You are on page 1of 8

THE VIRTUARCH EXPERT TALK:

การทำโครงการในช่ วงปิ ดภาคเรียนฤดูร้อนอย่ างไร ให้ ประสบความสำเร็จ

เมื่อโรงเรี ยนต้ องมีการปรับปรุงซ่อมแซมหรื อต่อเติม ทางโรงเรี ยนจะต้ องรอให้ ถึงวันปิ ดภาคเรี ยนก่อน ดังนันวั
้ นสุดท้ ายของ
การเรี ยนคือวันที่สามารถเริ่ มต้ นลงมือ ทำงานได้ ระยะเวลาในการทำงานจึงค่อนข้ างจำกัดและต้ องทำงานให้ เสร็จเรี ยบร้ อย
ก่อนที่นกั เรี ยนและอาจารย์จะกลับมาเปิ ดการเรี ยนการสอนซึง่ อยู่ในช่วงระยะเวลา 6 - 8 สัปดาห์ จึงต้ องมีการวางแผนงาน
อย่างรอบคอบและรัดกุมไว้ ลว่ งหน้ าเพื่อให้ งานสำเร็จลุลว่ ง ทางบริ ษัท VIRTUARCH ตระหนักถึงปั จจัยข้ อนี ้เป็ นอย่างดี
บริ ษัทออกแบบสถาปั ตยกรรมและบริ หารโครงการของสวิตเซอร์ แลนด์แห่งนี ้ มีความเชี่ยวชาญในการทำโครงการที่เกี่ยวกับ
สถานศึกษาทุกประเภท เราได้ พดู คุยกับแดเนียล ฮอยซ์เซอร์ , โฮลท์ จาง และเฮเลน เจียง จากบริ ษัท VIRTUARCH เกี่ยวกับ
การทำโครงการในช่วงปิ ดภาคเรี ยนและความท้ าทายที่ต้องเผชิญ และยังได้ ร่วมพูดคุยกับคุณเทอดสิทธิ หอประสาทสุข ผ่าน
การประชุมทางไกลผ่านระบบวิดีโอจากสำนักงานบริ ษัท VIRTUARCH ในกรุงเทพฯ อีกด้ วย

ช่ วยอธิบายคำว่ าโครงการในช่ วงปิ ดภาคเรียนฤดูร้อนสัน้ ๆ ได้ ไหมครับ?


แดเนียล ฮอยซ์ เซอร์ : เรามักจะต้ องรี โนเวท ปรับปรุงซ่อมแซม หรื อเพิ่มความปลอดภัยของอาคารในช่วงปิ ดภาคเรี ยน
เนื่องจากเราไม่สามารถดำเนินการได้ ในขณะที่อาจารย์และนักเรี ยนอยู่ในโรงเรี ยน เราต้ องรอให้ โรงเรี ยนปิ ดก่อนและทำ
โครงการให้ เสร็จภายในระยะเวลาสัน้ ๆ และช่วงที่โรงเรี ยน ปิ ดนานที่สดุ คือช่วงฤดูร้อน เราถึงเรี ยกว่า “การทำโครงการในช่วง
ปิ ดภาคเรี ยนฤดูร้อน” ครับ
โฮลท์ จาง: ครับ นัน่ แหละที่สำคัญ เรามีเวลาทำงาน 6 - 8 สัปดาห์ในช่วงที่นกั เรี ยนและอาจารย์ไม่ได้ อยู่ในโรงเรี ยน ซึง่ เรา
ได้ เตรี ยมการไว้ ก่อนหน้ านี ้นานแล้ ว และสามารถเริ่ มทำงานในวันแรกของการปิ ดเทอมได้ ทนั ที
เฮเลน เจียง: ตัวอย่างของการทำโครงการในฤดูร้อน เช่น การรี โนเวทห้ องสมุด ห้ องศิลปะ และพื ้นที่สว่ นอื่น ๆ ของโรงเรี ยน
นานาชาติดลั ลิชปั กกิ่ง เราได้ ปรับปรุงพื ้นที่สำ นักงานบริ หารเดิม โดยการขยายพื ้นที่และปรับเปลี่ยนให้ มีสภาพแวดล้ อมที่
เหมาะสมกับการเรี ยนรู้ โดยใช้ เวลาทำงานในช่วงฤดูร้อนประมาณ 2 - 3 สัปดาห์คะ่

โรงเรี ยนนานาชาติ ดลั ลิ ชปั กกิ่ ง: ห้องศิ ลปะและห้องสมุด


เทอดสิทธิ หอประสาทสุข: ขอยกตัวอย่างงานอีกงานหนึง่ ที่เราต้ องทำในเวลาจำกัดและมีการวางแผนอย่างรอบคอบและ
รัดกุม คือการรี โนเวทโรงเรี ยนนานาชาติฝรั่งเศสย่างกุ้งในประเทศเมียนมา เราได้ ปรับเปลี่ยนอาคารในยุคอาณานิคมซึง่ เป็ น
อนุสรณ์ทางประวัติศาสตร์ ให้ กลายเป็ นอาคารการเรี ยนการสอนและอาคารบริ หาร เรามีเวลาเพียงแค่ 7 สัปดาห์ในการ
ทำงานและตรงกับช่วงหน้ ามรสุมในประเทศเมียนมาพอดี ซึง่ เป็ นเรื่ องที่ท้าทายมากและเราก็ได้ แสดงให้ เห็นถึงความเป็ นมือ
อาชีพของเรา
โรงเรี ยนนานาชาติ ฝรั่งเศสย่างกุง้ ในประเทศเมียนมา ระยะที ่ 1

โรงเรี ยนนานาชาติ ฝรั่งเศสย่างกุง้ ในประเทศเมียนมา ระยะที ่ 2: ภายในห้องเรี ยน

งานแบบไหนบ้ างที่โรงเรียนมาขอรับบริการแล้ วคุณให้ บริการในส่ วนใดบ้ างครับ?


เฮเลน เจียง: งานที่ลกู ค้ ามาขอรับบริ การมีขอบเขตที่ค่อนข้ างกว้ างค่ะ อาจเป็ นงานส่วนเล็กๆ เช่น การปรับเปลี่ยน การทาสี
ใหม่ การเปลี่ยนไฟห้ องน้ำ การซ่อมแซมหลังคา การจัดไฟที่เป็ นมิตรกับสิ่งแวดล้ อมและประหยัดพลังงาน ลูกค้ าอาจขอให้
เราปรับเปลี่ยนพื ้นที่ให้ เป็ นห้ องเรี ยน หรื อตกแต่งโรงอาหาร หรื อศูนย์อาหารเก่า ให้ กลายเป็ นห้ องสมุดที่มีความทันสมัยค่ะ
แดเนียล ฮอยซ์ เซอร์ : บางสถานศึกษาก็มีโครงการปรับปรุงซ่อมแซมโดยกินระยะเวลาหลายปี ครับ พวกเขาจะปรับเปลี่ยน
พื ้นที่ตา่ ง ๆ ในแต่ละช่วงฤดูร้อน เช่น โรงเรี ยนนานาชาติดลั ลิชเซี่ยงไฮ้ ผ่ตู งหรื อโรงเรี ยนนานาชาติเทียนจิน
โรงเรี ยนนานาชาติ ดลั ลิ ชเซี ่ยงไฮ้ผู่ตง: ห้องรับรอง และโรงอาหารโรงเรี ยนมัธยมต้น
โรงเรี ยนนานาชาติ เทียนจิ น: การรี โนเวทเปลือกอาคารและการปรับปรุงสิ่ งอำนวยความสะดวก

การวางแผนอย่างมีกลยุทธ์จงึ เป็ นเรื่ องที่ สำคัญ เราจะมีการพิจารณาความต้ องการของโรงเรี ยนอย่างรอบคอบและจัด ลำดับ


งานที่เราต้ องทำ แบ่งงานรี โนเวทออกเป็ นส่วน ๆ ไว้ ทำในแต่ละช่วงฤดูร้อน โดยงานที่เราทำเสร็จสิ ้นในฤดูร้อนแรกต้ องเป็ น
งานที่โรงเรี ยนจะได้ รับประโยชน์จากสิ่ง อำนวยความสะดวก และต้ องไม่เสียทรัพยากรไปอย่างสูญเปล่า สำหรับโครงการที่จะ
ทำในฤดูร้อนหน้ า และที่สำคัญที่สดุ คือเราต้ องไม่ทิ ้งไซต์งานค้ างไว้ เมื่อนักเรี ยนกลับมาเรี ยน พวกเขาควรได้ ใช้ พื ้นที่ที่ได้ รับ
การปรับปรุงเรี ยบร้ อยแล้ วและเป็ นพื ้นที่ที่ดีกว่าที่เคยใช้ ก่อนปิ ดเทอม

กระบวนการทำงานที่เหมาะสม ควรเป็ นอย่ างไรครับ?


โฮลท์ จาง: ขอยกตัวอย่างการรี โนเวทห้ องสมุดนะครับ เราจะต้ องรับทราบโครงการนี ้ตังแต่
้ ก่อนปิ ดเทอมนานแล้ ว ยิ่งเรารับ
ทราบโครงการนี ้เร็วมากเท่าไร เราก็จะยิ่งวางแผนงานได้ รอบคอบและรัดกุมมากขึ ้นเท่านัน้ หลังจากยืนยันการออกแบบแล้ ว
เราต้ องจัดหาบริ ษัทก่อสร้ างที่ต้องทำหน้ าที่สงั่ ซื ้อวัสดุและมีหน้ าที่ดแู ลให้ วัสดุทงหมดส่
ั้ งมาตรงตามเวลา และอาจมีวสั ดุบาง
ชิ ้นประดิษฐ์ ในโรงงานของผู้ผลิต ก่อนที่จะเริ่ มการก่อสร้ าง นอกจากนี ้เราต้ องได้ รับการอนุญาตก่อสร้ างก่อนที่จะเริ่ มงาน
ด้ วยครับ
วันแรกของการปิ ดภาคเรี ยนคือวันแรกที่เริ่ มทำงานในไซต์งาน นัน่ หมายความว่าในฐานะผู้จดั การโครงการเราต้ องตรวจสอบ
ว่าทุกอย่างเป็ นไปตามแผนงาน และมอบหมายงานให้ ตรงกับคนและเวลาที่เหมาะสม
โรงเรี ยนอ้ายตี ๋ ปั กกิ่ ง: ห้องสมุดและห้องพักผ่อนของนักเรี ยน

โรงเรี ยนสอนภาษาแนนซี ่ กรุงเทพฯ


เฮเลน เจียง: ในช่วงครึ่งหลังของโครงการเราจะประสานงานให้ หน่วยงานที่รับผิดชอบเข้ ามาตรวจสอบโครงการของเราเพื่อ
หลีกเลี่ยงปั ญหาที่อาจเกิดขึ ้นได้ ในภายหลัง ซึง่ หากโครงการของเราถูกต้ องตรงตามกฎระเบียบ เราจะดำเนินการต่อโดย
ประสานงานให้ เจ้ าหน้ าที่เข้ ามาตรวจสอบงานในขันตอนสุ
้ ดท้ าย นี่คือขันตอนการทำงานของเราค่
้ ะ
เทอดสิทธิ หอประสาทสุข: ข้ อกำหนดด้ านสุขภาพและความปลอดภัยเป็ นสิ่ง สำคัญในโครงการที่เกี่ยวข้ องกับการศึกษา
ครับ ดังนันเราจึ
้ งต้ องมีการทดสอบคุณภาพอากาศก่อนที่จะติดตังเฟอร์
้ นิเจอร์ และทดสอบอีกครัง้ หลังติดตังเฟอร์
้ นิเจอร์ แล้ ว
เราไม่เพียงต้ องการให้ นกั เรี ยนมีสภาพแวดล้ อมในการเรี ยนรู้ที่ดี แต่ยงั ต้ องการให้ สภาพแวดล้ อมนันดี
้ ตอ่ สุขภาพอีกด้ วย โดย
ทาง VIRTUARCH มีการควบคุมวัสดุก่อสร้ างอย่างเข้ มงวด การทดสอบคุณภาพอากาศหลังเสร็จสิ ้นโครงการของเราจึงผ่าน
มาตรฐานทุกครัง้ จากประสบการณ์ในการทำงานทำให้ เราทราบว่าเมื่อย้ ายเฟอร์ นิเจอร์ ใหม่เข้ ามาในพื ้นที่อาจจะทำให้
คุณภาพอากาศลดลงได้ ครับ
คุณต้ องเผชิญกับความท้ าทายอะไรบ้ างครับ?
แดเนียล ฮอยซ์ เซอร์ ความท้ าทายอันดับแรกคือเวลาครับ ความเร็วในการทำงานเป็ นเรื่ องที่ดี แต่หากขาดการวางแผนที่
เหมาะสมและรอบคอบ ความเร็วก็จะทำให้ งานของคุณล้ มเหลว ความท้ าทายอีกอย่างหนึง่ คือการลดโอกาสในการเกิดความ
เสี่ยงครับ การทำงานในช่วงฤดูร้อนมักจะทำงานกับอาคารที่ไม่ได้ มีรายละเอียดครบถ้ วน เพราะเราจะไม่สามารถตรวจสอบ
อาคารได้ ทกุ ส่วนในระหว่างการเปิ ดใช้ อาคาร อีกทังอาคารที
้ ่ใช้ สำหรับการศึกษาจะมีกฎระเบียบที่เข้ มงวด เราจึงมักต้ อง
เสริ มโครงสร้ างอาคารเพิ่มเติม ผมจะยกตัวอย่างให้ เห็นนะครับ บางครัง้ เมื่อเราเปิ ดเพดานเพื่อ ทำการตรวจสอบ เราอาจต้ อง
เจอกับปั ญหาใหม่ๆ ที่ท้าทาย จนทำให้ เราไม่สามารถใช้ การออกแบบตามที่วางแผนไว้ ได้ เราก็ต้องหาวิธีการอื่นแทน เมื่อเกิด
กรณีแบบนี ้ ลูกค้ าจะต้ องเป็ นคนตัดสินใจว่าจะต้ องทำอย่างไร แต่บางครัง้ เราก็เป็ นคนตัดสินใจแทน โดยอาศัยความรู้และ
ประสบการณ์ของเรา ส่วนมากเรามักจะตัดสินใจแทนเจ้ าของโครงการครับ ซึง่ ลูกค้ าของเราทราบเรื่ องนี ้ดี พวกเขาจึงเชื่อมัน่
และปฏิบตั ิตามคำแนะนำของเราครับ

พืน้ ทีก่ ารเรี ยนรู้ของโรงเรี ยนประถมศึกษาเยอรมัน ผู่ตง

โฮลท์ จาง: ขอกลับมาพูดถึงเรื่ องความท้ าทายนะครับ ผมคิดว่าการทำโครงการในช่วงปิ ดภาคเรี ยนฤดูร้อนเป็ นหนึง่ ในงานที่
ยากที่สดุ ในการทำงานของเรา แต่ในทางกลับกันก็เป็ นรางวัลนะครับ ที่เราได้ เห็นอาจารย์และนักเรี ยนมีความสุขที่ได้ เห็นว่า
พอกลับมาแล้ วโรงเรี ยนมีการเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึ ้น ถือว่าเป็ นงานที่ค้ มุ ค่ามากครับ
แดเนียล ฮอยซ์ เซอร์ : ผมขอสรุปนะครับว่า การออกแบบมีความสำคัญ แต่องค์ประกอบที่ทำให้ การทำโครงการในช่วงปิ ด
ภาคเรี ยนฤดูร้อนประสบความสำเร็จคือ การวางแผนงานและการจัดการโครงการ พวกเราเป็ นบริ ษัท ที่มีทงสถาปนิ
ั้ ก
มัณฑนากร และผู้จดั การโครงการ ดังนันเราจึ
้ งมัน่ ใจได้ วา่ แม้ แต่โครงการที่มีความท้ าทายสูง เราก็สามารถ ดำเนินการให้
สำเร็จตรงตามเวลาและมีคณ
ุ ภาพ อยูภ่ ายในกรอบงบประมาณที่กำหนดไว้ ครับ

You might also like