practice for Documentary Credits)
เนื่ องจากการปฏิ บ ัติท างการค้าเกี่ ย วกับ เครดิ ตที่ มี เอกสารประกอบในประเทศต่างๆ ยัง
ลักลัน่ กันอยู่ หอการค้านานาชาติ จึงได้ริเริ่ มร่ างประเพณี และวิธี ปฏิ บ ตั ิ ท วั่ ไปส าหรั บ เครดิ ตที่ มี
เอกสารประกอบขึ้นเป็ นครั้งแรกเมื่อปี ค.ศ.๑๙๓๓ ต่อมาได้มีการแก้ไขใหม่ในปี ๑๙๕๑ และปี
๑๙๖๒ ปี ๑๙๘๓ ปี ๑๙๙๓ (UCP 500) ฉบับ ล่ าสุ ด แก้ไขปี 2007 (UCP 600) ซึ่ งมี ผ ลบังคับ
ตั้งแต่วนั ที่ 1 กรกฎาคม 2007 ธนาคารต่างๆ เกือบทัว่ โลกรวมทั้งธนาคารในประเทศไทยได้แสดง
ความจานงอย่างเป็ นทางการว่า จะปฏิบตั ิตามประเพณี และพิธีปฏิบตั ิน้ ี
ศาลฎี กาเคยกล่าวถึ งประเพณี และวิธีปฏิ บตั ิทวั่ ไปในคาพิพากษาฎี กาที่ ๒๔๒๒/๒๔๙๙
ว่า ประเพณี การค้าของธนาคารพาณิ ชย์น้ นั ถ้าไม่ปรากฏว่าคู่กรณี ฝ่ายหนึ่ งได้รู้ จะนาเอาประเพณี
นั้นมาผูกมัดคู่กรณี ฝ่ายนั้นให้นอกเหนื อไปจากข้อตกลงในสัญญาไม่ได้ และมีคาพิพากษาฎี กาที่
๗๗๕/๒๕๒๕ ซึ่ งวินิจฉัยโดยที่ประชุ มใหญ่วา่ กรณี ที่ได้มีการตกลงให้เอาระเบียบประเพณี และ
พิธีปฏิ บตั ิเกี่ยวกับเครดิตที่มีเอกสารประกอบ (แก้ไขเพิ่มเติม ปี ค.ศ. ๑๙๖๒) ของสภาหอการค้า
นานาชาติมาใช้บงั คับแล้ว ศาลก็ตอ้ งวินิจฉัยคดีไปตามประเพณี และพิธีปฏิบตั ิน้ นั
24
ปั จจุบนั ในแบบฟอร์ มคาขอเปิ ดเครดิ ตของธนาคารทุ กธนาคาร จึงมีขอ้ ความว่าผูข้ อเปิ ด
เครดิตยินยอมจะปฏิบตั ิตามประเพณี และวิธีปฏิบตั ิทวั่ ไปของสภาหอการค้าดังกล่าว
เดิ ม ตัว บทประเพณี และวิ ธี ป ฏิ บ ั ติ เกี่ ย วกั บ เครดิ ต ที่ มี เอกสารประกอบ (UCP 500)
มี ๗ หมวด คือ A ถึง G๔๙ ข้อ เริ่ มด้วย
หมวด A. ซึ่ งเป็ นบททั่ว ไปและค าจ ากัด ความต่ า งๆ ที่ ส าคัญ คื อ เครดิ ต ที่ มี เอกสาร
ประกอบหมายถึ ง ข้อตกลงซึ่ งธนาคารรั บ ดาเนิ นการตามค าสั่ งของผูข้ อเปิ ดเครดิ ต ในอันที่ จะ
จ่ายเงินให้ หรื อตามคาสั่งของบุคคลที่สาม (ผูร้ ับประโยชน์) หรื อรับรองและจ่ายเงินตามตัว๋ แลก
เงิ นที่ ผูร้ ั บ ประโยชน์ เป็ นผูท้ าขึ้ น หรื อมอบอานาจให้ ธนาคารอื่ นเป็ นผูจ้ ่ายเงิ น หรื อรับรองและ
จ่ า ยเงิ น แทนหรื อ ให้ รับ ซื้ อ เมื่ อ ได้มี ก ารยื่ น เอกสารต่ า งๆ ถู ก ต้อ งตรงตามที่ ร ะบุ ไ ว้ใ นเครดิ ต
ข้อต่อไปคือเครดิ ตเป็ นสัญญาที่ตอ้ งแยกออกต่างหากจากสัญญาซื้ อขายหรื อสัญญาอื่นๆ ธนาคาร
ไม่มีส่วนเกี่ยวข้องหรื อผูกพันกับสัญญานั้นๆ และการปฏิบตั ิเกี่ยวกับเครดิต ทุกฝ่ ายปฏิบตั ิเกี่ยวกับ
เอกสารไม่เกี่ยวกับสิ นค้า ฯลฯ
ในหมวด B ว่าด้วยรู ป แบบและการแจ้งการเปิ ดเครดิ ต ข้อแรกกาหนดว่าเครดิ ตมี ๒
ชนิ ด คือ ชนิดเพิกถอนได้ และเพิกถอนไม่ได้ เครดิตทุกฉบับควรระบุไว้ให้ชดั เจนว่าเป็ นชนิ ดใด
และหากไม่ระบุไว้ก็ให้ถือว่าเป็ นชนิดเพิกถอนไม่ได้ ข้อต่อมาอธิ บายถึงผลตามกฎหมายและพันธะ
ที่คู่กรณี ตอ้ งปฏิ บตั ิและความรับผิดชอบ ประการสุ ดท้ายเป็ นเรื่ องการแจ้งการเปิ ดเครดิ ตและการ
สื่ อสารโทรคมนาคม
ในหมวด C เป็ นเรื่ องภาระและความรับผิดชอบในการปฏิ บตั ิ เกี่ ยวกับเครดิ ตว่าธนาคาร
จะต้องตรวจเอกสารทั้งหมดด้วยความระมัดระวังตามสมควร เพื่อให้แน่ ใจว่าเอกสารที่ยื่นมานั้นมี
ข้อความถู ก ต้องตรงตามข้อตกลงและเงื่ อนไขในเครดิ ต แต่ ธนาคารไม่ ต้องรั บผิดชอบเกี่ ยวกับ
แบบฟอร์ ม ความสมบู รณ์ ความแน่ นอน ความแท้จริ ง การปลอมแปลง หรื อผลตามกฎหมาย
ของเอกสารใดๆ และไม่รับผิดชอบในรายการ จานวนน้ าหนัก คุณภาพ เงื่อนไข การบรรจุหีบห่ อ
การกาหนดเวลา หรื อสภาพของสิ นค้าในการชาระหนี้ สิน หรื อฐานะของผูส้ ่ งสิ นค้า ผูร้ ับขนส่ ง
หรื อผูร้ ับประกันภัย หรื อบุคคลอื่นใดทั้งสิ้ น ทั้งไม่ตอ้ งรับผิดต่อเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นจากความล่าช้า
หรื อสู ญหายของข่าวสาร
หมวด D ว่าด้วยเรื่ องเอกสาร การขนส่ ง การประกันภัย บัญชี สินค้าและอื่นๆ ว่าเอกสาร
ชนิดใดธนาคารจะรับได้ หรื อรับไม่ได้ ภายใต้เงื่อนไขอย่างไร
หมวด E เป็ นข้อกาหนดเบ็ดเตล็ด เช่น ข้อกาหนดเกี่ยวกับสิ นค้าและจานวนเงิน การขึ้น
เงินและการส่ งสิ นค้า วันหมดอายุและการยืน่ เอกสาร เป็ นต้น
หมวด F ว่าด้วยเรื่ องเครดิตชนิดที่โอนได้ (Transferable Credit) และ
หมวด G ว่าด้วยการโอนสิ ทธิ เรี ยกร้อง
25
ส่ วน UCP 600 ได้นาฉบับ 500 มาเขียนจัดเรี ยงเนื้ อหาใหม่ แก้ไขถ้อยคาให้กระชับและ
ง่ายแก่การเข้าใจและปฏิบตั ิ มีการเพิ่มเติมเนื้ อหาแต่เพียงเล็กน้อย หลักเกณฑ์สาคัญส่ วนใหญ่ยงั คง
เหมือนเดิม
UCP 600 จัดเรี ยงหัวข้อดังนี้
ข้อ 1 ว่ า ด้ว ยการใช้ UCP 600 ที่ ส าคัญ คื อ ก าหนดว่า ข้อ บัง คับ ต่ า ง ๆ ผู ก พัน ทุ ก ฝ่ ายที่
เกี่ยวข้อง เว้นแต่จะมีการปรับปรุ งแก้ไข หรื อตัดออกไว้อย่างชัดเจนในเครดิต
ข้อ 2 และ 3 เป็ นคาจากัดความ (Definitions) และการแปลความหมาย (Interpretations) ที่
สาคัญ คือ ค าจากัดความของค าว่าเครดิ ต (Credit) การชาระเงิ น (Honour) การลงนาม (Signed)
และความหมายของถ้ อ ยค าต่ า ง ๆ เช่ น ประมาณ จนถึ ง ระหว่ า ง และ หลัง จาก ในวัน ที่
หรื อประมาณวันที่ (on or about) หมายถึง ช่วงเวลา 5 วัน ก่อนวันระบุหรื อหลังจากวันที่ระบุ หรื อ
หลังจาก วันที่ระบุ to จนถึง until จนกระทัง่ still จาก from ระหว่าง between หากใช้เพื่อกาหนด
ระยะเวลาสั่งสิ นค้าให้นบั ระบุไว้ครบจาก From หรื อ หลังจาก Letter หากนามาใช่เพื่อกาหนดวันที่
ครบกาหนดไม่นบั วันถูกระบุ เป็ นต้น
ข้อ 4 และ5 ว่าด้วยลัก ษณะของเครดิ ตว่าเป็ นสั ญ ญาที่ แยกออกจากสั ญ ญาซื้ อขายหรื อ
สัญญาอื่ นอันเป็ นสัญญาหลัก ธนาคารดาเนิ นการเกี่ ยวข้องกับเอกสารและไม่เกี่ ยวกับสิ นค้า หรื อ
บริ การ
ข้อ 6 การขึ้นเงิน วันที่หมดอายุและสถานที่สาหรับยืน่ เอกสาร
ข้อ 7 และ 8 ความรับผิดชอบของธนาคารผูเ้ ปิ ด และธนาคารผูย้ ืนยัน ที่ตอ้ งชาระเงินทันที
ชาระตามกาหนดหรื อรับรองตัว๋ แลกเงิ นที่ยื่นกับตน หรื อชาระเงินเมื่อธนาคารที่ ได้รับการแต่งตั้ง
ไม่ชาระเงิ น หรื อรับรองกรณี ที่ธนาคารที่ แต่งตั้งไม่รับรอง หรื อรับซื้ อตัว๋ แลกเงินกรณี ที่ธนาคาร
ที่ได้รับการแต่งตั้งไม่รับซื้ อ ความผูกพันดังกล่าวไม่อาจเพิกถอนได้และต้องรับผิดชอบในการใช้
เงินคืนแก่ธนาคารที่ได้รับการแต่งตั้งซึ่ งได้ชาระเงินไปโดยถูกต้องตามเครดิตหรื อรับซื้ อตัว๋ แลกเงิน
ความรับผิดของธนาคารผูเ้ ปิ ด หรื อยืนยันต่อธนาคารผูไ้ ด้รับการแต่งตั้งเป็ นอิสระจากความรับผิด
ระหว่างธนาคารผูเ้ ปิ ดกับผูร้ ับประโยชน์
ข้อ 9 – 11 การแจ้งเครดิตและการแก้ไขเครดิต (Advising of Credit and Amendments)
ข้อ 12 – 13 การแต่ ง ตั้ง ธนาคาร (Nomination) และ การชดใช้ เงิ น คื น ระหว่า งธนาคาร
(Bank – to – Bank Reimbursement Arrangement)
ข้อ 14 – 28 ว่ า ด้ว ยมาตรฐานในการตรวจสอบเอกสาร (Standard for Examination of
Documents ) การยื่นเอกสารที่เป็ นไปตามเครดิ ต (Complying Presentation) เอกสารที่ ไม่ตรงกับ
เครดิ ต ( Discrepant Documents) ต้น ฉบับ เอกสารและส าเนา (Original Documents and Copies)
บัญชีสินค้าเพื่อการพาณิ ชย์ (Commercial Invoice) เอกสารการขนส่ งหลายรู ปแบบ( Multimodal or
Combined Document) ใ บ ต ร าส่ ง (Bill of Lading) ใบ รั บ สิ น ค้ า ท างท ะ เล (Sea Waybill)
26
เอกสารการขนส่ งทางอากาศ (Air Transport Document) การขนส่ งทางถนน รถไฟ ทางน้ าภายใน
(Road Rail or Inland Waterway Documents).............เอกสารการประกันภัย (Insurance Document)
ข้อ 29 การขยายวัน ที่ ห มดอายุหรื อวัน สุ ดท้ายของการยื่น เอกสาร (Extension of Expiry
Date or Last Day for Presentation)
ข้อ 30 จานวนเงินตามเครดิต ปริ มาณ และราคาต่อหน่วยที่ยนิ ยอมให้ขาดหรื อเกิน
ข้อ 31 – 32 การเบิ กเงิ นหรื อการส่ งสิ นค้าบางส่ วน (Partial Drawing or Shipments) และ
การเบิ ก เงิ น และการส่ ง สิ น ค้า เป็ นงวด ๆ (Installment Drawings or Shipments) งวดใดไม่ เป็ น
หรื อไม่ส่งสิ นค้าเครดิตจะใช้เบิกเงินไม่ได้สาหรับงวดนั้นและงวดต่อไป
ข้อ 33 เวลาที่ยนื่ เอกสาร (Hours of Presentation)
ข้อ 34 การไม่ ต้อ วรั บ ผลต่ อ ความถู ก ต้องของเอกสาร (Disclaimer on Effectiveness of
Documents) เช่ น รู ป แบบ ความพอเพี ยง ความถู กต้อง ความแท้จริ ง การปลอมแปลง ปั ญหาทาง
กฎหมายของ...............
ข้ อ 35 การไม่ ต้ อ งรั บ ผลต่ อ การสื่ อสารและการแปลความหมาย (Disclaimer on
Transmission and Translation) เช่ น ความล่าช้า สู ญหาย ขาดหายไม่สมบูรณ์ ผิดพลาดอื่น เกิ ดจาก
การส่ งข่าวสาร จดหมาย เอกสาร
ข้อ 36 เหตุสุดวิสัย (Force Majuro)
ข้อ 37 การไม่ ต้อ งรั บ ผลต่ อ การกระท าของผู ้สั่ ง (Disclaimer of Acts of an Instruction
party)
กรณี ที่ธนาคารใช้บริ การของธนาคารอื่นเพื่อให้บรรลุ วตั ถุประสงค์ตามคาสั่งของผูข้ อเปิ ด
ผูข้ อเปิ ดต้องเป็ นผูร้ ับภาระและความเสี่ ยงภัย ธนาคารผูเ้ ปิ ดหรื อผูแ้ จ้งเครดิ ตไม่ตอ้ งรับผิดชอบต่อ
คาสั่งที่ตนส่ งไปให้ธนาคารอื่นปฎิบตั ิ และธนาคารนั้นไม่ยอมปฏิบตั ิตาม แม้ธนาคารผูใ้ ห้คาสั่งจะ
เป็ นผูเ้ ลือกใช้ธนาคารนั้นเอง
ข้อ 38 เครดิตที่โอนได้ (Transferable Credits)
ข้อ 39 การโอนสิ ทธิเรี ยกร้อง (Assignment of Proceeds)

กฎหมายทีใ่ ช้ บังคับแก่ ค่ ูสัญญาในเลตเตอร์ ออฟเครดิต


เนื่ องจากสัญญาเลตเตอร์ ออฟเครดิ ตเกี่ ยวข้องกับคู่สัญญาหลายฝ่ าย หากมิได้มีการตกลง
ให้ใช้ UCP บังคับ กฎหมายที่นามาใช้บงั คับกับคู่สัญญาย่อมจะแตกต่างกันไป เช่น ระหว่างผูซ้ ้ื อ
และธนาคารผู เ้ ปิ ดเครดิ ตซึ่ งอยู่ใ นประเทศเดี ย วกัน กฎหมายที่ ใช้บ ังคับ จึ งได้แก่ ก ฎหมายของ
ประเทศนั้น ระหว่างผูข้ ายและผูแ้ จ้งเครดิตก็อยูใ่ นประเทศเดียวกันแต่คนละประเทศกับผูซ้ ้ื อ ส่ วน
ธนาคารผูเ้ ปิ ดเครดิ ต และธนาคารผู แ้ จ้ง เครดิ ต อยู่ค นละประเทศจึ ง จาเป็ นต้องพิ จ ารณาตาม
พระราชบัญญัติวา่ ด้วยการขัดกันแห่งกฎหมาย
27

ทรัสต์ รีซีท (Trust Receipt)


เป็ นบริ การให้สินเชื่ อทางการเงินของธนาคารอย่างหนึ่ ง การที่ลูกค้าจะต้องชาระเงินให้แก่
ธนาคารก่อนที่ ธนาคารจะปล่ อยเอกสารให้ลูกค้าไปออกสิ นค้านั้น บางครั้ งลู กค้ามีความขัดข้อง
ทางการเงิ นไม่สามารถชาระเงิ นให้ได้ แต่มีความจาเป็ นที่ จะต้องเอาเอกสารไปออกสิ นค้า เพื่ อ
ไม่ให้สินค้าตกค้างอยูท่ ี่ท่าเรื อนานเกิ นไป และเพื่อนาสิ นค้าไปขายนาเงิ นมาชาระหนี้ ต่อธนาคาร
ลูกค้าอาจขอทาทรัสต์รีซีท เมื่อธนาคารพิจารณาเห็นสมควรก็จะจัดทาให้
ทรัสต์รีซีท คือ สัญญาระหว่างลูกค้ากับธนาคารทาขึ้นโดยอาศัยความเชื่ อถือที่ธนาคารมี
ต่ อ ลู ก ค้า โดยลู ก ค้าขอรั บ เอกสารการขนส่ ง สิ น ค้า เพื่ อ น าไปรั บ สิ น ค้า ก่ อ นในการนี้ ลู ก ค้า ให้
คารับรองว่าธนาคารเป็ นผูม้ ีกรรมสิ ทธิ์ ในสิ นค้านั้น และมีอานาจที่จะเรี ยกกลับคืนมาหรื อทาการ
จาหน่ ายได้ทุกโอกาส และในการจาหน่ายสิ นค้านั้นลูกค้าจะกระทาไปเพื่อประโยชน์ของธนาคาร
และจะนาเงินที่ขายสิ นค้านั้นมาชาระแก่ธนาคาร

ตัวอย่างทีศ่ าลฎีกาเคยพิพากษาเกีย่ วกับเรื่ องนีค้ ือ


คาพิพากษาศาลฎีกาที่ ๖/๒๕๑๗
เอกสารทรัสต์รีซีทที่ผสู ้ ั่งซื้ อสิ นค้าจากต่างประเทศทาให้ไว้แก่ธนาคาร โดยยอมให้ธนาคาร
ยึดถือเอกสารดังกล่าวเป็ นประกันเพื่อการชาระเงินตามตัว๋ เงินและถือกรรรมสิ ทธิ์ ในสิ นค้าที่สั่งซื้ อ
เป็ นของธนาคาร โดยผูส้ ั่งซื้ อสิ นค้าจะต้องเอาสิ นค้านั้นไปจาหน่ายแล้วนาเงินที่ได้จากการขายมา
ชาระให้ธนาคารผูร้ ้อง อันเป็ นผลจากการที่ผสู ้ ั่งซื้ อสิ นค้าเปิ ดเลตเตอร์ ออฟเครดิตไว้กบั ธนาคารใน
การสั่งซื้ อสิ นค้านั้นเป็ นสัญญาต่างตอบแทนชนิ ดหนึ่ งซึ่ งมีผลผูกพันคู่กรณี ตามประมวลกฎหมาย
แพ่งและพาณิ ชย์มาตรา ๓๖๙ วัตถุประสงค์แห่งสัญญาเช่นนี้ นอกจากจะก่อให้เกิดสิ ทธิ แก่ธนาคาร
ในฐานะเจ้าหนี้จะเรี ยกร้องเอามาชดใช้ราคาสิ นค้าแล้วยังเป็ นการโอนกรรมสิ ทธิ์ ในทรัพย์เฉพาะสิ่ ง
ให้เจ้าหนี้ ไปจนกว่าจะมีการชาระราคาแล้วเสร็ จ ตราบใดที่ผสู ้ ั่งสิ นค้ายังไม่ชาระราคา สิ นค้าให้แก่
ธนาคาร ก็จะเรี ยกร้องเอากรรมสิ ทธิ์ ในสิ นค้าคืนจากธนาคารไม่ได้ กรณี เช่ นนี้ ธนาคารจึงเป็ นทั้ง
เจ้าหนี้และเจ้าของสิ นค้าไปพร้อมๆ กัน
เอกสารทรั สต์รีซี ทที่ จาเลยท าให้ไว้แก่ ธนาคาร ย่อมเป็ นการก่ อตั้งทรั พ ยสิ ท ธิ ชอบด้วย
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ มาตรา ๑๒๙๘ กรรมสิ ทธิ์ ในสิ นค้าที่สั่งซื้ อมาจึงตกเป็ นของ
ธนาคารไปโดยชอบด้วยกฎหมาย ธนาคารมีสิทธิ โดยสมบูรณ์ ที่จะขอให้ปล่อยทรัพย์ที่เจ้าหนี้ ของ
จาเลยยึดไว้ได้
28
คาพิพากษาศาลฎีกาที่ ๒๕๔๖/๒๕๑๗
สัญญารับมอบสิ นค้าเชื่ อหรื อทรัสต์รีซีท คือ สัญญาระหว่างธนาคารผูเ้ ปิ ดเลตเตอร์ ออฟ
เครดิตและลูกค้าผูข้ อให้เปิ ดเครดิต โดยธนาคารสัญญาจะมอบเอกสารที่จะใช้ในการรับมอบสิ นค้า
ให้ ผู ข้ อเครดิ ตเพื่ อไปรั บ สิ น ค้าและน าสิ น ค้านั้น ไปขายได้ แต่ ก รรมสิ ท ธิ์ ในสิ น ค้า ยังเป็ นของ
ธนาคารอยู่ และทางฝ่ ายผูข้ อเปิ ดเครดิตก็สัญญาว่าจะยึดถือเอกสารที่จะใช้ในการรับมอบสิ นค้ากับ
สิ นค้าที่รับมารวมทั้งเงินที่ขายสิ นค้านั้นได้ไว้ในนามของธนาคารและจานาเงินชาระให้แก่ธนาคาร
เพื่ อหักกับ เงิ นที่ เป็ นหนี้ ตามดราฟท์ สั ญ ญาเช่ นนี้ มี ผลผูก พันคู่ก รณี ตามกฎหมาย กรณี น้ ี หาใช่
สัญญาก่อตั้งทรัสต์ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ มาตรา ๑๖๘๖ ไม่

คาพิพากษาศาลฎีกาที่ ๑๐๑๐/๒๕๒๔
จาเลยขอเปิ ดเลตเตอร์ ออฟเครดิตไว้กบั ธนาคารโจทก์เพื่อสั่งสิ นค้าจากผูข้ ายในต่างประทศ
ต่อมาผูข้ ายได้ส่งสิ นค้าตามเลตเตอร์ ออฟเครดิตนั้น โจทก์ได้จ่ายค่าสิ นค้าแทนจาเลยไปแล้ว และ
แจ้งให้จาเลยชาระเงิน จาเลยไม่มีเงินพอจะชาระให้ จึงขอรับเอกสารใบสั่งสิ นค้าตามเลตเตอร์ ออฟ
เครดิตไปเพื่อขอออกสิ นค้าจากท่านเรื อ โดยทาสัญญาทรัสต์รีซีทไว้แก่โจทก์ การทาสัญญาทรัสต์
รี ซีทดังกล่าวจึงเป็ นเพียงวิธีการผ่อนปรนของเจ้าหนี้ ให้ลูกหนี้ มีโอกาสนาสิ นค้าที่สั่งซื้ อมาด้วยการ
เปิ ดเลตเตอร์ ออฟเครดิตออกจากท่าเรื อไปขายเพื่อนาเงินมาชาระหนี้ ตามสัญญาเลตเตอร์ ออฟเครดิต
เท่านั้น สัญญาทรัสต์รีซีทรายนี้ เป็ นสัญญาต่อเนื่ องกับสัญญาเลตเตอร์ ออฟเครดิ ต มิได้ทาให้หนี้
ตามเลตเตอร์ ออฟเครดิตระงับสิ้ นไปได้ในตัว

คาพิพากษาศาลฎีกาที่ ๒๑๕๗/๒๕๒๔
จาเลยทาสัญญาทรัสต์รีซีท (ใบรับสิ นค้าเชื่อ) ให้ไว้แก่โจทก์เพื่อรับเอกสารการสั่งสิ นค้า
ไปออกสิ นค้าจากท่าเรื อเพื่อนาไปจาหน่ายแก่ผซู ้ ้ื อ ดังนี้ การทาสัญญาทรัสต์รีซีทนั้นเป็ นการโอน
กรรมสิ ทธิ์ ในสิ นค้าหรื อเงินค่าขายสิ นค้าไปเป็ นของโจทก์เพื่อชาระหนี้ค่าสิ นค้าตามตัว๋ แลกเงินตาม
เลตเตอร์ ออฟเครดิตและตามสัญญาทรัสต์รีซีท แม้จาเลยจะเป็ นผูค้ รอบครองสิ นค้าหรื อเงินค่าขาย
สิ นค้าไว้ ก็เป็ นการครอบครองหรื อยึดไว้แทนโจทก์เพื่อชาระหนี้ ดงั กล่าวเท่านั้น เงินที่ขายได้ตอ้ ง
หักชาระหนี้ ค่ าสิ นค้าและอุ ป กรณ์ แก่ โจทก์ เงิ นเหลื อคื นให้จาเลย โจทก์ไม่มี สิทธิ เอาเงินที่ขาย
สิ นค้าได้ไปหักกับหนี้รายอื่นที่ไม่เกี่ยวกับเลตเตอร์ ออฟเครดิตและสัญญาทรัสต์รีซีท

คาพิพากษาศาลฎีกาที่ ๓๗๔๘/๒๕๓๐
สั ญ ญาทรั ส ต์รีซี ท มิ ใ ช่ ก ารก่ อ ตั้ง ทรั ส ต์ต ามความหายแห่ ง ประมวลกฎหมายแพ่ ง และ
พาณิ ชย์ มาตรา ๑๖๘๖ จึงไม่ตกเป็ นโมฆะ
29
คาพิพากษาศาลฎีกาที่ ๘๒๕๔/๒๕๔๔
สิ ทธิเรี ยกร้องตามสัญญาทรัสต์รีซีทมีอายุความ ๑๐ ปี ไม่ใช่เป็ นกรณี ตวั แทนเรี ยกร้องเงิน
ทดรองที่จ่ายแทนตัวการซึ่ งมีอายุคราบ 2 ปี
คาพิพากษาศาลฎีกาที่ ๖๗๖/๒๕๔๘
สัญญาทรัสต์รีซี ทที่ ระบุ ให้กรรมสิ ทธิ์ ในสิ นค้าตกอยู่แก่ ธนาคารโจทก์ ก็เพื่อให้โจทก์มี
สิ ทธิ อยู่ในฐานเข้าหนี้ มีประกันเหนื อสิ นค้า เพื่อเป็ นการประกันการชาระหนี้ ของจาเลยที่ 1 หาได้
เป็ นการตกลงโอนกรรมสิ ทธิ์ ให้แก่โจทก์เพื่อทดแทนการชาระหนี้ ไม่ จาเลยที่.....จึงยังต้องผูกพัน
ชาระหนี้ตามคาขอเปิ ดเลตเตอร์ ออฟเครดิตและสัญญาทรัสต์รีซีท
คาพิพากษาศาลฎีกาที่ ๒๘๙๐/๒๕๔๙
โจทก์ซ่ ึ งเป็ นผูข้ ายสิ นค้ามีหน้าที่ตามสัญญาซื้ อขายที่จะต้องส่ งสิ นค้าให้แก่บริ ษทั ค. ผูซ้ ้ื อ
ที่เมืองดีทรอยท์ ประเทศสหรัฐอเมริ กา และโจทก์ได้วา่ จ้างจาเลยทั้งสองให้ขนส่ งสิ นค้าไปส่ งมอบ
ให้แก้ผูซ้ ้ื อ แต่จาเลยทั้งสองไม่นาสิ นค้าไปส่ งมอบให้แก่ผูซ้ ้ื อตามสัญญา กลับยึดหน่ วงสิ นค้าไว้
แล้วนาไปขายเสี ย ดังนี้ โจทก์ในฐานะผูส้ ่ งของซึ่ งเป็ นคู่ สั ญญาตามสั ญ ญารั บ ขนของทางทะเล
กับ ผู ข้ นส่ ง ย่อ มมี สิ ท ธิ ฟ้ อ งร้ อ งให้ ผู ข้ นส่ ง รั บ ผิ ด ต่ อ โจทก์ ไ ด้ต ามสั ญ ญารั บ ขนของทางทะเล
เมื่อโจทก์จดั ส่ งสิ นค้าพิพาทลงเรื อแล้ว โจทก์ได้นาใบตราส่ งไปส่ งมอบให้ธนาคารเพื่อขอรับเงิน
ค่าสิ นค้าที่ผูส้ ั่งซื้ อเปิ ดเลตเตอร์ ออฟเครดิ ตไว้กบั ทางธนาคารดังกล่าว แต่เมื่อผูร้ ับตราส่ งไม่ได้รับ
สิ นค้าตามที่สั่งซื้ อจึงอายัดเงินค่าสิ นค้า โจทก์จึงยังไม่ได้รับเงินค่าสิ นค้าจากธนาคาร และธนาคาร
ได้คื น ใบตราส่ งให้ แก่ โจทก์ โจทก์ย งั เป็ นผูค้ รอบครองต้น ฉบับ ใบตราส่ งสิ น ค้าพิ พ าทดังกล่ าว
ทั้งเมื่อบริ ษทั ค.ผูซ้ ้ื อสิ นค้าพิพาทจากโจทก์ไม่ได้รับสิ นค้า บริ ษทั ดังกล่าวก็ไม่มีหนี้ ที่จะต้องชาระ
ให้โจทก์ และไม่มีส่วนได้เสี ยในสิ นค้าเพราะไม่ใช่ เจ้าของ โจทก์ซ่ ึ งเป็ นผูข้ ายและผูส้ ่ งย่อมได้รับ
ความเสี ยหาย โจทก์จึงมีอานาจฟ้อง
คาพิพากษาศาลฎีกาที่ ๔๕๗๙/๒๕๕๒
การที่ จาเลยที่ 1 ขอสิ นเชื่ อเลตเตอร์ ออฟเครดิ ตจากโจทก์ เมื่ อโจทก์ชาระสิ นค้าแก่ ผูข้ าย
ในต่างประเทศแทนจาเลยที่ 1 ไปเรี ยบร้ อยแล้ว จาเลยที่ 1 จะต้องนาสิ นค้าออกไปพร้ อมกับชาระ
ค่าสิ นค้าให้แก่โจทก์ แต่จาเลยที่ 1 ไม่มีเงินชาระจึงทาสัญญาทรัสต์ซีทกับโจทก์พร้ อมกับออกตัว๋
สั ญ ญาใช้เงิ น เพื่ อช าระหนี้ ให้ แก่ โจทก์ด้วย จึ ง เห็ น ได้ว่าโจทก์ฟ้ องให้ จาเลยที่ 1 กับ พวกรั บ ผิ ด
โดยอาศัยมู ลหนี้ ตามสัญญาขอเปิ ดเลตเตอร์ ออฟเครดิ ต และสัญญาทรัสต์ซีทเป็ นหลัก จาเลยที่ 1
ออกตัว๋ สัญญาใช้เงินให้แก่โจทก์จึงเป็ นการประกันเพื่อการชาระหนี้ ตามสัญญาทรัสต์รีซีทเท่านั้น
หาใช่โจทก์ฟ้องให้จาเลยที่ 1 กับพวกรับผิดตามตัว๋ สัญญาใช้เงินเป็ นหลักแต่เพียงอย่างเดียวไม่
30
คาพิพากษาศาลฎีกาที่ ๘๙๗๒/๒๕๕๓
จาเลยที่ 1 ขอให้โจทก์ซ่ ึ งเป็ นธนาคารพาณิ ชย์ออกเลตเตอร์ ออฟเครดิ ตให้แก่ จาเลยที่ 1
เพื่อชาระค่าสิ นค้ารถยนต์ที่จาเลยที่ 1 สั่งซื้ อจากต่างประเทศ เมื่อสิ นค้าถึ งท่าเรื อกรุ งเทพ โจทก์ได้
ชาระเงิ นค่าสิ นค้าให้แก่ธนาคารในต่างประเทศไปแล้ว และรับมอบใบตราส่ งสาหรับสิ นค้าและ
รายการบรรจุสินค้าไว้จากธนาคารในต่างประเทศ ดังนี้ การที่ โจทก์อยู่ในฐานะผูร้ ับตราส่ งสิ นค้า
รถยนต์ก็เพื่อเป็ นหลักประกันการชาระหนี้ ตามเลตเตอร์ ออฟเครดิ ตที่ จาเลยที่ 1 ขอให้โจทก์ชาระ
เงิ นค่าสิ นค้ารถยนต์แทนจาเลยที่ 1 ไปก่ อน สิ นค้ารถยนต์ตามใบตราส่ ง จึ งเป็ นการประกันหนี้
ตามคาขอให้ออกเลตเตอร์ ออฟเครดิตของจาเลยที่ 1 เมื่อปรากฏว่าจาเลยที่ 1 ผิดสัญญาไม่ชาระหนี้
และไม่มาติดต่อขอรับเอกสารเพื่อไปขอออกสิ นค้า และต่อมาโจทก์นาสิ นค้ารถยนต์ดงั กล่าวออก
ขายเพื่อชาระหนี้ แก่โจทก์ โจทก์ตอ้ งนาเงินที่ได้จากการขายรถยนต์ไปชาระหนี้ ตามคาขอเลตเตอร์
ออฟเครดิ ตอันเป็ นมูลเหตุให้มีการส่ งมอบรถยนต์มาทางเรื อเดิ นทะเลนั้น ไม่มีสิทธิ จะนาเงินที่ได้
จากการขายสิ นค้าไปหักกับหนี้รายอื่นหรื อหักกับหนี้ของจาเลยที่ 2 ที่มีต่อโจทก์
31
บรรณานุกรม

๑ . C.M Schmitt hoff : The Export Trade. The Law and Practice of
International Trade. Sixth Edition. London. Stevens & Sons Ltd. ๑๙๗๕
๒. David Warne : Banking Litigation London Sweet & Maxwell ๑๙๙๙
๓. International Chamber of Commerce ; Uniform Customs and Practice
for Documentary Credits
๔. ประยูร จิดาประดิษฐ์ , การธนาคารพาณิ ชย์ การดาเนิ นงานและการบัญชี ,
พิมพ์ครั้งที่ ๒ กรุ งเทพฯ , โรงพิมพ์อกั ษรสมัย ๒๕๑๔
๕. เฉลิ ม ยงบุ ญ เกิ ด , เลตเตอร์ อ อฟเครดิ ต และเช็ ค , โรงพิ ม พ์ ห้ า งหุ ้ น ส่ ว น
จากัดศิวพร

You might also like