You are on page 1of 30

1

จากใจครูโหร

ตำราโหราศาสตร์น้ี ข้าพเจ้า ลักษณ์ เรขานิเทศ ได้เรียบเรียงเขียนขึน้ โดยมีคณ ุ ตวงทิพย์ เป็นผูช้ ว่ ยในการ


รวบรวมคำบรรยายจากในห้องเรียนตลอดระยะเวลาเรียน ๘ ปีทผี า่ นมา เอกสารตำราทุกชุดเป็นเอกสารตำรา
ทีไ่ ด้รวบรวมและเรียบเรียงเขียนขึน้ ใหม่ ไม่ได้ไปคัดลอกหรือตัดต่อจากตำราเล่มใด และเนือ้ หาส่วนใหญ่ทเ่ี ขียนขึน้ นัน้
เขียนจากประสบการณ์ในการเรียนรูจ้ ากครูบาอาจารย์ อ่านจากตำรับตำราของครูบาอาจารย์ และนำไปใช้จนเป็น
ผลสำเร็จ เห็นจริงในการเป็นนักพยากรณ์อาชีพ ซึง่ วิชาความรูโ้ หราศาสตร์มอี ยูม่ ากก็จริงอยู่ แต่ไม่สามารถประติด
ประต่อเป็นเรือ่ งเป็นราวได้ บ้างก็คดั ลอกกันมาแบบผิดๆ ถูกๆ บ้างก็เป็นนักวิจยั ตำรา จะเห็นเป็นประโยชน์อยูบ่ า้ ง
ก็เพียงแต่เห็นว่าเป็นตำรา แต่ผทู้ ศ่ี กึ ษาโหราศาสตร์สว่ นใหญ่กจ็ ะปวดเศียรเวียนเกล้าเมือ่ ได้หยิบไปอ่านเข้า
ข้าพเจ้ามีความเชือ่ เป็นแน่แท้วา่ ด้วยบุรพกรรมแต่อดีตทีไ่ ด้สะสมมาในสายของโหรนี้ เกิดมาในชาตินจ้ี งึ ได้
ครูบาอาจารย์ทด่ี ี ได้ตำรับตำราทีด่ ี ได้ประสบการณ์ทด่ี จี ากการเป็นนักพยากรณ์อาชีพ สอบสวนทวนความจนได้
เป็นหลักวิชา ข้าพเจ้าจึงปรารถนาสงวนวิชานีไ้ ว้ให้เฉพาะศิษย์ทไ่ี ด้คดั เลือกมา ศิษย์ทไ่ี ด้รบั การครอบครู ศิษย์ทม่ี ี
ความตัง้ ใจในการศึกษา ศิษย์ทม่ี คี วามเคารพนับถือในครูบาอาจารย์ และศิษย์ทม่ี คี ณ ุ ธรรม หมายความว่าผูใ้ ดมี
องค์ประกอบครบถ้วนตามทีไ่ ด้กล่าวในเบือ้ งต้น และได้เข้ามาขอฝากตัวเป็นศิษย์ ก็ขอประสิทธิป์ ระสาทวิชา
โหราศาสตร์ในทุกตัวอักษรไว้เป็นความรูค้ ตู่ วั เรียนรูเ้ ข้าใจในทุกบทตอน อีกทัง้ มีครูบาอาจารย์ในสายแห่งข้าพเจ้า
ร่วมกันประสิทธิป์ ระสาทพร คุม้ ครองป้องกันสรรพภัย ตลอดจนถึงทวยเทพเทวา เทวดานพเคราะห์ทง้ั ๙ พระองค์
ร่วมกันประสิทธิป์ ระสาทพระพรให้เป็นกำลัง เรียนรูส้ ง่ิ ใดเข้าใจทุกบทตอน นำไปใช้พยากรณ์กเ็ กิดความแม่นยำ
มีหนทางคลายทุกข์เพิม่ สุข ชีแ้ นะแนวทางให้เข้าใจในโลกธาตุโลกธรรม เป็นวิชาทีย่ งั ใหัเป็นสมบัตคิ ตู่ วั เกือ้ กูลต่อ
บิดามารดา ครูอปุ ชั ฌาย์อาจารย์ ญาติพน่ี อ้ งบริวาร และประชาชนทัง้ หลาย หากท่านมิใช่ศษิ ย์ทอ่ี ยูใ่ นกฏเกณฑ์แห่ง

2
การฝากตัวแล้วไซร้ จงอย่าได้รบั สิทธิน์ ้ี ด้วยว่ามนุษย์มจี ติ ใจทีย่ ากจะหยัง่ ถึง หากไม่ได้มคี วามเคารพศรัทธา มีบญ

วาสนามาฝากตัวเป็นศิษย์อาจารย์ จงอย่าได้มาพบเห็นตำราชุดนี้ หรือแม้ได้พบได้เห็น ก็อย่าได้อา่ นแล้วเข้าใจ
เทวดาจงช่วยปิดบังอำพรางให้รวู้ า่ เป็นวิชาทีเ่ จ้าของหวง เพราะอาจจะเป็นดาบสองคม ผูท้ ม่ี ปี ญ ั ญาอาจจะศึกษา
แล้วไปใช้ในทางทีไ่ ม่ถกู ไม่ควร ยิง่ ไม่มคี รูบาอาจารย์กำกับยิง่ น่ากลัวใหญ่ พลอยจะเป็นทีต่ เิ ตียนแก่นกั ปราชญ์และ
เทวดาทัง้ หลาย
ดังนัน้ จึงขอสรุปตรงนีว้ า่ ใครผูใ้ ดเป็นศิษย์แล้วไซร้ จงสงวนวิชาของครูบาอาจารย์ชดุ นีไ้ ว้เสมอด้วยชีวติ
เพราะวิชานีม้ จี ติ ผูกพันของครูบาอาจารย์และทวยเทพเทวาสถิตอยู่ ใครผูใ้ ดมิใช่ศษิ ย์แล้วไซร้อย่าได้ถอื วิสาสะ
เพียงสักแต่วา่ หน้าด้านอยากดูอยากเห็น แม้ขา้ พเจ้ามิได้สาปแช่งคำอันใดก็ไม่เหมาะว่าจะกระทำแต่ตามใจตัว

อาจารย์ลกั ษณ์ เรขานิเทศ


๑๗ กันยายน พุทธศักราช ๒๕๕๒

ปล. หากกาลอนาคตข้างหน้า ข้าพเจ้าได้หมดอายุขยั ละสังขารจากโลกนีไ้ ปแล้ว ผูใ้ ดมีโอกาสมาประสบ


พบเจอตำราเล่มนี้ อาจจะได้รบั การสืบทอดจากสายวงศ์ตระกูลแต่บดิ ามารดา อาจประสบพบเจอโดยหนทางใด
หนทางหนึง่ ถ้ามัน่ ใจว่าเป็นคนดีมศี ลี ธรรม จะใช้วชิ าไปในทางทีถ่ กู ทีค่ วร จะใช้วชิ ายังประโยชน์ให้เกิดแก่ชาติศาสนา
ประชาชน รวมถึงตัวท่านแล้ว จงหาหนทางด้วยปัญญาของตัวเองเถอดว่าจะทำการอันใดทีจ่ ะทำให้ดวงจิตดวง
ญาณของครูบาอาจารย์และข้าพเจ้ายอมรับท่านเป็นศิษย์ได้

3
โครงสร้างหลักสูตรโหราศาสตร์ไทยพื้นฐาน
บทที่ ๔ การผูกดวงวางลัคนา
โดย อาจารย์ลักษณ์ เรขานิเทศ
วันที่ ๑๘ และ ๒๕ ตุลาคม พุทธศักราช ๒๕๕๒
รุ่นพิเศษ โหราศาสตร์ช่วยชาติ
ณ ศาลาอบรมสงฆ์ วัดสามพระยา กรุงเทพมหานคร
วัตถุประสงค์ของการศึกษา

๑. เพือ่ ให้มคี วามรูพ้ น้ื ฐานเรือ่ งการผูกดวงวางลัคนา (ภาคทฤษฎี)


๒. เพือ่ ให้สามารถผูกดวงวางลัคนาได้ (ภาคปฏิบตั )ิ
๓. เพือ่ ให้รกู้ ฎเกณฑ์ของระบบสุรยิ คติและจันทรคติ
๔. เพือ่ ให้เรียนรูก้ ารใช้ปฏิทนิ ดาราศาสตร์ไทย
๕. เพือ่ ให้เรียนรูก้ ารใช้แผ่นหมุนหาลัคนา
๖. เพือ่ ให้เรียนรูแ้ ละเข้าใจตำแหน่งของนวางศ์-ตรียางค์ หลังจากการผูกดวงแล้ว
๗. เพือ่ ให้เรียนรูแ้ ละเข้าใจความหมายของชือ่ ฤกษ์ตา่ งๆ
๘. เพือ่ ให้เรียนรูค้ วามหมายของเรือนภพทัง้ ๑๒ เรือนภพ เพือ่ นำเรือนภพไปใช้ใน การพยากรณ์เบือ้ งต้น

ตำราอ้างอิง
แนวทางการศึกษาโหราศาสตร์ อ.เทพย์ สาริกบุตร
โหราศาสตร์ปริทรรศน์ ภาค ๓ ลัคนาวินจิ ฉัย อ.เทพย์ สาริกบุตร
วิชาการฉบับครู โหราศาสตร์มาตรฐาน โหรญาณ
ปฏิทนิ ดาราศาสตร์ไทย อ.ทองเจือ อ่างแก้ว
การผูกดวงวางลัคนา อ.ปริญญา นิม่ ประยูร

หมายเหตุ : โครงสร้างหลักสูตรโหราศาสตร์ไทยพืน้ ฐานนี้ คิดค้นขึน้ โดย อาจารย์ลกั ษณ์ เรขานิเทศ ส่วนตำรา


ค้นคว้าอ้างอิงทีก่ ล่าวถึงในส่วนท้ายนัน้ หากท่านได้ศกึ ษาเนือ้ หาวิชาจากตำราของอาจารย์ลกั ษณ์ ด้วยความเข้าใจ
ก็เพียงพอแล้วโดยไม่จำเป็นต้องไปค้นคว้าจากตำราทีอ่ า้ งอิงใดๆ
4
เนื้อหาวิชาประกอบด้วย

จังหวะชีวิต... วัยสำคัญต่างๆ ของมนุษย์ โดย อ.จรัญ พิกุล


หลักเกณฑ์การผูกดวงวางลัคนา
ปฏิทนิ โหร
ตัวอย่างปฏิทนิ โหร
การอ่านและการใช้ปฏิทนิ โหร
ความหมายของคำในปฏิทนิ โหร
หลักเกณฑ์ของสุรยิ คติและจันทรคติ
รายละเอียดในปฏิทนิ ร้อยปี
การผูกดวงชะตา
หลักเกณฑ์การผูกดวงชะตา
ขัน้ ตอนการผูกดวงชะตา
การหาตำแหน่งของลัคนา
การหาตำแหน่งของลัคนาโดยการใช้แผ่นหมุนสำเร็จ
การโคจรผิดปกติของดวงดาว
ความหมายเรื อ นภพ
ความรู้เบื้องต้นเรื่องนวางศ์ ตรียางค์ และชื่อฤกษ์ต่างๆ

หมายเหตุ : การกำหนดเนื้อหาวิชานี้ เรียบเรียงขึ้นโดย อาจารย์ลักษณ์ เรขานิเทศ


5
บทความรูเ้ รือ่ งการผูกดวงวางลัคนาและเรือนภพนัน้ เป็นเรือ่ งง่ายในบทเบือ้ งต้น แต่ตอ้ งอาศัย
ประสบการณ์ในภาคพยากรณ์มากพอสมควร ขอให้เชือ่ มัน่ ในกฏเกณฑ์ทผ่ี มได้ถา่ ยทอดจะเป็นประโยชน์
กับท่านโดยตรง บทเรียนรูท้ างลัดนีไ้ ม่ตอ้ งทำให้ทา่ นลองผิดลองถูก อาจารย์หลายสำนักอ้างทฤษฎีและ
เหตุผลมากมายเพือ่ อธิบายถึงความถูกต้องแห่งทฤษฎี แต่... ครูโหรของคุณคนนีจ้ ะให้ความจริงและ
ประสบการณ์โดยไม่ปดิ บังอำพราง การวางลัคนาตามกฎเกณฑ์เป็นเรือ่ งง่าย เรือนภพในกรอบแห่ง
องค์ความรูก้ ไ็ ม่ใช่ของยาก แต่ตอนลงมือพยากรณ์ไม่หมูอย่างทีค่ ดิ ขอให้ศษิ ย์พงึ ระลึกถึงครูบาอาจารย์
อย่างทีผ่ มได้เคยปฏิบตั ิ ความชัดเจน ความง่าย อันเกิดจากอนาคตังสญาณจะปรากฏ
การผูกดวงนัน้ หากอ่านตามขัน้ ตอนในหนังสือเข้าใจยาก แต่ถา้ ปฏิบตั ติ ามการถ่ายทอดของผม
ในห้องเรียนง่ายนิดเดียว
การอ่านเรือนและภพเบือ้ งต้นต้องจำความหมายของพระคาถา ๑๒ ประโยคให้ได้กอ่ น ต่อจาก
นัน้ \เรือ่ งดวงดาวจะถูกนำมาใช้ประโยชน์
.....ขอให้กำลังใจศิษย์ทกุ ๆ คน.....

6
อาจารย์ลกั ษณ์ เรขานิเทศ
ครูโหรผูม้ ากด้วยความเมตตา
อาจารย์จรัญ พิกลุ

สวัสดีครับ ในฉบับนีผ้ มอยากนำเอาเรือ่ งราวทีเ่ กีย่ วข้องกับบุคคลซึง่ เป็นครูผมู้ คี ณ


ุ ปู การต่อท่านทัง้ หลาย
ทีศ่ กึ ษาวิชาโหราศาสตร์ ตลอดจนผูท้ ส่ี นใจในศาสตร์แห่งการพยากรณ์ “โหร ๔ แผ่นดิน” ผูซ้ ง่ึ ศึกษาวิชา
โหราศาสตร์มาตลอดเกือบทัง้ ชีวติ ท่านเคยเล่าให้ฟงั ว่า เมือ่ สมัยทีท่ า่ นอายุ ๒๐ กว่าๆ นัน้ ท่านขอร้องให้คณ ุ แม่
ขายทีด่ นิ ในซอยระนองเพือ่ นำเงินไปศึกษาโหราศาสตร์สากลทีป่ ระเทศอังกฤษ ท่านเคยพูดอย่างอารมณ์ดกี บั
ลูกศิษย์ลกู หาว่า “สมัยเมือ่ ผมขายทีน่ น้ั ราคาไม่กแ่ี สนบาท หลังจากกลับมาจากอังกฤษแล้วราคาทีด่ นิ ทีข่ ายไป
สูงถึงหลักล้านบาท ในสมัยก่อนคงเทียบได้กบั เงินหลายสิบล้านในสมัยนี้ ถ้าผมรูผ้ มไม่ขายดีกว่า”
จริงๆ แล้วอาจารย์จรัญท่านมีอะไรหลายอย่างทีน่ า่ สนใจ เช่น ผมเคยถามท่านว่า “อาจารย์ครับ...มีคน
มาตำหนิวา่ คนทีเ่ ชือ่ เรือ่ งโลกและดวงดาวว่ามีอทิ ธิพลต่อชีวติ มนุษย์เป็นความงมงาย เราจะแก้คำดูถกู นีอ้ ย่างไร
ครับ” ท่านอาจารย์ตอบได้อย่างถึงพริกถึงขิงว่า “คนพวกนัน้ มันไม่รจู้ กั โคตรพ่อโคตรแม่มนั ...! ถ้าไม่มโี ลกและ
ดวงดาว ไม่มพี ระอาทิตย์ ไม่มพี ระจันทร์ มนุษย์จะไปอยูท่ ไ่ี หน และสิง่ มีชวี ติ จะเกิดขึน้ ได้อย่างไร” มีความสุขมุ นุม่
ลึกรุนแรงแต่แฝงด้วยความเมตตาดุจครูบาอาจารย์

7
โหราศาสตร์เพือ่ ชีวติ

แนวความคิดอันเป็นปรัชญาพืน้ ฐานของท่านอาจารย์จรัญ พิกลุ ในเรือ่ งโหราศาสตร์เพือ่ คุณภาพทีด่ ี


ของชีวติ ชัดเจนมาก ท่านเป็นนักโหราศาสตร์ทผ่ี า่ นการศึกษาศาสตร์แห่งการพยากรณ์มาแทบทุกแขนง เท่าทีผ่ มได้
ติดตามมีเลข ๑๒ ตัว, โหราศาสตร์ไทย, ทักษาพยากรณ์, กราฟนโปเลียนดูลายมือ, ท้ายทีส่ ดุ ท่านทุม่ เทชีวติ
กับการศึกษาโหราศาสตร์สากลทีเ่ รียกกันว่า “ยูเรเนียน” โดยท่านเป็นผูค้ ดิ ดวง ๒ ชัน้ และเป็นบุคคลแรกของโลก
ทีช่ าวเยอรมันเจ้าตำรับศาสตร์ยเู รเนียนต้องยอมรับข้อสรุป
ในรายละเอียดผมจะไม่กล่าวถึง แต่ปรัชญาสูงสุดทีผ่ มอยากเรียกว่า เป็นอภิปรัชญาในด้านโหราศาสตร์ท่ี
อาจารย์จรัญ พิกลุ พยายามถ่ายทอดผ่านสือ่ ต่างๆ คือ “โหราศาสตร์เพือ่ ชีวติ ” กล่าวคือการไปตรวจดวงชะตา
ไม่ใช่ไปเพือ่ ความสนุก แต่ตอ้ งไปด้วยความมีสติ ไปหานักพยากรณ์เพือ่ หาข้อมูล เพือ่ รูจ้ งั หวะวงรอบของชีวติ
จุดรุง่ เรือง จุดตกต่ำ รูเ้ พือ่ พัฒนาตัวเอง ป้องกันภัยพิบตั ทิ จ่ี ะเกิดขึน้ โดยให้นกั โหราศาสตร์เป็นผูบ้ อกแนวทาง
จากปรัชญาทางโหราศาสตร์จากประสบการณ์ความรูค้ วามสามารถ
อย่างประโยคทีอ่ าจารย์เคยพูดอยูเ่ สมอว่า หมอดูทด่ี แู ม่นไม่เห็นมีประโยชน์ตรงไหน เพราะในสมัยทีท่ า่ น
เป็นหนุม่ ท่านไปให้หมอดูทแ่ี ม่นๆ ตรวจดวง แล้วเขาทายว่าขาจะหักในวันนัน้ วันนี้ พอถึงเวลา ขาของอาจารย์กห็ กั
จริงๆ แม่นเหมือนตาเห็นเลย อาจารย์ทา่ นกล่าวว่า มีประโยชน์อะไรกับการทายแม่น ทำไมไม่บอกให้ผมหาทาง
ป้องกันหรือแก้ไขจะไม่ดกี ว่าหรือ นัน่ แหละครับคือส่วนหนึง่ ทีผ่ มพยายามซึมซับจากครูโหรของผม
และผมถือโอกาสคัดลอกมรดกทางปัญญาของอาจารย์มาเป็นของขวัญให้กบั ท่านทัง้ หลายทีส่ นใจศึกษา
ด้านโหราศาสตร์เพือ่ ใช้เป็นแนวทางของชีวติ โดยเป็นเรือ่ งจังหวะของชีวติ ในวัยสำคัญต่างๆ ของคนเรา ซึง่ แยกเป็น
๑๐ วัยดังต่อไปนี้

8
จังหวะชีวติ ...วัยสำคัญต่างๆ ของมนุษย์
๑. วั ย แรก ๑–๗ ขวบ ในช่วงวัยนีอ้ าจจะไปบอกชะตาในวัย ๔๕-๕๒ ปีได้อกี
๒. วัย ๑๓–๑๖ ปี มีความสำคัญ มีการเปลี่ยนแปลง มีอะไรที่เรียกว่า วัยเสาร์เล็งเสาร์ครั้งแรกของชีวิต
๓. วั ย ๒๑–๒๔ ปี วัยนี้มีความสำคัญกับชีวิตหนุ่มสาวของคนเรา ภาษาโหราศาสตร์แห่งดวงดาวเรียกว่า วัยดาวมฤตยู
เล็งดาวมฤตยู และเสาร์เล็งเสาร์ มักมีความสำคัญ จะไปบอกชะตาวัย ๔๔–๕๐ ปีได้อีก
๔. วัย ๒๙–๓๑ ปี วัยสำคัญทีถ่ อื กันว่าเริม่ จะเป็นผูใ้ หญ่ เหตุการณ์สำคัญทีเ่ กิดขึน้ จะไปบอกชะตาในวัย ๕๙–๖๑ ปีได้อกี
วัยนี้ภาษาดาวเรียกว่า วัยเสาร์ทับเสาร์
๕. วัย ๓๖–๓๘ ปี วัยสำคัญอีกช่วงหนึง่ ของคนเรา ทุกคนควรเรียนรูใ้ ห้ได้วา่ มีมาอย่างไร
๖. วั ย ๔๐–๔๒ ปี วัยสำคัญอีกวัยหนึ่งเหมือนเทียบกับวัย ๒๑–๒๒ ปีได้ด้วย เป็นวัยที่ภาษาโหรแห่งดวงดาวเรียกว่า
วัยดาวมฤตยูเล็งดาวมฤตยูครั้งแรกและครั้งเดียวของชีวิต อาจจะเป็นวัยหัวเลี้ยวหัวต่อของชีวิต
อีกแบบหรือวัยแห่ง การโยกย้ายเปลีย่ นแปลงต่างๆ ทัง้ กาย ใจ ทีอ่ ยู่ ฯลฯ
๗. วั ย ๔๔–๔๖ ปี ถือว่าเป็นวัยครึ่งของ ๙๐ ปี ภาษาโหรเรียกว่า วัยเสาร์เล็งเสาร์ เป็นวัยสำคัญอีกแบบของคนเรา
ทีถ่ อื กันว่าจะเกิดใหม่รอบ ๒ ซึง่ สัมพันธ์กบั วัยแรกเกิดด้วย (๑–๗ ปี)
๘. วัย ๕๑–๕๓ ปี ช่วงวัยทีส่ ำคัญอีกแบบหนึง่ ของคนเราทีจ่ ะผ่านชีวติ อีกแบบต่อไปว่าจะถึงวัย ๖๐ ปีหรือไม่ ?
๙. วัย ๕๙–๖๑ ปี วัยสำคัญของคนเราทีผ่ า่ นชีวติ มาถึงวัยนีไ้ ด้เรียกว่ายังมีดวงสูต้ อ่ ไปหรืออย่างไร เพราะวัยนีภ้ าษาดวงดาว
เรียกว่า วัยเสาร์ถึงเสาร์รอบ ๒ (รอบแรกคือ ๒๙–๓๑ ปี)
๑๐. วัย ๖๑–๖๓ ปี วัยสำคัญของชีวติ อีกแบบ (เทียบได้กบั วัย ๒๐–๒๒ ปีของวัยหนุม่ สาว) ภาษาโหรแห่งดวงดาวเรียกว่า
วัยดาวมฤตยูเล็งดาวมฤตยูเดิม หลุดจากวัยนี้ก็มาถึงวัย ๖๗–๖๙ ปี และวัย ๗๐–๘๐ ปี ฯลฯ
9
หลักเกณฑ์การผูกดวงวางลัคนา

ลัคนา ตามหนังสือของอาจารย์เทพย์ สาริกบุตร ซึง่ เป็นหนังสือแนวทางศึกษาโหราศาสตร์กล่าวถึงคำ


แปลในทางวรรณคดีแปลว่า นักกวี นักขับร้อง นักเพลง นักกลอน นักขับร้องทีค่ อยปลุกบรรทมพระราชา ในตอนเช้า
เกีย่ วข้องกับการติดต่อ เหลืออยู่ ยึดมัน่ ฝังใจ เชือ่ ใจ ตายใจ สัมผัส ทำตาม ตัง้ ต้น การพบกัน การตัดกันของเส้นต่างๆ
เวลามงคล จุดตัดระหว่างเส้นทัง้ สอง การขึน้ ของดวงอาทิตย์และดาวเคราะห์ในทางทิศตะวันออก
ลัคนา ตามความหมายในทางโหราศาสตร์นน้ั หมายถึงอุทยั ลัคนา คือลัคนาอยูท่ างทิศตะวันออกเป็นจุด
ตัดของเส้นขอบฟ้าและเส้นระวิมรรค (คือเส้นทางโคจรของพระอาทิตย์อยูท่ างทิศตะวันออก) เป็นจุดทีส่ มมติขน้ึ
ตามวันเวลา ณ ทีใ่ ดทีห่ นึง่ อยูบ่ นเส้นระวิมรรค เป็นระยะเชิงมุมระหว่างดาวอาทิตย์กบั เส้นขอบฟ้าทางทิศตะวันออก
เป็นจุดทีต่ ง้ั ต้นของภพทีห่ นึง่ คือภพตนุ
ในทางโหราศาสตร์ระบบนิรายนะ ใช้การคำนวณสมผุสลัคนาตามคัมภีรส์ รุ ยิ ยาตร์ ในการทำรูปดวงชะตา
เมือ่ บรรจุดาวพระเคราะห์ไปตามราศีตา่ งๆ ตามเวลาทีต่ อ้ งการไปเรียบร้อยแล้ว มีจดุ สำคัญประการหนึง่ คือจุด
ทีบ่ อกตำแหน่งการตัดกันของเส้นระวิมรรคกับเส้นขอบฟ้าทางทิศตะวันออกในขณะทีท่ ำดวงอาทิตย์ขน้ึ นัน้ เส้น
ขอบฟ้าทีม่ องเห็น ณ จุดนัน้ จะตัดเส้นระวิมรรค ณ จุดในราศีใด องศาใด จุดนีแ้ หละคือจุดของลัคนาในดวงชะตา
นัน่ เอง
ตัวอย่างเช่น ในวันที่ ๑๑ ธันวาคม ๒๕๑๐ ดวงอาทิตย์ขน้ึ เวลา ๖ นาฬิกา ๓๑ นาที ถ้าเราทำ
ดวงชะตาตามวันและเวลาดังกล่าว ลัคนาจะกุมดาวอาทิตย์พอดี หมายความว่าในขณะที่ผูกดวงชะตานี้
พระอาทิตย์ขน้ึ พระอาทิตย์จะกุมกับลัคนา เส้นขอบฟ้าจะตัดกับเส้นระวิมรรค ณ ราศีพจิ กิ (คือดาวอาทิตย์อยูใ่ น
ราศีพจิ กิ ) ประมาณ ๒๔ องศา ๓๑ ลิปดา ซึง่ เป็นสมผุสของดวงอาทิตย์ ณ เวลา ๐๖.๓๑ น. หมายความว่า
เจ้าชะตาเกิดในเวลาทีพ่ ระอาทิตย์ขน้ึ พอดี เพราะฉะนัน้ ลัคนาของเจ้าชะตาจึงอยูใ่ นราศีพจิ กิ กุมกับดวงอาทิตย์
พอดิบพอดีเช่นเดียวกัน ดังรูปดวงชะตาทีเ่ ห็นต่อไปนี้

ลั๑

10
ถ้าเจ้าชะตาเกิดวันที่ ๒๙ กรกฎาคม ๒๕๑๐ เวลา ๒๓.๕๙ น. ในขณะนัน้ ดวงจันทร์ขน้ึ จากเส้น
ขอบฟ้าทางทิศตะวันออกเวลา ๒๓.๕๙ น.เช่นเดียวกัน พูดง่ายๆ ก็คอื เจ้าชะตาเกิดขณะทีด่ วงจันทร์โผล่
ขึน้ จากเส้นขอบฟ้าทางทิศตะวันออกพอดี สมผุสของดวงจันทร์ตามเวลาทีข่ น้ึ นัน้ อยูใ่ นราศีเมษประมาณ ๑๔
องศา ๓๔ ลิปดา (ตามปฏิทนิ ลาหิรขี องอินเดีย หรือปฏิทนิ ของสมาคมโหร) ตำแหน่งลัคนาของเจ้าชะตาใน
ขณะทีเ่ กิดจึงมีสมผุสเข้ากับดวงจันทร์พอดี คือลัคนาจะกุมกับพระจันทร์ในราศีเมษประมาณ ๑๔ องศา ๓๔
ลิปดาเช่นเดียวกัน ตามตัวอย่างจากหนังสือของอาจารย์เทพย์ สาริกบุตร ทำให้เข้าใจว่าลัคนาคืออะไร และคิด
จากเส้นใด ณ จุดใด
อธิบายสัน้ ๆ ก็คอื ในเวลาเกิดทีแ่ น่นอนตายตัว เมือ่ หันไปดูขอบฟ้าทางทิศตะวันออก ถ้ามีดาวใดโผล่ขน้ึ
สูข่ อบฟ้าทางทิศตะวันออกในขณะนัน้ ดาวทีโ่ ผล่ขน้ึ มานัน่ แหละคือลัคนาของเจ้าชะตา และถ้าในเวลาทีเ่ กิดไม่มี
ดาวใดโผล่ขน้ึ มาจากขอบฟ้า ณ เส้นขอบฟ้าทางทิศตะวันออก เมือ่ หาสมผุสลัคนาในเวลานัน้ ก็จะไม่มดี าวใดๆ
กุมลัคนาของเจ้าชะตาเลย ในทำนองเดียวกันถ้าหากเจ้าชะตาเกิดในเวลาพระอาทิตย์ตกดินหรือดวงจันทร์จะลับ
ขอบฟ้าทางทิศตะวันตก ลัคนาของเจ้าชะตาจะอยู่ตรงข้ามกับดวงอาทิตย์และดวงจันทร์พอดีเช่นเดียวกัน
ทางโหราศาสตร์เรียกว่า “อาทิตย์หรือจันทร์เล็งลัคนา” ถ้าท่านพิสจู น์ตามหลักดังกล่าวนีจ้ ะต้องใช้ปฏิทนิ ทาง
โหราศาสตร์ฉบับทีค่ ำนวณสมผุสพระเคราะห์ หรือใช้เวลาดวงอาทิตย์ขน้ึ และตก รวมทัง้ ดวงจันทร์ขน้ึ และตกตาม
เอกสารของกรมอุทกศาสตร์จงึ จะปรากฏตรงกับความจริง ทัง้ นี้ พล.ร.ต.ประเวศ โภชนสมบูรณ์ ท่านเป็นผูห้ นึง่
ทีค่ ำนวณเอาไว้
ความสำคัญของการพยากรณ์ดวงชะตานัน้ ขึน้ อยูก่ บั ลัคนาเป็นใหญ่ ถ้าเปรียบดวงชะตาเป็นเสมือน
ต้นไม้ ลัคนาก็ได้แก่ลำต้น อาศัยดาวพระเคราะห์ตา่ งๆ ปรุงแต่ง อาทิตย์เป็นรากแก้ว พระจันทร์เป็นแก่น อังคาร
เป็นใบ พุธเป็นดอก พฤหัสบดีเป็นผล ศุกร์เป็นเปลือก เสาร์เป็นกิง่ และคาคบ สิง่ ต่างๆ บำรุงเลีย้ งลำต้น เพราะฉะนัน้
การพิจารณาดวงชะตาจึงต้องพิจารณาจากลัคนาร่วมกับดาวอืน่ ๆ ลัคนาอยูร่ าศีใดรูปร่างของเจ้าชะตามักจะเป็น
ไปตามลักษณะแห่งราศีนน้ั แต่บางรายก็ไม่ได้เป็นอย่างนัน้ เวลาเกิดทำให้แปรเปลีย่ น สมมติเวลาเกิดขึน้ ใหม่ ลัคนา
ในดวงชะตาก็จะเปลีย่ นแปลงไป เพราะฉะนัน้ หากจะผูกดวงชะตาแล้วไม่รเู้ วลาเกิด ก็จะมีคำล้อในบรรดากลุม่ โหร
เรียกว่า “ลัคเน” คือมัว่ เอา เดาเอา ดังนัน้ ในเรือ่ งแบบนีผ้ มไม่สนับสนุน ถ้าไม่รเู้ วลาเกิดทางทีด่ ไี ม่พยากรณ์
ได้นน่ั แหละเหมาะทีส่ ดุ แต่ถา้ เป็นคนคุน้ เคยชอบพอกันอาจจะต้องซักถามประวัตเิ พือ่ หาจุดทีจ่ ะใช้ในการวางหลักลง
ไปว่าเกิด ณ เวลาใดประมาณเท่าใด อาจจะประมาณการณ์ได้จากธาตุ ทิศ ดาวทีส่ มั ผัส บิดามารดา องค์ประกอบ
ของครอบครัว แต่ทง้ั นีท้ ง้ั นัน้ ต้องใช้กบั คนทีร่ จู้ กั หรือเคารพศรัทธา มิเช่นนัน้ คนทีม่ าดูดวงจะดูถกู เราว่าทำไมต้อง
ถามด้วย และนัน่ แหละจะเป็นมูลเหตุในความเสือ่ มศรัทธาและเสือ่ มลงในวิชาทางโหราศาสตร์ นีค่ อื ข้อสังเกตใน
ประสบการณ์ของผม

11
ปฏิทนิ โหร
คนโดยทัว่ ไปจะเข้าใจเรือ่ งของการผูกดวงหรือการวางลัคนาว่า การผูกดวงคือการเอาดวงของเราไป
ผูกไว้กบั ใคร แต่ในทางโหราศาสตร์นน้ั การผูกดวงวางลัคนา แปลว่าการเปิดปฏิทนิ เพือ่ ตรวจสอบดูตำแหน่งของ
ดาวพระเคราะห์ในวันทีต่ อ้ งการ (วันประสงค์) เพือ่ ดูวา่ ดาวในวันนัน้ โคจรเป็นอย่างไร อยูต่ ำแหน่งใดในจักรราศี
แล้วหามุมของดาวพระเคราะห์กบั มุมของจุดเกิดตามเวลาเกิดนัน้ ว่าอยูต่ รงไหน นีค่ อื การผูกดวง เป็นการหาความ
สัมพันธ์ระหว่างดาวพระเคราะห์กับจุดเกิดของเจ้าชะตาที่คลอดแล้วหลุดรอดออกมาเป็นทารก คือไม่ตาย
เพราะฉะนัน้ การผูกดวงชะตาก็ตอ้ งใช้ปฏิทนิ โหราศาสตร์ ซึง่ ปฏิทนิ ทีว่ า่ นีใ้ ช้อา่ นสมผุสดาวพระเคราะห์เป็นสำคัญ
ถ้าพูดถึงปฏิทนิ โหราศาสตร์หรือโหรบางท่านจะเรียกปฏิทนิ ดาราศาสตร์ทม่ี กี ารคำนวณสมผุสตามระบบนิรายนะ
(ระบบคงที)่ ซึง่ เกีย่ วข้องกับโหราศาสตร์ไทยโดยตรง รูปแบบทีใ่ ช้กนั อยูใ่ นปัจจุบนั มีอยู่ ๒ แบบคือ ปฏิทนิ ดารา
ศาสตร์ และ ปฏิทินสุริยยาตร์
- ปฏิทนิ ดาราศาสตร์นน้ั เป็นปฏิทนิ ทีม่ คี วามแม่นยำหรือเทีย่ งตรงในมุมของดวงดาวซึง่ เกิดจากการ
คำนวณโดยนักดาราศาสตร์สากล (ระบบสายนะ) แล้วนำเอาค่าของสมผุสมาตัดองศา-ลิปดาทีเ่ รียกว่า อายนางศะ
เพื่อให้ตรงกับความเป็นจริงบนท้องฟ้าในปัจจุบัน ปฏิทินที่มีการคำนวณตามหลักดาราศาสตร์สากลตัด
อายนางศะ
อายนางศะนีท้ ใ่ี ช้กนั โดยทัว่ ไป ได้แก่ ปฏิทนิ ลาหิรขี องประเทศอินเดีย, ปฏิทนิ ของสมาคมโหรฯ คำนวณโดย
อาจารย์อารี สวัสดี (ปัจจุบนั ไม่พบในท้องตลาดแล้ว), ปฏิทนิ ของพล.ต.ต.สุชาติ เผือกสกนธ์ เป็นต้น
- ปฏิทนิ สุรยิ ยาตร์นน้ั เป็นปฏิทนิ ทีม่ กี ารคำนวณขึน้ โดยใช้หลักของการคำนวณสมผุสดาวตามคัมภีร์
สุรยิ ยาตร์ เป็นปฏิทนิ แบบดัง้ เดิมของโหรไทยทีใ่ ช้สบื ทอดกันมาแต่โบราณ และใช้มาตัง้ แต่สมัยอยุธยา โหรที่
คำนวณปฏิทนิ ตามหลักสุรยิ ยาตร์มดี ว้ ยกันหลายท่าน ได้แก่ หลวงวิศาลดรุณกร, อ.เทพย์ สาริกบุตร, อ.สิงห์โต
สุรยิ าอารักษ์, อ.ทองเจือ อ่างแก้ว และอ.บุนนาค ทองเนียม เดิมทีเดียวผมจะใช้ปฏิทนิ ของอาจารย์ทองเจือ อ่างแก้ว
มาระยะหลังบุคคลเหล่านีเ้ สียชีวติ ไปหมดแล้วก็เปลีย่ นมาใช้ปฏิทนิ เป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ตามการคำนวณ
ของอาจารย์พลตรีบนุ นาค ทองเนียม
ส่วนแนวทางในการศึกษาโหราศาสตร์ไทย เราจะกำหนดให้ใช้ปฏิทนิ แบบสุรยิ ยาตร์เป็นหลัก เพราะโดย โดย
พื้นฐานแห่งปรัชญาในการคำนวณเพื่อใช้ในการพยากรณ์นั้นก็มาจากปรัชญาของสุริยยาตร์ ไม่ใช่มา
จากปรัชญาของดาราศาสตร์ มีโหรหลายท่านบอกว่าให้ใช้ดาราศาสตร์ท่ตี ดั อายนางศะ ผมเห็นมานักต่อนัก
คนทีใ่ ช้ปฏิทนิ ดาราศาสตร์ทายไม่คอ่ ยแม่น เนือ่ งด้วยความเป็นจริงทางดาราศาสตร์นน้ั เป็นความจริงตามองศา-
ลิปดาในมุมของดวงดาว เหตุการณ์หรือเรือ่ งราวต่างๆ ในทางโลกหรือในทางสังคมหรือกับบุคคลอาจจะไม่เกิดขึน้
ส่วนคนทีใ่ ช้ปฏิทนิ สุรยิ ยาตร์จะทายได้แม่นยำกว่า เหตุผลเพราะว่าในทางสุรยิ ยาตร์หรือในทางโหรไทยทีใ่ ช้นน้ั
จะมีมมุ ของความคลาดเคลือ่ นมารองรับเหตุการณ์ทเ่ี กิดขึน้ จึงนำมาผูกเป็นปรัชญาเป็นเรือ่ งราว แปลว่าทฤษฎี
ทางโหรไทยนัน้ เป็นปรัชญาก็เกิดจากความคลาดเคลือ่ น มุมของดาวทีค่ ลาดเคลือ่ นก็เป็นมุมของดาวทีห่ กั ลบกลบ
หนีแ้ ล้วพอดีกบั มุมทีค่ ลาดเคลือ่ นนัน้ ผลแห่งคำพยากรณ์จงึ แม่นยำ เพราะฉะนัน้ ถ้าถามโหรชัน้ ผูใ้ หญ่หลายท่าน
ใช้แต่แบบสุรยิ ยาตร์ทง้ั นัน้ คงจะมีโหรไม่กท่ี า่ นทีใ่ ช้ปฏิทนิ แบบดาราศาสตร์ และคนทีใ่ ช้ปฏิทนิ แบบดาราศาสตร์กเ็ ป็น
เพียงแต่นกั เขียน ถ้าเป็นนักพยากรณ์มกั ไม่คอ่ ยแม่นยำ นับว่าเป็นเรือ่ งทีแ่ ปลกอยูเ่ หมือนกัน
12
เรียนรูค้ วามหมายของคำในปฏิทนิ โหร
การกำหนดระยะเวลาภาคทีส่ ว่างเริม่ ตัง้ แต่พระอาทิตย์อทุ ยั จนถึงย่ำค่ำ เรียกว่า “ภาคกลางวัน” และ
ภาคทีพ่ ระอาทิตย์อสั ดงจนถึงย่ำรุง่ เรียกว่า “ภาคกลางคืน” รวม ๒ ภาคเป็น ๑ วัน “วัน” ซึง่ กำหนดให้
พระอาทิตย์เวียนไปมา เรียกว่า “วาร” มีชอ่ื ตามพระเคราะห์ทเ่ี ขียนไว้ในปฏิทนิ โหร รวม ๗ วาร เรียก “สัปดาห์”
อันได้แก่ “วันในสัปดาห์” ดังนี้

เครือ่ งหมาย ชือ่ วันในสัปดาห์ อักษรย่อ


๑ อาทิตย์วาร อ
๒ จันทร์วาร จ
๓ ภุมมะวาร ภ
๔ วุธะวาร ว
๕ ชีวะวาร ช
๖ ศุกระวาร ศ
๗ โสระวาร ส

ในทางโหราศาสตร์ได้คำนวณดาวพระเคราะห์ขึ้นตามคัมภีร์สุริยยาตร์รวม ๑๐ องค์ มีนามแทน


พระเคราะห์ตามอักษรย่อในปฏิทนิ ทางโหราศาสตร์ดงั นี้

เครือ่ งหมาย ชือ่ ดาวพระเคราะห์ อักษรย่อ


๑ อาทิตย์ (อาทิตย์) อ
๒ จันทร์ (จันทร์) จ
๓ ภุมโม (อังคาร) ภ
๔ วุโธ (พุธ) ว
๕ ชีโว (พฤหัสบดี) ช
๖ ศุโกร (ศุกร์) ศ
๗ โสโร (เสาร์) ส
๘ ราหู (ราหู) ร
๙ เกตุ (เกตุ) ก
๐ มฤตยู (มฤตยู) ม

13
จักรราศีแบ่งออกเป็น ๑๒ ราศีดงั ทีไ่ ด้กล่าวมาแล้วในบทจักรราศีแห่งดวงชาตา อันเป็นเล่มที่ ๑ ได้กล่าว
ถึงธาตุทง้ั ๔ เข้าครองในราศี และดาวเกษตรครองประจำทุกราศี ยังมีตวั เลขบอกราศีซง่ึ จำเป็นต้องจดจำเพือ่
นำมาใช้ในการอ่านปฏิทนิ โหร ดังนี้

เครือ่ งหมาย ชือ่ ราศี ธาตุ


๐ เมษ ไฟ
๑ พฤษภ ดิน
๒ เมถุน ลม
๓ กรกฏ น้ำ
๔ สิงห์ ไฟ
๕ กันย์ ดิน
๖ ตุลย์ ลม
๗ พิจกิ น้ำ
๘ ธนู ไฟ
๙ มังกร ดิน
๑๐ กุมภ์ ลม
๑๑ มีน น้ำ

รายละเอียดเกีย่ วกับดาวพระเคราะห์ทค่ี วรรู้


ชือ่ ดาว สัญลักษณ์ อักษรย่อ ชือ่ ทาง การโคจร โคจรครบ ๑
โหราศาสตร์ ๑ ราศี รอบจักรราศี
อาทิตย์ ๑ อ ระวิ , สุรยิ ะ ๓๐ วัน ๑ ปี
จันทร์ ๒ จ ศศิ , จันเทา ๒ วัน ครึง่ ๒๙ วัน
อังคาร ๓ ภ ภุมมะ , ภุมโม ๔๕ วัน ๑ ปี ครึง่
พุธ ๔ ว วุธโธ , พุโธ ๓๐ วัน ๑ ปี
พฤหัสบดี ๕ ช ชีวะ , ชีโว ๑ ปี ๑๒ ปี
ศุกร์ ๖ ศ ศุกโกร , ศุกรา ๓๐ วัน ๑ ปี
เสาร์ ๗ ส โสโร , โสรา ๒ ปี ครึง่ ๓๐ ปี
ราหู ๘ ร อสุรา , อสุรนิ ทร์ ๑ ปี ครึง่ ๑๘ ปี
เกตุ ๙ ก - ๒ เดือน ๒ ปี
มฤตยู ๐ ม - ๗ ปี ๘๔ ปี
14
หลักเกณฑ์ทางสุรยิ คติและจันทรคติ
ผมจึงต้องกล่าวถึงเรือ่ งของระบบสุรยิ คติและจันทรคติ เนือ่ งจากรายละเอียดทีป่ รากฏในปฏิทนิ ทำให้ผทู้ ่ี
ศึกษาวิชาโหราศาสตร์ไทยทุกคนจำเป็นจะต้องเรียนรูเ้ รือ่ งของระบบทัง้ ๒ นีใ้ ห้เข้าใจอย่างลึกซึง้ ระบบสุรยิ คติและ
จันทรคติ มีจดุ เริม่ ต้นและจุดสุดท้ายต่างกัน เพราะฉะนัน้ การทีจ่ ะใช้ปฏิทนิ ให้ถกู ต้องจะต้องอาศัยความเข้าใจ
ระบบทัง้ ๒ นีใ้ ห้ดเี สียก่อน
ประการแรก ระบบสุรยิ คติกาล ระบบนีถ้ อื เอาการโคจรของโลกรอบดาวอาทิตย์เป็นหลัก ได้แก่
- วันที่ คือจำนวนวันทีใ่ นรอบ ๑ เดือน (วันที่ ๑, ๒, ๓ ถึงวันที่ ๓๐ / ๓๑)
- เดือน คือจำนวนเดือนในรอบ ๑ ปี (เดือนมกราคม, กุมภาพันธ์, มีนาคม ถึงธันวาคม)
- ปี พ.ศ. / ค.ศ. คือปีพทุ ธศักราช หรือคริสตศักราช
ระบบสุรยิ คตินถ้ี อื เอาเวลา ๒๔.๐๐ น. เป็นเวลาสิน้ สุดของวัน เพราะฉะนัน้ วันทีเ่ ป็นตัวเลขจะเปลีย่ น
เวลา ๒๔.๐๐ น. คนทีเ่ กิดหลังเทีย่ งคืน คือเวลา ๐๐.๐๐ น. จะต้องเปลีย่ นวันทีเ่ ป็นวันใหม่แล้ว
คำว่า “พ.ศ.” ย่อมาจาก “พุทธศักราช” เริม่ ตัง้ แต่ปที พ่ี ระพุทธเจ้าเสด็จปรินพิ พานนับเป็นปีท่ี ๑ ตรงกับ
วันขึน้ ๑๕ ค่ำ เดือน ๖ นับถึงปัจจุบนั ได้ลว่ งเข้าปีท่ี ๒๕๕๒ แล้ว ถ้าจะนับให้ครบปีกต็ อ้ งนับถึงวันขึน้ ๑๕
ค่ำ เดือน ๖ อีกครัง้ ซึง่ จะตรงกับวันศุกร์ท่ี ๘ พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๕๒ ซึง่ เป็นวันวิสาขบูชา
ในปี พ.ศ. ๒๔๓๒ ตรงกับรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั ทรงมีพระราชโองการ
ประกาศให้ใช้วนั ที่ ๑ เมษายนของทุกปีเป็นวันขึน้ ปีใหม่ ทัง้ นีเ้ พราะในปีพ.ศ. ๒๔๓๒ นัน้ วันที่ ๑ เมษายน
ตรงกับวันขึน้ ๑ ค่ำ เดือน ๕ พอดี และได้ใช้วนั ที่ ๑ เมษายน เป็นวันขึน้ ปีใหม่เรือ่ ยมาจนกระทัง่ ถึงปี พ.ศ.
๒๔๘๔ ซึง่ เป็นสมัยทีจ่ อมพล ป. พิบลู สงคราม เป็นนายกรัฐมนตรี ได้ประกาศเปลีย่ นวันขึน้ ปีใหม่ จากวันที่ ๑
เมษายน มาใช้วนั ที่ ๑ มกราคม เป็นวันขึน้ ปีใหม่ตามอย่างมาตรฐานสากล จึงเป็นการเปลีย่ นแปลงปีพทุ ธศักราช
ให้เข้ากับปีคริสต์ศกั ราช ด้วยเหตุน้ี ในปี พ.ศ. ๒๔๘๓ จึงมีเพียง ๙ เดือนเท่านัน้
ประการทีส่ อง ระบบจันทรคติกาล ระบบนีถ้ อื เอาการโคจรของดวงจันทร์ทส่ี มั พันธ์กบั โลกเป็นหลัก
เมือ่ ดวงจันทร์โคจรผ่านกลุม่ ดาวฤกษ์ทง้ั หมด ๒๗ กลุม่ เรียกว่า ฤกษ์พระจันทร์ (ส่วนพระอาทิตย์โคจรผ่านกลุม่
ดาวฤกษ์ประจำราศีทง้ั หมด ๑๒ ราศี ทำให้เกิดราศี) เพราะฉะนัน้ ระบบจันทรคติกาลเป็นตัวแบ่งในเรือ่ งของฤกษ์บน
- วาร ได้แก่ วันอาทิตย์ จันทร์ อังคาร พุธ พฤหัสบดี ศุกร์ เสาร์
- เดือนไทย ได้แก่ เดือนอ้าย เดือนยี่ เดือนสาม เดือนสี่ ถึงเดือนสิบสอง
- ปีนกั ษัตร ได้แก่ ปีชวด ฉลู ขาล เถาะ ถึงปีกนุ
ระบบจันทรคตินถ้ี อื เอาเวลาก่อนอาทิตย์อทุ ยั หรือเวลารุง่ อรุณโดยประมาณ คือเวลา ๐๕.๕๙ น. เป็น
เวลาสิน้ วัน และถือเอาเวลาอาทิตย์อทุ ยั หรือเวลารุง่ อรุณประมาณ ๐๖.๐๐ น. เป็นวันขึน้ วันใหม่
ส่วนวันสิน้ เดือนหรือเริม่ เดือนใหม่ จะใช้วนั ขึน้ -แรมเป็นตัวกำหนด ดังนีว้ นั แรม ๑๕ ค่ำ จะเป็นวัน
สิน้ สุดของเดือนคู่ วันแรม ๑๔ ค่ำ เป็นวันสิน้ สุดของเดือนคี่ วันเริม่ ต้นของเดือนใหม่จะเริม่ ในวันขึน้ ๑ ค่ำ
เหมือนกันทุกเดือน มีรายละเอียดดังนี้

15
เดือนคี่ คือ เดือนอ้าย , ๓ , ๕ , ๗ , ๙ , ๑๑ ใน ๑ เดือนมี ๒๙ วัน ได้แก่
วันขึ้น ๑ ค่ำ ถึงวันขึ้น ๑๕ ค่ำ ต่อด้วย
วันแรม ๑ ค่ำ ถึงวันแรม ๑๔ ค่ำ รวม ๒๙ วัน
เดือนคู่ คือ เดือนยี่ , ๔ , ๖ , ๘ , ๑๐ , ๑๒ ใน ๑ เดือนมี ๓๐ วัน ได้แก่
วันขึ้น ๑ ค่ำ ถึงวันขึ้น ๑๕ ค่ำ ต่อด้วย
วันแรม ๑ ค่ำ ถึงวันแรม ๑๕ ค่ำ รวม ๓๐ วัน
ปีนักษัตรจะสิ้นไปพร้อมๆ กับวันแรม ๑๕ ค่ำ เดือน ๔ และเริ่มปีนักษัตรใหม่ในวันขึ้น ๑ ค่ำ
เดือน ๕ ของทุกปี อย่างเช่นในปฏิทนิ ตัง้ แต่ปพี .ศ.๒๔๘๓ ย้อนลงไปปี ๒๔๘๒, ๒๔๘๑ จะเห็นว่าเมือ่
สิน้ พ.ศ.เก่า และขึน้ พ.ศ.ใหม่ แต่ยงั ไม่ถงึ วันแรม ๑๕ ค่ำ เดือน ๔ ปีนกั ษัตรยังไม่เปลีย่ น แต่เมือ่ ถึงวันขึน้ ๑ ค่ำ
เดือน ๕ เมือ่ นัน้ ปีนกั ษัตรจึงจะเปลีย่ นไป แต่พอปี พ.ศ.๒๔๘๔ เป็นต้นมาจะเห็นว่าพอขึน้ พ.ศ.ใหม่ ปฏิทนิ
จะบอกปีนกั ษัตรใหม่เอาไว้ดว้ ย ซึง่ เป็นการผิดกฎเกณฑ์ในระบบจันทรคติอย่างมากมาย และจะเป็นเหตุให้คนรุน่ หลัง
ใช้ปนี กั ษัตรอย่างสับสนจนหาทีส่ น้ิ สุดไม่ได้ เพราะฉะนัน้ เรือ่ งของปีนกั ษัตรจะต้องทำความเข้าใจให้ดี เพราะถ้าใช้ปี
นักษัตรหรืออย่างหนึง่ อย่างใดผิดเสียแล้วการพยากรณ์ตา่ งๆ ก็จะพลอยผิดไปด้วย
นีค่ อื การแบ่งวันเดือนปีทางจันทรคติแบบของไทย ซึง่ จะสังเกตว่าระบบนีม้ กี ารเชือ่ มโยงกับประเพณี
ต่างๆ ของไทยด้วย ส่วนการเปลีย่ นปีนกั ษัตรแบบของจีนจะเปลีย่ นตอนตรุษจีน (ประมาณวันที่ ๔ กุมภาพันธ์
ของทุกปี) เท่าทีก่ ล่าวมาแล้วนีจ้ ะเห็นได้วา่ จุดเริม่ ต้นและจุดสุดท้ายของระบบสุรยิ คติกาลและจันทรคติกาลนัน้
แตกต่างกัน เท่าทีเ่ ห็นส่วนมากก็จะใช้กนั อย่างสับสนไม่รวู้ า่ ระบบไหนเป็นระบบไหน แต่จากประสบการณ์จะเห็น
ว่าในปูมประวัตศิ าสตร์นน้ั ใช้ระบบจันทรคติกาลเป็นส่วนใหญ่ เช่น องค์พระบาทสมเด็จพระนเรศวรมหาราช
ทรงกรีฑาทัพจากไทยไปสูก้ บั พม่า (วันทำยุทธหัตถี) ตรงกับวันวันจันทร์ แรม ๒ ค่ำ เดือน ๒ ปีมะโรง โทศกจุล
ศักราชเท่านัน้ เท่านี้ ก็เรียกว่า จันทรคติกาล เวลาต้องการจดบันทึกเพือ่ ทำการผูกดวงวางลัคนาก็ทำได้โดยแยก
เขียนดังนี้
สุริยคติกาลตรงกับวันที่ ๑ มกราคม พ.ศ. ๒๕๓๐ เวลา ๐๒.๐๐ น.

จันทรคติกาลตรงกับ ๔(๘) ฯ ๒ ค่ำ ปีขาล รัตนโกสินทร์ศก ๒๐๕ จ.ศ. ๑๓๔๘
(อ่านว่า : จันทรคติกาลตรงกับวันพุธกลางคืน ขึน้ สามค่ำ เดือนยี่ ปีขาล)
การเปลีย่ นเวลาในระบบสุรยิ คติ
00.00 น. 24.00 00.00 น. 24.00 น.
วันที่ 31 ธ.ค. 2529 วันที่ 1 ม.ค. 2530
วันพุธ ข. ๒ ด. ๒ วันพฤหัสบดี ข. ๓ ด. ๒
๐๖.๐๐ น. พุธกลางคืน ๐๖.๐๐ น. ๐๕.๕๙ น.
๑๘.๐๐-๐๕.๕๙น.
การเปลีย่ นเวลาในระบบจันทรคติ
16
ปีนกั ษัตรยังคงเป็นปีมะเส็ง จะเปลีย่ นเป็นปีมะเมีย
ในวันขึน้ ๑ ค่ำ เดือน ๕ ซึง่ ตรงกับวันที่ ๘ เมษายน ๒๕๒๑

17
ตัวอย่างปฏิทนิ ทางดาราศาสตร์แบบไทย
ทัง้ นีต้ ง้ั จุดคำนวณ ณ เวลา ๒๔.๐๐ น. (กรุงเทพ นักษัตร) ปฏิทนิ นีแ้ บ่งเป็นช่องๆ อ่านเป็นแนวลงมา
ใช้ตวั เลขและตัวอักษรแทนดาวพระเคราะห์ และแทนราศี-องศา-ลิปดา จากซ้ายไปขวา ในเดือนกันยายน พ.ศ.
๒๕๑๔ ดังนี้

บรรทัดที่ ๑ บอกปีนกั ษัตร พ.ศ. (พุทธศักราช) จ.ศ. (จุลศักราช) กับเลขเกณฑ์ตา่ งๆ สำหรับคำนวณ


ปฏิทนิ ประจำปีนน้ั ๆ เช่น มาสเกณฑ์, อวมาน, หรคุณ, กัมมัชพล, อุจจพล, ดิถ,ี วาร
บรรทัดที่ ๒ บอกเดือนสุรยิ คติ ไทย สากล (ภาษาอังกฤษ) ปีค.ศ. (คริสตศักราช) เดือนจีน ปีมน่ิ ก๊ก
ในตารางแถวที่ ๑ ที่ หมายถึงวันทีท่ างสุรยิ คติ ซึง่ จะไปตรงกับช่องสุดท้าย มีคำว่า ที่ เหมือนกัน
ก็คอื วันทีท่ างสุรยิ คติ
แถวที่ ๒ วัน จะมีอกั ษรย่อไล่เรียงลงไป เป็นวันทางจันทรคติ ก็คอื วันอาทิตย์(อ), วันจันทร์(จ), วัน
อังคาร(ภ), วันพุธ(ว), วันพฤหัสบดี(ช), วันศุกร์(ศ), วันเสาร์(ส)
แถวที่ ๓-๔ ข.ร. ด. เป็นวันขึน้ วันแรม และเดือนไทย ไทย (ข ย่อจากคำว่าขึน้ , ร ย่อ จากคำว่าแรม, ด
ย่อจากเดือนทางจันทรคติ) ให้สงั เกตว่าจะเขียนบอกไว้เป็นช่วงๆ ห่างกันช่วงละ ๘ วัน ซึง่ ตรงกับวันพระไทยพอดี
แถวที่ ๕-๖ วัน ด. เป็นวันและเดือนทางจีจีน แบ่งเป็น ๒ ช่องคือวันกับเดือน ถ้ามีเลขซ้อนกันเป็น
อธิกมาส
แถวที่ ๗-๙ อาทิตย์ เป็นตำแหน่งของดาวอาทิตย์ แบ่งเป็น ๓ ช่องเพือ่ บอกราศี-องศา-ลิปดา ณ
เวลา ๒๔.๐๐ น.ของวัน
แถวที่ ๑๐-๑๒ จันทร์ เป็นตำแหน่งของดาวจันทร์ แบ่งเป็น ๓ ช่องเพือ่ บอกราศี-องศา-ลิปดา ณ
เวลา ๒๔.๐๐ น.ของวัน
ช่องที่ ๑๓ ยก บอกเวลาทีด่ าวจันทร์ยกย้าย จะแสดงไว้เฉพาะวันทีย่ า้ ย
ช่องที่ ๑๔-๑๕ ฤกษ์ แบ่งเป็น ๒ ช่อง บอกฤกษ์กบั นาทีฤกษ์ทด่ี วงจันทร์ผา่ นไปแล้ว
ช่องที่ ๑๖-๑๗ ดิถี แบ่งเป็น ๒ ช่อง บอกดิถกี บั นาทีดถิ ที ด่ี วงจันทร์ผา่ นไปแล้ว
ช่องที่ ๑๘-๒๐ อังคาร เป็นตำแหน่งของดาวอังคาร แบ่งเป็น ๓ ช่องเพือ่ บอกราศี-องศา-ลิปดา
ณ เวลา ๒๔.๐๐ น.ของวัน
ในส่วนนีจ้ ะหมดใน ๑ หน้า ในหน้าถัดไปจะเป็นช่องทีบ่ อกตำแหน่งของดาวพุ
ดาวพุธ(๔), ดาวพฤหัสบดี(๕),
ดาวศุกร์(๖), ดาวเสาร์(๗), ดาวราหู(๘), ดาวเกตุ(๙), ดาวมฤตยู(๐) ซึ่งในแต่ละส่วนจะแบ่งเป็น ๓
18
ช่องเพือ่ บอกราศี
ราศี-องศา-ลิปดา เช่นเดียวกัน เพือ่ เป็นศิลปะและสะดวกในการบอกองศา ก็คอื ว่าถ้าองศายังซ้ำ
อยูก่ จ็ ะบอกองศาเฉพาะวันที่ ๑, ๑๑ และ ๒๑ ถ้าเปลีย่ นองศาก็จะบอกทุกครัง้ ทีเ่ ปลีย่ น ส่วนลิปดานัน้ จะ
บอกทุกวัน
ช่องล่างสุดท้าย บอกวันที่ เวลาทีด่ าวต่างๆ ยกย้ายราศี ดาวพักร์ มณฑ์ เสริด คำนวณแบบ ๐
ลิปดา ลด ๑ นาทีไม่ยา้ ย
ย้าย คือการเปลีย่ นราศีตามปกติ
เสริด คือการโคจรของดาวทีเ่ ร็วกว่าปกติ
พักร์ คือการโคจรของดาวถอยหลังเข้าสูร่ าศีนน้ั
มณฑ์ คือการโคจรของดาวทีไ่ ม่สม่ำเสมอ ช้าบ้าง เร็วบ้าง หยุดบ้าง ถอยบ้าง
รูปดวงชะตา บอกตำแหน่งของดาวต่างๆ ในวันสิน้ เดือน
ขวาสุด บอกสุรทิน อวมาน ดิถี วันรัชกาลของพระมหากษัตริย์ ในราชวงศ์จกั รี ใช้ ร. แทนรัชกาล
ปฏิทนิ โหราศาสตร์ไทยทีโ่ หรบางท่านได้คำนวณขึน้ ก็ได้ใช้เป็นคูม่ อื ของนักโหราศาสตร์ทว่ั ไป จะมีสมผุส
ของดาวอาทิตย์และดาวจันทร์ ลงไว้ทกุ ๆ วันเช่นเดียวกัน สำหรับดาวอังคาร ดาวพุธ ดาวพฤหัสบดี ดาวศุกร์
ดาวเสาร์ ดาวราหู ดาวเกตุ ดาวมฤตยู มีสมผุสถูกต้องตรงกัน และลงสมผุสไว้ในวันท้ายปักษ์ และวันสิน้ เดือน
เหมือนกันหมด ครัน้ ต่อมาเกิดปฏิทนิ ดาราศาสตร์ไทย โดยโหรได้คำนวณและสร้างแบบขึน้ มาใหม่ ได้บรรจุสมผุส
ดาวพระเคราะห์ลงไว้ในทุกองค์ในทุกๆ วัน

การผูกวางลัคนา
การผูกดวงชะตาขึน้ มาดวงหนึง่ จะต้องประกอบด้วย
๑) รูว้ ธิ กี ารอ่านปฏิทนิ โหร
๒) รูค้ วามหมายขององศาดาวอาทิตย์
๓) การวางลัคนา ตลอดจนการสอบทานลัคนาเป็นหัวใจสำคัญของวิชาโหราศาสตร์ ถ้าวางลัคนาผิด
ก็เท่ากับทายดวงชะตาผิดทันที การทำนายทายทักจะไม่ถกู ต้องตรงกับความเป็นจริง
เพราะฉะนัน้ การผูกดวงชะตาจึงมีความสำคัญทีน่ กั โหราศาสตร์หรือผูท้ ศ่ี กึ ษาวิชาโหราศาสตร์จะต้อง
เรียนรูแ้ ละเข้าใจทุกขัน้ ตอน ดังนี้
๑) ต้องทราบว่าคนที่มาตรวจดวงชะตาเกิดวันอะไร ให้นับพระอาทิตย์ขึ้นจากเวลา ๐๖.๐๐
น.ตรงเป็นวันใหม่ เช่น เกิดเวลา ๒๔.๐๐ น. จนถึง ๐๕.๕๙ น. ของวันจันทร์กย็ งั คงเป็นคนทีเ่ กิดวันจันทร์
แต่ถา้ เกิดหลังจาก ๐๖.๐๐ น. ไปแล้ว เช่นเกิดเวลา ๐๖.๐๕ น. หรือ ๐๖.๑๐ น.ไปแล้วจึงจะกลายเป็นคนเกิด
วันอังคาร
19
๒) ต้องทราบเดือน หมายถึงเดือนทางจันทรคติ และเดือนทางสุรยิ คติ เพือ่ ใช้สอบทานกันได้
๓) ต้องทราบวันขึ้น วันแรมกี่ค่ำ เพือ่ สอบทานให้ตรงกับวันทีเ่ จ้าชะตาเกิด
๔) ต้องทราบปีเกิดว่าเกิดในปีนักษัตรใด และตรงกับพ.ศ.อะไร
๕) ทีส่ ำคัญทีส่ ดุ คือเวลาตกฟาก จะต้องทราบเวลาเกิดทีต่ รงตามความเป็นจริง ไม่คลาดเคลือ่ น
จึงจะวางลัคนาได้ถกู ต้อง การพยากรณ์จะได้ไม่ผดิ พลาด ทัง้ นีท้ ง้ั นัน้ ตามตำราโบราณบอกว่าเฉพาะผูท้ เ่ี กิดใน
กรุงเทพและธนบุรี ให้เอา ๑๘ นาทีไปลบออกจากเวลาเกิดจริง แต่ในประสบการณ์ของผมนัน้ ไม่เคยลบเลย ไม่วา่
จะเกิดทีใ่ ดในประเทศไทยก็ตง้ั เวลาตามนัน้ ไม่เคยลบก็ทายได้แม่นยำ

ขัน้ ตอนการผูกดวงชะตา
ดวงตัวอย่างคือดวงชะตาของผมเอง เกิดวันที่ ๑ กันยายน พ.ศ.๒๕๑๔ เวลา ๑๐.๓๐ น. จ.ปราจีนบุรี
ถ้าท่านดูจากปฏิทนิ ทางดาราศาสตร์ เล่มปี พ.ศ. ๒๕๐๐ – ๒๕๑๙ จะเห็นได้วา่ ในเดือนกันยายน ปีพทุ ธศักราช
๒๕๑๔ นัน้ มีปฏิทนิ ตามภาพทีไ่ ด้ยกตัวอย่างประกอบ ให้ใช้ไม้บรรทัดทาบไปทีช่ อ่ งของวันที่ ๑ จะเห็นได้วา่
แถวที่ ๑ ที่ คือวันที่ 1
แถวที่ ๒ วัน ว คือวันพุธ มาจากคำว่า “วุโธ”
แถวที่ ๓ ข. ร. คือวันขึน้ -แรมทางจันทรคติ ข 12 คือตรงกับวันขึน้ ๑๒ ค่ำ
แถวที่ ๔ ด. คือเดือนทางจันทรคติ 10 คือเดือน ๑๐
เมือ่ ดูปฏิทนิ ถึงส่วนนีแ้ ล้วก็สามารถเขียนบอกวันทางจันทรคติของไทยได้ครบถ้วน ส่วนปีนกั ษัตรก็ให้ดทู ่ี
บรรทัดบนสุด จะบอกให้รวู้ า่ เป็น ปีกนุ พ.ศ.2514 จ.ศ.1333 เพราะฉะนัน้ ถ้าจะเขียนเป็นวันทางสุรยิ คติกาล
และวันทางจันทรคติกาล ก็สามารถเขียนได้ดงั นี้

สุริยคติกาลวันที่ ๑ กันยายน พ.ศ.๒๕๑๔


๑๒
จันทรคติกาลตรงกับ ๔ ฯ ๑๐ ค่ำ ปีกนุ จ.ศ.๑๓๓๓ ตรีศก
(อ่านว่า : วันพุธ ขึน้ ๑๒ ค่ำ เดือน ๑๐ ปีกนุ )

20
การนำดาวพระเคราะห์บรรจุลงในแผ่นดวงชะตา

ต่อมาท่านจะเห็นว่าในแผ่นดวงชะตานัน้ มีชอ่ งทีว่ า่ งเปล่า ตามภาพทีน่ ำมาให้ดปู ระกอบ เมือ่ ดูจากปฏิทนิ


จะบอกตำแหน่งของดาวพระเคราะห์ทกุ ดวง ประกอบด้วยตัวเลขกำกับอยู่ ๓ ช่อง เรียงเป็นแถวต่อท้ายชือ่ ดาว
แถวแรกบอกตัวเลขประจำราศี แถวถัดไปบอกตำแหน่งองศาและลิปดาของพระเคราะห์นน้ั ๆ

ยก คือเวลาทีพ่ ระจันทร์ยา้ ยราศี จะบอกเวลากำกับไว้ คือ ๒๐.๔๓ น. จะเห็นพระจันทร์ยกย้ายราศี


เป็นระยะๆ เพราะพระจันทร์ยกทุกๆ ๒ วันครึง่ ทัง้ นีจ้ งึ ต้องพิจารณาประกอบกับเวลาเกิดของเจ้าชะตาด้วยเสมอ
ถ้าเจ้าชะตาเกิดตรงกับวันทีพ่ ระจันทร์ยกย้ายราศี ให้สงั เกตว่าในวันนัน้ พระจันทร์ยก ณ เวลาเท่าไร เจ้าชะตาเกิด
ก่อนหรือหลังจากทีพ่ ระจันทร์ยกย้ายราศี ถ้าเจ้าชะตาเกิดก่อนทีพ่ ระจันทร์ยก ก็ตอ้ งเลือ่ นพระจันทร์กลับไป ๑
ราศี ถ้าเจ้าชะตาเกิดหลังจากทีพ่ ระจันทร์ยก ก็ให้คงไว้ตามปฏิทนิ
จะเห็นว่าในวันที่ ๑ กันยายน ๒๕๑๔ เจ้าชะตาเกิดเวลา ๑๐.๓๐ น. แต่ในปฏิทนิ ระบุวา่ พระจันทร์ยก
๒๐.๔๓ หมายความว่าพระจันทร์ยกจากราศีท่ี ๘ เข้าสูร่ าศีท่ี ๙ เวลา ๒๐.๔๓ น. แปลว่าเจ้าชะตาเกิดก่อน
ทีพ่ ระจันทร์จะยกเข้าสูร่ าศีท่ี ๙ เพราะฉะนัน้ พระจันทร์ตอ้ งเลือ่ นถอย กลับไป ๑ ราศี คือราศีท่ี ๘ ยังคงอยูท่ ร่ี าศีธนู
จะเห็นได้วา่ ถ้านักพยากรณ์หรือผูท้ ก่ี ำลังศึกษาวิชาโหราศาสตร์ ถ้าทำอย่างสุกเอาเผากินคือดูแต่วา่
พระจันทร์อยูร่ าศีทเ่ี ท่าไร แต่ไม่ดเู วลาพระจันทร์ยกย้ายราศีแล้วละก็จะทำให้วางพระจันทร์ของผมผิดหมด โดยเข้าใจ
21
ว่าอยูร่ าศีมงั กร แม้กระทัง่ โหรโสรัจะ นวลอยู่ ก็วางดวงชะตาของผมผิด โดยวางพระจันทร์ไว้ในราศีมงั กร นีค่ อื
เรือ่ งสำคัญมาก



๔ ๑๔ ๘ ๓
๑๖ ๒
๐ ๕

ส่วนสมผุสดาวพระเคราะห์ทกุ ดวงให้เขียนกำกับเอาไว้ในตาราง มี ๒ รูปแบบ ดังนี้


แนวตั้ง แนงนอน
สมผุ ส ดาว สมผุ ส ดาว
ดาว ราศี องศา ลิปดา ดาว ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๐
๑ ๔ ๑๔ ๑๒ ราศี ๔ ๘ ๙ ๓ ๗ ๔ ๑ ๙ ๒ ๕
๒ ๘ ๒๔ ๒๐ องศา ๑๔ ๒๔ ๒๓ ๒๘ ๐๖ ๑๓ ๐๘ ๑๙ ๒๔ ๑๖
๓ ๙ ๒๓ ๓๘ พ ลิปดา ๑๒ ๒๐ ๒๘ ๔๔ ๐๓ ๑๙ ๐๙ ๐๒ ๐๕ ๐๘
๔ ๓ ๒๘ ๔๔
๕ ๗ ๐๖ ๐๓
๖ ๔ ๑๓ ๑๙
๗ ๑ ๐๘ ๐๙
๘ ๙ ๑๙ ๐๒
๙ ๒ ๒๔ ๐๕
๐ ๕ ๑๖ ๐๘

22
การหาตำแหน่งของลัคนา
ตำแหน่งของ ลัคนารวมทัง้ ธาตุกบั ดาวพระเคราะห์ประจำราศีและดาวเคราะห์กมุ ลัคนาล้วนมีอทิ ธิพล
ในการกำหนดรูปร่างลักษณะและอุปนิสยั ใจคอของผูน้ น้ั ตัง้ แต่เกิดไปจนตลอดทัง้ ชีวติ เพราะฉะนัน้ เมือ่ คำนวณจน
รูแ้ ล้วว่าเจ้าชะตามีลคั นาสถิตในราศีใดก็ให้ใส่เครือ่ งหมายทีใ่ ช้แทนคำว่า ลัคนา เท่าทีพ่ บเห็นโดยทัว่ ไปมีการใช้ตวั
ส หรือ ลั หรือ (อักษรขอมแบบบรรจงมีลกั ษณะคล้ายอักษร ญ มีหาง) เป็นต้น ส่วนโหรรุน่ เก่าๆ ท่านได้บนั ทึก
เอาไว้วา่ นิยมเขียนตัว “ล” เป็นอักษรไทยโบราณ “ ” หรือเรียกกันว่าอักษรขอมไว้แทนคำว่า ลัคนา โดยถ้า
เป็นดวงชะตาที่เห็นกันอย่างประณีตเช่นในดวงพิชัยสงครามก็จะเห็นเขียนตัว “ส” ถ้าเป็นผูกดวงขึ้นเพื่อ
การพยากรณ์โดยทัว่ ๆ ไป หรือเป็นการเขียนพยากรณ์โดยนักพยากรณ์ทม่ี คี วามรูก้ จ็ ะเขียนลัคนาเป็นอักษร
ทีส่ ำคัญผมอยากให้เขียนตัว ลั หรือ ใช้แทนลัคนาจะดูงดงามและสวยงามกว่า
การหาลัคนานัน้ มีหลายวิธี คือ
๑. การหาลัคนาโดยใช้ลัคนาสำเร็จ
การหาลัคนาว่าอยูใ่ นราศีใดก็ให้ใช้แผ่นวงกลมลัคนาสำเร็จหมุนหาก็จะทำให้ทราบได้ ลัคนาสำเร็จประกอบ
ด้วยแผ่นวงกลม ๓ แผ่นวางซ้อนกัน ส่วนข้อมูลทีต่ อ้ งทราบเพือ่ ใช้ในการหาลัคนาคือ เวลาเกิดของเจ้าชะตาและ
ตำแหน่งของดวงอาทิตย์ (ราศี-องศา-ลิปดา) ในวันทีเ่ จ้าชะตาเกิด
แผ่นล่าง คือตำแหน่งของดวงอาทิตย์ ณ เวลาเกิด
แผ่นทีส่ อง คือเวลา ๒๔ ชัว่ โมง ใช้ระบุเวลาเกิดของเจ้าชะตา มีตวั เลขแสดงตัง้ แต่ 1-24 วิธหี มุน
คือหมุนให้เวลาเกิดของเจ้าชะตาตรงกับดวงอาทิตย์
แผ่นบนสุด เป็นลักษณะวงกลมหมุนได้ คือตำแหน่งของ ๑๒ ราศี มีรายละเอียดบอกองศา นวางศ์
-ตรียางค์ และกลุม่ ดาวฤกษ์ตา่ งๆ หมุนให้ราศี-องศา-ลิปดาของดาวอาทิตยในวันทีเ่ กิด
การหาลัคนาโดยใช้แผ่นหมุนหาลัคนาสำเร็จนัน้ ถ้าจะให้มคี วามชัดเจนต้องฟังบรรยายในห้องเรียนหรือ
แบ่งกลุม่ แล้วชีแ้ จงสอนให้เห็นเป็นคนๆ ไป จะเกิดความชำนาญมากกว่าทีจ่ ะมาอธิบายด้วยภาษาเขียน
๒. การหาลัคนาโดยคำนวณจากตำแหน่งของดาวอาทิตย์เป็นหลัก การหาลัคนาวิธีนี้จะ
กล่าวเพียงสัน้ ๆ ส่วนใหญ่จะเรียกว่า อันโตนาที ซึง่ กล่าวถึงดาวอาทิตย์โคจรผ่านราศีตา่ งๆ จนมาถึงจุดเวลาเกิด
ทีเ่ รียกว่า ลัคนา สถิต ณ ตำแหน่งนัน้ ในราศีนน้ั ซึง่ ในปัจจุบนั ไม่เป็นทีน่ ยิ มใช้เพราะต้องมีความยุง่ ยากในการ
คำนวณ
๓. การหาลัคนาโดยใช้เครือ่ งคอมพิวเตอร์ แต่กต็ อ้ งหาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ทม่ี คี วามนิยม
หรือมีความแม่นยำ เช่น โปรแกรมทีค่ ำนวณโดยอาจารย์พลตรีบนุ นาค ทองเนียม

23
ภาพแผ่นหมุนหาลัคนาสำเร็จรูป ของ สถาบันพยากรณ์ศาสตร์
๑. ตำแหน่งของดวงอาทิตย์ ๒. หมุนให้เวลาเกิดของเจ้าชะตา
ณ เวลาเกิดของเจ้าชะตา ตรงกับตำแหน่งของดวงอาทิตย์
๓. หมุนให้ราศี-องศา-ลิปดาของดวงอาทิตย์
ในวันทีเ่ กิดตรงกับตำแหน่งของดวงอาทิตย์

๔. ตำแหน่งของลัคนา

ช่องบอกองศา-ลิปดา

ลูกนวางศ์
ตรียางค์
ชือ่ ฤกษ์ ๙ ฤกษ์
และฤกษ์บน ๒๗ นักษัตร

ตรียางค์พษิ

24
25
ชือ่ -สกุล .........................................................................................
สูติกาล
สุรยิ ฃติกาลวันที่ .................. เดือน .................................. พ.ศ. .......................
เวลา ................................... น.

จันทรคติกาลตรงกับวัน ..............ฯ ............. ค่ำ ปี .................... จ.ศ. .......................


ลัคนาสถิตราศี ..................... ธาตุ ................... นวางศ์ ............... ตรียางค์ ..................
เสวย ................................ นักษัตร ประกอบด้วย ............................ แห่งฤกษ์

ดวงราศีจักร

สมผุสดาว บันทึกข้อความ
ดาว องศา ลิปดา









ทักษา ตรีวยั
ปฐมวัย ทุติยวัย ตติยวัย วัยเทียบ
๑ ๒ ๓
๖ ๔
๘ ๕ ๗

26
วิธีการคำนวณหาตนุเศษ

“ตนุเศษ” นัน้ มีคณ


ุ สมบัตเิ สมอด้วยลัคนา ใช้อา่ นสันดานลึกๆ ทีไ่ ม่เปิดเผย เหมือนเครือ่ งเอ็กซ์เรย์

๑) เริม่ นับจาก เรือนลัคน์ เป็นเรือนที่ 1 นับไปหาเรือนทีม่ ี ดาวเจ้าเรือนลัคน์ สถิตอยู่


7
8 6
9 5

10 4
11 3
2
1

ผลลัพธ์ท่ี 1 เท่ากับ 11 เป็นตัวตัง้


๒) เริม่ นับจากเรือนที่ ดาวเจ้าเรือนลัคน์ สถิตอยูเ่ ป็นเรือนที่ 1 นับไปหา ดาวเจ้าเรือน ของเรือนนัน้

ผลลัพธ์ท่ี 2 เท่ากับ 1 เป็นตัวคูณ (ทีไ่ ด้ผลลัพธ์เท่ากับ 1 เพราะ ดาวเจ้าเรือน เป็นเกษตร จึงไม่


ต้องนับต่อแล้ว)
27
๓) นำผลลัพธ์ในข้อที่ 1 (ตัวตัง้ ) คูณด้วยผลลัพธ์ในข้อที่ 2 (ตัวหาร) แล้วหารด้วย 7 เหลือ เศษ เท่าไรนัน่ คือ
ตนุ เ ศษ
11 * 1 = 11 / 7 = 1 เศษ 4 ดาวพุธ(๔) จึงเป็นตนุเศษ

๔) เมือ่ ได้ตนุเศษแล้วให้กากบาทไว้ทด่ี าวดวงนัน้ จากดวงตัวอย่างนี้ ให้กากบาทไว้ทด่ี าวพุธ(๔)


๕) ถ้าคูณกันแล้วผลลัพธ์ไม่ถงึ 7 ให้ผลลัพธ์นน้ั เป็นตนุเศษ
๖) ถ้าผลลัพธ์ทไ่ี ด้เท่ากับ 7 ตนุเศษเท่ากับ 7

การหาตรีวยั หรือดาวเจ้าวัย
ตรีวยั คือ ดาวพระเคราะห์เจ้าเรือนภพทีก่ ำหนดขึน้ จากตำแหน่งของตนุเศษ พระเคราะห์จากตรีวยั
หรือเรียกว่า ดาวเจ้าวัย จะมาเสวยวัยของคนๆ นัน้ และจะมีอทิ ธิพลต่อชีวติ ของเจ้าชะตาตามช่วงอายุ แบ่งออก
เป็น ๓ วัย คือปฐมวัย ทุตยิ วัย ตติยวัย แต่ละวัยห่างกัน ๘ ปี ๔ เดือน เป็นหลักทีอาจารย์
่อาจารย์พฒ ั นา พัฒนศิริ
นำมาใช้พยากรณ์ชวี ติ คนในช่วงอายุนน้ั ๆ หลักการนับหาดาวเจ้าวัยก็ไม่ยาก ผมทัง้ สอนทัง้ ทำตารางไว้ให้ดู คุณต้อง
จำให้ได้ แต่ละวัยแบ่งได้ดงั นี้
ดาวเจ้าวัยจะเสวยวัยตามอายุ
ตรัวยั ปี – เดือน – วัน
ตนุ แรกเกิด ถึง 8-4-0
ปฐมวัย กฎุมภะ 8-4-1 ถึง 16 - 8 - 0
กัมมะ 16 - 8 - 1 ถึง 25 - 0 - 0
สหัชชะ 25 - 0 - 1 ถึง 33 - 4 - 0
ทุตยิ วัย ศุภะ 33 - 4 - 1 ถึง 41 - 8 - 0
ลาภะ 41 - 8 - 1 ถึง 50 - 0 - 0
ตติยวัย พันธุ 50 - 0 - 1 ถึง 58 - 4 - 0
ปุตตะ 58 - 4 - 1 ถึง 66 - 8 - 0
ปัตนิ 66 - 8 - 1 ถึง 75 - 0 - 0

๑) เมือ่ ดูทป่ี ฐมวัย ตนุมาจากดาวเกษตรเจ้าเรือนของตนุเศษ


๒) แล้วไล่เรียงไปตามแผนผังจนครบรอบจักรราศี
๓) ดูวา่ อายุตกวัยใดนำมาเทียบดูในทักษา
๔) เมือ่ ถึงอายุ ๗๕ ปี ให้ดยู อ้ นกลับไปทีว่ ยั ปฐม

28
ตัวอย่างการนำดาวพระเคราะห์เจ้าเรือนของตนุเศษ มาวางเรียงลงในตรีวัยตามแผนผังที่แสดงไว้
จะเป็นดังนี้

ขัน้ ตอนต่อไปเป็นการลงรายละเอียดในส่วนของลัคนาทีส่ ถิต ณ จุดใดของดวงชะตา ซึง่ ประกอบด้วย


นวางศ์-ตรียางค์-ฤกษ์ ทัง้ ฤกษ์บนและฤกษ์ลา่ ง โดยการจดบันทึกลงในแบบฟอร์มให้เป็นทีเ่ รียบร้อยและถูกต้อง
ตามหลักเกณฑ์ โดยอ่านตามข้อมูลทีแ่ สดงอยูบ่ นแผ่นหมุนสำเร็จรูปแล้ว ดังนี้

ลัคนาสถิตราศีตุลย์ ธาตุลม นวางศ์ ๓ (อังคาร) ตรียางค์ ๖ (ศุกร์)


เสวยจิตรานักษัตร ประกอบด้วยเทศาตรีแห่งฤกษ์

29
ชือ่ -สกุล .........................................................................................
สูติกาล
สุรยิ ฃติกาลวันที่ .................. เดือน .................................. พ.ศ. .......................
เวลา ................................... น.

จันทรคติกาลตรงกับวัน ..............ฯ ............. ค่ำ ปี .................... จ.ศ. .......................


ลัคนาสถิตราศี ..................... ธาตุ ................... นวางศ์ ............... ตรียางค์ ..................
เสวย ................................ นักษัตร ประกอบด้วย ............................ แห่งฤกษ์

ดวงราศีจักร

สมผุสดาว บันทึกข้อความ
ดาว องศา ลิปดา









ทักษา ตรีวยั
ปฐมวัย ทุติยวัย ตติยวัย วัยเทียบ
๑ ๒ ๓
๖ ๔
๘ ๕ ๗

30

You might also like