You are on page 1of 297

ไทย

้าน
ื้นบ
ย์พ
เนื่องในโอกาสมหามงคลพระราชพิธีบรมราชาภิเษก พุทธศักราช ๒๕๖๒

พท
ะแ
รายการตำารับยาแผนไทยแห่งชาติ ฉบับเฉลิมพระเกียรติ

แล
ไทย
ผน
ย์แ
รแ พท
ากา
ัญญ
ภูมิป
ริม
่งเส
ล ะส

กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
องแ

เลขที่ ๘๘/๒๓ หมู่ ๔ ถนนติวานนท์ ตำาบลตลาดขวัญ อำาเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี ๑๑๐๐๐


คร

โทรศัพท์ : (+๖๖) 0-2149-5607


งคุ้ม

โทรสาร : (+๖๖) ๐-๒๕๙๑-1095


กอ

สนับสนุนการจัดพิมพ์โดย
กองทุนภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย
กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
ไทย
้าน
ื้นบ
ย์พ
พท
ะแ
แล
รายการตำ�รับยาแผนไทยแห่งชาติ
ไทย
ผน
ฉบับเฉลิมพระเกียรติ
ย์แ
พท

เนื่องในโอกาสมหามงคลพระราชพิธีบรมราชาภิเษก พุทธศักราช ๒๕๖๒


รแ
ากา

National Thai Traditional Medicine Formulary



ิปัญ

Special Edition
ภูม
ริม

To Commemorate the Auspicious Occasion


่งเส

of the Coronation of H.M. King Rama X, B.E.2562


ละส
องแ
คร
งคุ้ม
กอ

กระทรวงสาธารณสุข
โครงการคืนภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยให้แผ่นดิน
รายการตำ�รับยาแผนไทยแห่งชาติ ฉบับเฉลิมพระเกียรติ
เนื่องในโอกาสมหามงคลพระราชพิธีบรมราชาภิเษก พุทธศักราช ๒๕๖๒
National Thai Traditional Medicine Formulary (Special Edition)
ISBN : ๙๗๘-๖๑๖-๑๑-๔๐๗๔-๘

ที่ปรึกษา

ไทย
นายอนุทิน ชาญวีรกูล

้าน
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข

ื้นบ
นายแพทย์มรุต จิรเศรษฐสิร ิ

ย์พ
อธิบดีกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก

พท
นายแพทย์ปราโมทย์ เสถียรรัตน์

ะแ
แล
รองอธิบดีกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก

ไทย
นายแพทย์สรรพงศ์ ฤทธิรักษา

ผน
รองอธิบดีกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
ย์แ
ผู้จัดทำ�
พท

กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย
รแ

กองวิชาการและแผนงาน
ากา

สถาบันการแพทย์แผนไทย
ัญญ

พิมพ์ครั้งที่ ๑ กันยายน พ.ศ. ๒๕๖๒


ภ ูมิป
ริม

จำ�นวน ๑,๐๐๐ เล่ม


่งเส
ะส

จัดพิมพ์โดย

องแ

กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย
คร

กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
งคุ้ม

พิมพ์ท ี่
กอ

บริษัท สามเจริญพาณิชย์ (กรุงเทพ) จำ�กัด

สนับสนุนการจัดพิมพ์โดย
กองทุนภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย
กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
ไทย
้าน
ื้นบ
ย์พ
ตราสัญลักษณ์พระราชพิธีบรมราชาภิเษก พุทธศักราช ๒๕๖๒

พท
ะแ
ตราสั ญ ลั ก ษณ์ พ ระราชพิ ธี บ รมราชาภิ เ ษก พุ ท ธศั ก ราช ๒๕๖๒ ประกอบด้ ว ย อั ก ษร

แล
พระปรมาภิ ไ ธย วปร อยู ่ ต รงกลาง พื้ น อั ก ษรสี ข าวขอบเดิ น ทอง อั น เป็ น สี ข องวั น จั น ทร์ ซึ่ ง เป็ น

ไทย
วั น พระบรมราชสมภพ ภายในอั ก ษรประดั บ เพชร ตามความหมายแห่ ง พระนามมหาวชิ ร าลงกรณ
ผน
อักษร วปร อยู่บนพื้นสีขาบ (น�้ำเงินเข้ม) อันเป็นสีของขัตติยกษัตริย์ ภายในกรอบพุ่มข้าวบิณฑ์สีทองสอด
ย์แ
สี เขี ย ว อั น เป็ น สี ซึ่ ง เป็ น เดชแห่ ง วั น พระบรมราชสมภพ กรอบทองพุ ่ ม ข้ า วบิ ณ ฑ์ อั ญ เชิ ญ มาจาก
พท

กรอบที่ประดิษฐานพระมหาอุณาโลม อันเป็นพระราชลัญจกรประจ�ำพระองค์พระบาทสมเด็จพระพุทธ
รแ

ยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมกษัตริย์แห่งบรมราชจักรีวงศ์ แวดล้อมด้วยเครื่องเบญจราชกกุธภัณฑ์


ากา

อันเป็นเครื่องประกอบพระบรมราชอิสริยยศของพระมหากษัตริย์และเป็นเครื่องหมายแห่งความเป็น
ัญญ

สมเด็จพระบรมราชาธิราช ได้แก่ พระมหาพิชัยมงกุฎพร้อมอุณาโลมประกอบเลขมหามงคลประจ�ำรัชกาล


ูมิป

อยู่เบื้องบนพระแสงขรรค์ชัยศรีกับพระแส้จามรี ทอดไขว้อยู่เบื้องขวา ธารพระกรกับพัดวาลวิชนี ทอดไขว้


อยู่เบื้องซ้าย และฉลองพระบาทเชิงงอน อยู่เบื้องล่าง พระมหาพิชัยมงกุฎหมายถึงทรงรับพระราช


ริม

ภาระอันหนักยิ่งของแผ่นดินเพื่อประโยชน์สุขของประชาชน พระแสงขรรค์ชัยศรีหมายถึงทรงรับพระราช
่งเส

ภาระปกป้องแผ่นดินให้พ้นจากภยันตราย ธารพระกรหมายถึงทรงด�ำรงราชธรรมเพื่อค�้ำจุนบ้านเมือง
ะส

ให้ ผ าสุ ก มั่ น คง พระแส้ จ ามรี กั บ พั ด วาลวิ ช นี ห มายถึ ง ทรงขจั ด ปั ด เป่ า ความทุ ก ข์ ย ากเดื อ ดร้ อ นของ

องแ

อาณาประชาราษฎร์ ฉลองพระบาทเชิงงอนหมายถึงทรงท�ำนุบ�ำรุงปวงประชาทัว่ รัฐสีมาอาณาจักร เบือ้ งหลัง


คร

พระมหาพิชัยมงกุฎประดิษฐานพระมหาเศวตฉัตรอันมีระบายขลิบทอง จงกลยอดฉัตรประกอบรูปพรหม
งคุ้ม

พักตร์อันวิเศษสุด ระบายชั้นล่างสุดห้อยอุบะจ�ำปาทอง แสดงถึงพระบารมีและพระบรมเดชานุภาพ


ที่ปกแผ่ไปทั่วทิศานุทิศ เบื้องล่างกรอบอักษรพระปรมาภิไธยมีแถบแพรพื้นสีเขียวถนิมทอง ขอบขลิบทอง
กอ

มีอกั ษรสีทองความว่า “พระราชพิธบี รมราชาภิเษก พุทธศักราช ๒๕๖๒” ปลายแถบแพรเบือ้ งขวามีรปู คชสีห์


กายม่วงอ่อนประคองฉัตร ๗ ชั้น หมายถึงข้าราชการฝ่ายทหาร เบื้องซ้ายมีรูปราชสีห์กายขาวประคองฉัตร
๗ ชั้น หมายถึง ข้าราชการฝ่ายพลเรือน ผู้ปฏิบัติราชการสนองงานแผ่นดินอยู่ด้วยกัน ข้างคันฉัตรด้านใน
ทั้งสองข้างมีดอกลอยกนกนาค แสดงถึงปีมะโรงนักษัตรอันเป็นปีพระบรมราชสมภพ สีทองหมายถึง
ความเจริญรุ่งเรืองยิ่งของประเทศชาติและประชาชน
กอ
งคุ้ม
คร
องแ
ละส
่งเส
ริม
ภูมิป
ัญญ
ากา
รแ พท
ย์แ
ผน
ไทย
แล
ะแ
พท
ย์พ
ื้นบ
้าน
ไทย
คณะกรรมการอ�ำนวยการจัดท�ำต�ำรับยาแผนไทยแห่งชาติ
ประธานกรรมการ
นายอนุทิน ชาญวีรกูล รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข
รองประธานกรรมการ
นายแพทย์โสภณ เมฆธน ปลัดกระทรวงสาธารณสุข (พ.ศ. ๒๕๕๙-๒๕๖๐)
นายแพทย์เจษฎา โชคด�ำรงสุข ปลัดกระทรวงสาธารณสุข (พ.ศ. ๒๕๖๐-ปัจจุบัน)
นายแพทย์สุขุม กาญจนพิมาย ปลัดกระทรวงสาธารณสุข (พ.ศ. ๒๕๖๑-ปัจจุบัน)

ไทย
กรรมการ
ท่านผู้หญิงปรียา เกษมสันต์ ณ อยุธยา

้าน
ศาสตราจารย์ คุณหญิงแม้นมาส ชวลิต

ื้นบ
คุณจันทนี ธนรักษ์ กรมวังผู้ใหญ่ประจ�ำพระองค์และผู้ช่วยราชเลขานุการในพระองค์ ๙๐๔

ย์พ
พลเอก จรัล กุลละวณิชย์ ประธานกรรมการมูลนิธิเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้า

พท
เจ้าอยูห่ วั ในพระอุปถัมภ์ สมเด็จพระเจ้าพีน่ างเธอ เจ้าฟ้ากัลป์ยาณิวฒ
ั นา

ะแ
กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์

แล
นายพรชัย จุฑามาศ ประจ�ำส�ำนักพระราชวังพิเศษระดับ ๑๐

ไทย
โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (อพ.สธ.)
ผน
ศาสตราจารย์ชยันต์ พิเชียรสุนทร ราชบัณฑิต ประเภทวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ
ย์แ
สาขาวิชาเภสัชศาสตร์ ราชบัณฑิตยสภา
พท

นายชาตรี เจตนธรรมจักร ผู้ประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทย


รแ

แพทย์หญิงมยุรา กุสุมภ์ เลขานุการรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข


ากา

นายแพทย์พิเชฐ บัญญัติ นายกสภาการแพทย์แผนไทย (พ.ศ. ๒๕๖๐)


พลเรือเอกชาญชัย เจริญสุวรรณ นายกสภาการแพทย์แผนไทย (พ.ศ. ๒๕๖๑)
ัญญ

นายแพทย์โอภาส การย์กวินพงศ์ อธิบดีกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์


ูมิป

นายแพทย์สุริยะ วงศ์คงคาเทพ อธิบดีกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก


(พ.ศ. ๒๕๕๘-๒๕๕๙)
ริม

นายแพทย์สุเทพ วัชรปิยานันทน์ อธิบดีกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก


่งเส

(พ.ศ. ๒๕๕๙-๒๕๖๐)
ะส

นายแพทย์เกียรติภูมิ วงศ์รจิต อธิบดีกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก


(พ.ศ. ๒๕๖๐-ปัจจุบัน)
องแ

นายแพทย์มรุต จิรเศรษฐสิริ อธิบดีกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก


คร

(พ.ศ. ๒๕๖๑-ปัจจุบัน)
งคุ้ม

นายแพทย์ปราโมทย์ เสถียรรัตน์ รองอธิบดีกรมการแพทย์แผนไทยและ


การแพทย์ทางเลือก (พ.ศ. ๒๕๕๙-ปัจจุบัน)
กอ

นางสาวอัญชลี จูฑะพุทธิ ผู้อ�ำนวยการกองวิชาการและแผนงาน


นายแพทย์ขวัญชัย วิศิษฐานนท์ ผู้อ�ำนวยการสถาบันการแพทย์แผนไทย
นายนันทศักดิ์ โชติชนะเดชาวงศ์ ผู้อ�ำนวยการกองคุ้มครองภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย
(พ.ศ. ๒๕๕๖-๒๕๖๐)
นางเสาวณีย์ กุลสมบูรณ์ ผู้อ�ำนวยการกองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย
และแพทย์พื้นบ้านไทย (พ.ศ. ๒๕๖๐-ปัจจุบัน)
นายนันทศักดิ์ โชติชนะเดชาวงศ์ ผู้อ�ำนวยการกองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย
และแพทย์พื้นบ้านไทย (พ.ศ. ๒๕๖๑-ปัจจุบัน)
กอ
งคุ้ม
คร
องแ
ละส
่งเส
ริม
ภูมิป
ัญญ
สาร

ากา
รแ พท
ย์แ
ผน
ไทย
แล
ะแ
พท
ย์พ
ื้นบ
้าน
ไทย
กอ
งคุ้ม
คร
องแ
ละส
่งเส
ริม
ภูมิป
ัญญ
ากา
รแ พท
ย์แ
ผน
ไทย
แล
ะแ
พท
ย์พ
ื้นบ
้าน
ไทย
คำ�นำ�
กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ขับเคลื่อนภารกิจด้านการคุ้มครองและส่งเสริม
ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย ตามพระราชบัญญัติคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย
พ.ศ. ๒๕๔๒ ได้แบ่งภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย ๓ ประเภท ได้แก่ ต�ำรับยาแผนไทยของชาติหรือ
ต�ำราการแพทย์แผนไทยของชาติ ต�ำรับยาแผนไทยทั่วไปหรือต�ำราการแพทย์แผนไทยทั่วไป และต�ำรับยา

ไทย
แผนไทยส่วนบุคคลหรือต�ำราการแพทย์แผนไทยส่วนบุคคล โดยรัฐมนตรี ว่าการกระทรวงสาธารณสุข
ได้มีการประกาศคุ้มครองรายการต�ำรับยาแผนไทยในต�ำราการแพทย์แผนไทย ตามประกาศกระทรวง

้าน
สาธารณสุข เรื่อง การประกาศก�ำหนดต�ำราการแพทย์แผนไทยของชาติและต�ำรับยาแผนไทยของชาติ จ�ำนวน

ื้นบ
๒๓ ฉบับ ต�ำราการแพทย์แผนไทย ๔๑๔ รายการ ต�ำรับยาแผนไทย ๓๒,๗๕๘ ต�ำรับ และศิลาจารึก

ย์พ
๔๖๓ แผ่น จาก “ศิลาจารึกต�ำรายาวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธิ์)” เป็นต�ำราการแพทย์

พท
แผนไทยของชาติฉบับแรก และยังเป็นมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมอันทรงคุณค่า โดยองค์การศึกษาวิทยา

ะแ
ศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (UNESCO) ได้ประกาศรับรองขึ้นทะเบียนเป็นมรดกความทรงจ�ำ

แล
แห่งโลก (Memory of the World) เมื่อปี ๒๕๕๔

ไทย
นอกจากนี้ “ศิลาจารึกต�ำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร” ยังมีความส�ำคัญเนื่องจากเป็นต�ำรา
ผน
การแพทย์แผนไทย ๑ ใน ๔ รายการ ของต้นสาแหรกของต�ำราการแพทย์แผนไทยดั้งเดิม อีกทั้งมีความส�ำคัญ
ทางประวัติศาสตร์ กล่าวคือ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ ๓) เมื่อครั้นยังทรงด�ำรงพระราช
ย์แ
พท

อิสริยยศเป็นพระเจ้าลูกยาเธอกรมหมื่นเจษฎาบดินทร์ ทรงเป็นแม่ทัพคุมทหารไปตั้งทัพอยู่ เมืองกาญจนบุรี


พระองค์ได้เสด็จยาตราทัพออกจากกรุงเทพมหานคร เส้นทางยาตราทัพได้ผ่านคลองบางกอกใหญ่เข้าคลอง
รแ

ด่าน เมื่อเสด็จถึงวัดจอมทอง หรือ วัดราชโอรสารามราชวรวิหาร อันเป็นวัดโบราณก็เสด็จหยุดประทับแรม


ากา

ที่ ห น้ า วั ด และได้ ท รงกระท�ำพิ ธี เ บิ ก โขลนทวารตามลั ก ษณะพิ ชั ย สงคราม ณ ที่ วั ด นี้ ในพิ ธี ดั ง กล่ า วนี้
ัญญ

ได้ทรงอธิษฐานขอให้เสด็จไปราชการทัพคราวนี้หากประสบความส�ำเร็จ และเสด็จกลับมาโดยสวัสดิภาพ
ูมิป

จะสร้างวัดถวายให้ใหม่ ครัน้ เสด็จกลับถึงพระนครแล้ว ก็ทรงเริม่ ปฏิสงั ขรณ์วดั จอมทองใหม่ทงั้ หมด ได้เสด็จมา


ประทับคุมงานและตรวจตราการก่อสร้างด้วยพระองค์เอง แล้วถวายเป็นพระอารามหลวง ในส่วนที่เกี่ยวข้อง


ริม

กับการแพทย์แผนไทย พระองค์ได้ให้เหล่านักปราชญ์รวบรวมและคัดเลือกสรรพความรู้ด้านการแพทย์
่งเส

แผนไทยส่วนหนึ่ง มาจารึกประดับเป็นแผ่นหินอ่อนสีเทา รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสขนาดกว้างยาว ด้านละ ๓๓ เซนติเมตร


ะส

ติดประดับอยู่ที่ผนังด้านนอกของระเบียงพระวิหารพระพุทธไสยาสน์และผนังศาลารายหน้าพระอุโบสถ

องแ

วัดราชโอรสารามราชวรวิหาร ครั้นถึงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว (พ.ศ. ๒๓๖๗ - ๒๓๙๔)


ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้บูรณะปฏิสังขรณ์วัดโพธิ์ พร้อมทั้งขยายอาณาเขตพระอาราม ใช้เวลานาน
คร

ถึง ๑๖ ปี ๗ เดือน ในการนี้โปรดให้เหล่านักปราชญ์ ราชบัณฑิตในวิชาการสาขาต่างๆ ค้นคว้า รวบรวม ตรวจ


งคุ้ม

สอบและคั ด สรรต�ำราวิ ช าการต่ า ง ๆ ให้ ถู ก ต้ อ งจารึ ก ประดั บ ไว้ ใ นอาคารเขตพุ ท ธาวาส เพื่ อ เผยแพร่
กอ

ความรู้แก่ราษฎร วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรวิหาร (วัดโพธิ์) จึงเป็นแหล่งเรียนรู้ของปวงชน


ทีใ่ ฝ่หาความรูเ้ ปรียบเสมือนเป็น“มหาวิทยาลัยแห่งแรกของเมืองไทย” ทีร่ วมเอาภูมปิ ญ ั ญาไทยไว้เป็นมรดกให้
ลูกหลานไทยได้เรียนรู้ และเป็นมรดกแห่งภูมิปัญญาไทยให้คงอยู่คู่ประเทศไทย คณะรัฐมนตรีจึงได้มีมติ
เมื่อวันที่ ๑๖ มิถุนายน ๒๕๕๘ เห็นชอบการถวายพระราชสมัญญา “พระบิดาแห่งการแพทย์แผนไทย”
แด่พระบาทสมเด็จพระนัง่ เกล้าเจ้าอยูห่ วั พระมหาเจษฎาราชเจ้า และก�ำหนดให้วนั ที่ ๒๙ ตุลาคม ของทุกปี เป็น
“วันภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยแห่งชาติ”
กระทรวงสาธารณสุข มีนโยบายพัฒนาและก�ำหนดให้มีรายการต�ำรับยาแผนไทยแห่งชาติ
โดยมอบหมายให้กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ด�ำเนินการกลั่นกรอง วิเคราะห์ และ
คั ด เลื อ กต�ำรั บ ยาแผนไทยจากแหล่ ง ส�ำคั ญ ได้ แ ก่ ต�ำรั บ ยาจากต�ำราการแพทย์ แ ผนไทยของชาติ
ต�ำรับยาเกร็ด ต�ำรับยาจากบัญชียาจากสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งชาติและประกาศยาสามัญประจ�ำบ้าน
แผนโบราณ ต�ำรับยาจากแหล่งทั้งหลายเหล่านี้ได้ผ่านการพิจารณา กลั่นกรอง และคัดเลือกบนพื้นฐาน

ไทย
องค์ความรู้การแพทย์แผนไทย โดยอาศัยกลไกคณะท�ำงานกลั่นกรองต�ำรับยาแผนไทยแห่งชาติ ๓ ชุด และ

้าน
คณะอนุกรรมการจัดท�ำต�ำรับยาแผนไทยแห่งชาติ คณะกรรมการอ�ำนวยการจัดท�ำต�ำรับยาแผนไทย

ื้นบ
แห่ ง ชาติ และคณะกรรมการคุ ้ ม ครองและส่ ง เสริ ม ภู มิ ป ั ญ ญาการแพทย์ แ ผนไทย และประกาศเป็ น

ย์พ
“รายการต�ำรับยาแผนไทยแห่งชาติ (National Thai Traditional Medicine Formulary)”

พท
ด้วยเหตุผลและความส�ำคัญของหนังสือรายการต�ำรับยาแผนไทยแห่งชาติ ฉบับพุทธศักราช

ะแ
๒๕๖๒ เล่มนี้ ได้จัดพิมพ์เป็นปีที่สอง จ�ำนวน ๑๑๐ ต�ำรับ เพื่อน�ำไปเผยแพร่ใช้ประโยชน์และอ้างอิง

แล
ทางวิชาการ และเฉลิมพระเกียรติ เนื่องในโอกาสมหามงคลพระราชพิธีบรมราชาภิเษก พระบาทสมเด็จ

ไทย
พระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราลงกรณ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๑๐ ภายใต้โครงการ
คืนภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย ให้แผ่นดิน ของกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
ผน
กระทรวงสาธารณสุข ทั้งนี้ได้ผ่านการรับฟังความคิดเห็นเพื่อให้รายการต�ำรับยาแผนไทยแห่งชาติดังกล่าว
ย์แ
เป็นที่ยอมรับอย่างเป็นทางการให้ใช้ในการประกอบวิชาชีพและการเรียนการสอนแพทย์และเภสัชกรรม
พท

แผนไทยเป็นรายการยาในระบบบริการสุขภาพของประเทศ และในการผลิตยาแผนไทยในระดับอุตสาหกรรม
รแ

และสถานบริการสุขภาพ หวังเป็นอย่างยิ่งว่า ต�ำราเล่มนี้จะเป็นประโยชน์ในวงกว้างแก่ผู้ประกอบวิชาชีพ


ากา

ด้านการแพทย์แผนไทย บุคลากรด้านการแพทย์แผนไทยและสาธารณสุขต่อไป
ัญญ
ภ ูมิป
ริม
่งเส

นายแพทย์มรุต จิรเศรษฐสิริ
ะส

อธิบดีกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก

องแ
คร
งคุ้ม
กอ
คำ�แนะนำ�การใช้รายการตำ�รับยาแผนไทยแห่งชาติ

ข้อมูลที่ให้ในบท “ค�ำแนะน�ำการใช้รายการต�ำรับยาแผนไทยแห่งชาติ” นี้ มีวัตถุประสงค์


เพื่ อ อธิ บ ายที่ ม าของรายการต�ำรั บ ยาแผนไทยแห่ ง ชาติ รวมทั้ ง ความหมายของเนื้ อ หาในแต่ ล ะบท
แต่ละหัวข้อ และภาคผนวกของรายการต�ำรับยาแผนไทยแห่งชาติเล่มนี้

ไทย
ต�ำราเล่มนี้ คณะกรรมการอ�ำนวยการจัดท�ำต�ำรับยาแผนไทยแห่งชาติ รวมทั้งคณะอนุกรรมการ

้าน
และคณะท�ำงานที่เกี่ยวข้อง มุ่งหวังให้เป็น “รายการต�ำรับยาแห่งชาติ” หรือที่ภาษาอังกฤษเรียกว่า

ื้นบ
“National Formulary” ของต�ำรับยาแผนไทย จึงมีชื่อเรียกว่า “รายการต�ำรับยาแผนไทยแห่งชาติ

ย์พ
(National Thai Traditional Medicine Formulary)” ซึ่งเป็นเอกสารทางการที่รวบรวมต�ำรับ

พท
ยาแผนไทยจากแหล่งส�ำคัญ ๔ แหล่ง ได้แก่ ต�ำรับยาจากต�ำราการแพทย์แผนไทยต�ำรับยาเกร็ดทีผ่ ปู้ ระกอบ

ะแ
วิชาชีพการแพทย์แผนไทยยังนิยมใช้ปรุงยาให้แก่ผู้ป่วย ต�ำรับยาจากบัญชียาจากสมุนไพรในบัญชียาหลัก

แล
แห่งชาติ และประกาศยาสามัญประจ�ำบ้านแผนโบราณ ต�ำรับยาจากแหล่งเหล่านี้ได้ผ่านการพิจารณา

ไทย
กลั่นกรอง และคัดเลือกบนพื้นฐานองค์ความรู้การแพทย์แผนไทย โดยคณะท�ำงานกลั่นกรองต�ำรับยาแผน
ผน
ไทยแห่งชาติ ๓ ชุด และคณะอนุกรรมการจัดท�ำต�ำรับยาแผนไทยแห่งชาติ อันประกอบด้วยผูเ้ ชีย่ วชาญและ
ย์แ
ผู้ทรงคุณวุฒิด้านการแพทย์แผนไทย คณะกรรมการอ�ำนวยการจัดท�ำต�ำรับยาแผนไทยแห่งชาติ และ
พท

คณะกรรมการคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย รวมทั้งผ่านการท�ำประชาพิจารณ์เพื่อให้
รแ

รายการต�ำรับยาแผนไทยแห่งชาติเป็นที่ยอมรับอย่างเป็นทางการ น�ำไปใช้เป็นรายการยาในระบบบริการ
ากา

สุขภาพของประเทศ การประกอบวิชาชีพและการเรียนการสอนด้านการแพทย์และเภสัชกรรมแผนไทย
ัญญ

รวมทั้งการผลิตยาแผนไทยในระดับอุตสาหกรรม และในสถานบริการสุขภาพ
ูมิป

รายการต�ำรับยาแผนไทยแห่งชาติ เล่ม ๒ ประกอบด้วยต�ำรับยา ๑๑๐ ต�ำรับ ส�ำหรับ



ริม

กลุ่มโรค/อาการ ๗ กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มโรคเด็ก กลุ่มโรคลม กลุ่มอาการระบบทางเดินหายใจ กลุ่มไข้


่งเส

กลุ่มโรคริดสีดวง กลุ่มโรคกษัย และกลุ่มโรคผิวหนัง ซึ่งต�ำรับยาที่กลั่นกรองหรือคัดเลือกมานั้นยังไม่ใช่


ะส

รายการยาทั้งหมดส�ำหรับแต่ละกลุ่มโรค/อาการเหล่านี้ คณะท�ำงานฯ คณะอนุกรรมการฯ และคณะกรรมการฯ ที่


เกี่ยวข้องยังจะต้องพิจารณาแก้ไข ปรับปรุง เพิ่มเติมรายการต�ำรับยา รวมทั้งเพิ่มต�ำรับยาส�ำหรับ


องแ

กลุ่มโรค/อาการอื่น ๆ อย่างต่อเนื่องต่อไป
คร

ข้อมูลต�ำรับยาแผนไทยในรายการต�ำรับยาแผนไทยแห่งชาติเล่มนี้ ได้น�ำมาเรียบเรียงไว้ใน
งคุ้ม

รูปแบบที่เรียกว่า “มอโนกราฟ” (monograph) โดยมีความมุ่งหมายเพื่อให้ความรู้แก่แพทย์แผนไทยและ


กอ

นักศึกษาแพทย์แผนไทยที่สนใจเกี่ยวกับที่มาของต�ำรับยา สูตรต�ำรับ การปรุงยา สรรพคุณ ขนาดและ


วิธกี ารใช้ เป็นต้น เพือ่ ประโยชน์ในการน�ำไปใช้ปรุงยา สัง่ ยา หรือจ่ายยาให้แก่ผปู้ ว่ ยได้อย่างถูกต้อง ปลอดภัย
และมีประสิทธิผล มิใช่รายละเอียดของยาที่ระบุวิธีการตรวจวิเคราะห์หรือการควบคุมคุณภาพของต�ำรับยา
ในลักษณะของต�ำรามาตรฐานยาแผนไทย (Thai Traditional Preparation Pharmacopoeia)
ค�ำอธิบายความหมายของมอโนกราฟของต�ำรับยาแผนไทยแห่งชาติ
โครงสร้างของมอโนกราฟของต�ำรับยาแผนไทยแต่ละต�ำรับประกอบด้วย ชื่อต�ำรับยา ชื่ออื่น
(ถ้ามี) ที่มาของต�ำรับยา สูตรต�ำรับยา สรรพคุณ รูปแบบยา ขนาดและวิธีการใช้ รวมทั้ง ค�ำเตือน ข้อห้ามใช้
ข้อควรระวัง ข้อมูลเพิ่มเติม (ถ้ามี) และเอกสารอ้างอิง แต่ละหัวข้อมีรายละเอียดและความหมาย ดังนี้
ชื่อต�ำรับยา (Name of medicinal preparation)

ไทย
เป็นชื่อภาษาไทยของต�ำรับยาที่ระบุไว้ใน “ต�ำรายาแผนไทยแห่งชาติ” “บัญชียาจากสมุนไพร
ในบัญชียาหลักแห่งชาติ” หรือ “ประกาศยาสามัญประจ�ำบ้านแผนโบราณ” กรณีมีการสะกดชื่อยาหลาย

้าน
แบบหรือมีชื่อยาหลายชื่อ จะเลือกชื่อที่นิยมใช้มากที่สุด หรือใช้ค�ำที่นิยมเขียนหรือสะกดกันในปัจจุบันเป็น

ื้นบ
ชื่อต�ำรับยา เช่น ยามหาสดมภ์ ส่วนชื่อที่สะกดแบบอื่นจะเก็บไว้ในหัวข้อ “ชื่ออื่น” ในกรณีที่ในคัมภีร์ไม่ระบุ

ย์พ
ชื่อต�ำรับยา ได้ใช้วิธีน�ำชื่อโรคหรืออาการที่ต�ำรับยานั้นใช้แก้มาตั้งเป็นชื่อต�ำรับยา เช่น ยาแก้ตานซางและ

พท
ตานขโมย ยาแก้คอ แก้ไอ แก้อาเจียน แก้สะอึก

ะแ
แล
ชื่ออื่น (Other name)

ไทย
ยาบางต�ำรับ นอกเหนือจากชื่อที่ใช้เป็นชื่อต�ำรับยาแล้ว ยังมีชื่อเรียกอื่นอีกหลายชื่อ หรือมีวิธีการ
สะกดชื่อยาหลายแบบ ชื่อเหล่านั้น จะระบุไว้ในชื่ออื่น
ผน
ย์แ
ที่มาของต�ำรับยา (Source of origin)
พท

เป็นชื่อคัมภีร์หรือต�ำราดั้งเดิมที่เป็นต้นก�ำเนิดหรือแหล่งที่มาของต�ำรับยา พร้อมทั้งเลขหน้าหรือ
รแ

เลขที่แผ่นศิลาจารึกเพื่อการอ้างอิง และระบุข้อความเดิมเกี่ยวกับสูตรต�ำรับยานั้นไว้ด้วยอักษรตัวเอน
ากา

ในเครื่องหมายอัญประกาศ ในบางกรณียาต�ำรับหนึ่งอาจมีการระบุไว้ในต�ำรายามากกว่า ๑ เล่ม เช่น


ัญญ

ยาแก้ตานทราง ที่อยู่ในเวชศาสตร์ฉบับหลวงรัชกาลที่ ๕ กับยาแก้ทรางฝ้าย ที่อยู่ในแพทยศาสตร์สงเคราะห์


ูมิป

เล่ม ๑ พระยาพิศณุประสาทเวช ร.ศ. ๑๒๘ เป็นยาที่มีสูตรต�ำรับเหมือนกัน จึงระบุที่มาจากทั้ง ๒ แหล่ง



ริม

ส�ำหรับต�ำรับยาที่มาจาก “บัญชียาจากสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งชาติ” เนื่องจากบางต�ำรับได้มี


่งเส

การใช้เป็นยาสามัญประจ�ำบ้านแผนโบราณมาก่อนเป็นเวลานานหลายสิบปีและปรับปรุงสูตรต�ำรับไปบ้าง
ะส

ดังนั้น สูตรต�ำรับจึงอาจไม่ตรงกับต�ำรับยาในคัมภีร์หรือต�ำรายาดั้งเดิม เช่น น�้ำหนักของตัวยาบางตัวอาจ



องแ

ต่างไป ตัวยาบางตัวอาจหายไป หรือมีการเพิ่มตัวยาบางตัวขึ้นมา แต่ยังคงมีเค้าโครงของต�ำรับยาที่ใกล้เคียง


กับต�ำรับยาที่อยู่ในคัมภีร์หรือต�ำรายาดั้งเดิม ในกรณีเช่นนี้ได้น�ำต�ำรับยาจากคัมภีร์หรือต�ำรายาดั้งเดิมที่
คร

ใกล้เคียงกันนัน้ มาอ้างอิงไว้ในหัวข้อ “ทีม่ า” เพือ่ การศึกษาเปรียบเทียบ ส�ำหรับข้อมูลอืน่ ๆ ทีเ่ กีย่ วกับประวัตกิ าร


งคุ้ม

คัดเลือกเข้าสูบ่ ญ
ั ชียาสามัญประจ�ำบ้านแผนโบราณและบัญชียาหลักแห่งชาติได้น�ำไปกล่าวไว้ในหัวข้อ “ข้อมูล
กอ

เพิ่มเติม”
ส่วนต�ำรับยาที่มาจากเภสัชต�ำรับโรงพยาบาลที่อยู่ในบัญชียาจากสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งชาติ
ได้พยายามสืบค้นถึงที่มาให้ชัดเจนที่สุดเท่าที่จะท�ำได้ ว่าโรงพยาบาลใดพัฒนายาต�ำรับนี้เป็นแห่งแรกส�ำหรับ
ใช้เป็นเภสัชต�ำรับโรงพยาบาลจากสมุนไพร หรือผู้ใดเป็นผู้พัฒนาต�ำรับยานั้น ต�ำรับยาบางต�ำรับหมอพื้นบ้าน
เป็นผูพ้ ฒ
ั นาสูตรต�ำรับขึน้ ใช้รกั ษาผูป้ ว่ ยในชุมชนอย่างได้ผลดีมาก่อน หากผูบ้ ริหารโรงพยาบาลชุมชนใกล้เคียง
ยอมรับในประสิทธิผลและความปลอดภัย และหมอพื้นบ้านเจ้าของต�ำรับยาอนุญาต โรงพยาบาลก็สามารถน�ำ
ต�ำรั บ ยานั้ น มาเป็ น รายการยาในเภสั ช ต�ำรั บ โรงพยาบาล เพื่ อ ผลิ ต และใช้ กั บ ผู ้ ป ่ ว ยในโรงพยาบาล

ให้เกิดประโยชน์ในวงกว้างต่อไป คณะท�ำงานกลั่นกรองต�ำรับยาแผนไทยแห่งชาติจึงได้เสนอต�ำรับยาเหล่านี้
ให้คณะอนุกรรมการฯ และคณะกรรมการฯ ที่เกี่ยวข้องพิจารณาคัดเลือกเข้าในรายการต�ำรับยาแผนไทย
แห่งชาติ
สูตรต�ำรับยา (Medicinal preparation formula)

ไทย
เป็นรายละเอียดเกี่ยวกับสูตรและส่วนประกอบของต�ำรับยานั้น โดยระบุว่ามีตัวยา (ไม่ว่าจะเป็น

้าน
ื้นบ
พืชวัตถุ สัตว์วัตถุ หรือธาตุวัตถุ) รวมทั้งหมดกี่ชนิด น�้ำหนักรวมของตัวยาทั้งหมดกี่กรัม หรือทั้งหมดกี่ส่วนใน

ย์พ
กรณีที่สูตรต�ำรับระบุตัวยาเป็นส่วน จากนั้นจึงระบุรายละเอียดของตัวยาแต่ละชนิดและน�้ำหนักยา โดย
- ตัวยา (medicinal material, materia medica) คือ ชื่อเครื่องยาที่น�ำมาใช้ปรุงยา ไม่ใช่ชื่อ

พท

พืชสมุนไพรซึง่ เป็นทีม่ าของเครือ่ งยา ส�ำหรับข้อมูลตัวยาหรือเครือ่ งยาแต่ละชนิดว่ามีทมี่ าจากพืชสมุนไพรหรือ

ะแ
แล
สัตว์ทมี่ ชี อื่ วิทยาศาสตร์อย่างไร หรือมีชอ่ื เครือ่ งยาเป็นภาษาละตินซึง่ เป็นชือ่ สากลอย่างไร รวมทัง้ ส่วนทีใ่ ช้ของ

ไทย
พืชและสัตว์แต่ละชนิด ได้รวบรวมไว้ใน “ภาคผนวก ๑ เภสัชวัตถุ” หากมีการวงเล็บส่วนที่ใช้ก�ำกับไว้ท้าย
ตัวยา หมายถึง เป็นส่วนที่ใช้อื่นใด นอกเหนือที่มีการใช้กัน ผน
- น�้ำหนักยา (weight) ส่วนมากแสดงน�้ำหนักเป็นกรัมหรือเป็นส่วน มีบ้างที่ก�ำหนดน�้ำหนัก
ย์แ
หรือปริมาณเป็นก�ำมือ แว่น หัว (เต่านา) เป็นต้น หรือแสดงน�้ำหนักตัวยาเป็นหน่วยน�้ำหนักแบบไทย
พท

(ต�ำลึง บาท สลึง เฟื้อง ไพ) ซึ่งได้แปลงหน่วยน�้ำหนักแบบไทยในต�ำรายาให้เป็นกรัม โดยเทียบน�้ำหนักดังนี้


รแ
ากา

๑ ต�ำลึง เท่ากับ ๔ บาท เท่ากับ ๖๐ กรัม


๑ บาท เท่ากับ ๔ สลึง เท่ากับ ๑๕ กรัม
ัญญ

๑ สลึง เท่ากับ ๒ เฟื้อง เท่ากับ ๓.๗๕ กรัม


ูมิป

๑ เฟื้อง เท่ากับ ๔ ไพ เท่ากับ ๑.๘๗๕ กรัม



ริม

สรรพคุณ (Therapeutic use)


่งเส

คุณสมบัติในการแก้หรือบ�ำบัดรักษาโรคหรืออาการของต�ำรับยานั้นตามศาสตร์การแพทย์แผนไทย
ะส

หรือจากการรายงานการศึกษาวิจยั ทางคลินกิ ทีส่ นับสนุนข้อบ่งใช้ เช่น สรรพคุณบรรเทาอาการปวดประจ�ำเดือน



องแ

ของยาประสะไพล หรือสรรพคุณขับลม บรรเทาอาการท้องอืด ท้องเฟ้อของยาธาตุอบเชย ส�ำหรับความหมาย


ของสรรพคุณที่เป็นศัพท์การแพทย์แผนไทยนั้น ได้ให้ค�ำอธิบายศัพท์ไว้ใน “ภาคผนวก ๔ อภิธานศัพท์”
คร
งคุ้ม

รูปแบบยา (Dosage form)


กอ

ลักษณะทางกายภาพของผลิตภัณฑ์ยาต�ำรับนั้น ๆ เช่น เป็นยาต้ม ยาผง ยาลูกกลอน ยาเม็ด


ยาเม็ ด พิ ม พ์ ยาแคปซู ล ยาน�้ ำ มั น ยาประคบ บางต�ำรั บ ยามี รู ป แบบยาได้ ม ากกว่ า ๑ รู ป แบบ เช่ น
ยาผง ยาเม็ด ยาแคปซูล ส�ำหรับยาเม็ด ยาเม็ดพิมพ์ หรือยาลูกกลอน บางต�ำรับจะระบุขนาดน�้ำหนัก
ต่อเม็ดไว้ด้วย


ขนาดและวิธีใช้ (Dosage and administration)
ต�ำรับยาที่คัดเลือกจาก “บัญชียาจากสมุนไพรในบัญชียาหลักชาติ” หรือจาก “ประกาศยาสามัญ
ประจ�ำบ้านแผนโบราณ” ได้ระบุขนาดและวิธีใช้ไว้แล้วโดยละเอียดทุกต�ำรับ โดยระบุขนาดใช้ของยาเป็นระบบ
เมตริก คือ เป็นกรัม หรือมิลลิกรัม และยาน�้ำก�ำหนดปริมาตรเป็นมิลลิลิตร
ส่วนต�ำรับยาแผนไทยที่มาจากคัมภีร์และต�ำรายาแผนไทยของชาติต่าง ๆ มักไม่ได้ระบุขนาด
และวิธีใช้ไว้ การก�ำหนดขนาดและวิธีใช้เป็นเนื้อหาส่วนที่ยากที่สุดในการจัดท�ำรายการต�ำรับยาแผนไทย

ไทย
แห่งชาติของต�ำรับยากลุ่มนี้ จึงต้องอาศัยประสบการณ์การเตรียมยาและการสั่งใช้ยาของคณะท�ำงานฯ
คณะอนุกรรมการฯ ที่เป็นแพทย์แผนไทยผู้เชี่ยวชาญ ในการให้ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเพื่อก�ำหนดขนาด

้าน
และวิธีใช้ที่เหมาะสม โดยใช้วิธีระบุขนาดของยาเม็ด ยาเม็ดพิมพ์ หรือยาลูกกลอนเป็นมิลลิกรัมต่อเม็ด

ื้นบ
แล้วระบุขนาดใช้เป็นจ�ำนวนเม็ดส�ำหรับผู้ใหญ่และเด็ก โดยขนาดยาของเด็กจะลดลงเป็นสัดส่วนกับอายุ

ย์พ
ของเด็ก ถ้าเป็นยานำ�้ จะระบุเป็นจ�ำนวนช้อนชาหรือจ�ำนวนช้อนโต๊ะ โดยวงเล็บปริมาตรเป็นซีซหี รือมิลลิลติ รไว้

พท
ให้ด้วยเพื่อความสะดวกหากใช้ถ้วยตวงยา โดยคิดค�ำนวณว่า ๑ ช้อนชา เท่ากับ ๕ ซีซี (มิลลิลิตร)

ะแ
และ ๑ ช้อนโต๊ะ เท่ากับ ๑๕ ซีซี (มิลลิลิตร)

แล
ไทย
ข้อห้ามใช้ (Contraindication)
ข้ อ มู ล ที่ อ ธิ บ ายว่ า ต�ำรั บ ยานี้ ห ้ า มใช้ ใ นคนกลุ ่ ม ใด เพื่ อ ความปลอดภั ย ของผู ้ บ ริ โ ภค เช่ น
ผน
ยาประสะไพล ห้ามใช้ในหญิงตกเลือดหลังคลอด หญิงตั้งครรภ์ และผู้ที่มีไข้
ย์แ
พท

ค�ำเตือน (Warning)
รแ

ข้อความที่ผู้บริโภคและผู้ประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทยควรทราบก่อนการใช้หรือการสั่งใช้ยา
ากา

ต�ำรับนั้น หรือควรใช้ด้วยความระมัดระวังในผู้ป่วยกลุ่มใด เช่น ยาเขียวหอม ไม่แนะน�ำให้ใช้ในผู้ที่สงสัยว่าเป็น


ัญญ

ไข้เลือดออก เนื่องจากอาจบดบังอาการของไข้เลือดออก นอกจากนี้ ยังอธิบายเกี่ยวกับอาการไม่พึงประสงค์


(adverse drug reaction) ที่อาจเกิดขึ้นจากการใช้ต�ำรับยานั้น (ถ้ามี) รวมทั้งผลเสียต่อร่างกายที่อาจ
ูมิป

เกิดขึ้นจากปฏิสัมพันธ์ระหว่างต�ำรับยานั้นกับยาแผนปัจจุบันบางชนิดหากมีการใช้ร่วมกัน (herb-drug

ริม

interaction) หรือยาบางต�ำรับควรระวังการกินร่วมกับยาในกลุ่มสารกันเลือดเป็นลิ่ม (anticoagulant) และยา


่งเส

ต้ านการจับตัวของเกล็ดเลือด (antiplatelet) เพราะอาจเพิ่มความเสี่ยงของการเกิดเลือดออก (bleeding)


ล ะส

ข้อควรระวัง (Precaution)
องแ

ข้อความแจ้งเตือนเกีย่ วกับสิง่ ทีอ่ าจเกิดขึน้ ระหว่างการใช้ยาต�ำรับทีผ่ บู้ ริโภคหรือผูป้ ระกอบวิชาชีพ


คร

การแพทย์แผนไทยควรทราบ เช่น ต�ำรับยาที่มีการบูรเป็นส่วนประกอบ มีข้อควรระวังว่า “ควรระวังการใช้ยา


งคุ้ม

อย่างต่อเนือ่ ง โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในผูป้ ว่ ยทีม่ คี วามผิดปรกติของตับ ไต เนือ่ งจากอาจเกิดการสะสมของการบูร


กอ

และเกิดพิษได้”
ข้อมูลเพิ่มเติม (Additional information)
ข้อมูลเกี่ยวกับต�ำรับยาที่ควรทราบ เช่น ข้อมูลเกี่ยวกับที่มาของต�ำรับยา หรือการตัดตัวยาบางตัว
ออกจากสูตรต�ำรับดัง้ เดิมพร้อมทัง้ เหตุผล หรือเป็นข้อมูลเพิม่ เติมเกีย่ วกับโรคหรืออาการทีใ่ ช้ต�ำรับยานัน้ ในการ
บ�ำบัดรักษา ข้อมูลเกี่ยวกับปริมาณที่ท�ำให้เกิดพิษจากการกินการบูร หรือข้อมูลที่เกี่ยวกับต�ำรับยาที่มีกัญชา
เป็นส่วนผสม
เอกสารอ้างอิง (Reference)
การเขียนเอกสารอ้างอิงทั้งภาษาไทยและอังกฤษใช้หลักของแวนคูเวอร์ (Vancouver style)
แต่การใช้เครือ่ งหมายวรรคตอนของเอกสารอ้างอิงภาษาไทยใช้ตาม “หลักเกณฑ์การใช้เครือ่ งหมายวรรคตอน
และเครื่องหมายอื่น ๆ หลักเกณฑ์การเว้นวรรค หลักเกณฑ์การเขียนค�ำย่อ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พิมพ์ครั้ง
ที่ ๗ (แก้ไขเพิ่มเติม)”
อย่างไรก็ตาม ตัวยา สรรพคุณของต�ำรับยา ขนาดและวิธีใช้ที่ระบุในแต่ละต�ำรับยานั้น ไม่ได้

ไทย
หมายความว่าเป็นตัวยา สรรพคุณของต�ำรับยา ขนาดและวิธีใช้ที่ยอมรับในการขึ้นทะเบียนต�ำรับ การอ้างอิง

้าน
ตัวยา สรรพคุณของต�ำรับยา ขนาดและวิธีใช้เพื่อการขอขึ้นทะเบียนต�ำรับนั้น ให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติ

ื้นบ
ผลิตภัณฑ์สมุนไพร พ.ศ. ๒๕๖๒ พระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. ๒๕๒๒ และฉบับแก้ไขเพิ่มเติม

ย์พ
รวมทั้งกฎกระทรวง และประกาศที่เกี่ยวข้อง

พท
ภาคผนวกของรายการต�ำรับยาแผนไทยแห่งชาติ

ะแ
ตอนท้ายของรายการต�ำรับยาแผนไทยแห่งชาติ มีภาคผนวกอยู่ ๖ ภาคผนวก เพื่อให้ข้อมูลเพิ่มเติม

แล
แก่ผู้อ่านเกี่ยวกับตัวยาต่าง ๆ ที่ใช้ในต�ำรับยาทั้ง ๑๑๐ ต�ำรับ ได้แก่ เภสัชวัตถุ การเตรียมตัวยาก่อนใช้ปรุงยา

ไทย
วิธีการปรุงยา อภิธานศัพท์ด้านการแพทย์แผนไทยที่เกี่ยวข้องกับโรคและอาการต่าง ๆ ที่กล่าวถึงในต�ำรับยา
ผน
แผนไทยแห่งชาติ เล่ม ๒ และสมุฏฐานของโรคและอาการ มีรายละเอียดพอสังเขป ดังต่อไปนี้
ย์แ
พท

ภาคผนวก ๑ เภสัชวัตถุ (Medicinal material, Materia Medica)


รแ

เป็นภาคผนวกที่รวมตัวยาหรือเภสัชวัตถุ ทั้งพืชวัตถุ สัตว์วัตถุ และธาตุวัตถุทั้งหมดที่เป็นส่วน


ากา

ประกอบในต�ำรับยาทั้ง ๑๑๐ ต�ำรับ ในรูปของตาราง โดยแต่ละช่องจะให้ข้อมูลดังนี้


ัญญ

• ชื่อไทย (Thai title) หมายถึง ชื่อตัวยาที่ระบุในสูตรต�ำรับยา โดยเป็นชื่อที่เรียกหรือรู้จักเป็น


สากลในปัจจุบัน ซึ่งอาจแตกต่างจากชื่อที่ใช้เรียกหรือเขียนในเอกสารต้นฉบับเดิม โดยเรียงชื่อ
ูมิป

ตัวยาตามล�ำดับอักษรภาษาไทย ก-ฮ ในแบบพจนานุกรม



ริม

• ส่วนที่ใช้ (Part used) หมายถึง ส่วนของพืชสมุนไพรที่น�ำมาใช้เป็นตัวยา เช่น เหง้า ราก ใบ


่งเส

ดอก เกสร ผล เมล็ด ฯลฯ ทั้งนี้ ส่วนที่ใช้จะยึดตามหลักทางพฤกษศาสตร์ ไม่ใช่ชื่อที่เรียก


ะส

เครื่องยาตามต�ำรายาไทย เช่น ดีปลี ส่วนที่ใช้ คือ ช่อผล ไม่ใช่ดอก แม้ว่าในต�ำราการแพทย์



องแ

แผนไทยมักเรียกช่อผลที่มีสีแดงว่า ดอกดีปลี
ส�ำหรับตัวยาใดที่มีส่วนที่ใช้มากกว่า ๑ ส่วน และมีเครื่องหมายดอกจันทน์ “*” ก�ำกับไว้
คร

หมายความว่า เป็นส่วนที่ใช้ของตัวยา ที่แพทย์แผนไทยนิยมใช้กันโดยทั่วไป


งคุ้ม

• ชือ่ ละติน (latin title) เป็นชือ่ ตัวยาในภาษาละตินทีก่ �ำหนดให้มไี ว้เพือ่ ความเป็นสากล เนือ่ งจาก
กอ

ต�ำรายา (Pharmacopoeia) หรือรายการต�ำรับยาแห่งชาติ (National Formulary) ของหลาย


ประเทศและขององค์การอนามัยโลกก็ใช้ชอื่ ละตินเป็นชือ่ ทางการของตัวยาต่าง ๆ ในทีน่ เี้ พือ่ ความ
สะดวกในการสืบค้นชือ่ จึงได้น�ำส่วนทีใ่ ช้เป็นยา เป็นค�ำลงท้ายชือ่ แทนทีจ่ ะใช้เป็นค�ำน�ำหน้าเช่น
เดียวกับในต�ำราอ้างอิงยาสมุนไพรไทยของกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก

ศัพท์ภาษาละตินส�ำหรับส่วนต่าง ๆ ของพืชสมุนไพร ได้แก่
Herba (ทั้งต้น) Radix (ราก)
Rhizoma (เหง้า) Bulbus (หัว เช่น กระเทียม)
Cormus (หัว เช่น กระดาด) Lignum (แก่น)
Caulis (เถา) Cortex (เปลือกต้นหรือแก่น)

ไทย
Folium (ใบ) Flos (ดอก)
Stamen (เกสรเพศผู้) Stigma (ยอดเกสรเพศเมีย)

้าน
ื้นบ
Fructus (ผล ฝัก) Semen (เมล็ด)

ย์พ
Pulpa (เนื้อในฝักเมล็ด) Pericarpium (เปลือกผล ผิวผล เช่น ผิวมะกรูด)

พท
Aetheroleum (น�้ำมันระเหยง่าย) Exocarpium (เปลือกผล ผิวผล เช่น ผิวส้มโอ)
Extractum (สิ่งสกัดจากสมุนไพร) Resina (สารคัดหลั่ง ยาง)

ะแ
แล
Oleum (น�้ำมัน)

ไทย
ทั้งนี้ ชื่อละตินจะใช้ตามชื่อที่ปรากฏในต�ำรายาของต่างประเทศหากเป็นตัวยาสมุนไพรเดียวกัน
หรือใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ของสมุนไพรที่เป็นต้นก�ำเนิดของตัวยามาแปลงเป็นภาษาละติน ในกรณี
ผน
ที่ตัวยามาจากสมุนไพรได้หลายชนิด จะใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ของสมุนไพรหลักที่นิยมใช้มาแปลง
ย์แ
พท

เป็นชื่อละตินเพียง ๑ ชื่อเท่านั้น
• ชื่อวิทยาศาสตร์ (Scientific name) เป็นชื่อวิทยาศาสตร์ของสมุนไพรที่เป็นต้นก�ำเนิดของ
รแ
ากา

ตัวยา ประกอบด้วย ชือ่ สกุล (genus) เขียนด้วยตัวเอน ขึน้ ต้นด้วยอักษรตัวใหญ่ ตามด้วยค�ำระบุ


ชนิด (specific epithet) ซึ่งเขียนด้วยตัวเอนเช่นกัน ขึ้นต้นด้วยอักษรตัวเล็ก และชื่อผู้ตั้งชื่อ
ัญญ

(author’s name) ที่เขียนด้วยตัวอักษรปรกติ ขึ้นต้นด้วยอักษรตัวใหญ่ ทั้งนี้จะใช้ชื่อย่อตาม


ูมิป

ที่ก�ำหนดในหนังสือ Authors of Plant Names1 และฐานข้อมูล The Plantlist2 หากพืชสมุนไพร



ริม

ชนิดใดสามารถระบุพันธุ์ (variety) หรือพันธุ์ปลูก (cultivar) ได้ ก็จะระบุไว้หลังชื่อ โดยใช้


่งเส

ตัวย่อ var. หรือ cv. ตามด้วยชื่อพันธุ์หรือพันธุ์ปลูกตามล�ำดับ


ะส

ภาคผนวก ๒ การเตรียมตัวยาก่อนใช้ปรุงยา (Pre-preparation of crude drug)



องแ

เนื่องจากตัวยาบางชนิดมีฤทธิ์แรงเกินไปหรือมีพิษมาก อาจเป็นอันตรายต่อผู้ป่วยได้ หรือตัวยา


คร

บางชนิดอาจไม่สะอาด มีเชื้อโรคปนเปื้อน หรือมีความชื้นมากเกินไป ตัวยาเหล่านี้จึงต้องผ่านกระบวนการ


งคุ้ม

ประสะ สะตุ หรือ ฆ่าฤทธิ์ ก่อนน�ำมาใช้ปรุงยา เพือ่ ความปลอดภัยของผูบ้ ริโภค ภาคผนวกนีจ้ งึ น�ำเสนอข้อมูล
เกี่ยวกับการประสะ สะตุ หรือฆ่าฤทธิ์ของตัวยาบางชนิดก่อนน�ำไปใช้
กอ

ภาคผนวก ๓ วิธีการปรุงยา (Compounding of traditional medicinal preparation)


รายการต�ำรับยาแผนไทยแห่งชาติ เล่ม ๒ มีรูปแบบของยาเตรียมที่ส�ำคัญ ๒ ประเภท คือ
1. Brummit RK, Powell CE. Authors of plant names. London: Royal Botanic Gardens, Kew. 1992.
2. The Plant List (2013). Version 1.1. Published on the Internet; http://www.theplantlist.org/
(accessed 1st June 2019).
๑. รูปแบบยาเตรียมประเภทของเหลว (Liquid dosage form) ได้แก่ ยาต้ม ซึ่งเป็นรูปแบบ
ของการเตรียมยาแผนไทยที่นิยมใช้มากรูปแบบหนึ่ง มีวิธีการเตรียมยาต้ม ๕ วิธี ได้แก่
การต้มเดือด การต้มเคี่ยว การต้มสามเอาหนึ่ง การต้มยาในระดับอุตสาหกรรม และยาน�้ำมัน
ซึ่งได้อธิบายวิธีการเตรียมไว้โดยละเอียดในภาคผนวกนี้
๒. รูปแบบยาเตรียมประเภทของแข็ง (Solid dosage form) ซึ่งแบ่งเป็น ๙ รูปแบบ ได้แก่

ไทย
ยาผง ยาแคปซูล ยาเม็ดแบบพิมพ์ด้วยมือ ยาเม็ดแบบใช้เครื่องตอกยาเม็ด ยาลูกกลอน ยาพอก
ยาประคบ ยาชง และยาสด ซึ่งภาคผนวกนี้ได้อธิบายกระบวนการผลิตยาแต่ละรูปแบบ

้าน
โดยละเอียด รวมทั้งเครื่องมือหรืออุปกรณ์ที่ต้องใช้ในการผลิตยา ขั้นตอนการผลิต รวมทั้ง

ื้นบ
การควบคุมคุณภาพระหว่างการผลิต

ย์พ
พท
ภาคผนวก ๔ อภิธานศัพท์ (Glossary)

ะแ
ภาคผนวกนี้เป็นบัญชีค�ำศัพท์ท่ีเกี่ยวข้องกับการแพทย์แผนไทย โรคหรืออาการทางการแพทย์

แล
แผนไทย รวมทั้งศัพท์ทางเภสัชกรรมไทยที่กล่าวถึงในรายการต�ำรับยาแผนไทยแห่งชาติเล่ม ๒ นี้ เพื่อช่วยให้

ไทย
ผูอ้ า่ นได้ศกึ ษาเพิม่ เติมและท�ำความเข้าใจค�ำศัพท์ทเี่ ป็นภาษาไทยดัง้ เดิมทีใ่ ช้ในคัมภีรห์ รือต�ำราแพทย์แผนไทย
ผน
ของชาติด้วยการให้ความหมายเป็นภาษาไทยที่ใช้ในปัจจุบัน ความหมายของค�ำศัพท์เหล่านี้ ส่วนใหญ่
ย์แ
น�ำมาจาก “พจนานุกรมศัพท์แพทย์และเภสัชกรรมแผนไทย” ของกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์
พท

ทางเลือก ส่วนค�ำศัพท์ทย่ี งั ไม่มใี นพจนานุกรมดังกล่าว คณะท�ำงานฯ และคณะอนุกรรมการฯ ทีเ่ ป็นผูเ้ ชีย่ วชาญ
รแ

ด้านการแพทย์แผนไทยได้ร่วมกันพิจารณา ปรับแก้ เพื่อจัดท�ำความหมายของค�ำศัพท์เหล่านั้นขึ้น


ากา

ภาคผนวก ๕ สมุฏฐานของโรคและอาการ (Etiology of disease and symptom)


ัญญ

ภาคผนวกนี้ให้รายละเอียดเกี่ยวกับสมุฏฐานการเกิดโรคและอาการ ชนิดของโรค อาการของแต่ละ


ูมิป

กลุม่ โรคหรือกลุม่ อาการ ประเภทของยาส�ำหรับบ�ำบัดโรคหรืออาการนัน้ รวมทัง้ หลักการในการตัง้ ต�ำรับยาและ


ตัวยาส�ำคัญที่ใช้ส�ำหรับบ�ำบัดโรคหรืออาการดังกล่าว ทั้งนี้เพื่อเป็นพื้นฐานความรู้โดยสังเขปในการปรุงยาและ
ริม

ใช้ยาให้เหมาะกับโรคหรืออาการของผู้ป่วย
่งเส
ะส

ภาคผนวก ๖ คณะกรรมการ/คณะอนุกรรมการ/คณะท�ำงานที่เกี่ยวข้อง

องแ

ภาคผนวกนี้ เ ป็ น รายชื่ อ บุ ค คลที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การจั ด ท�ำรายการต�ำรั บ ยาแผนไทยแห่ ง ชาติ
ฉบับพุทธศักราช ๒๕๖๒ ประกอบด้วย คณะกรรมการคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย
คร

คณะอนุกรรมการจัดท�ำต�ำรับยาแผนไทยแห่งชาติ คณะท�ำงานกลั่นกรองต�ำรับยาแผนไทยแห่งชาติ (ชุดที่ ๑)


งคุ้ม

คณะท�ำงานกลั่นกรองต�ำรับยาแผนไทยแห่งชาติ (ชุดที่ ๒) คณะท�ำงานกลั่นกรองต�ำรับยาแผนไทยแห่งชาติ


กอ

(ชุดที่ ๓) และคณะท�ำงานจัดท�ำรูปเล่มบัญชีรายการต�ำรับยาแผนไทยแห่งชาติ ฉบับพุทธศักราช ๒๕๖๒


สารบัญตำ�รับยา
ชื่อต�ำรับยา หน้า

ยากษัยเส้น ๓

ไทย
ยาแก้กลากพรรนัย ๕

้าน
ยาแก้กลากเหล็ก ๗

ื้นบ
ยาแก้กษัยกล่อน สูตร ๑ ๙

ย์พ
ยาแก้กษัยกล่อน สูตร ๒ ๑๑

พท
ยาแก้กษัยดาน ๑๓

ะแ
ยาแก้กษัยเพื่อเตโชธาตุ ๑๔

แล
ไทย
ยาแก้ก�ำเดาให้ตามัวมืด ๑๕
ยาแก้ไข้ สูตร ๑ ผน ๑๖
ยาแก้ไข้ สูตร ๒ ๑๘
ย์แ
พท

ยาแก้ไข้ต่าง ๆ ๒๐
รแ

ยาแก้ไข้ทับระดูและระดูทับไข้ ๒๑
ากา

ยาแก้ไข้เพื่อเสมหะ ๒๒
ัญญ

ยาแก้ไข้สันนิบาต ๒๔
ูมิป

ยาแก้คอแห้งกระหายน�้ำ ๒๖

ยาแก้ซางขุมซางดอกหมาก ๒๗
ริม

ยาแก้ดากเด็ก ๒๘
่งเส

ยาแก้เด็กท้องขึ้น ๓๐
ล ะส

ยาแก้พยาธิโรคเรื้อน ๓๑
องแ

ยาแก้ลม สูตร ๑ ๓๓
คร

ยาแก้ลม สูตร ๒ ๓๕
งคุ้ม

ยาแก้ลมกล่อน แลลมพุทยักษ์ ราทยักษ์ ๓๖


กอ

ยาแก้ลมกล่อนให้จุก ๓๘
ยาแก้ลมทุนะยักษวาโย ๓๙
ยาแก้ลมปัตคาด ๔๑
ยาแก้ลมพาหุรวาโย ๔๓
ยาแก้ลมมหาสดมภ์ ๔๕
สารบัญตำ�รับยา (ต่อ)
ชื่อต�ำรับยา หน้า

ยาแก้ลมมหาสดมภ์ และลมอัมพาต ๔๖

ไทย
ยาแก้ลมสรรพวาระจักรโมละ ๔๗

้าน
ยาแก้ลมสันดาน สูตร ๑ ๔๙

ื้นบ
ยาแก้ลมสันดาน สูตร ๒ ๕๑

ย์พ
ยาแก้ลมเสียงแห้ง ๕๓

พท
ยาแก้ลมออกตามหูและตา ๕๔

ะแ
ยาแก้ลมอัมพฤกษ์ ๕๕

แล
ยาแก้ลมอัมพฤกษ์ อัมพาต สูตร ๑ ๕๗

ไทย
ยาแก้ลมอัมพฤกษ์ อัมพาต สูตร ๒ ผน ๕๙
ยาแก้สารพัดลม ๖๑
ย์แ
ยาแก้เส้นปัตคาด ๖๒
รแพท

ยาแก้หืด ๖๔
ากา

ยาแก้อัคนีจร ๖๕
ัญญ

ยาแก้ไอ ๖๖
ยาแก้ไอขับเสมหะ สูตร ๑ ๖๗
ภ ูมิป

ยาแก้ไอขับเสมหะ สูตร ๒ ๖๙
ริม

ยาแก้ไอคอแหบแห้ง ๗๑
่งเส

ยาแก้ไอผสมกานพลู ๗๒
ะส

ยาแก้ไอผสมมะนาวดอง ๗๓

องแ

ยาแก้ไอพื้นบ้านอีสาน ๗๔
คร

ยาเขียวเบ็ญจขันธ์ ๗๕
งคุ้ม

ยาเขียวพิกุลทอง ๗๖
กอ

ยาจันทน์สามโลก ๗๗
ยาจิตรวาโย ๗๘
ยาชุมนุมวาโย ๗๙
ยาดาวดึงษา ๘๒
ยาต้มแก้กษัยเส้น ๘๔


สารบัญตำ�รับยา (ต่อ)
ชื่อต�ำรับยา หน้า

ยาตรีผลา ๘๖

ไทย
ยาตัดก�ำลังไข้ ๘๘

้าน
ยาถ่ายไข้พิษพิษไข้กาฬ ๘๙

ื้นบ
ยาถ่ายลมถ่ายเสมหะในโรคกษัย สูตร ๑ ๙๐

ย์พ
ยาถ่ายลมถ่ายเสมหะในโรคกษัย สูตร ๒ ๙๒

พท
ยาถ่ายลมถ่ายเสมหะในโรคกษัย สูตร ๓ ๙๔

ะแ
ยาทาแก้เรื้อนกวาง ๙๕

แล
ยาทาแก้เรื้อนขี้นก ๙๗

ไทย
ยาทาแก้เรื้อนวิลา ผน ๙๙
ยาทาแก้โรคผิวหนัง ๑๐๑
ย์แ
ยาทาพระเส้น ๑๐๓
พท

ยาทิพดารา ๑๐๕
รแ
ากา

ยาทิภาวุธ ๑๐๗
ยาธรณีสัณฑะฆาต ๑๐๘
ัญญ

ยาธาตุเด็ก ๑๑๐
ูมิป

ยานารายณ์ประสิทธิ์ ๑๑๑

ริม

ยานารายณ์พังค่าย ๑๑๓
่งเส

ยาน�้ำมันช�ำระแผล ๑๑๕
ะส

ยาน�้ำมันมหาจักร ๑๑๗

องแ

ยาน�้ำมันสนั่นไตรภพ ๑๑๙
คร

ยาน�้ำมันสมานแผล ๑๒๑
งคุ้ม

ยาน�้ำมันสิทธิโยคี ๑๒๓
กอ

ยาบ�ำรุงธาตุหลังฟื้นไข้ ๑๒๕
ยาเบญจขันธ์ ๑๒๖
ยาประคบ ๑๒๘
ยาประคบคลายเส้น ๑๓๐
ยาประสะน�้ำมะนาว ๑๓๒


สารบัญตำ�รับยา (ต่อ)
ชื่อต�ำรับยา หน้า

ยาประสะพริกไทย ๑๓๔
ยาประสะสมอ ๑๓๖

ไทย
ยาปะโตลาทิคุณ ๑๓๘

้าน
ยาปัตคาดใหญ่ ๑๔๐

ื้นบ
ยาแปรไข้ ๑๔๓

ย์พ
ยาผสมโคคลาน ๑๔๕

พท
ยาผสมเถาวัลย์เปรียง ๑๔๖

ะแ
ยาผสมเพชรสังฆาต ๑๔๗

แล
ยาผักเป็ดแดง ๑๔๘

ไทย
ยาฝนแสนห่าสิงคาทิจร ผน ๑๕๐
ยาพระเป็นเจ้ามงกุฎลม ๑๕๑
ย์แ
ยาพระแสงจักร ๑๕๓
พท

ยาพัดในล�ำไส้ ๑๕๕
รแ
ากา

ยามหาก�ำลัง ๑๕๖
ัญญ

ยามหาไชยวาตะ ๑๕๗
ยาลมอันให้เย็นไปทั้งตัว ๑๕๙
ูมิป

ยาลุลม ๑๖๐

ริม

ยาวาตาธิจร ๑๖๑
่งเส

ยาวิรุณนาภี ๑๖๓
ะส

ยาสหัศธารา ๑๖๕

องแ

ยาส�ำหรับเด็ก ๑๖๘
คร

ยาสุมกระหม่อมเด็ก สูตร ๑ ๑๖๙


งคุ้ม

ยาสุมกระหม่อมเด็ก สูตร ๒ ๑๗๐


กอ

ยาสุมลมเจ็บสูง ๑๗๑
ยาเสมหะพินาศ ๑๗๒
ยาหทัยวาตาธิคุณ ๑๗๓
ยาหอมเบญโกฏ ๑๗๕
ยาอายุวัฒนะ ๑๗๗
ยาอินทจร ๑๗๙

กอ
งคุ้ม
คร
องแ
ละส
่งเส
ริม
ภูมิป
ัญญ
ากา
รแ พท
ย์แ
ผน
ไทย
แล
ะแ
พท
ย์พ
ื้นบ

1
้าน
ไทย
2
กอ
งคุ้ม
คร
องแ
ละส
่งเส
ริม
ภูมิป
ัญญ
ากา
รแ พท
ย์แ
ผน
ไทย
แล
ะแ
พท
ย์พ
ื้นบ
้าน
ไทย
ยากษัยเส้น
ที่มาของต�ำรับยา สูตรต�ำรับนี้โรงพยาบาลสูงเนิน จังหวัดนครราชสีมา เสนอเข้าสู่รายการบัญชียาหลัก
แห่งชาติ เป็นต�ำรับที่ตั้งขึ้นตามองค์ความรู้การแพทย์แผนไทย
สูตรต�ำรับยา ประกอบด้วยตัวยา ๒๙ ชนิด รวมน�้ำหนัก ๒๓๖ กรัม (๑) ดังนี้

ไทย
้าน
ตัวยา น�ำ้ หนักยา

ื้นบ
๔๐ กรัม

ย์พ
ดีปลี
๒๔ กรัม

พท
ชะพลู
ขิง ๒๐ กรัม

ะแ
๑๒ กรัม

แล
สะค้าน

ไทย
กระชาย ๑๐ กรัม
ก�ำลังวัวเถลิง ผน ๑๐ กรัม
โพคาน ๑๐ กรัม
ย์แ
๑๐ กรัม
พท

เถาวัลย์เปรียง
พริกไทย (เถา) ๑๐ กรัม
รแ
ากา

ไพล ๑๐ กรัม
ม้ากระทืบโรง ๑๐ กรัม
ัญญ

แสมสาร ๑๐ กรัม
ูมิป

เจตมูลเพลิงแดง ๘ กรัม

๖ กรัม
ริม

การบูร
่งเส

กระวาน ๔ กรัม
ะส

กะทือ ๔ กรัม

กานพลู ๔ กรัม
องแ

ชะเอมเทศ ๔ กรัม
คร

พริกไทยล่อน ๔ กรัม
งคุ้ม

ลูกจันทน์ ๔ กรัม
กอ

ว่านน�้ำ ๔ กรัม
อบเชยเทศ ๔ กรัม
โกฐน�้ำเต้า ๒ กรัม
ดอกจันทน์ ๒ กรัม
บัวหลวง ๒ กรัม

3
ตัวยา น�้ำหนักยา

บุนนาค ๒ กรัม
พิกุล ๒ กรัม
มะลิ ๒ กรัม
สารภี ๒ กรัม

ไทย
้าน
สรรพคุณ บรรเทาอาการปวดหลัง ปวดเอว ปวดเมื่อยตามร่างกาย (๑)

ื้นบ
รูปแบบยา ยาลูกกลอน (ดูภาคผนวก ๓.๕)

ย์พ
ขนาดและวิธีการใช้ กินครั้งละ ๗๕๐ มิลลิกรัม-๑ กรัม วันละ ๔ ครั้ง ก่อนอาหารและก่อนนอน (๑)

พท
ข้อห้ามใช้ ห้ามใช้กับหญิงตั้งครรภ์ หญิงให้นมบุตร และเด็กอายุต�่ำกว่า ๑๒ ขวบ (๑)

ะแ
ข้อควรระวัง - ควรระวังการใช้ยาในผู้ป่วยที่แพ้ละอองเกสรดอกไม้

แล
- ควรระวังการกินร่วมกับยาในกลุ่มสารกันเลือดเป็นลิ่ม (anticoagulant) และ

ไทย
ยาต้านการจับตัวของเกล็ดเลือด (antiplatelet)
ผน
- ควรระวังการใช้ยาอย่างต่อเนือ่ ง โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในผูป้ ว่ ยทีม่ คี วามผิดปรกติ
ย์แ
ของตับ ไต เนื่องจากอาจเกิดการสะสมของการบูรและเกิดพิษได้ (๑)
พท

อาการไม่พึงประสงค์ แสบร้อนยอดอก (๑)


รแ

ข้อมูลเพิ่มเติม - ตัวยาโคคลานตามสูตรต�ำรับในประกาศบัญชียาหลักแห่งชาติ (๑) คือ โพคาน


ากา

ที่ มี ชื่ อ พฤกษศาสตร์ ว ่ า Mallotus repandus (Willd.) Müll. Arg.


ัญญ

วงศ์ Euphorbiaceae
ูมิป

- ต�ำรับนี้มีการบูรเป็นส่วนประกอบร้อยละ ๒.๕๔ ในเม็ดยา ๑๐๐ มิลลิกรัม


จะมีการบูรอยู่ ๒.๕๔ มิลลิกรัม ปริมาณการบูรที่ได้รับใน ๑ มื้อ เท่ากับ ๒๕.๔


ริม

มิ ล ลิ ก รั ม ซึ่ ง ปริ ม าณที่ ท� ำ ให้ เ กิ ด พิ ษ จากการกิ น การบู ร เท่ า กั บ ๒ กรั ม


่งเส

โดยขนาดถึงตาย (lethal dose) ในผู้ใหญ่อยู่ที่ ๔,๐๐๐ มิลลิกรัม/มื้อ ในเด็กอยู่ที่


ะส

๕๐๐-๑,๐๐๐ มิลลิกรัม/มื้อ และในทารกอยู่ที่ ๗๐ มิลลิกรัม/กิโลกรัม/มื้อ (๒)



องแ

- การเตรียมตัวยาโกฐน�้ำเต้าก่อนน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก ๒.๕)


คร

เอกสารอ้างอิง
งคุ้ม

๑. ประกาศคณะกรรมการพัฒนาระบบยาแห่งชาติ เรื่อง บัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๑.


(๒๕๖๑, ๑๙ มกราคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม ๑๓๕ ตอนพิเศษ ๑๔ ง. หน้า ๔. (เอกสารแนบท้ายประกาศ
กอ

หน้า ๒๕๓).
๒. U.S. National Library of Medicine [Internet]. Hazardous Substance Database-
Camphor [updated 2014 Sep 9; cited 2019 May 28]. Available from: https://toxnet.nlm.nih.gov/
cgi-bin/sis/search2/r?dbs+hsdb:@term+@DOCNO+37.

4
ยาแก้กลากพรรนัย
ที่มาของต�ำรับยา ศิลาจารึกต�ำรายาวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธิ์) (๑, ๒)
“...๏ ปุนะจะปะรัง ในล�ำดับนี้จะกล่าวด้วยนัยอันหนึ่งใหม่ ว่าด้วยลักษณะกิลาสะโรคคือกลาก
นั้นต่อไป ตามอาจารย์ท่านกล่าวไว้ในวิธีกุฏฐโรคแจ้งวิตถารอยู่ในบั้นปลายโน้นต่างๆ จะคัดเอามาแจ้งไว้ใน

ไทย
ที่นี้แต่ ๔ จ�ำพวก พอบุคคลทั้งหลายพึงรู้โดยสังเขปเป็นแต่ละน้อย คือกลากพรรนัยจ�ำพวก ๑ คือกลากเหล็ก
จ�ำพวก ๑ คือเมถุนกลากจ�ำพวก ๑ คือกลากโอ่จ�ำพวก ๑อันว่าลักษณะกลากทั้ง ๔ จ�ำพวก ซึ่งกล่าวมานี้

้าน
บังเกิดเพื่อกรรมลามกพิบัติให้เป็นเหตุ แลจะได้ถึงซึ่งอันตรายแก่ชีวิตนั้นมิได้ โรคอันนี้เกิดแต่ผิวหนัง

ื้นบ
ตามอาจารย์กล่าวไว้ดงั นี้ ฯ ในทีน่ จี้ ะว่าแต่กลากพรรนัยนัน้ ก่อนเป็นปฐม เมือ่ จะบังเกิดนัน้ เป็นวงแล้วเป็นเม็ด

ย์พ
ขึน้ กลางวงแล้วก็ลามต่อๆ กันออกไปเต็มทัง้ กายเป็นขนนุงให้คนั เป็นก�ำลัง ถ้าแก่เข้า รักษามิหายก็กลายเป็น

พท
วงขดติดๆ กันไปก็มี บางทีเป็นแนวๆ ดุจดังไม้เรียวตีก็มี ถ้าจะรักษาเอาจุณขี้เหล็ก รากทองพันชั่ง

ะแ
รากเจตมูลเพลิง มะขามเปียก กระเทียมทอกเอาเสมอภาค บดทา แก้กิลาสะโรคคือโรคกลากพรรนัยนั้น

แล
ไทย
หายดีนัก ฯ …”
สูตรต�ำรับยา ประกอบด้วยตัวยา ๕ ชนิด รวมน�้ำหนัก ๕ ส่วน ดังนี้
ผน
ย์แ
พท

ตัวยา น�้ำหนักยา
รแ
ากา

กระเทียมทอก ๑ ส่วน
เจตมูลเพลิงแดง ๑ ส่วน
ัญญ

ทองพันชั่ง (ราก) ๑ ส่วน


ูมิป

จุณขี้เหล็ก ๑ ส่วน

ริม

มะขาม (เนื้อในฝัก) ๑ ส่วน


่งเส
ะส

สรรพคุณ แก้กลาก

องแ

รูปแบบยา ยาผง (ดูภาคผนวก ๓.๒)


ขนาดและวิธีการใช้ ผสมน�้ำต้มสุกหรือน�้ำมะขามเปียก ทาแผลวันละ ๒ ครั้ง เช้าและเย็น
คร

ค�ำเตือน เป็นยาใช้ภายนอกห้ามกิน
งคุ้ม

ข้อห้ามใช้ ห้ามใช้ในแผลติดเชื้อ แผลเน่าเปื่อยเรื้อรัง


กอ

ข้อมูลเพิ่มเติม - น�ำเนื้อมะขามไปย่างให้พอแห้ง แล้วบดเป็นผง


- การเตรียมตัวยาจุณขี้เหล็กก่อนน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก ๒.๑๖)

5
เอกสารอ้างอิง
๑. ส�ำนักคุม้ ครองภูมปิ ญ
ั ญาการแพทย์แผนไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์
ทางเลือก.ชุดต�ำราภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย ฉบับอนุรักษ์ ต�ำราการแพทย์แผนไทย ในศิลาจารึก
วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธิ์) เล่ม ๒. พิมพ์ครั้งที่ ๑. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์องค์การสงเคราะห์
ทหารผ่านศึกในพระบรมราชูปถัมภ์, ๒๕๕๗.
๒. ประกาศกําหนดตําราการแพทย์แผนไทยของชาติและตํารับยาแผนไทยของชาติ พ.ศ. ๒๕๕๘,

ไทย
(๒๕๕๘, ๓๐ พฤศจิกายน). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม ๑๓๒ ตอนพิเศษ ๓๑๗ ง.

้าน
ื้นบ
ย์พ
พท
ะแ
แล
ไทย
ผน
ย์แ
รแ พท
ากา
ัญญ
ภ ูมิป
ริม
่งเส
ล ะส
องแ
คร
งคุ้ม
กอ

6
ยาแก้กลากเหล็ก
ที่มาของต�ำรับยา ศิลาจารึกต�ำรายาวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธิ์) (๑, ๒)
“...ปุนะจะปะรัง ในล�ำดับนี้จะกล่าวด้วยอันหนึ่งใหม่ ว่าด้วยลักษณะกิลาสะโรค คือกลากเหล็ก
นั้น เป็นค�ำรบ ๒ เมื่อจะบังเกิดนั้นเกิดแต่ผิวหนังก�ำเริบก็ดี ผิวหนังหย่อนก็ดี ผิวหนังพิการก็ดีกล่าวคือ

ไทย
กองปัถวีธาตุให้เป็นเหตุ กระท�ำให้คันผิวเนื้อ และให้ผิวเนื้อนั้นชาสากไป แล้วก็ผุดขึ้นมาเป็นเม็ดรี เม็ดยาว
เม็ดกลม แลเป็นวง มีผิวอันด�ำดุจผิวเหล็ก กระท�ำให้คันเป็นก�ำลัง ยิ่งเกายิ่งคัน ครั้นหายคันแล้ว กระท�ำให้

้าน
แสบร้อน ต่อเสโทออกจึงคันอีกเล่า ถ้าบุคคลผู้ใดเป็นดังกล่าวมานี้ โลกสมมุติว่าเป็นชาติกรรมลามกโรคว่า

ื้นบ
โรคเกิดแต่กายอันไปบ่มิได้บริสุทธิ์ โดยอธิบายแห่งอาจารย์ว่าไว้ดังนี้ ฯ ถ้าแพทย์จะรักษาให้กระท�ำศรีรังษะ

ย์พ
วิถีเสียก่อน คือกระท�ำให้กายแลเครื่องอุปโภคบริโภคนั้นให้สุทธิแล้วจึงแต่งยากินยาทารักษาต่อไปโดยนัย

พท
ดังนี้ ฯ ยากินภายใน เอาเบญจเหล็กต้น เบญจเถาวัลย์เหล็ก เบญจพญามือเหล็ก เบญจชุมเห็ดเทศ

ะแ
สิ่งละ ๒ ต�ำลึง ๒ บาท ยาข้าวเย็นทั้งสอง หัวยั้ง ก�ำมะถัน หนอนตายหยาก สิ่งละ ๕ ต�ำลึง เอาสุราเป็น

แล
ไทย
กระสายต้มตามวิธีให้กินแก้กิลาสะโรค คือโรคกลากเหล็กนั้นหายวิเศษนัก ฯ ยาขนานนี้ได้ใช้มามากแล้ว
อย่าสนเท่ห์เลย ฯ…” ผน
ย์แ
สูตรต�ำรับยา ประกอบด้วยตัวยา ๙ ชนิด รวมน�้ำหนัก ๒,๑๐๐ กรัม ดังนี้
รแ พท

ตัวยา น�้ำหนักยา
ากา

ก�ำมะถันเหลือง ๓๐๐ กรัม


ัญญ

ข้าวเย็นใต้ ๓๐๐ กรัม


ูมิป

ข้าวเย็นเหนือ ๓๐๐ กรัม


ยั้ง ๓๐๐ กรัม


ริม

หนอนตายหยาก ๓๐๐ กรัม


่งเส

ขี้เหล็ก (ทั้ง ๕) ๑๕๐ กรัม


ะส

ชุมเห็ดเทศ ๑๕๐ กรัม



องแ

เถาวัลย์เหล็ก ๑๕๐ กรัม


คร

พญามือเหล็ก ๑๕๐ กรัม


งคุ้ม

สรรพคุณ แก้กลากเหล็ก (ผิวหนังเป็นปื้นสีดำ� มีอาการแสบร้อน คันตามผิวหนัง ผิวสากชา)


กอ

รูปแบบยา ยาต้มเดือด (ดูภาคผนวก ๓.๑.๑)


วิธีปรุงยา น�ำตัวยาคลุกเคล้ากับสุราก่อน แล้วจึงน�ำไปต้มตามวิธี
ขนาดและวิธีการใช้ ครั้งละ ๕๐-๑๕๐ มิลลิลิตร ดื่มวันละ ๒ ครั้ง ก่อนอาหาร เช้าและเย็น ให้ดื่มตามอาการ
ของโรคและก�ำลังของผู้ป่วย ดื่มขณะยายังอุ่นอยู่

7
ข้อควรระวัง ผู้ป่วยโรคหัวใจเนื่องจากมีแก่นพญามือเหล็กเป็นส่วนประกอบ
ข้อมูลเพิ่มเติม - ตัวยาก�ำมะถันเหลือง ควรใช้ในรูปแบบก้อน
- ผู้ทรงคุณวฒิ ที่มีประสบการณ์การใช้ยาต�ำรับนี้ ให้ระวังการใช้ยานี้ในผู้ป่วย
ที่มีประวัติแพ้ยา amoxicillin
- ยา ๑ หม้อ ใช้ติดต่อกัน ๕-๗ วัน โดยให้อุ่นน�้ำสมุนไพรทุกครั้งก่อนใช้ยา
- การเตรียมตัวยายั้งก่อนน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก ๒.๔๑)

ไทย
เอกสารอ้างอิง
๑. ส�ำนักคุ้มครองภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์

้าน
ื้นบ
ทางเลือก.ชุดต�ำราภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย ฉบับอนุรักษ์ ต�ำราการแพทย์แผนไทย ในศิลาจารึกวัด

ย์พ
พระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธิ์) เล่ม ๒. พิมพ์ครั้งที่ ๑. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์องค์การสงเคราะห์

พท
ทหารผ่านศึกในพระบรมราชูปถัมภ์, ๒๕๕๗.
๒. ประกาศกําหนดตําราการแพทย์แผนไทยของชาติและตํารับยาแผนไทยของชาติ พ.ศ. ๒๕๕๘,

ะแ
แล
(๒๕๕๘, ๓๐ พฤศจิกายน). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม ๑๓๒ ตอนพิเศษ ๓๑๗ ง.

ไทย
ผน
ย์แ
รแ พท
ากา
ัญญ
ภ ูมิป
ริม
่งเส
ล ะส
องแ
คร
งคุ้ม
กอ

8
ยาแก้กษัยกล่อน สูตร ๑
ที่มาของต�ำรับยา แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ เล่ม ๒ พระยาพิศณุประสาทเวช ร.ศ. ๑๒๖ (๑, ๒)
“ถ้าจะแก้ท่านให้เอา สค้าน ๑ ว่านน�้ำ ๑ ผักแพวแดง ๑ ยาด�ำ ๑ มหาหิงคุ์ ๑ โกฐสอ ๑
โกฐพุงปลา โกฐจุลาล�ำพา ๑ กันชา ๑ ชะเอมเทศ ๑ ดีปลี ๑ แก่นแสมทเล ๑ รากเจตมูลเพลิง ๑ หัวอุตพิด ๑

ไทย
หัวดองดึง ๑ ยาทั้งนี้เสอมภาค เอาพริกไทยเท่ายาทั้งหลาย ต�ำเปนผงละลายน�้ำผึ้งกินหนัก ๑ สลึง กินยานี้
๗ วันแล้วจึงกินยาทุเลาเสียครั้ง ๑ แล้วจึงท�ำยาขนานนี้กินต่อไปเถิด”

้าน
ื้นบ
สูตรต�ำรับยา ประกอบด้วยตัวยา ๑๖ ชนิด รวมน�้ำหนัก ๓๐ ส่วน ดังนี ้

ย์พ
ตัวยา น�้ำหนักยา

พท
ะแ
พริกไทย ๑๕ ส่วน

แล
กัญชา ๑ ส่วน

ไทย
โกฐจุฬาลัมพา ผน ๑ ส่วน
โกฐพุงปลา ๑ ส่วน
ย์แ
โกฐสอ ๑ ส่วน
พท

เจตมูลเพลิงแดง ๑ ส่วน
รแ

ชะเอมเทศ ๑ ส่วน
ากา

ดองดึง ๑ ส่วน
ัญญ

ดีปลี ๑ ส่วน
ูมิป

ผักแพวแดง ๑ ส่วน

มหาหิงคุ์ ๑ ส่วน
ริม

ยาด�ำ ๑ ส่วน
่งเส

ว่านน�้ำ ๑ ส่วน
ะส

สะค้าน ๑ ส่วน

องแ

แสมทะเล ๑ ส่วน
คร

อุตพิด ๑ ส่วน
งคุ้ม
กอ

สรรพคุณ แก้กษัยกล่อน
รูปแบบยา ยาลูกกลอน ขนาด ๓๐๐ มิลลิกรัม (ดูภาคผนวก ๓.๕)
ขนาดและวิธีการใช้ ครั้งละ ๓-๕ เม็ด กินวันละ ๒ ครั้ง ก่อนอาหารเช้าและเย็น
ข้อควรระวัง - ควรระวั ง การกิ น ร่ ว มกั บ ยาในกลุ ่ ม สารกั น เลื อ ดเป็ น ลิ่ ม (anticoagulant)
และยาต้านการจับตัวของเกล็ดเลือด (antiplatelets)

9
- ควรระวังการใช้ ร่วมกับยา phenyltoin propranolol theophylline และ
rifampicin เนื่องจากต�ำรับนี้มีพริกไทยในปริมาณสูง
- ควรระมัดระวังการใช้ในผู้สูงอายุ
ข้อห้ามใช้ ห้ามใช้ในหญิงตั้งครรภ์ ผู้ที่มีไข้ และเด็กอายุต�่ำกว่า ๑๒ ขวบ
ข้อมูลเพิ่มเติม - ต� ำ รั บ ยานี้ มี กั ญ ชาเป็ น ส่ ว นประกอบ จั ด เป็ น ยาเสพติ ด ให้ โ ทษประเภท ๕
ตามพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. ๒๕๒๒ และฉบับแก้ไขเพิ่มเติม การใช้ยา

ไทย
เสพติดให้โทษต�ำรับนี้ต้องอยู่ภายใต้การปรุงและสั่งจ่ายโดยผู้ประกอบวิชาชีพแพทย์
แผนไทยตามหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในประกาศกระทรวงสาธารณสุข

้าน
ื้นบ
- การเตรียมตัวยากัญชาก่อนน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก ๒.๓)

ย์พ
- การเตรียมตัวยาดองดึงก่อนน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก ๒.๑๐)

พท
- การเตรียมตัวยามหาหิงคุ์ก่อนน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก ๒.๑๘)
- การเตรียมตัวยายาด�ำก่อนน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก ๒.๒๓)

ะแ
แล
- การเตรียมตัวยาอุตพิดก่อนน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก ๒.๔๕)

ไทย
เอกสารอ้างอิง
๑. พิศณุประสาทเวช, พระยา. แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ เล่ม ๒. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ศุภการ
ผน
จ�ำรูญ ถนนอัษฏางค์, ร.ศ. ๑๒๖.
ย์แ
พท

๒. ประกาศกําหนดตําราการแพทย์ แ ผนไทยของชาติ แ ละตํารั บ ยาแผนไทยของชาติ


(ฉบับที่ ๑๓) พ.ศ. ๒๕๖๐, (๒๕๖๐, ๖ พฤศจิกายน). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม ๑๓๔ ตอนพิเศษ ๒๗๑ ง,
รแ
ากา

หน้า ๑.
ัญญ
ภ ูมิป
ริม
่งเส
ล ะส
องแ
คร
งคุ้ม
กอ

10
ยาแก้กษัยกล่อน สูตร ๒
ที่มาของต�ำรับยา แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ เล่ม ๒ พระยาพิศณุประสาทเวช ร.ศ. ๑๒๖ (๑, ๒)
“เอาผลจันทน์ ๑ ดอกจันทน์ ๑ กระวาน ๑ กานพลู ๑ สมุลแว้ง ๑ เทียนด�ำ ๑ ผักแพวแดง ๑
รากเจตมูลเพลิง ๑ ดีปลี ๑ ขิงแห้ง ๑ กะเทียม ๑ หัวบุก ๑ หัวกลอย ๑ หัวอุตพิด ๑ กระตาดทั้ง ๒ ยาทั้งนี้

ไทย
เอาสิ่งละบาท เอาพริกไทย ๕ ต�ำลึง การะบูร ๒ บาท ต�ำผงละลายน�ำ้ ผึ้งก็ได้ น�้ำร้อนก็ได้ น�้ำส้มสายชูก็ได้
กินหายแล”

้าน
ื้นบ
สูตรต�ำรับยา ประกอบด้วยตัวยา ๑๘ ชนิด รวมน�้ำหนัก ๕๗๐ ส่วน ดังนี ้

ย์พ
ตัวยา น�้ำหนักยา

พท
ะแ
พริกไทย ๓๐๐ กรัม

แล
การบูร ๓๐ กรัม

ไทย
กระดาดขาว ผน ๑๕ กรัม
กระดาดแดง ๑๕ กรัม
ย์แ
กระเทียม ๑๕ กรัม
พท

กระวาน ๑๕ กรัม
รแ

กลอย ๑๕ กรัม
ากา

กานพลู ๑๕ กรัม
ัญญ

ขิงแห้ง ๑๕ กรัม
ูมิป

เจตมูลเพลิงแดง ๑๕ กรัม

ดอกจันทน์ ๑๕ กรัม
ริม

ดีปลี ๑๕ กรัม
่งเส

เทียนด�ำ ๑๕ กรัม
ะส

บุก ๑๕ กรัม

องแ

ผักแพวแดง ๑๕ กรัม
คร

ลูกจันทน์ ๑๕ กรัม
งคุ้ม

สมุลแว้ง ๑๕ กรัม
อุตพิด ๑๕ กรัม
กอ

สรรพคุณ แก้กษัยกล่อน
รูปแบบยา ยาลูกกลอน ขนาด ๓๐๐ มิลลิกรัม (ดูภาคผนวก ๓.๕)
ขนาดและวิธีการใช้ ครั้งละ ๓-๕ เม็ด กินวันละ ๒ ครั้ง ก่อนอาหารเช้าและเย็น
ข้อห้ามใช้ ห้ามใช้ในหญิงตั้งครรภ์ ผู้ที่มีไข้ และเด็กอายุต�่ำกว่า ๑๒ ขวบ
11
ข้อควรระวัง - ควรระวังการกินร่วมกับยาในกลุ่มสารกันเลือดเป็นลิ่ม (anticoagulant) และ
ยาต้านการจับตัวของเกล็ดเลือด(antiplatelets)
- ควรระวังการใช้ ร่วมกับยา phenyltoin propranolol theophylline และ
rifampicin เนื่องจากต�ำรับนี้มีพริกไทยในปริมาณสูง
- ควรระมัดระวังการใช้ในผู้สูงอายุ
ข้อมูลเพิ่มเติม - ต� ำ รั บ นี้ มี ก ารบู ร เป็ น ส่ ว นประกอบร้ อ ยละ ๕.๒๖ ในยาเม็ ด ๓๐๐ มิ ล ลิ ก รั ม

ไทย
จะมีการบูรอยู่ ๑๕.๗๘ มิลลิกรัม ปริมาณการบูรทีไ่ ด้รบั ใน ๑ มือ้ เท่ากับ ๗๘.๙ มิลลิกรัม
ซึ่งปริมาณที่ท�ำให้เกิดพิษจากการกินการบูร เท่ากับ ๒ กรัม โดยขนาดถึงตาย

้าน
ื้นบ
(lethal dose) ในผูใ้ หญ่อยูท่ ี่ ๔,๐๐๐ มิลลิกรัม/มือ้ ในเด็กอยูท่ ี่ ๕๐๐-๑,๐๐๐ มิลลิกรัม/

ย์พ
มื้อ และในทารกอยู่ที่ ๗๐ มิลลิกรัม/กิโลกรัม/มื้อ (๓)

พท
- การเตรียมตัวยากลอยก่อนน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก ๒.๒)
- การเตรียมตัวยาอุตพิดก่อนน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก ๒.๔๕)

ะแ
แล
เอกสารอ้างอิง

ไทย
๑. พิศณุประสาทเวช, พระยา. แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ เล่ม ๒. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ศุภการ
จ�ำรูญถนนอัษฏางค์, ร.ศ. ๑๒๖. ผน
๒. ประกาศกําหนดตําราการแพทย์ แ ผนไทยของชาติ แ ละตํารั บ ยาแผนไทยของชาติ
ย์แ
พท

(ฉบับที่ ๑๓) พ.ศ. ๒๕๖๐, (๒๕๖๐, ๖ พฤศจิกายน). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม ๑๓๔ ตอนพิเศษ ๒๗๑ ง,
หน้า ๑.
รแ
ากา

๓. U.S. National Library of Medicine [Internet]. Hazardous Substance


Database-Camphor [updated 2014 Sep 9; cited 2019 May 28]. Available from: https://toxnet.
ัญญ

nlm.nih.gov/cgi-bin/sis/search2/r?dbs+hsdb:@term+@DOCNO+37.
ภ ูมิป
ริม
่งเส
ล ะส
องแ
คร
งคุ้ม
กอ

12
ยาแก้กษัยดาน
ที่มาของต�ำรับยา แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ เล่ม ๒ พระยาพิศณุประสาทเวช ร.ศ. ๑๒๖ (๑, ๒)
“ขนานหนึ่งเอา ตรีกฏุก มหาหิงคุ์ ๑ เจตพังคี ๑ สิ่งละ ๑ ส่วน สมอเทศ ๑ สมอไทย ๑ สิ่งละ
๓ ส่วน เทียนด�ำ ๔ ส่วน โกฐน�ำ้ เต้า ๖ ส่วน ต�ำเปนผงบดละลายน�ำ้ มะขามเปียกกินหนัก ๑ สลึง แก้ไกษย

ไทย
ดานหายวิเศษนัก”

้าน
สูตรต�ำรับยา ประกอบด้วยตัวยา ๙ ชนิด รวมน�้ำหนัก ๒๑ ส่วน ดังนี้

ื้นบ
ย์พ
ตัวยา น�้ำหนักยา

พท
โกฐน�้ำเต้า ๖ ส่วน

ะแ
เทียนด�ำ ๔ ส่วน

แล
ขิง ๑ ส่วน

ไทย
เจตพังคี ผน ๑ ส่วน
ดีปลี ๑ ส่วน
ย์แ
พริกไทย ๑ ส่วน
พท

มหาหิงคุ์ ๑ ส่วน
รแ

สมอเทศ (เนื้อผล) ๓ ส่วน


ากา

สมอไทย (เนื้อผล) ๓ ส่วน


ัญญ
ูมิป

สรรพคุณ เป็นยาถ่าย ขับลม ส�ำหรับผู้ป่วยโรคกษัยดาน



ริม

รูปแบบยา ยาผง (ดูภาคผนวก ๓.๒)


่งเส

วิธีปรุงยา บดเป็นผงละเอียด
ะส

ขนาดและวิธีการใช้ ครั้งละ ๑ สลึง (๓.๗๕ กรัม) ละลายน�้ำมะขามเปียก กินวันละ ๑ ครั้ง ก่อนนอน


ข้อมูลเพิ่มเติม - การเตรียมตัวยาโกฐน�้ำเต้าก่อนน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก ๒.๕)


องแ

- การเตรียมตัวยามหาหิงคุ์ก่อนน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก ๒.๑๘)


คร

เอกสารอ้างอิง
งคุ้ม

๑. พิศณุประสาทเวช, พระยา. แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ เล่ม ๒. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ศุภการ


กอ

จ�ำรูญ ถนนอัษฏางค์, ร.ศ. ๑๒๖.


๒. ประกาศกําหนดตําราการแพทย์แผนไทยของชาติและตํารับยาแผนไทยของชาติ (ฉบับที่ ๑๓)
พ.ศ. ๒๕๖๐, (๒๕๖๐, ๖ พฤศจิ ก ายน). ราชกิ จ จานุ เ บกษา. เล่ ม ๑๓๔ ตอนพิ เ ศษ ๒๗๑ ง,
หน้า ๑.

13
ยาแก้กษัยเพื่อเตโชธาตุ
ที่มาของต�ำรับยา แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ เล่ม ๒ พระยาพิศณุประสาทเวช ร.ศ. ๑๒๖ (๑, ๒)
“ไกษยอันหนึ่งมันเกิดเพื่อเตโชธาตุอันชื่อว่าสันตัปปัคคี มันให้เย็นทั่วตัว แต่ว่าให้ร้อนภายใน
เปนก�ำลัง มันตั้งขึ้นใต้สดือ ๓ นิ้ว มันให้จุกแดกมันให้ลั่นขึ้นลั่นลง ให้เสียดสีข้างจะพลิกตัวไปมามิได้ ประดุจ

ไทย
เปนปัตฆาฏให้เจ็บให้ปวดสีสะให้วิงเวียนหน้าตา ถ้าจะแก้ให้เอา ตรีผลา ๑ ดองดึง ๑ เทียนทั้ง ๕ เอาสิ่งละ
๑ บาท มหาหิงคุ์ ๒ สลึง กะเทียมเอาทั้งหัวรากใบเท่ายาทั้งหลาย ต�ำเปนผงละลายน�้ำผึ้งกินหาย”

้าน
ื้นบ
สูตรต�ำรับยา ประกอบด้วยตัวยา ๑๑ ชนิด รวมน�้ำหนัก ๒๘๕ กรัม ดังนี้

ย์พ
ตัวยา น�้ำหนักยา

พท
ะแ
กระเทียม (ทั้งต้น) ๑๔๒.๕ กรัม

แล
ดองดึง ๑๕ กรัม

ไทย
เทียนขาว ๑๕ กรัม
เทียนข้าวเปลือก
ผน ๑๕ กรัม
ย์แ
เทียนด�ำ ๑๕ กรัม
พท

เทียนแดง ๑๕ กรัม
รแ

เทียนตาตั๊กแตน ๑๕ กรัม
ากา

มะขามป้อม (เนื้อผล) ๑๕ กรัม


ัญญ

สมอไทย (เนื้อผล) ๑๕ กรัม


ูมิป

สมอพิเภก (เนื้อผล) ๑๕ กรัม


มหาหิงคุ์ ๗.๕ กรัม


ริม
่งเส

สรรพคุณ แก้กษัยอันเกิดจากเตโชธาตุ (สันตัปปัคคี) พิการ ที่ท�ำให้มีอาการจุกเสียด ปวดศีรษะ


ะส

วิงเวียน

องแ

รูปแบบยา ยาลูกกลอน ขนาด ๓๐๐ มิลลิกรัม (ดูภาคผนวก ๓.๕)


ขนาดและวิธีการใช้ ครั้งละ ๓-๕ เม็ด กินวันละ ๒ ครั้ง ก่อนอาหาร เช้าและเย็น
คร
งคุ้ม

ข้อมูลเพิ่มเติม - การเตรียมตัวยาดองดึงก่อนน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก ๒.๑๐)


- การเตรียมตัวยามหาหิงคุ์ก่อนน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก ๒.๑๘)
กอ

เอกสารอ้างอิง
๑. พิศณุประสาทเวช, พระยา. แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ เล่ม ๒. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ศุภการ
จ�ำรูญถนนอัษฏางค์, ร.ศ. ๑๒๖.
๒. ประกาศกําหนดตําราการแพทย์แผนไทยของชาติและตํารับยาแผนไทยของชาติ (ฉบับที่ ๑๓)
พ.ศ. ๒๕๖๐, (๒๕๖๐, ๖ พฤศจิกายน). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม ๑๓๔ ตอนพิเศษ ๒๗๑ ง, หน้า ๑.
14
ยาแก้ก�ำเดาให้ตามัวมืด
ที่มาของต�ำรับยา ต�ำรายาเกร็ด (๑)
“ขนานหนึ่งแก้ก�ำเดาให้ตามัวมืด เวียนศีรษะเจ็บกระบอกตาลมระคนก�ำเดา เอา มะกรูด ๓ ลูก
ไพล ๑ ต�ำลึง ต้มให้สุก เอา ดินประสิวขาว ๑ บาท หัวหอม ๑ ต�ำลึง ต�ำเคล้าส้มมะขามสุกสุม ๚”

ไทย
สูตรต�ำรับยา ประกอบด้วยตัวยา ๕ ชนิด รวมน�้ำหนัก ๔๗๐ กรัม ดังนี้

้าน
ตัวยา น�้ำหนักยา

ื้นบ
ย์พ
มะขาม (เนื้อในฝัก) ๒๓๕ กรัม

พท
มะกรูด (ผล) ๑๐๐ กรัม

ะแ
ไพล ๖๐ กรัม

แล
หอม ๖๐ กรัม

ไทย
ดินประสิว ผน ๑๕ กรัม
ย์แ
สรรพคุณ แก้ลมก�ำเดา ให้ตามัวมืด เวียนศีรษะเจ็บกระบอกตาลมระคนก�ำเดา
พท

รูปแบบยา ยาพอก (ดูภาคผนวก ๓.๗)


รแ

วิธีปรุงยา น�ำมะกรูดและไพลมาต้มให้สุก ส่วนดินประสิวขาวและหัวหอมน�ำมาต�ำพอหยาบ


ากา

จากนั้นน�ำยาทั้งหมดมาเคล้ากับมะขามเปียก
ัญญ

ขนาดและวิธีการใช้ พอกบริเวณศีรษะเมื่อมีอาการ
ูมิป

ข้อห้ามใช้ - เป็นยาใช้ภายนอก ห้ามกิน


- ห้ามใช้บริเวณผิวหนังที่มีบาดแผลหรือแผลเปิด
ริม

ข้อควรระวัง ระวังอย่าให้เข้าตา
่งเส

ข้อมูลเพิ่มเติม - ดินประสิวขาวที่ขายตามร้านขายยา ส่วนมากที่มีสีเหลือง ๆ ด�ำ ๆ แสดงว่ายังไม่


ะส

สะอาดพอ ต้องต้ม กรอง และตกผลึกอีกหลายๆ ครั้ง จนได้สีขาวสะอาด สรรพคุณ



องแ

ยาโบราณว่า ดินประสิวมีรสเค็มปร่า เย็น มีสรรพคุณขับลมทีค่ งั่ ค้างตามเส้น ถอนพิษ


ขับปัสสาวะ ใช้ภายนอกส�ำหรับทาแก้คันตามผิวหนัง (๓)
คร

- การเตรียมตัวยาดินประสิวก่อนน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก ๒.๑๑)


งคุ้ม

เอกสารอ้างอิง
กอ

๑. “ต�ำรายาเกร็ด”. หอสมุดแห่งชาติ. หนังสือสมุดไทยด�ำ. อักษรไทย. ภาษาไทย. เลขที่ ๒๗๓.


หมวดต�ำราเวชศาสตร์.
๒. ประกาศกําหนดตําราการแพทย์แผนไทยของชาติและตํารับยาแผนไทยของชาติ (ฉบับที่ ๑๐)
พ.ศ. ๒๕๖๐, (๒๕๖๐, ๒๕ พฤษภาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม ๑๓๔ ตอนพิเศษ ๑๔๑ ง, หน้า ๑-๔.
๓. ชยันต์ พิเชียรสุนทร, แม้นมาส ชวลิต, และ วิเชียร จีรวงส์. ค�ำอธิบายต�ำราพระโอสถพระนารายณ์
ฉบับเฉลิมพระเกียรติ ๗๒ พรรษามหาราชา ๕ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๕๕๒. พิมพ์ครั้งที่ ๓. กรุงเทพฯ :
ส�ำนักพิมพ์อมรินทร์. ๒๕๕๘ 15
ยาแก้ไข้ สูตร ๑
ที่มาของต�ำรับยา คัมภีร์แพทย์ไทยแผนโบราณ ขุนโสภิตบรรณลักษณ์ เล่ม ๑ (๑)
“ยาแก้ไข้ เอารากคนทา รากหญ้านาง รากเท้ายายม่อม รากชิงชี่ รากมะเดื่อชุมพร ลูกสมอ
ทั้ง ๓ ลูกมะขามป้อม แก่นขี้เหล็ก แก่นจันทน์ทั้ง ๒ เถาวัลย์เปรียง เอาสิ่งละ ๔ บาท บอระเพ็ด ลูกกระดอม

ไทย
เกษสรบัวหลวง ขมิ้นอ้อย เอาสิ่งละ ๒ บาท หญ้าแพรก ๑ ก�ำมือ หญ้าปากควาย ๑ ก�ำมือ ต้มกินเช้าเย็น
แก้ไข้ต่าง ๆ ไข้จับเชื่อมซึมดีนักแล”

้าน
ื้นบ
สูตรต�ำรับยา ประกอบด้วยตัวยา ๑๙ ชนิด รวมน�้ำหนัก ๙๓๐ กรัม ดังนี้

ย์พ
ตัวยา น�้ำหนักยา

พท
ะแ
กระดอม ๓๐ กรัม

แล
ขมิ้นอ้อย ๓๐ กรัม

ไทย
ขี้เหล็ก ๖๐ กรัม
คนทา
ผน ๖๐ กรัม
ย์แ
จันทน์ขาว ๖๐ กรัม
พท

จันทน์แดง ๖๐ กรัม
รแ

ชิงชี่ ๖๐ กรัม
ากา

เถาวัลย์เปรียง ๖๐ กรัม
ัญญ

บอระเพ็ด ๓๐ กรัม
ูมิป

บัวหลวง ๓๐ กรัม

มะขามป้อม ๖๐ กรัม
ริม

มะเดื่ออุทุมพร ๖๐ กรัม
่งเส

ไม้เท้ายายม่อม ๖๐ กรัม
ะส

สมอเทศ ๖๐ กรัม

องแ

สมอไทย ๖๐ กรัม
๖๐ กรัม
คร

สมอพิเภก
งคุ้ม

ย่านาง ๖๐ กรัม
หญ้าแพรก ๑๕ กรัม
กอ

หญ้าปากควาย ๑๕ กรัม

16
สรรพคุณ แก้ไข้ตา่ งๆ ไข้เชื่อมซึม
รูปแบบยา ยาต้มเดือด (ดูภาคผนวก ๓.๑.๑)
ขนาดและวิธีการใช้ ครั้งละ ๑๕๐ มิลลิลิตร ดื่มวันละ ๒ ครั้ง ก่อนอาหาร เช้าและเย็น ดื่มขณะยายังอุ่นอยู่
ข้อมูลเพิ่มเติม - ยา ๑ หม้อ ใช้ติดต่อกัน ๕-๗ วัน โดยให้อุ่นน�้ำสมุนไพรทุกครั้งก่อนใช้ยา
- การเตรียมตัวยาบอระเพ็ดก่อนน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก ๒.๑๓)
เอกสารอ้างอิง

ไทย
ขุนโสภิตบรรณลักษณ์ (อ�ำพัน กิตติขจร), คัมภีร์แพทย์ไทยแผนโบราณ เล่ม ๑. กรุงเทพฯ :
โรงพิมพ์อุตสาหกรรมการพิมพ์, ๒๕๐๔.

้าน
ื้นบ
ย์พ
พท
ะแ
แล
ไทย
ผน
ย์แ
รแ พท
ากา
ัญญ
ภ ูมิป
ริม
่งเส
ล ะส
องแ
คร
งคุ้ม
กอ

17
ยาแก้ไข้ สูตร ๒
ที่มาของต�ำรับยา คัมภีร์แพทย์ไทยแผนโบราณ ขุนโสภิตบรรณลักษณ์ เล่ม ๑ (๑)
“ยาแก้ไข้ เอารากเท้ายายม่อม รากคนทา รากมะเดื่อชุมพร รากชิงชี่ รากหญ้านาง หัวคร้า
จันทน์แดง จันทน์ขาว แกแร แก่นแสมสาร แก่นแสมทะเล รากก้างปลาทั้ง ๒ รากมะแว้งทั้ง ๒ รากหมาก

ไทย
รากตาล ฝาง รากครอบตลับ หัวแห้วหมู แก่นขนุน ดีปลี ลูกกระดอม เอาสิ่งละ ๔ บาท ก้านสะเดา ๓๓ ก้าน
ต้มกินเวลาเช้าเย็น แก้ไข้จับ ไข้พิษ แลไข้ทั้งปวง”

้าน
ื้นบ
สูตรต�ำรับยา ประกอบด้วยตัวยา ๒๔ ชนิด รวมน�้ำหนัก ๑,๓๘๐ กรัม*

ย์พ
ตัวยา น�้ำหนักยา

พท
ะแ
กระดอม ๖๐ กรัม

แล
ก้างปลาขาว ๖๐ กรัม

ไทย
ก้างปลาแดง ๖๐ กรัม
แกแล ผน ๖๐ กรัม
ย์แ
ขนุน ๖๐ กรัม
พท

คนทา ๖๐ กรัม
ครอบตลับ ๖๐ กรัม
รแ

คล้า ๖๐ กรัม
ากา

จันทน์ขาว ๖๐ กรัม
ัญญ

จันทน์แดง ๖๐ กรัม
ูมิป

ชิงชี่ ๖๐ กรัม

ดีปลี ๖๐ กรัม
ริม

ตาล ๖๐ กรัม
่งเส

ฝาง ๖๐ กรัม
ะส

มะเดื่ออุทุมพร ๖๐ กรัม

มะแว้งเครือ (ราก) ๖๐ กรัม


องแ

มะแว้งต้น ๖๐ กรัม
คร

ไม้เท้ายายม่อม ๖๐ กรัม
งคุ้ม

ย่านาง ๖๐ กรัม
๖๐ กรัม
กอ

แสมทะเล
แสมสาร ๖๐ กรัม
หมาก ๖๐ กรัม
แห้วหมู ๖๐ กรัม
สะเดา (ก้าน) ๓๓ กรัม
* ไม่รวมน�้ำหนัก ก้านสะเดา ๓๓ ก้าน
18
สรรพคุณ แก้ไข้ตัวร้อน และแก้ไข้พิษ
รูปแบบยา ยาต้มเดือด (ดูภาคผนวก ๓.๑.๑)
ขนาดและวิธีการใช้ ครั้งละ ๑๕๐ มิลลิลิตร ดื่มวันละ ๒ ครั้ง ก่อนอาหาร เช้าและเย็น ดื่มขณะยายังอุ่นอยู่
ข้อมูลเพิ่มเติม ยา ๑ หม้อ ใช้ติดต่อกัน ๕-๗ วัน โดยให้อุ่นน�้ำสมุนไพรทุกครั้งก่อนใช้ยา
เอกสารอ้างอิง
ขุนโสภิตบรรณลักษณ์ (อ�ำพัน กิตติขจร), คัมภีร์แพทย์ไทยแผนโบราณ เล่ม ๑. กรุงเทพฯ :

ไทย
โรงพิมพ์อุตสาหกรรมการพิมพ์, ๒๕๐๔.

้าน
ื้นบ
ย์พ
พท
ะแ
แล
ไทย
ผน
ย์แ
รแ พท
ากา
ัญญ
ภ ูมิป
ริม
่งเส
ล ะส
องแ
คร
งคุ้ม
กอ

19
ยาแก้ไข้ต่าง ๆ
ที่มาของต�ำรับยา คัมภีร์แพทย์ไทยแผนโบราณ ขุนโสภิตบรรณลักษณ์ เล่ม ๑ (๑)
“ยาแก้ไข้ต่างๆ เอาผักกระโฉม ใบอังกาบ ใบทองพันชั่ง ใบพิมเสน ใบเงิน ใบทอง ใบหมากทั้ง
๒ จันทน์ทั้ง ๒ ใบสันพร้าหอม โกฎหัวบัว บดปั้นแท่ง ละลายน�ำ้ ซาวข้าวกินแลชะโลม”

ไทย
สูตรต�ำรับยา ประกอบด้วยตัวยา ๑๒ ชนิด รวมน�้ำหนัก ๑๒ ส่วน ดังนี้

้าน
ื้นบ
ตัวยา น�้ำหนักยา

ย์พ
โกฐหัวบัว ๑ ส่วน

พท
จันทน์ขาว ๑ ส่วน

ะแ
จันทน์แดง ๑ ส่วน

แล
๑ ส่วน

ไทย
ทองพันชั่ง (ใบ)
ใบเงิน ผน ๑ ส่วน
ใบทอง ๑ ส่วน
ย์แ
ผักกระโฉม ๑ ส่วน
พท

พิมเสนต้น ๑ ส่วน
รแ

สันพร้าหอม ๑ ส่วน
ากา

หมากผู้ ๑ ส่วน
ัญญ

หมากเมีย ๑ ส่วน
ูมิป

อังกาบ ๑ ส่วน

ริม
่งเส

สรรพคุณ แก้ไข้ตัวร้อน
ะส

รูปแบบยา ยาเม็ดพิมพ์ ขนาด ๓๐๐ มิลลิกรัม (ดูภาคผนวก ๓.๔.๑)


ขนาดและวิธีการใช้ ครั้งละ ๒-๔ เม็ด ละลายน�้ำซาวข้าว ทั้งกินและชโลม วันละ ๓ ครั้ง ก่อนอาหาร


องแ

เช้า กลางวันและเย็น
คร

เอกสารอ้างอิง
งคุ้ม

ขุนโสภิตบรรณลักษณ์ (อ�ำพัน กิตติขจร), คัมภีร์แพทย์ไทยแผนโบราณ เล่ม ๑. กรุงเทพฯ :


กอ

โรงพิมพ์อุตสาหกรรมการพิมพ์, ๒๕๐๔.

20
ยาแก้ไข้ทับระดูและระดูทับไข้
ชื่ออื่น ยาแก้ไข้ทับระดูแลระดูทับไข้
ที่มาของต�ำรับยา คัมภีร์แพทย์ไทยแผนโบราณ ขุนโสภิตบรรณลักษณ์ เล่ม ๑ (๑)
“ยาแก้ไข้ทับระดูแลระดูทับไข้ เอาหญ้าเขียวพระอินทร์ ยาเข้าเย็น ชะเอม ต้มกิน หญ้าเขียว

ไทย
พระอินทร์นั้นคือหญ้าใต้ใบชนิดเขียว เอามัด ๓ เปราะตัดหัวตัดท้าย กินครั้งหนึ่งแก้ตอก ๑ เปราะทุกครั้งไป”

้าน
สูตรต�ำรับยา ประกอบด้วยตัวยา ๔ ชนิด รวมน�้ำหนัก ๒๔๐ กรัม ดังนี้

ื้นบ
ย์พ
ตัวยา น�ำ้ หนักยา

พท
ข้าวเย็นใต้ ๖๐ กรัม

ะแ
๖๐ กรัม

แล
ข้าวเย็นเหนือ

ไทย
ชะเอมไทย (ราก) ๖๐ กรัม
หญ้าใต้ใบ (ชนิดเขียว) ผน ๖๐ กรัม
ย์แ
พท

สรรพคุณ แก้ไข้ทับระดูและระดูทับไข้
รูปแบบยา ยาต้มเดือด (ดูภาคผนวก ๓.๑.๑)
รแ
ากา

ขนาดและวิธีการใช้ ครั้งละ ๑๕๐ มิลลิลิตร ดื่มวันละ ๓ ครั้ง ก่อนอาหาร เช้า กลางวัน และเย็น
ดื่มขณะยายังอุ่นอยู่
ัญญ

ข้อมูลเพิ่มเติม ยา ๑ หม้อ ใช้ติดต่อกัน ๕-๗ วัน โดยให้อุ่นน�้ำสมุนไพรทุกครั้งก่อนใช้ยา


ูมิป

เอกสารอ้างอิง

ริม

ขุนโสภิตบรรณลักษณ์ (อ�ำพัน กิตติขจร), คัมภีร์แพทย์ไทยแผนโบราณ เล่ม ๑. กรุงเทพฯ :


่งเส

โรงพิมพ์อุตสาหกรรมการพิมพ์, ๒๕๐๔.
ล ะส
องแ
คร
งคุ้ม
กอ

21
ยาแก้ไข้เพื่อเสมหะ
ที่มาของต�ำรับยา ศิลาจารึกต�ำรายาวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธิ์) (๑, ๒)
“สิทธิการิยะ จะกล่าวลักษณะสมุฏฐาน ๔ ประการนัน้ คือ เสมหะสมุฏฐาน ปิตตะสมุฏฐาน วาตะ
สมุฏฐาน สันนิปาตะสมุฏฐาน นั้นก่อนเป็นอาทิ ให้แพทย์ทั้งหลายพึงรู้โดยสังเขปอันนี้อยู่ในคัมภีร์สมุฏฐาน

ไทย
วินิจฉัยโน้นเสร็จแล้ว ฯ ในล�ำดับนี้ จะแสดงลักษณะเสมหะสมุฏฐานเป็นปฐม คือย�่ำรุ่งแล้วไปจน ๔ โมงเช้า
เป็นอ�ำเภอแห่งเสมหะสมุฏฐาน มีอาการกระท�ำให้ตวั ร้อนตัวเย็นให้ขนลุกขนพอง บางทีให้เสโทตก ให้กลัดอก บางที

้าน
ให้หลับเชื่อมมัว แล้วให้เป็นหวัดแลไอ ให้เบื่ออาหาร ให้สวิงสวายโทษอันนี้เกิดแต่กองเสมหะสมุฏฐาน ฯ

ื้นบ
ถ้าจะแก้เอา รากสะเดาต้น รากมะตูม บอระเพ็ด รากจวง เปราะหอม รากสะเดาดิน จุกโรหินี

ย์พ
ดีปลี ว่านน�้ำ รากมะแว้ง เสมอภาคต้มก็ได้ ท�ำเป็นจุณก็ได้ บดท�ำแท่งไว้ละลายน�ำ้ ขิงต้มก็ได้ น�้ำมะขามป้อม

พท
ต้มก็ได้ กินแก้เสมหะสมุฏฐานโรคนั้นหาย ฯ”

ะแ
แล
สูตรต�ำรับยา ประกอบด้วยตัวยา ๑๐ ชนิด รวมน�้ำหนัก ๑๐ ส่วน ดังนี้

ไทย
ตัวยา ผน น�้ำหนักยา
ย์แ
จวง ๑ ส่วน
พท

จุกโรหินี ๑ ส่วน
รแ

ดีปลี ๑ ส่วน
ากา

บอระเพ็ด ๑ ส่วน
ัญญ

เปราะหอม ๑ ส่วน
ูมิป

มะตูม (ราก) ๑ ส่วน


มะแว้งต้น ๑ ส่วน
ริม

ว่านน�้ำ ๑ ส่วน
่งเส

สะเดา (ราก) ๑ ส่วน


ะส

สะเดาดิน ๑ ส่วน

องแ

สรรพคุณ แก้ไข้เพื่อเสมหะ
คร
งคุ้ม

รูปแบบยา ยาต้มเดือด (ดูภาคผนวก ๓.๑.๑), ยาเม็ดพิมพ์ ขนาด ๓๐๐ มิลลิกรัม


(ดูภาคผนวก ๓.๔.๑)
กอ

ขนาดและวิธีการใช้ ยาต้ม ครั้งละ ๑๐๐-๑๕๐ มิลลิลิตร ดื่มวันละ ๓ ครั้ง ก่อนอาหารเช้า กลางวันและเย็น


ดื่มขณะยายังอุ่นอยู่
ยาเม็ดพิมพ์ ครั้งละ ๒-๔ เม็ด ละลายน�้ำขิงหรือน�้ำมะขามป้อม กินวันละ ๓ ครั้ง
ก่อนอาหาร เช้า กลางวันและเย็น

22
ข้อมูลเพิ่มเติม - ยา ๑ หม้อ ใช้ติดต่อกัน ๕-๗ วัน โดยให้อุ่นน�้ำสมุนไพรทุกครั้งก่อนใช้ยา
- การเตรียมตัวยาบอระเพ็ดก่อนน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก ๒.๑๓)
เอกสารอ้างอิง
๑. ส�ำนักคุ้มครองภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์
ทางเลือก. ชุดต�ำราภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย ฉบับอนุรักษ์ ต�ำราการแพทย์แผนไทยในศิลาจารึกวัด
พระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธิ์) เล่ม ๒. พิมพ์ครั้งที่ ๑. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์องค์การสงเคราะห์

ไทย
ทหารผ่านศึกในพระบรมราชูปภัมภ์. ๒๕๕๗.
๒. ประกาศกําหนดตําราการแพทย์แผนไทยของชาติและตํารับยาแผนไทยของชาติ พ.ศ. ๒๕๕๘,

้าน
ื้นบ
(๒๕๕๘, ๓๐ พฤศจิกายน). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม ๑๓๒ ตอนพิเศษ ๓๑๗ ง.

ย์พ
พท
ะแ
แล
ไทย
ผน
ย์แ
รแ พท
ากา
ัญญ
ภ ูมิป
ริม
่งเส
ล ะส
องแ
คร
งคุ้ม
กอ

23
ยาแก้ไข้สันนิบาต
ที่มาของต�ำรับยา คัมภีร์แพทย์ไทยแผนโบราณ ขุนโสภิตบรรณลักษณ์ เล่ม ๑ (๑)
“ยาแก้ไข้สันนิบาต เอาลูกสมอทั้ง ๓ ลูกจันทน์ ดอกจันทน์ แก่นสน แก่นจันทน์ทั้ง ๒ ก�ำยาน
แก่นไม้สัก แก่นขี้เหล็ก แก่นมหาด กระเทียม พริกไทย ขิง ข่า ขี้กาแดง บอระเพ็ด ลูกกระดอม หัวแห้วหมู

ไทย
กระพังโหม รากชุมเห็ด รากหญ้านาง รากขัดมอญ รากหญ้าคา ไคร้หางนาค โกฎทั้ง ๕ เทียนทั้ง ๕ ต้มกิน
หรือจะบดปั้นแท่งละลายน�้ำกระสายแทรกขันทศกรกินก็ได้”

้าน
ื้นบ
สูตรต�ำรับยา ประกอบด้วยตัวยา ๓๖ ชนิด รวมน�้ำหนัก ๓๖ ส่วน ดังนี้

ย์พ
ตัวยา น�้ำหนักยา

พท
ะแ
กระดอม ๑ ส่วน

แล
กระเทียม ๑ ส่วน

ไทย
กระพังโหม ผน ๑ ส่วน
ก�ำยาน ๑ ส่วน
ย์แ
โกฐเขมา ๑ ส่วน
พท

โกฐจุฬาลัมพา ๑ ส่วน
รแ

โกฐเชียง ๑ ส่วน
ากา

โกฐสอ ๑ ส่วน
ัญญ

โกฐหัวบัว ๑ ส่วน
ูมิป

ขัดมอญ ๑ ส่วน

ข่า ๑ ส่วน
ริม

ขิง ๑ ส่วน
่งเส

ขี้กาแดง ๑ ส่วน
ะส

ขี้เหล็ก ๑ ส่วน

องแ

ไคร้หางนาค ๑ ส่วน
คร

จันทน์ขาว ๑ ส่วน
งคุ้ม

จันทน์แดง ๑ ส่วน
ชุมเห็ด ๑ ส่วน
กอ

ดอกจันทน์ ๑ ส่วน
เทียนขาว ๑ ส่วน
เทียนข้าวเปลือก ๑ ส่วน
เทียนด�ำ ๑ ส่วน

24
ตัวยา น�้ำหนักยา

เทียนแดง ๑ ส่วน
เทียนตาตั๊กแตน ๑ ส่วน
บอระเพ็ด ๑ ส่วน
พริกไทย ๑ ส่วน

ไทย
มะหาด ๑ ส่วน

้าน
ลูกจันทน์ ๑ ส่วน

ื้นบ
สน ๑ ส่วน

ย์พ
สมอเทศ (เนื้อผล) ๑ ส่วน

พท
สมอไทย (เนื้อผล) ๑ ส่วน

ะแ
สมอพิเภก (เนื้อผล) ๑ ส่วน

แล
สัก ๑ ส่วน

ไทย
หญ้าคา ผน ๑ ส่วน
ย่านาง ๑ ส่วน
ย์แ
แห้วหมู ๑ ส่วน
รแ พท
ากา

สรรพคุณ แก้ไข้สันนิบาต
ัญญ

รูปแบบยา ยาเม็ดพิมพ์ ขนาด ๓๐๐ มิลลิกรัม (ดูภาคผนวก ๓.๔.๑)


ขนาดและวิธีการใช้ ครั้งละ ๒-๔ เม็ด ละลายน�้ำกระสายยาแทรกขันทศกร กินวันละ ๒ ครั้ง ก่อนอาหาร
ูมิป

เช้าและเย็น

ริม

ข้อมูลเพิ่มเติม - การเตรียมตัวยาบอระเพ็ดก่อนน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก ๒.๑๓)


่งเส

- การเตรียมตัวยาสักก่อนน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก ๒.๓๕)


ะส

เอกสารอ้างอิง

ขุนโสภิตบรรณลักษณ์ (อ�ำพัน กิตติขจร), คัมภีร์แพทย์ไทยแผนโบราณ เล่ม ๑. กรุงเทพฯ :


องแ

โรงพิมพ์อุตสาหกรรมการพิมพ์, ๒๕๐๔.
คร
งคุ้ม
กอ

25
ยาแก้คอแห้ง กระหายน�ำ้
ที่มาของต�ำรับยา ต�ำราเวชศาสตร์ฉบับหลวงรัชกาลที่ ๕ เล่ม ๒ (๑, ๒)
“๏ ยาแก้ฅอแหบให้หยากน�้ำ เอาน�้ำตาลทราย ๑ ส้มมะฃามเปียก ๑ ผลจันทน์ ๑ ดอกจันทน์ ๑
เนระภูศีเทศ ๑ บดละลายน�้ำมะนาวกินแล ๚ะ”

ไทย
สูตรต�ำรับยา ประกอบด้วยตัวยา ๕ ชนิด รวมน�้ำหนัก ๕ ส่วน ดังนี้

้าน
ื้นบ
ตัวยา น�้ำหนักยา

ย์พ
ดอกจันทน์ ๑ ส่วน

พท
น�้ำตาลทราย ๑ ส่วน

ะแ
๑ ส่วน

แล
เนระพูสี

ไทย
มะขาม (เนื้อในฝัก) ๑ ส่วน
ลูกจันทน์ ผน ๑ ส่วน
ย์แ
พท

สรรพคุณ แก้คอแหบแห้ง กระหายน�้ำ


รแ

รูปแบบยา ยาผง (ดูภาคผนวก ๓.๒)


ากา

ขนาดและวิธีการใช้ ครั้งละ ๑ ช้อนชา ละลายน�้ำมะนาวกิน กินวันละ ๓ ครั้ง ก่อนอาหาร เช้า กลางวัน และ
ัญญ

เย็น หรือเมื่อมีอาการ
เอกสารอ้างอิง
ูมิป

๑. หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. ต�ำราเวชศาสตร์ฉบับหลวง รัชกาลที่ ๕ เล่ม ๒. กรุงเทพฯ :



ริม

บริษัท อมรินทร์ พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง จ�ำกัด (มหาชน), ๒๕๔๒. หน้า ๑๙๘.


่งเส

๒. ประกาศกําหนดตําราการแพทย์แผนไทยของชาติและตํารับยาแผนไทยของชาติ (ฉบับที่ ๒)
ะส

พ.ศ. ๒๕๕๘, (๒๕๕๙, ๑๒ มกราคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม ๑๓๓ ตอนพิเศษ ๗ ง, หน้า ๑-๓.

องแ
คร
งคุ้ม
กอ

26
ยาแก้ซางขุมซางดอกหมาก
ที่มาของต�ำรับยา ต�ำรายาเกร็ด (๑)
“ยาแก้ซางขุมซางดอกหมาก เอาลูกเบญกานี ๑ จันทน์แดง ๑ สีเสียดเทศ ๑ รากมะกล�่ำเครือ ๑
บดท�ำแท่งไว้สมานลิ้นแก้ซางขุมหายแล๚”

ไทย
สูตรต�ำรับยา ประกอบด้วยตัวยา ๔ ชนิด รวมน�้ำหนัก ๔ ส่วน ดังนี้

้าน
ตัวยา น�ำ้ หนักยา

ื้นบ
ย์พ
จันทน์แดง ๑ ส่วน

พท
เบญกานี ๑ ส่วน

ะแ
มะกล�่ำเครือ ๑ ส่วน

แล
สีเสียดเทศ ๑ ส่วน

ไทย
สรรพคุณ แก้ซางขุม ซางดอกหมาก ผน
รูปแบบยา ยาเม็ดพิมพ์ ขนาด ๑๐๐ มิลลิกรัม (ดูภาคผนวก ๓.๔.๑)
ย์แ
ขนาดและวิธีการใช้ อายุ ๑ เดือน-๖ เดือน ครั้งละ ๑-๒ เม็ด
พท

อายุ ๖ เดือน-๑ ปี ครั้งละ ๓-๔ เม็ด


รแ

อายุ ๑ ปี-๓ ปี ครั้งละ ๕-๖ เม็ด


ากา

อายุ ๓ ปี-๕ ปี ครั้งละ ๗ เม็ด


ัญญ

น�ำตัวยามาละลายน�้ำต้มสุกที่เย็นแล้ว ทาบริเวณลิ้นหรือป้ายลิ้น วันละ ๑ ครั้ง ตอนเย็น


ูมิป

ข้อควรระวัง - ยานี้อาจท�ำให้มีอาการท้องผูกได้

ข้อมูลเพิ่มเติม - ซางขุม ถ้าว่ากลางนั้นซีดขาว (ลิ้นเป็นฝ้าซีดขาว เด็กจะมีอาการกินข้าวไม่ได้


ริม

ส�ำรอก) ๒ วันตานก็จะหาย ลักษณะซางขุมดวงดังนี้ การดูแลรักษาของแพทย์


่งเส

แผนไทยและแพทย์พื้นบ้าน การกวาดยามักท�ำในช่วงเย็น เนื่องจากในช่วงบ่าย


ะส

ถึงเย็น (ตั้งแต่ ๑๔.๐๐-๑๘.๐๐ น.) เป็นช่วงเวลาวาตะสมุฏฐาน มักจะท�ำให้เด็ก


มีอาการท้องขึ้นท้องพอง ไม่สบายตัว จึงควรวางยาในเวลาดังกล่าว (๓)


องแ

- การเตรียมตัวยามะกล�่ำเครือก่อนน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก ๒.๑๙)


คร

- การเตรียมตัวยาสีเสียดเทศก่อนน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก ๒.๓๗)


งคุ้ม

เอกสารอ้างอิง
กอ

๑. “ต�ำรายาเกร็ด”. หอสมุดแห่งชาติ. หนังสือสมุดไทยด�ำ. อักษรไทย. ภาษาไทย. เลขที่ ๒๗๓.


หมวดต�ำราเวชศาสตร์.
๒. ประกาศกําหนดตําราการแพทย์แผนไทยของชาติและตํารับยาแผนไทยของชาติ (ฉบับที่ ๑๐)
พ.ศ. ๒๕๖๐, (๒๕๖๐, ๒๕ พฤษภาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม ๑๓๔ ตอนพิเศษ ๑๔๑ ง, หน้า ๑-๔.
๓. ต�ำราการแพทย์ไทยเดิม (แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ ฉบับอนุรักษ์) เล่มที่ ๑. มูลนิธิฟื้นฟูส่งเสริม
การแพทย์ไทยเดิมฯ และโรงเรียนอายุรเวทธ�ำรง, สถานการแพทย์แผนไทยประยุกต์ คณะแพทยศาสตร์
ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล. 27
ยาแก้ดากเด็ก
ที่มาของต�ำรับยา ต�ำรายาเกร็ด (๑)
“ยาแก้ดากเด็ก ท่านให้เอา ผักเสี้ยนผี ๑ แก่นแสม ๑ รากส้มกุ้ง ๑ ใบกะเพรา ๑ รากชุมเห็ด ๑
บอระเพ็ดหนาม ๑ กระวาน ๑ ดีปลี ๑ ดีงูต้น ๑ ยาข้าวเย็น ๑ ต้ม ๓ เอา ๑ กินตามก�ำลังดากหดแล ๚”

ไทย
สูตรต�ำรับยา ประกอบด้วยตัวยา ๑๐ ชนิด รวมน�้ำหนัก ๑๐ ส่วน ดังนี้

้าน
ื้นบ
ตัวยา น�้ำหนักยา

ย์พ
กระวาน ๑ ส่วน

พท
กะเพรา ๑ ส่วน

ะแ
๑ ส่วน

แล
ข้าวเย็นเหนือ

ไทย
ชุมเห็ดเทศ ๑ ส่วน
ดีงูต้น ผน ๑ ส่วน
ดีปลี ๑ ส่วน
ย์แ
บอระเพ็ด ๑ ส่วน
พท

ผักเสี้ยนผี ๑ ส่วน
รแ

๑ ส่วน
ากา

ส้มกุ้ง
แสมสาร ๑ ส่วน
ัญญ
ูมิป

สรรพคุณ แก้ดากออก

ริม

รูปแบบยา ยาต้ม ๓ เอา ๑ (ดูภาคผนวก ๓.๑.๓)


่งเส

ขนาดและวิธีการใช้ อายุ ๖ เดือน-๑ ปี ครั้งละ ๑ ช้อนชา (๕ มิลลิลิตร)


ะส

อายุ ๑ ปี-๕ ปี ครั้งละ ๒ ช้อนชา (๑๐ มิลลิลิตร)


๕ ปี ขึ้นไป ครั้งละ ๑ ช้อนโต๊ะ (๑๕ มิลลิลิตร)


องแ

ดื่มวันละ ๓ ครั้ง ก่อนอาหาร เช้า กลางวันและเย็น ดื่มขณะยายังอุ่นอยู่ สามารถเพิ่ม


คร

หรือลดขนาดยาตามก�ำลังธาตุของผู้ป่วยและดุลยพินิจของแพทย์แผนไทย
งคุ้ม

ข้อมูลเพิ่มเติม - ต�ำรับยาดังกล่าว สามารถช่วยแก้อาการปวดมวนในท้อง ท้องผูก หรือออกแรง


กอ

แบ่งอุจจาระมากเกินไป
- ค�ำแนะน�ำส�ำหรับผู้ปกครองในการดูแลเด็กที่มีอาการดังกล่าว อาจให้เด็กกิน
กล้วยน�้ำว้างอม วันละ ๑ ลูก หรือมะละกอสุก ส�ำหรับกรณีที่เลี้ยงลูกด้วยนมผง
อาจต้องพิจารณาให้เปลี่ยนสูตรนมผง

28
- หากอาการไม่ดีขึ้นภายใน ๓ วัน ควรส่งต่อแพทย์
- ยา ๑ หม้อ ใช้ติดต่อกัน ๕-๗ วัน โดยให้อุ่นน�้ำสมุนไพรทุกครั้งก่อนใช้ยา
- การเตรียมตัวยาบอระเพ็ดก่อนน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก ๒.๑๓)
เอกสารอ้างอิง
๑. “ต�ำรายาเกร็ด”. หอสมุดแห่งชาติ. หนังสือสมุดไทยด�ำ. อักษรไทย. ภาษาไทย. เลขที่ ๒๘๑.
หมวดต�ำรา เวชศาสตร์.

ไทย
๒. ประกาศกําหนดตําราการแพทย์แผนไทยของชาติและตํารับยาแผนไทยของชาติ (ฉบับที่ ๑๐)
พ.ศ. ๒๕๖๐, (๒๕๖๐, ๒๕ พฤษภาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม ๑๓๔ ตอนพิเศษ ๑๔๑ ง, หน้า ๑-๔.

้าน
ื้นบ
ย์พ
พท
ะแ
แล
ไทย
ผน
ย์แ
รแ พท
ากา
ัญญ
ภ ูมิป
ริม
่งเส
ล ะส
องแ
คร
งคุ้ม
กอ

29
ยาแก้เด็กท้องขึ้น
ที่มาของต�ำรับยา ต�ำรายาเกร็ด (๑)
“ขนานหนึ่ง ถ้าเด็กท้องขึ้น เอามหาหิงคุ์ ๑ หอม ๑ ใบมะเฟือง ๑ ใบพลูแก ๑ ขมิ้นอ้อย ๑
เอาเสมอภาค ทาท้องน้อยหัวหน่าวหายแล๚”

ไทย
สูตรต�ำรับยา ประกอบด้วยตัวยา ๕ ชนิด รวมน�้ำหนัก ๕ ส่วน ดังนี้

้าน
ื้นบ
ตัวยา น�้ำหนักยา

ย์พ
ขมิ้นอ้อย ๑ ส่วน

พท
พลูแก ๑ ส่วน

ะแ
๑ ส่วน

แล
มหาหิงคุ์

ไทย
มะเฟือง ๑ ส่วน
หอม ผน ๑ ส่วน
ย์แ
พท

สรรพคุณ บรรเทาอาการท้องขึ้น
รแ

รูปแบบยา ยาผง (ดูภาคผนวก ๓.๒)


ากา

ขนาดและวิธีการใช้ ผสมกับน�้ำสุกที่เย็นแล้ว หรือน�้ำสุรา ทาบริเวณท้องน้อยเมื่อมีอาการ


ัญญ

ข้อห้ามใช้ - เป็นยาใช้ภายนอก ห้ามกิน


- ห้ามทาบริเวณผิวหนังที่มีบาดแผลหรือแผลเปิด
ูมิป

ข้อมูลเพิ่มเติม การเตรียมตัวยามหาหิงคุ์ก่อนน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก ๒.๑๘)



ริม

เอกสารอ้างอิง
่งเส

๑. “ต�ำรายาเกร็ด”. หอสมุดแห่งชาติ. หนังสือสมุดไทยด�ำ. อักษรไทย. ภาษาไทย. เลขที่ ๕๑๒.


ะส

หมวดต�ำราเวชศาสตร์.

องแ

๒. ประกาศกําหนดตําราการแพทย์แผนไทยของชาติและตํารับยาแผนไทยของชาติ (ฉบับที่ ๑๐)


พ.ศ. ๒๕๖๐, (๒๕๖๐, ๒๕ พฤษภาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม ๑๓๔ ตอนพิเศษ ๑๔๑ ง, หน้า ๑-๔.
คร
งคุ้ม
กอ

30
ยาแก้พยาธิโรคเรื้อน
ชื่ออื่น ยากินภายใน
ที่มาของต�ำรับยา ศิลาจารึกต�ำรายาวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธิ์) (๑, ๒)
“๏ ปุนะจะปะรัง ในล�ำดับนี้จะกล่าวด้วยนัยอันหนึ่งใหม่ ว่าด้วยลักษณะพยาธิโรค ๔ จ�ำพวกนั้น

ไทย
เป็นค�ำรบ ๖ ตามอาจารย์กล่าวไว้ดังนี้ ฯ
๑. คือเรื้อนจ�ำพวกหนึ่งสมมุติว่าเรื้อนบอน เมื่อแรกผุดขึ้นมานั้นเป็นรู ๆ ประไปมิใคร่จะเห็น

้าน
ถึงจะเห็นก็เต็มพืดเห็นแต่ขาวๆ แดงๆ อยู่ในเนื้อร�ำไรมิได้เห็นถนัด ฯ

ื้นบ
๒. ยังเรื้อนจ�ำพวกหนึ่ง สมมุติว่าเรื้อนหิดนั้น มักขึ้นทั่วทั้งตัวแล้วลามไป ดุจบุคคลเป็นกลาก ฯ

ย์พ
๓. ยังเรื้อนจ�ำพวกหนึ่งสมมุติว่า เรื้อนดอกหมากนั้นผุดขึ้นขาวๆ ดั่งดอกหมาก ถ้าเหงื่อออก

พท
กระท�ำให้คัน เกาจนน�้ำเหลืองซึมจึงหายคัน ฯ

ะแ
๔. ยังเรื้อนจ�ำพวกหนึ่งสมมุติว่าเรื้อนมะไฟนั้น ขึ้นเป็นเกล็ดแดงขอบขาวใหญ่เท่าผลมะไฟ

แล
ไทย
ถ้าบังเกิดแก่บุคคลผู้ใดแล้ว มักกระท�ำให้ร้อนดุจต้องเพลิง ให้พองๆ ขึ้นมา ฯ อันว่าพยาธิโรคทั้ง ๔ ประการ
ซึ่งกล่าวมานี้ ยาแก้ดุจกันตามอาจารย์กล่าวไว้ดังนี้ ฯ ผน
ยากินภายใน เอารากช้าหมอง ก�ำแพงเจ็ดชั้น โรกทั้งสอง เชือกเขาหนัง ต้นไข่แลน หญ้าหนวด
ย์แ
แมวหัวยั้ง ยาข้าวเย็น สิ่งละ ๒ ต�ำลึง ๒ บาท กะลามะพร้าวไฟ ๓ ซีก ตาไม้ไผ่ป่า ๗ ตา ต้มตามวิธีให้กิน
พท

เมื่อจะกินให้เสกด้วยพุทธคุณ ๗ คาบ แก้พยาธิโรคคือเรื้อน ๔ จ�ำพวก ซึ่งกล่าวมานั้นหายดีนัก ฯ”


รแ
ากา

สูตรต�ำรับยา ประกอบด้วยตัวยา ๑๑ ชนิด รวมน�้ำหนัก ๑,๓๕๐ กรัม* ดังนี้


ัญญ

ตัวยา น�ำ้ หนักยา


ภ ูมิป

ก�ำแพงเจ็ดชั้น
ริม

๑๕๐ กรัม
่งเส

ข้าวเย็นเหนือ ๑๕๐ กรัม


ะส

ไข่แลน ๑๕๐ กรัม


ช้าหมอง ๑๕๐ กรัม


องแ

เชือกเขาหนัง ๑๕๐ กรัม


คร

ยั้ง ๑๕๐ กรัม


งคุ้ม

โรกขาว ๑๕๐ กรัม


กอ

โรกแดง ๑๕๐ กรัม


หญ้าหนวดแมว ๑๕๐ กรัม
ไผ่ป่า (ตาไม้) ๗ ตา
มะพร้าวไฟ (กะลา) ๓ ซีก

*ไม่รวมน�ำ้ หนัก มะพร้าวไฟและไผ่ป่า


31
สรรพคุณ แก้โรคสะเก็ดเงิน
รูปแบบยา ยาต้มเดือด (ดูภาคผนวก ๓.๑.๑)
ขนาดและวิธีการใช้ ครั้งละ ๑๕๐ มิลลิลิตร ดื่มวันละ ๓ ครั้ง ก่อนอาหาร เช้า กลางวัน และเย็น
ดื่มขณะยายังอุ่นอยู่
ข้อควรระวัง - เมื่อกินยาต�ำรับนี้ อาจท�ำให้มีอาการมึนงงได้
- ควรระวังการใช้ในผู้ป่วยที่ต้องจ�ำกัดปริมาณโพแทสเซียม เช่น ผู้ที่เป็นโรคหัวใจ

ไทย
เนื่องจากหญ้าหนวดแมวมีปริมาณโพแทสเซียมสูง

้าน
ข้อห้ามใช้ ห้ามใช้ในผู้ป่วยที่มีการท�ำงานของหัวใจ หรือไตบกพร่อง

ื้นบ
ย์พ
ข้อมูลเพิ่มเติม - ข้อมูลสรรพคุณ ขนาดวิธีการใช้ ของยาต�ำรับนี้เป็นความเห็นและประสบการณ์

พท
จากผู้ทรงคุณวุฒิ

ะแ
- ตามกรรมวิธีโบราณ เมื่อจะกินยานี้ให้เสกด้วยคาถาพุทธคุณ ๗ คาบ แล้วจึงกินยา

แล
- ยา ๑ หม้อ ใช้ติดต่อกัน ๕-๗ วัน โดยให้อุ่นน�้ำสมุนไพรทุกครั้งก่อนใช้ยา

ไทย
- การเตรียมตัวยายั้งก่อนน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก ๒.๔๑)
ผน
เอกสารอ้างอิง
ย์แ
๑. ส�ำนักคุ้มครองภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์
พท

ทางเลือก. ชุดต�ำราภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย ฉบับอนุรักษ์ ต�ำราการแพทย์แผนไทย ในศิลาจารึกวัด


รแ

พระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธิ์) เล่ม ๒. พิมพ์ครั้งที่ ๑. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์องค์การสงเคราะห์


ากา

ทหารผ่านศึกในพระบรมราชูปถัมภ์, ๒๕๕๗.
ัญญ

๒. ประกาศกําหนดตําราการแพทย์แผนไทยของชาติและตํารับยาแผนไทยของชาติ พ.ศ. ๒๕๕๘,


ูมิป

(๒๕๕๘, ๓๐ พฤศจิกายน). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม ๑๓๒ ตอนพิเศษ ๓๑๗ ง.



ริม
่งเส
ล ะส
องแ
คร
งคุ้ม
กอ

32
ยาแก้ลม สูตร ๑
ที่มาของต�ำรับยา ต�ำรายาเกร็ด (๑)
“ยาแก้ ล ม มื อ ตายลมเหน็ บ ชาเท้ าเย็ น ลมชั ก สะดุ ้ ง ลมเรอ ลมสวิ ง สวาย ประดุ จ ล้ น ใจ
ท่านให้เอารากตองแตก ๓ บาท รากจิงจ้อเหลี่ยม ๒ บาท ลูกมะตูมอ่อน ๒ บาท ลูกสมอไทย ๑ บาท

ไทย
ลูกกระวาน ๑ บาท กานพลู ๒ สลึง ลูกจันทน์ ๒ สลึง เทียนทั้ง ๕ เอาสิ่งละ ๑ บาท ๑ สลึง ดีปลี ๑ บาท
ยาทั้งนี้ต้มเป็นผงกินกับน�้ำร้อน แก้ลมไหล่ตายยกไม่ขึ้น แก้เสลดแห้งติดอกติดคอ เหม็นคาวคอ แก้ลมพัน

้าน
ระดึก แก้กล่อนเป็นก้อนในท้อง แก้มุตกิด ๒ ประการ แก้ลมเบาเป็นเลือด เบาหยดหยอด มิสะดวก เสียวถึง

ื้นบ
หัวใจหายฯ”

ย์พ
พท
สูตรต�ำรับยา ประกอบด้วยตัวยา ๑๐ ชนิด รวมน�้ำหนัก ๒๕๘.๗๕ กรัม ดังนี้

ะแ
แล
ตัวยา น�ำ้ หนักยา

ไทย
ตองแตก ผน ๔๕ กรัม
จิงจ้อเหลี่ยม ๓๐ กรัม
ย์แ
มะตูม ๓๐ กรัม
พท

เทียนขาว ๑๘.๗๕ กรัม


รแ

เทียนข้าวเปลือก ๑๘.๗๕ กรัม


ากา

เทียนด�ำ ๑๘.๗๕ กรัม


ัญญ

เทียนแดง ๑๘.๗๕ กรัม


ูมิป

เทียนตาตั๊กแตน ๑๘.๗๕ กรัม


กระวาน ๑๕ กรัม
ริม

ดีปลี ๑๕ กรัม
่งเส

สมอไทย ๑๕ กรัม
ะส

กานพลู ๗.๕๐ กรัม



องแ

ลูกจันทน์ ๗.๕๐ กรัม


คร
งคุ้ม

สรรพคุณ แก้อาการมือตาย เหน็บชา เท้าเย็น แก้ลมชักสะดุ้ง ลมเรอ ลมสวิงสวาย แก้ลมไหล่


กอ

ตายยกไม่ขึ้น แก้เสลดแห้งติดอกติดคอ เหม็นคาวคอ แก้ลมพรรดึก แก้กล่อนเป็น


ก้อนในท้อง แก้ลมท�ำให้ปัสสาวะเป็นเลือด ปัสสาวะกะปริดกะปรอยไม่สะดวก แก้ลม
เสียวถึงหัวใจ
รูปแบบยา ยาผง (ดูภาคผนวก ๓.๒)
ขนาดและวิธีการใช้ ครั้งละ ๑ กรัม ละลายน�้ำอุ่น กินวันละ ๓ ครั้ง ก่อนอาหาร เช้า กลางวันและเย็น

33
ข้อมูลเพิ่มเติม การเตรียมตัวยาตองแตกก่อนน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก ๒.๑๒)
เอกสารอ้างอิง
๑. “ต�ำรายาเกร็ด”. หอสมุดแห่งชาติ. หนังสือสมุดไทยด�ำ. อักษรไทย. ภาษาไทย. เลขที่ ๒๑๘.
หมวดต�ำราเวชศาสตร์.
๒. ประกาศกําหนดตําราการแพทย์แผนไทยของชาติและตํารับยาแผนไทยของชาติ (ฉบับที่ ๘)
พ.ศ. ๒๕๕๙, (๒๕๖๐, ๒๔ พฤษภาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม ๑๓๔ ตอนพิเศษ ๑๓๙ ง, หน้า ๑-๓.

ไทย
้าน
ื้นบ
ย์พ
พท
ะแ
แล
ไทย
ผน
ย์แ
รแ พท
ากา
ัญญ
ภ ูมิป
ริม
่งเส
ล ะส
องแ
คร
งคุ้ม
กอ

34
ยาแก้ลม สูตร ๒
ที่มาของต�ำรับยา ต�ำรายาเกร็ด (๑)
“ยาแก้ลม ๚ ๏๓๘๚ ยาแก้ลมมือตีนตายเป็นง่อยเปลี้ย เดินมิได้ กินอาหารมิได้ เอา มหาหิงคุ์
๑ ลูกผักกาด ๑ หัวหอม ๑ ใบผักเสี้ยนทั้ง ๒ กระดาดทั้ง ๒ ผิวไม้สีสุก ๑ หัวเต่าเกียด ๑ ผักคราดทั้งต้น

ไทย
ทั้ ง ราก ทั้ ง ใบ ทั้ ง ดอก ผิ ว มะกรู ด เท่ า ยาทั้ ง หลาย ต� ำ เป็ น ผงลายเหล้ า น�้ ำ ขิ ง น�้ ำ ข่ า น�้ ำ ส้ ม ซ่ า ก็ ไ ด้
กินแก้สารพัดลมดีนักแล๚”

้าน
ื้นบ
สูตรต�ำรับยา ประกอบด้วยตัวยา ๑๑ ชนิด รวมน�้ำหนัก ๒๐ ส่วน ดังนี้

ย์พ
พท
ตัวยา น�ำ้ หนักยา

ะแ
มะกรูด ๑๐ ส่วน

แล
๑ ส่วน

ไทย
กระดาดขาว
กระดาดแดง ผน ๑ ส่วน
เต่าเกียด ๑ ส่วน
ย์แ
เมล็ดพรรณผักกาด ๑ ส่วน
พท

ผักคราด ๑ ส่วน
รแ

๑ ส่วน
ากา

ผักเสี้ยนไทย (ใบ)
ผักเสี้ยนผี (ใบ) ๑ ส่วน
ัญญ

ไผ่สีสุก ๑ ส่วน
ูมิป

มหาหิงคุ์ ๑ ส่วน

หอม ๑ ส่วน
ริม
่งเส

สรรพคุณ แก้สารพัดลม แก้ลมมือตายเท้าตาย กินอาหารไม่ได้


ล ะส

รูปแบบยา ยาผง (ดูภาคผนวก ๓.๒)


องแ

ขนาดและวิธีการใช้ ครั้งละ ๑ ช้อนชา ละลายสุร า น�้ำ ขิ ง น�้ ำข่า หรื อน�้ำ ส้ มซ่ า กิ นวั นละ ๓ ครั้ ง
คร

ก่อนอาหารเช้า กลางวันและเย็น
งคุ้ม

ข้อมูลเพิ่มเติม การเตรียมตัวยามหาหิงคุ์ก่อนน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก ๒.๑๘)


กอ

เอกสารอ้างอิง
๑. “ต�ำรายาเกร็ด”. หอสมุดแห่งชาติ. หนังสือสมุดไทยด�ำ. อักษรไทย. ภาษาไทย. เลขที่ ๒๒๒.
หมวดต�ำราเวชศาสตร์.
๒. ประกาศกําหนดตําราการแพทย์แผนไทยของชาติและตํารับยาแผนไทยของชาติ (ฉบับที่ ๘)
พ.ศ. ๒๕๕๙, (๒๕๖๐, ๒๔ พฤษภาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม ๑๓๔ ตอนพิเศษ ๑๓๙ ง, หน้า ๑-๓.

35
ยาแก้ลมกล่อน แลลมพุทยักษ์ ราทยักษ์
ที่มาของต�ำรับยา ต�ำรายาเกร็ด (๑)
“ยาแก้ลมกล่อนแลลมพุทยักษ์ ราทยักษ์ ยาเอา มหาหิงคุ์ ๑ บาท การบูร ๑ บาท พริกล่อน
๓ สลึง ขิงแห้ง ๓ บาท ดีปลี ๓ สลึง กระเทียม ๒ บาท ลูกกระวาน ๒ สลึง เกลือสินเธาว์ ๑ สลึง ยาทั้งนี้ต�ำ

ไทย
เป็นผงละลายด้วยขิงก็ได้ ข่าก็ได้ น�ำ้ ส้มซ่าก็ได้ น�ำ้ กระเทียมก็ได้ ท�ำเป็นผงก็ได้ สดก็ได้ ยานี้ได้ทำ� แล้วบอก
ไว้รู้แล ๚”

้าน
ื้นบ
สูตรต�ำรับยา ประกอบด้วยตัวยา ๘ ชนิด รวมน�้ำหนัก ๑๓๘.๗๕ กรัม ดังนี้

ย์พ
ตัวยา น�้ำหนักยา

พท
ะแ
ขิงแห้ง ๔๕ กรัม

แล
กระเทียม ๓๐ กรัม

ไทย
การบูร ผน ๑๕ กรัม
มหาหิงคุ์ ๑๕ กรัม
ย์แ
ดีปลี ๑๑.๒๕ กรัม
พท

พริกไทยล่อน ๑๑.๒๕ กรัม


รแ

กระวาน ๗.๕๐ กรัม


ากา

เกลือสินเธาว์ ๓.๗๕ กรัม


ัญญ
ูมิป

สรรพคุณ ยาแก้ลมกล่อนแลลมพุทยักษ์

ริม

รูปแบบยา ยาผง (ดูภาคผนวก ๓.๒)


่งเส

ขนาดและวิธีการใช้ ครั้งละ ๑ กรัม ละลายน�้ำขิง น�้ำข่า น�้ำส้มซ่า หรือน�้ำกระเทียม กินวันละ ๓ ครั้ง


ะส

ก่อนอาหาร เช้า กลางวันและเย็น


ข้อห้ามใช้ ห้ามใช้ในหญิงตั้งครรภ์ หญิงให้นมบุตร ผู้ที่มีไข้และเด็กอายุต�่ำกว่า ๑๒ ขวบ


องแ

ข้อควรระวัง ไม่ควรใช้ติดต่อกันเป็นเวลานาน โดยเฉพาะในผู้ป่วยที่มีความผิดปรกติของตับ ไต


คร

เนื่องจากอาจเกิดการสะสมของการบูรและเกิดพิษได้
งคุ้ม

ข้อมูลเพิ่มเติม - ต�ำรับนี้มีการบูรเป็นส่วนประกอบร้อยละ ๑๐.๘๑ ในผงยา ๑,๐๐๐ มิลลิกรัม


กอ

จะมีการบูรอยู่ ๑๐๘.๑๐ มิลลิกรัม ปริมาณการบูรที่ได้รับใน ๑ มื้อ เท่ากับ ๑๐๘.๑๐


มิลลิกรัม ซึ่งปริมาณที่ท�ำให้เกิดพิษจากการกินการบูร เท่ากับ ๒,๐๐๐ มิลลิกรัม
โดยขนาดถึงตาย (lethal dose) ในผู้ใหญ่อยู่ที่ ๔,๐๐๐ มิลลิกรัม ในเด็กอยู่ที่
๕๐๐-๑,๐๐๐ มิลลิกรัม และในทารกอยู่ที่ ๗๐ มิลลิกรัม/กิโลกรัม (๓)
- การเตรียมตัวยามหาหิงคุ์ก่อนน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก ๒.๑๘)

36
เอกสารอ้างอิง
๑. “ต�ำรายาเกร็ด”. หอสมุดแห่งชาติ. หนังสือสมุดไทยด�ำ. อักษรไทย. ภาษาไทย. เลขที่ ๓๕๐.
หมวดต�ำราเวชศาสตร์.
๒. ประกาศกําหนดตําราการแพทย์แผนไทยของชาติและตํารับยาแผนไทยของชาติ (ฉบับที่ ๑๐)
พ.ศ. ๒๕๖๐, (๒๕๖๐, ๒๕ พฤษภาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม ๑๓๔ ตอนพิเศษ ๑๔๑ ง, หน้า ๑-๔.
๓. U.S. National Library of Medicine [Internet]. Hazardous Substance

ไทย
Database-Camphor [updated 2014 Sep 9; cited 2019 May 28]. Available from: https://toxnet.

้าน
nlm.nih.gov/cgi-bin/sis/search2/r?dbs+hsdb:@term+@DOCNO+37.

ื้นบ
ย์พ
พท
ะแ
แล
ไทย
ผน
ย์แ
รแ พท
ากา
ัญญ
ภ ูมิป
ริม
่งเส
ล ะส
องแ
คร
งคุ้ม
กอ

37
ยาแก้ลมกล่อนให้จุก
ที่มาของต�ำรับยา ต�ำรายาเกร็ด (๑)
“๏ ยาแก้ลมกล่อนให้จุก แก่นแสมทั้ง ๒ เบี้ยจันทน์เผาไฟ ๑ หอยแครงเผาไฟ ๑ พริก ๑
ขิง ๑ ดีปลี ๑ กระเทียม ๑ ข่า ๑ แก้จุก ”

ไทย
สูตรต�ำรับยา ประกอบด้วยตัวยา ๙ ชนิด รวมน�้ำหนัก ๙ ส่วน ดังนี้

้าน
ื้นบ
ตัวยา น�้ำหนักยา

ย์พ
กระเทียม ๑ ส่วน

พท
ข่า ๑ ส่วน

ะแ
๑ ส่วน

แล
ขิง

ไทย
ดีปลี ๑ ส่วน
เบี้ยจั่น ผน ๑ ส่วน
พริกไทย ๑ ส่วน
ย์แ
แสมทะเล ๑ ส่วน
พท

แสมสาร ๑ ส่วน
รแ

๑ ส่วน
ากา

หอยแครง
ัญญ
ูมิป

สรรพคุณ แก้จุก
รูปแบบยา

ยาผง (ดูภาคผนวก ๓.๒)


ริม

ขนาดและวิธีการใช้ ครั้งละ ๑ ช้อนชา กินวันละ ๓ ครั้ง ก่อนอาหาร เช้า กลางวันและเย็น


่งเส

ข้อมูลเพิ่มเติม - การเตรียมตัวยาเบี้ยจั่นก่อนน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก ๒.๑๕)


ะส

- การเตรียมตัวยาหอยแครงก่อนน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก ๒.๔๐)



องแ

เอกสารอ้างอิง
๑. “ต�ำรายาเกร็ด”. หอสมุดแห่งชาติ. หนังสือสมุดไทยด�ำ. อักษรไทย. ภาษาไทย. เลขที่ ๒๒๕.
คร
งคุ้ม

หมวดต�ำราเวชศาสตร์.
๒. ประกาศกําหนดตําราการแพทย์แผนไทยของชาติและตํารับยาแผนไทยของชาติ (ฉบับที่ ๘)
กอ

พ.ศ. ๒๕๕๙, (๒๕๖๐, ๒๔ พฤษภาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม ๑๓๔ ตอนพิเศษ ๑๓๙ ง, หน้า ๑-๓.

38
ยาแก้ลมทุนะยักษวาโย
ที่มาของต�ำรับยา ศิลาจารึกต�ำรายาวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธิ์) (๑, ๒)
“๏ สิทธิการิยะ จะกล่าวลักษณะก�ำเนิดแห่งลมอันชื่อว่า ทุนยักษวาโย เป็นค�ำรบ ๒ นั้น
เกิดแต่กองลมอัมพาตเป็นต้น ลมกองนี้มักกระท�ำให้เสียดสีข้างแลชายโครงขึ้นมามิให้ตึงตัวได้ มักให้โก่งตัว

ไทย
อยู่ ให้ท้องแข็งเป็นเกลียว บริโภคอาหารมิได้ มักรากลมเปล่าแลมักเป็นร�ำมะนาดเจรจากล้อแกล้ มักให้ตา
มืดตาฟางแลกระท�ำให้ลงเป็นคราวๆ มักพัดเตโชให้ดับ ถ้าผู้ใดเป็นดังกล่าวมานี้มักถอยอายุทุกวัน ฯ

้าน
ขนานหนึ่ง เอาลูกจันทน์ ดอกจันทน์ มหาหิงคุ์ สิ่งละส่วน การบูร ๖ ส่วน ยาด�ำ ๘ ส่วน

ื้นบ
พริกไทย ๒๖ ส่วน ท�ำเป็นจุณน�้ำเปลือกมะรุมต้มเป็นกระสายบดท�ำแท่งไว้เท่าเม็ดฝ้ายหีบ ให้กินหนัก ๑ สลึง

ย์พ
แก้ลมทุนะยักษวาโยนั้นหายดีวิเศษนัก”

พท
ะแ
สูตรต�ำรับยา ประกอบด้วยตัวยา ๖ ชนิด รวมน�้ำหนัก ๔๓ ส่วน ดังนี้

แล
ไทย
ตัวยา น�้ำหนักยา

พริกไทย
ผน ๒๖ ส่วน
ย์แ
ยาด�ำ ๘ ส่วน
พท

การบูร ๖ ส่วน
รแ

ดอกจันทน์ ๑ ส่วน
ากา

มหาหิงคุ์ ๑ ส่วน
ัญญ

ลูกจันทน์ ๑ ส่วน
ภ ูมิป
ริม

สรรพคุณ แก้ลมทุนะยักษวาโย เกิดแต่กองลมอัมพาต


่งเส

รูปแบบยา ยาเม็ดพิมพ์ ขนาด ๓๐๐ มิลลิกรัม (ดูภาคผนวก ๓.๔.๑)


ะส

วิธีปรุงยา บดเป็นผงละเอียด ผสมกับน�้ำเปลือกมะรุม แล้วท�ำเป็นเม็ด


ขนาดและวิธีการใช้ ครั้งละ ๒-๔ เม็ด กินวันละ ๒ ครั้ง ก่อนอาหาร เช้า และเย็น


องแ

ข้อควรระวัง - ควรระวังการใช้ยาอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในผู้ป่วยที่มีความผิดปรกติ


คร

ของตับ ไต เนื่องจากอาจเกิดการสะสมของการบูรและเกิดพิษได้
งคุ้ม

- ควรระวั ง การกิ น ร่ ว มกั บ ยาในกลุ ่ ม สารกั น เลื อ ดเป็ น ลิ่ ม (anticoagulant)


และยาต้านการจับตัวของเกล็ดเลือด (antiplatelet)
กอ

- ควรระวังการใช้ร่วมกับยา phenyltoin, propranolol, theophylline และ


rifampicin เนื่องจากต�ำรับยานี้มีพริกไทยในปริมาณสูง
- ควรระมัดระวังการใช้ในผู้สูงอายุ
ข้อห้ามใช้ ห้ามใช้ในหญิงตั้งครรภ์ ผู้ที่มีไข้ และเด็กอายุต�่ำกว่า ๑๒ ขวบ

39
ข้อมูลเพิ่มเติม - ต�ำรับนี้มีการบูรเป็นส่วนประกอบ ร้อยละ ๑๓.๙ ในยาเม็ด ๓๐๐ มิลลิกรัม
จะมีการบูรอยู่ ๔๑.๗ มิลลิกรัม ปริมาณการบูรทีไ่ ด้รบั ใน ๑ มือ้ เท่ากับ ๑๖๖.๘ มิลลิกรัม
ซึ่งปริมาณที่ท�ำให้เกิดพิษจากการกินการบูร เท่ากับ ๒ กรัม โดยขนาดถึงตาย
(lethal dose) ในผู้ใหญ่อยู่ที่ ๔,๐๐๐ มิลลิกรัม/มื้อ ในเด็กอยู่ที่ ๕๐๐-๑,๐๐๐ มิลลิกรัม/มื้อ
และในทารกอยู่ที่ ๗๐ มิลลิกรัม/กิโลกรัม/มื้อ (๓)
- การเตรียมตัวยามหาหิงคุ์ก่อนน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก ๒.๑๘)

ไทย
- การเตรียมตัวยายาด�ำก่อนน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก ๒.๒๓)
เอกสารอ้างอิง

้าน
๑. ส�ำนักคุ้มครองภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์

ื้นบ
ทางเลือก.ชุดต�ำราภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย ฉบับอนุรักษ์ ต�ำราการแพทย์แผนไทยในศิลาจารึกวัด

ย์พ
พระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธิ์) เล่ม ๓. พิมพ์ครั้งที่ ๑. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์องค์การสงเคราะห์

พท
ทหารผ่านศึกในพระบรมราชูปภัมภ์, ๒๕๕๗.

ะแ
๒. ประกาศกําหนดตําราการแพทย์แผนไทยของชาติและตํารับยาแผนไทยของชาติ พ.ศ. ๒๕๕๘,

แล
(๒๕๕๘, ๓๐ พฤศจิกายน). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม ๑๓๒ ตอนพิเศษ ๓๑๗ ง.

ไทย
๓. U.S. National Library of Medicine [Internet]. Hazardous Substance
ผน
Database-Camphor [updated 2014 Sep 9; cited 2019 May 28]. Available from: https://toxnet.
ย์แ
nlm.nih.gov/cgi-bin/sis/search2/r?dbs+hsdb:@term+@DOCNO+37.
พท


รแ
ากา
ัญญ
ภ ูมิป
ริม
่งเส
ล ะส
องแ
คร
งคุ้ม
กอ

40
ยาแก้ลมปัตคาด
ที่มาของต�ำรับยา ต�ำรายาเกร็ด (๑)
“๏ แก้ลมปัตคาด เอา ข่า ๑ ว่านน�้ำ ๑ รากหนาด ๑ ใบคนทีสอ ๑ เฉียงพร้ามอญ ๑
กระเทียม ๑ ไพล ๑ พริก ๑ ขิง ๑ ดีปลี ๑ มหาหิงคุ์ ๑ เจตบูล (เจตมูล) แดง ๑ ใบสะเดา ๑ ผิวมะกรูด ๑

ไทย
การบูร ๑ ต�ำเป็นผงละลายน�้ำร้อน แก้จุกเสียดลมหายแล๚”

้าน
สูตรต�ำรับยา ประกอบด้วยตัวยา ๑๕ ชนิด รวมน�้ำหนัก ๑๕ ส่วน ดังนี้

ื้นบ
ย์พ
ตัวยา น�ำ้ หนักยา

พท
กระเทียม ๑ ส่วน

ะแ
การบูร ๑ ส่วน

แล
๑ ส่วน

ไทย
ข่า
ขิง ผน ๑ ส่วน
คนทีสอ ๑ ส่วน
ย์แ
เจตมูลเพลิงแดง ๑ ส่วน
พท

สันพร้าหอม ๑ ส่วน
รแ

ดีปลี ๑ ส่วน
ากา

พริกไทยด�ำ ๑ ส่วน
ัญญ

ไพล ๑ ส่วน
ูมิป

มหาหิงคุ์ ๑ ส่วน

มะกรูด ๑ ส่วน
ริม
่งเส

ว่านน�้ำ ๑ ส่วน
๑ ส่วน
ะส

สะเดา

หนาด (ราก) ๑ ส่วน


องแ
คร

สรรพคุณ แก้จุกเสียด
งคุ้ม

รูปแบบยา ยาผง (ดูภาคผนวก ๓.๒)


กอ

ขนาดและวิธีการใช้ ครั้งละ ๑ กรัม ละลายน�้ำอุ่น กินวันละ ๓ ครั้ง ก่อนอาหาร เช้า กลางวัน และเย็น
ข้อห้ามใช้ ห้ามใช้ในหญิงตั้งครรภ์และหญิงให้นมบุตร ผู้ที่มีไข้ และเด็กอายุต�่ำกว่า ๑๒ ขวบ
ข้อควรระวัง ไม่ควรใช้ติดต่อกันเป็นเวลานาน โดยเฉพาะในผู้ป่วยที่มีความผิดปรกติของตับ ไต
เนื่องจากอาจเกิดการสะสมของการบูรและเกิดพิษได้

41
ข้อมูลเพิ่มเติม - ต�ำรับนี้มีการบูรเป็นส่วนประกอบร้อยละ ๖.๖๗ ในผงยา ๑,๐๐๐ มิลลิกรัม
จะมีการบูรอยู่ ๖๖.๗๐ มิลลิกรัม ปริมาณการบูรที่ได้รับใน ๑ มื้อ เท่ากับ ๖๖.๗๐
มิลลิกรัม ซึ่งปริมาณที่ท�ำให้เกิดพิษจากการกินการบูร เท่ากับ ๒,๐๐๐ มิลลิกรัม
โดยขนาดถึงตาย (lethal dose) ในผู้ใหญ่อยู่ที่ ๔,๐๐๐ มิลลิกรัม ในเด็กอยู่ที่
๕๐๐-๑,๐๐๐ มิลลิกรัม และในทารกอยู่ที่ ๗๐ มิลลิกรัม/กิโลกรัม (๓)
- การเตรียมตัวยามหาหิงคุ์ก่อนน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก ๒.๑๘)

ไทย
เอกสารอ้างอิง
๑. “ต�ำรายาเกร็ด”. หอสมุดแห่งชาติ. หนังสือสมุดไทยด�ำ. อักษรไทย. ภาษาไทย. เลขที่ ๒๒๒.

้าน
หมวดต�ำราเวชศาสตร์.

ื้นบ
๒. ประกาศกําหนดตําราการแพทย์แผนไทยของชาติและตํารับยาแผนไทยของชาติ (ฉบับที่ ๘)

ย์พ
พ.ศ. ๒๕๕๙, (๒๕๖๐, ๒๔ พฤษภาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม ๑๓๔ ตอนพิเศษ ๑๓๙ ง, หน้า ๑-๓.

พท
๓. U.S. National Library of Medicine [Internet]. Hazardous Substance Database-

ะแ
Camphor [updated 2014 Sep 9; cited 2019 May 28].Available from: https://toxnet.nlm.nih.gov/

แล
cgi-bin/sis/search2/r?dbs+hsdb:@term+@DOCNO+37.

ไทย
ผน
ย์แ
รแ พท
ากา
ัญญ
ภ ูมิป
ริม
่งเส
ล ะส
องแ
คร
งคุ้ม
กอ

42
ยาแก้ลมพาหุรวาโย
ที่มาของต�ำรับยา ศิลาจารึกต�ำรายาวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธิ์) (๑, ๒)
“๏ สิทธิการิยะ จะกล่าวลักษณะก�ำเนิดแห่งลมอันชื่อว่า พาหุระวาโย เป็นค�ำรบ ๙ นั้น
บังเกิดแต่สุขุมัง คะวาต กล่าวคือลมคูถทวารแล่นขึ้นมาจับเอาหลังมือ กระท�ำให้มือบวมขึ้นแล้วแล่นลงมาจับ

ไทย
เอาหลังเท้ากระท�ำให้เท้านั้นเบ่งขึ้นแล้วกลับแล่นขึ้นสู่กระบาลศีรษะ กระท�ำให้หนักศีรษะ ให้ศีรษะซุนไปให้
วิงเวียนแลให้นำ�้ มูกตกน�้ำตาตก ให้เสียวล�ำมือล�ำเท้าให้เป็นเหน็บ แลลมกองนี้เกิดแก่ผู้ใดก�ำหนด ๕ เดือน

้าน
จะลุกขึ้นมิได้เลย ฯ

ื้นบ
ขนานหนึ่ง เอาแห้วหมู ใบสะเดา พริกไทย ขิงแห้ง ดีปลี กะทือ ไพล ข่า กระชาย ขมิ้นอ้อย

ย์พ
กระเทียม ผิวมะกรูด เทียนด�ำ เทียนขาว สิ่งละส่วน หอมแดง กระเทียม สิ่งละ ๒ ส่วน การบูร ๔ ส่วน

พท
ลูกพิลังกาสา ๒๒ ส่วน ท�ำเป็นจุณบดละลายน�้ำผึ้งรวงกินหนัก ๑ สลึง แก้ลมพาหุรวาโย อันบังเกิดแต่

ะแ
กองสุขุมังคะวาตนั้นหายวิเศษดีนัก ฯ”

แล
ไทย
สูตรต�ำรับยา ประกอบด้วยตัวยา ๑๘ ชนิด รวมน�้ำหนัก ๔๔ ส่วน ดังนี้
ผน
ตัวยา น�ำ้ หนักยา
ย์แ
พท

พิลังกาสา ๒๒ ส่วน
รแ

การบูร ๔ ส่วน
ากา

กระเทียม ๓ ส่วน
ัญญ

หอมแดง ๒ ส่วน
ูมิป

เทียนขาว ๑ ส่วน

เทียนด�ำ ๑ ส่วน
ริม

แห้วหมู ๑ ส่วน
่งเส

ไพล ๑ ส่วน
ะส

กระชาย ๑ ส่วน

องแ

กะทือ ๑ ส่วน
คร

ขมิ้นอ้อย ๑ ส่วน
งคุ้ม

ข่า ๑ ส่วน
ขิงแห้ง ๑ ส่วน
กอ

ดีปลี ๑ ส่วน
พริกไทย ๑ ส่วน
มะกรูด ๑ ส่วน
สะเดา ๑ ส่วน

43
สรรพคุณ แก้ลมพาหุรวาโย อันเกิดแต่กองสุขุมังคะวาต
รูปแบบยา ยาลูกกลอน ขนาด ๓๐๐ มิลลิกรัม (ดูภาคผนวก ๓.๕)
ขนาดและวิธีการใช้ ครัง้ ละ ๔ เม็ด กินวันละ ๒-๓ ครัง้ ก่อนอาหาร เช้า กลางวัน และเย็น หรือเมือ่ มีอาการ
ค�ำเตือน ยาต�ำรับนี้ต้องใช้ภายใต้การดูแลของผู้ประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทย
ข้อควรระวัง ควรระวังการใช้ยาอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในผู้ป่วยที่มีความผิดปรกติของ
ตับ ไต เนื่องจากอาจเกิดการสะสมของการบูรและเกิดพิษได้

ไทย
ข้อมูลเพิ่มเติม ต�ำรับนี้มีการบูรเป็นส่วนประกอบ ร้อยละ ๙.๑ ในยาเม็ด ๓๐๐ มิลลิกรัม จะมีการบูร
อยู่ ๒๗.๓ มิลลิกรัม ปริมาณการบูรที่ได้รับใน ๑ มื้อ เท่ากับ ๑๐๙.๒ มิลลิกรัม

้าน
ื้นบ
ซึง่ ปริมาณทีท่ ำ� ให้เกิดพิษจากการกินการบูร เท่ากับ ๒ กรัม โดยขนาดถึงตาย (lethal

ย์พ
dose) ในผู้ใหญ่อยู่ที่ ๔,๐๐๐ มิลลิกรัม/มื้อ ในเด็กอยู่ที่ ๕๐๐–๑,๐๐๐ มิลลิกรัม/มื้อ

พท
และในทารกอยู่ที่ ๗๐ มิลลิกรัม/กิโลกรัม/มื้อ (๓)
เอกสารอ้างอิง

ะแ
๑. ส�ำนักคุ้มครองภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์

แล
ทางเลือก. ชุดต�ำราภูมปิ ญ
ั ญาการแพทย์แผนไทย ฉบับอนุรกั ษ์ ต�ำราการแพทย์แผนไทยในศิลาจารึกวัดพระเชตุพน

ไทย
วิมลมังคลาราม (วัดโพธิ์) เล่ม ๓. พิมพ์ครั้งที่ ๑. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก
ผน
ในพระบรมราชู ปภัมภ์, ๒๕๕๗.
ย์แ
๒. ประกาศกําหนดตําราการแพทย์แผนไทยของชาติและตํารับยาแผนไทยของชาติ พ.ศ. ๒๕๕๘,
พท

(๒๕๕๘, ๓๐ พฤศจิกายน). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม ๑๓๒ ตอนพิเศษ ๓๑๗ ง.


รแ

๓. U.S. National Library of Medicine [Internet]. Hazardous Substance Database-


ากา

Camphor [updated 2014 Sep 9; cited 2019 May 28]. Available from: https://toxnet.nlm.nih.gov/
ัญญ

cgi-bin/sis/search2/r?dbs+hsdb:@term+@DOCNO+37.
ภ ูมิป
ริม
่งเส
ล ะส
องแ
คร
งคุ้ม
กอ

44
ยาแก้ลมมหาสดมภ์
ที่มาของต�ำรับยา ต�ำรายาเกร็ด (๑)
“ยาแก้ลมมหาสดมภ์แลลมอัมพาตคู่กัน เมื่อจับนั้นลิ้นหด เอา ใบผักคราด ๑ ใบแมงลักคา ๑
สารส้ม ๑ เกลือสินเธาว์ ๑ พรมมิ ๑ บดทาลิ้นหายแล ๚”

ไทย
สูตรต�ำรับยา ประกอบด้วยตัวยา ๕ ชนิด รวมน�้ำหนัก ๕ ส่วน ดังนี้

้าน
ื้นบ
ตัวยา น�ำ้ หนักยา

ย์พ
เกลือสินเธาว์ ๑ ส่วน

พท
ผักคราด ๑ ส่วน

ะแ
๑ ส่วน

แล
พรมมิ

ไทย
แมงลักคา ๑ ส่วน
สารส้ม ผน ๑ ส่วน
ย์แ
พท

สรรพคุณ แก้อาการลิ้นกระด้างคางแข็ง ควบคุมลิ้นล�ำบาก พูดไม่ชัด ที่เกิดจากลมมหาสดมภ์


รแ

และลมอัมพาต
ากา

รูปแบบยา ยาผง (ดูภาคผนวก ๓.๒)


ัญญ

ขนาดและวิธีการใช้ ใช้ทาลิ้นเมื่อมีอาการ
ข้อมูลเพิ่มเติม - ต�ำรับยาดังกล่าวใช้ในกรณีที่ลิ้นหดจากลมมหาสดมภ์และลมอัมพาต
ูมิป

- ผักคราด ควรใช้ส่วนของดอก เนื่องจากมีรสเผ็ดร้อนกว่าใบ ซึ่งเป็นส่วนส�ำคัญ



ริม

ในการออกฤทธิ์
่งเส

- การเตรียมตัวยาสารส้มก่อนน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก ๒.๓๖)


ะส

เอกสารอ้างอิง

องแ

๑. “ต�ำรายาเกร็ด”. หอสมุดแห่งชาติ. หนังสือสมุดไทยด�ำ. อักษรไทย. ภาษาไทย. เลขที่ ๒๗๓.


หมวดต�ำราเวชศาสตร์.
คร

๒. ประกาศกําหนดตําราการแพทย์แผนไทยของชาติและตํารับยาแผนไทยของชาติ (ฉบับที่ ๑๐)


งคุ้ม

พ.ศ. ๒๕๖๐, (๒๕๖๐, ๒๕ พฤษภาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม ๑๓๔ ตอนพิเศษ ๑๔๑ ง, หน้า ๑-๔.
กอ

45
ยาแก้ลมมหาสดมภ์และลมอัมพาต
ที่มาของต�ำรับยา ต�ำราเวชศาสตร์ฉบับหลวง รัชกาลที่ ๕ เล่ม ๓ (๑, ๒)
“ขนานหนึ่งแก้ลมมหาสดม ลมอ�ำมะพาศ คู่กัน เมื่อจับนั้นให้ลิ้นหดเข้า ให้แก้ด้วยยานี้
เอาผักคราด ๑ แมงลัก ๑ ฃ่า ๑ สารส้ม ๑ เกลือสินเทาว ๑ พรมมิ ๑ บดปั้นแท่งไว้ทาลิ้นหด ๚ะ”

ไทย
สูตรต�ำรับยา ประกอบด้วยตัวยา ๖ ชนิด รวมน�้ำหนัก ๖ ส่วน ดังนี้

้าน
ื้นบ
ตัวยา น�้ำหนักยา

ย์พ
เกลือสินเธาว์ ๑ ส่วน

พท
ข่า ๑ ส่วน

ะแ
๑ ส่วน

แล
ผักคราด

ไทย
พรมมิ ๑ ส่วน
แมงลัก (ทั้งต้น) ผน ๑ ส่วน
สารส้ม ๑ ส่วน
ย์แ
รแ พท

สรรพคุณ แก้ลิ้นหด ที่เกิดจากลมมหาสดมภ์และลมอัมพาต


ากา

รูปแบบยา ยาเม็ดพิมพ์ ขนาด ๓๐๐ มิลลิกรัม (ดูภาคผนวก ๓.๔.๑)


ขนาดและวิธีการใช้ ครั้งละ ๑ เม็ด ละลายน�้ำ ทาลิ้นวันละ ๓-๔ ครั้ง
ัญญ

ข้อมูลเพิ่มเติม การเตรียมตัวยาสารส้มก่อนน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก ๒.๓๖)


ูมิป

เอกสารอ้างอิง

ริม

๑. หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. ต�ำราเวชศาสตร์ฉบับหลวง รัชกาลที่ ๕ เล่ม ๓. กรุงเทพฯ :


่งเส

บริษัท อมรินทร์ พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง จ�ำกัด (มหาชน), ๒๕๕๕. หน้า ๓๑.


ะส

๒. ประกาศกําหนดตําราการแพทย์แผนไทยของชาติและตํารับยาแผนไทยของชาติ (ฉบับที่ ๒)

พ.ศ. ๒๕๕๘, (๒๕๕๙, ๑๒ มกราคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม ๑๓๓ ตอนพิเศษ ๗ ง, หน้า ๑-๓.
องแ
คร
งคุ้ม
กอ

46
ยาแก้ลมสรรพวาระจักรโมละ
ที่มาของต�ำรับยา ศิลาจารึกต�ำรายาวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธิ์) (๑, ๒)
“๏ สิทธิการิยะ จะกล่าวลักษณะก�ำเนิดแห่งลมอันชื่อว่า สรรพวาระจักรโมละ เป็นค�ำรบ ๗ นั้น
เกิดแต่กองอัมพฤกษ์แลปัตคาดระคนกันกระท�ำให้จับเป็นคราว ๓ วัน ๔ วัน จับทีหนึ่ง เมื่อจะจับขึ้นมานั้น

ไทย
ท�ำให้เจ็บหลังก่อนแล้วแล่นขึ้นไปจับเกลียวข้าง ให้เจ็บต้นคอยิ่งนัก ฯ
ขนานหนึ่ง เอาผิวฝักมะรุม ผิวลูกมะตูม ผิวลูกมะกรูด ผิวมะนาว ผิวลูกส้มซ่า รากมะกรูด

้าน
รากมะนาว ข่า กระชาย ไพล สิ่งละส่วน หอมแดง พริกไทย ดีปลี การบูร สิ่งละ ๒ ส่วน ใบพิมเสน ๑๘ ส่วน

ื้นบ
ท�ำเป็นจุณบดท�ำแท่งไว้ละลายน�ำ้ ร้อนแทรกชะมด แทรกพิมเสน กินแก้ลมสรรพวาระจักรโมละหายฯ”

ย์พ
พท
สูตรต�ำรับยา ประกอบด้วยตัวยา ๑๕ ชนิด รวมน�้ำหนัก ๓๖ ส่วน ดังนี้

ะแ
ตัวยา น�ำ้ หนักยา

แล
ไทย
พิมเสนต้น ผน ๑๘ ส่วน
การบูร ๒ ส่วน
ย์แ
ดีปลี ๒ ส่วน
พท

พริกไทย ๒ ส่วน
รแ

หอมแดง ๒ ส่วน
ากา

กระชาย ๑ ส่วน
ัญญ

ข่า ๑ ส่วน
ูมิป

ไพล ๑ ส่วน

มะกรูด ๑ ส่วน
ริม

มะกรูด (ราก) ๑ ส่วน


่งเส

มะตูม (ผิวเปลือกผล) ๑ ส่วน


ะส

มะนาว ๑ ส่วน

องแ

มะนาว ๑ ส่วน
คร

มะรุม (ฝัก) ๑ ส่วน


งคุ้ม

ส้มซ่า ๑ ส่วน
กอ

สรรพคุณ แก้ลมสรรพวาระจักรโมละ ซึ่งเป็นลมที่ท�ำให้เกิดอาการ ปวดหลัง ปวดบั้นเอว


แล้วปวดร้าวขึ้นต้นคอ
รูปแบบยา ยาเม็ดพิมพ์ ขนาด ๓๐๐ มิลลิกรัม (ดูภาคผนวก ๓.๔.๑)
ขนาดและวิธีการใช้ ครั้งละ ๓-๕ เม็ด ละลายน�้ำร้อน แทรกชะมดหรือแทรกพิมเสน กินวันละ ๓ ครั้ง
ก่อนอาหาร เช้า กลางวัน และเย็น
47
ข้อควรระวัง ควรระวังการใช้ยาอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในผู้ป่วยที่มีความผิดปรกติของ
ตับ ไต เนื่องจากอาจเกิดการสะสมของการบูรและเกิดพิษได้
ข้อมูลเพิ่มเติม ต�ำรับนี้มีการบูรเป็นส่วนประกอบ ร้อยละ ๕.๕๖ ในยาเม็ด ๓๐๐ มิลลิกรัม จะมีการบูร
อยู่ ๑๖.๖๘ มิลลิกรัม ปริมาณการบูรทีไ่ ด้รบั ใน 1 มือ้ เท่ากับ ๘๓.๔ มิลลิกรัม ซึง่ ปริมาณ
ที่ท�ำให้เกิดพิษจากการกินการบูร เท่ากับ ๒ กรัม โดยขนาดถึงตาย (lethal dose)
ในผู้ใหญ่อยู่ที่ ๔,๐๐๐ มิลลิกรัม/มื้อ ในเด็กอยู่ที่ ๕๐๐-๑,๐๐๐ มิลลิกรัม/มื้อ และ

ไทย
ในทารกอยู่ที่ ๗๐ มิลลิกรัม/กิโลกรัม/มื้อ (๓)

้าน
เอกสารอ้างอิง

ื้นบ
๑. ส�ำนักคุ้มครองภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์

ย์พ
ทางเลือก. ชุดต�ำราภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย ฉบับอนุรักษ์ ต�ำราการแพทย์แผนไทยในศิลาจารึก

พท
วัดพระเชตุพนวิมล มังคลาราม (วัดโพธิ์) เล่ม ๓. พิมพ์ครั้งที่ ๑. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์องค์การสงเคราะห์

ะแ
ทหารผ่านศึกในพระบรมราชูปภัมภ์, ๒๕๕๗.

แล
๒. ประกาศกําหนดตําราการแพทย์แผนไทยของชาติและตํารับยาแผนไทยของชาติ พ.ศ. ๒๕๕๘,

ไทย
(๒๕๕๘, ๓๐ พฤศจิกายน). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม ๑๓๒ ตอนพิเศษ ๓๑๗ ง.
ผน
๓. U.S. National Library of Medicine [Internet]. Hazardous Substance
ย์แ
Database-Camphor [updated 2014 Sep 9; cited 2019 May 28]. Available from: https://toxnet.
พท

nlm.nih.gov/cgi-bin/sis/search2/r?dbs+hsdb:@term+@DOCNO+37.
รแ
ากา
ัญญ
ภ ูมิป
ริม
่งเส
ล ะส
องแ
คร
งคุ้ม
กอ

48
ยาแก้ลมสันดาน สูตร ๑
ที่มาของต�ำรับยา ต�ำรายาเกร็ด (๑)
“ยาแก้ลมสันดาน ๚ ๏๑๒๚ ยาแก้ลมสันดานให้เย็นไปทัง้ ตัว ท่านให้เอา โกฐสอ ๑ เปลือกอบเชย
ไทย ๑ ลูกกระวาน ๑ ใบกระวาน ๑ กานพลู ๑ ขิงแห้ง ๑ การบูร ๑ ว่านน�้ำ (๑) พริกไทย ๑ หัวดองดึง ๑

ไทย
รากเจตมูล ๑ สะค้าน ๑ รากช้าพลู ๑ เอาสิ่งละบาท เอา ดีปลี ๔ ต�ำลึง ต�ำเป็นผงไว้กินเพลาเช้าน�้ำร้อน
เพลาเย็นน�ำ้ ขิง แก้ลมอันให้ตัวเย็น และลมเป็นก้อนเป็นเถาในท้องนั้นหายแล๚”

้าน
ื้นบ
สูตรต�ำรับยา ประกอบด้วยตัวยา ๑๔ ชนิด รวมน�้ำหนัก ๔๓๕ กรัม ดังนี้

ย์พ
พท
ตัวยา น�ำ้ หนักยา

ะแ
ดีปลี ๒๔๐ กรัม

แล
กระวาน ๑๕ กรัม

ไทย
ใบกระวาน ผน ๑๕ กรัม
กานพลู ๑๕ กรัม
ย์แ
การบูร ๑๕ กรัม
พท

โกฐสอ ๑๕ กรัม
รแ

ขิงแห้ง ๑๕ กรัม
ากา

เจตมูลเพลิงแดง ๑๕ กรัม
ัญญ

ชะพลู ๑๕ กรัม
ูมิป

ดองดึง ๑๕ กรัม

พริกไทย ๑๕ กรัม
ริม

๑๕ กรัม
่งเส

ว่านน�้ำ
สะค้าน ๑๕ กรัม
ะส

๑๕ กรัม

อบเชยไทย
องแ
คร

สรรพคุณ แก้ลมอันให้ตัวเย็น และลมเป็นก้อนเป็นเถาในท้อง


งคุ้ม

รูปแบบยา ยาผง (ดูภาคผนวก ๓.๒)


กอ

ขนาดและวิธีการใช้ ครั้งละ ๑ ช้อนชา ละลายน�้ำอุ่นหรือน�้ำขิง กินวันละ ๒ ครั้ง ก่อนอาหาร เช้าและเย็น


ข้อห้ามใช้ ห้ามใช้ในหญิงตั้งครรภ์และหญิงให้นมบุตร ผู้ที่มีไข้ และเด็กอายุต�่ำกว่า ๑๒ ขวบ
ข้อควรระวัง - ไม่ควรใช้ตดิ ต่อกันเป็นเวลานาน โดยเฉพาะในผูป้ ว่ ยทีม่ คี วามผิดปรกติของตับ ไต
เนื่องจากอาจเกิดการสะสมของการบูรและเกิดพิษได้
- ระวังในผู้ป่วยโรคกระเพาะอาหารอักเสบ และความดันโลหิตสูง

49
ข้อมูลเพิ่มเติม - สารทีพ่ บในดองดึงหลายชนิดสามารถแสดงความเป็นพิษได้ โดยเฉพาะ superbine
(colchicine) หากกิ น เข้ า ไปมากจะท� ำ ให้ เ กิ ด ความเป็ น พิ ษ เฉี ย บพลั น ดั ง นั้ น
การน�ำมาใช้จะต้องมีการลดพิษของดองดึงก่อน
- ต�ำรับนี้มีการบูรเป็นส่วนประกอบร้อยละ ๓.๔๕ ในผงยา ๕,๐๐๐ มิลลิกรัม
จะมีการบูรอยู่ ๑๗๒.๕๐ มิลลิกรัม ปริมาณการบูรที่ได้รับใน ๑ มื้อ เท่ากับ ๑๗๒.๕๐
มิลลิกรัม ซึ่งปริมาณที่ท�ำให้เกิดพิษจากการกินการบูร เท่ากับ ๒ กรัม โดยขนาด

ไทย
ถึงตาย (lethal dose) ในผู้ใหญ่อยู่ที่ ๔,๐๐๐ มิลลิกรัม ในเด็กอยู่ที่ ๕๐๐–๑,๐๐๐

้าน
มิลลิกรัม และในทารกอยู่ที่ ๗๐ มิลลิกรัม/กิโลกรัม (๓)

ื้นบ
- การเตรียมตัวยาดองดึงก่อนน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก ๒.๑๐)

ย์พ
เอกสารอ้างอิง
๑. “ต�ำรายาเกร็ด”. หอสมุดแห่งชาติ. หนังสือสมุดไทยด�ำ. อักษรไทย. ภาษาไทย. เลขที่ ๒๒๒.

พท
หมวดต�ำราเวชศาสตร์.

ะแ
๒. ประกาศกําหนดตําราการแพทย์แผนไทยของชาติและตํารับยาแผนไทยของชาติ (ฉบับที่ ๘)

แล
พ.ศ. ๒๕๕๙, (๒๕๖๐, ๒๔ พฤษภาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม ๑๓๔ ตอนพิเศษ ๑๓๙ ง, หน้า ๑-๓.

ไทย
๓. U.S. National Library of Medicine [Internet]. Hazardous Substance Database-
ผน
Camphor [updated 2014 Sep 9; cited 2019 May 28].Available from: https://toxnet.nlm.nih.gov/
ย์แ
cgi-bin/sis/search2/r?dbs+hsdb:@term+@DOCNO+37.
รแ พท
ากา
ัญญ
ภ ูมิป
ริม
่งเส
ล ะส
องแ
คร
งคุ้ม
กอ

50
ยาแก้ลมสันดาน สูตร ๒
ที่มาของต�ำรับยา ต�ำรายาเกร็ด (๑)
“ยาแก้ลมสันดาน ๚ ๏๓๑๚ ถ้าจะแก้ลมสันดานมันให้ทอ้ งแข็งดุจแผ่นกระดานและมันให้จกุ เสียด
เป็นก�ำลัง ถ้าจะแก้ เอา ลูกช้าพลู ๑ บาท ขิงแห้ง ๑ ต�ำลึง ว่านน�ำ้ ๑ บาท รากช้าพลู ๑ บาท ตะไคร้หอม ๑

ไทย
ต�ำลึง หัวหอม ๑ บาท กระเทียม ๓ บาท เปล้าน้อย ๑ ต�ำลึง ๒ บาท พริกไทย ๓ ต�ำลึง ต�ำเป็นผงไว้
ถ้าจะแก้ลมทั้งปวงละลายน�ำ้ ร้อน ถ้าเจ็บทั่วสารพางค์ตัวลายน�ำ้ มะนาวกินหาย ถ้าตกเลือดลายน�้ำจุกหอมจุก

้าน
กระเทียมกินหาย ยานี้วิเศษนัก๚”

ื้นบ
ย์พ
สูตรต�ำรับยา ประกอบด้วยตัวยา ๙ ชนิด รวมน�้ำหนัก ๔๙๕ กรัม ดังนี้

พท
ะแ
ตัวยา น�ำ้ หนักยา

แล
ไทย
พริกไทย ๑๘๐ กรัม
เปล้าน้อย ผน ๙๐ กรัม
ขิงแห้ง ๖๐ กรัม
ย์แ
ตะไคร้หอม ๖๐ กรัม
พท

กระเทียม ๔๕ กรัม
รแ

๑๕ กรัม
ากา

ชะพลู (ผล)
ชะพลู ๑๕ กรัม
ัญญ

ว่านน�้ำ ๑๕ กรัม
ูมิป

หอม ๑๕ กรัม

ริม
่งเส

สรรพคุณ แก้ลมสันดานให้ท้องแข็งดุจแผ่นกระดาน แก้จุกเสียด


ะส

รูปแบบยา ยาผง (ดูภาคผนวก ๓.๒)


ขนาดและวิธีการใช้ ครั้งละ ๑ ช้อนชา ละลายน�้ำกระสาย กินวันละ ๓ ครั้ง ก่อนอาหาร เช้า กลางวัน


องแ

และเย็น
คร

น�้ำกระสายยาที่ใช้
งคุ้ม

- กรณีแก้ลมทั้งปวง ละลายน�้ำอุ่น
กอ

- กรณีแก้อาการจุกเสียด เจ็บทั่วสรรพางค์กาย ละลายน�้ำมะนาว


- กรณีแก้ตกเลือด ละลายน�้ำจุกหอม หรือจุกกระเทียม
ข้อห้ามใช้ ห้ามใช้ในหญิงตั้งครรภ์และหญิงให้นมบุตร ผู้ที่มีไข้ และเด็กอายุต�่ำกว่า ๑๒ ขวบ
ข้อควรระวัง - ระวั ง การใช้ ร ่ ว มกั บ ยา Phenytoin, Propranolol, Theophylline และ
Rifampicin เนื่องจากต�ำรับนี้ มีพริกไทยในปริมาณสูง
51
- ระวังในผู้ป่วยโรคกระเพาะอาหารอักเสบ และความดันโลหิตสูง
- ระมัดระวังการใช้ในผู้สูงอายุ
เอกสารอ้างอิง
๑. “ต�ำรายาเกร็ด”. หอสมุดแห่งชาติ. หนังสือสมุดไทยด�ำ. อักษรไทย. ภาษาไทย. เลขที่ ๒๒๒.
หมวดต�ำราเวชศาสตร์.
๒. ประกาศกําหนดตําราการแพทย์แผนไทยของชาติและตํารับยาแผนไทยของชาติ (ฉบับที่ ๘)

ไทย
พ.ศ. ๒๕๕๙, (๒๕๖๐, ๒๔ พฤษภาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม ๑๓๔ ตอนพิเศษ ๑๓๙ ง, หน้า ๑-๓.

้าน
ื้นบ
ย์พ
พท
ะแ
แล
ไทย
ผน
ย์แ
รแ พท
ากา
ัญญ
ภ ูมิป
ริม
่งเส
ล ะส
องแ
คร
งคุ้ม
กอ

52
ยาแก้ลมเสียงแห้ง
ชื่ออื่น ยาแก้ลม
ที่มาของต�ำรับยา ต�ำรายาเกร็ด (๑)
“ยาแก้ลม ๚ ๏๓๚ ยาแก้ลมมันให้เสียงแห้งคอแห้ง เอา ส้มมะขามเปียก ๒ ต�ำลึง น�้ำตาลโตนด
๑ สลึง น�ำ้ มะนาว ๗ ลูก ชะเอมเทศ ๑ เฟื้อง เกลือ ๑ บาท น�ำ้ ใบมะกล�่ำเครือจอก ๑ น�้ำใบมะกล�ำ่ ต้นจอก ๑

ไทย
น�้ำขิงจอก ๑ ดีปลี ๒ สลึง เคี่ยวขึ้นแต่พอปั้นได้ กิน แก้เสียงแห้ง คอแห้งด้วยลมและริดสีดวงนั้นหายแล๚”

้าน
ื้นบ
สูตรต�ำรับยา ประกอบด้วยตัวยา ๙ ชนิด รวมน�้ำหนัก ๑๔๘.๑๒๕ กรัม* ดังนี้

ย์พ
ตัวยา น�ำ้ หนักยา

พท
ะแ
มะขาม (เนื้อในฝัก) ๑๒๐ กรัม

แล
เกลือ ๑๕ กรัม

ไทย
ดีปลี ๗.๕ กรัม
ตาลโตนด
ผน ๓.๗๕ กรัม
ย์แ
ชะเอมเทศ ๑.๘๗๕ กรัม
พท

มะนาว ๖๐ มิลลิลิตร
รแ

ขิง ๓๐ มิลลิลิตร
ากา

มะกล�่ำเครือ ๓๐ มิลลิลิตร
ัญญ

มะกล�่ำต้น ๓๐ มิลลิลิตร
ูมิป

*ไม่รวมน้ำ�หนัก มะนาว ขิง มะกล่ำ�เครือ และมะกล่ำ�ต้น



ริม

สรรพคุณ แก้เสียงแห้งที่เกิดจากลม คอแห้ง


่งเส

รูปแบบยา ยาลูกกลอน ขนาด ๓๐๐ มิลลิกรัม (ดูภาคผนวก ๓.๕)


ะส

วิธีปรุงยา ตัวยามะนาว ขิง มะกล�่ำเครือและมะกล�่ำต้น คั้นเอาน�้ำตามที่ก�ำหนด ผสมกับตัวยา



องแ

เกลือ ดีปลี ตาลโตนด และชะเอมเทศ กวนให้เข้ากัน แล้วจึงปั้นเป็นยาลูกกลอน


ขนาดและวิธีการใช้ ครั้งละ ๑-๒ เม็ด อมเมื่อมีอาการ
คร
งคุ้ม

ข้อมูลเพิ่มเติม - การเตรียมตัวยาเกลือก่อนน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก ๒.๔)


- การเตรียมตัวยามะกล�่ำเครือก่อนน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก ๒.๑๙)
กอ

- การเตรียมตัวยามะกล�่ำต้นก่อนน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก ๒.๒๐)


เอกสารอ้างอิง
๑. “ต�ำรายาเกร็ด”. หอสมุดแห่งชาติ. หนังสือสมุดไทยด�ำ. อักษรไทย. ภาษาไทย. เลขที่ ๒๒๓.
หมวดต�ำราเวชศาสตร์.
๒. ประกาศกําหนดตําราการแพทย์แผนไทยของชาติและตํารับยาแผนไทยของชาติ (ฉบับที่ ๘)
พ.ศ. ๒๕๕๙, (๒๕๖๐, ๒๔ พฤษภาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม ๑๓๔ ตอนพิเศษ ๑๓๙ ง, หน้า ๑-๓.
53
ยาแก้ลมออกตามหูและตา
ที่มาของต�ำรับยา ต�ำราเวชศาสตร์ฉบับหลวง รัชกาลที่ ๕ เล่ม ๓ (๑, ๒)
“ขนานหนึ่งแก้ลมออกตามหู ตา เอาทะลายหมากที่เปนเขาควาย ๒ สลึง บระเพช ๒ สลึง
พัดแพวแดง ๒ สลึง ดีปลี ๒ สลึง แห้วหมู ๒ บาท พิลังกาสา ๒ บาท ใบสลอด ๒ บาท ใบมะตูม ๒ บาท

ไทย
กรุงเขมา ๒ สลึง ยาทั้งนี้ตำ� ผงละลายน�้ำผึ้งกิน จ�ำเภาะแก้ลมออกหู ตา หายแล๚ะ๛”

้าน
สูตรต�ำรับยา ประกอบด้วยตัวยา ๙ ชนิด รวมน�้ำหนัก ๑๕๗.๕ กรัม ดังนี้

ื้นบ
ตัวยา น�้ำหนักยา

ย์พ
พท
พิลังกาสา ๓๐ กรัม

ะแ
มะตูม (ใบ) ๓๐ กรัม

แล
สลอด (ใบ) ๓๐ กรัม

ไทย
แห้วหมู ผน ๓๐ กรัม
กรุงเขมา ๗.๕ กรัม
ย์แ
ดีปลี ๗.๕ กรัม
พท

บอระเพ็ด ๗.๕ กรัม


รแ

ผักแพวแดง ๗.๕ กรัม


ากา

หมาก ๗.๕ กรัม


ัญญ
ูมิป

สรรพคุณ แก้ลมออกหู ซึง่ ท�ำให้มอี าการหูออื้ มีเสียงในหู และลมออกตา ทีท่ ำ� ให้มอี าการตาลาย

มักพบในผู้สูงอายุ
ริม

รูปแบบยา ยาผง (ดูภาคผนวก ๓.๒)


่งเส

วิธีปรุงยา บดเป็นผงให้ละเอียด
ะส

ขนาดและวิธีการใช้ ครั้งละ ๑-๒ ช้อนชา ละลายน�้ำผึ้งกิน กินวันละ ๒-๓ ครั้ง ก่อนอาหาร เช้า (กลางวัน)

องแ

เย็น หรือเมื่อมีอาการ
ข้อมูลเพิ่มเติม การเตรียมตัวยาบอระเพ็ดก่อนน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก ๒.๑๓)
คร
งคุ้ม

เอกสารอ้างอิง
๑. หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. ต�ำราเวชศาสตร์ฉบับหลวง รัชกาลที่ ๕ เล่ม ๓. กรุงเทพฯ :
กอ

บริษัท อมรินทร์ พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง จ�ำกัด (มหาชน), ๒๕๕๕. หน้า ๓๖.


๒. ประกาศกําหนดตําราการแพทย์แผนไทยของชาติและตํารับยาแผนไทยของชาติ (ฉบับที่ ๒)
พ.ศ. ๒๕๕๘, (๒๕๕๙, ๑๒ มกราคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม ๑๓๓ ตอนพิเศษ ๗ ง, หน้า ๑-๓.

54
ยาแก้ลมอัมพฤกษ์
ที่มาของต�ำรับยา สูตรต�ำรับนี้โรงพยาบาลกาบเชิง จังหวัดสุรินทร์ เสนอเข้าสู่รายการบัญชียาหลัก
แห่งชาติ โดยต�ำรับมีความใกล้เคียงกับยาแก้ลมอ�ำมะพฤกษ์ ลมอ�ำมะพาธ ในคัมภีร์
แพทย์แผนโบราณ เล่ม ๒ ขุนโสภิตบรรณรักษ์ (๑)

ไทย
“๒๔. ยาแก้ลมอ�ำมะพฤกษ์ ลมอ�ำมะพาธ ท�ำให้มอื แลเท้าตาย เอาน�ำ้ มะกรูด น�ำ้ มะงัว่ น�ำ้ มะนาว
เปลือกทองหลางใบมน ไพร ข่า ขมิ้นอ้อย เปลือกกุ่มทั้ง ๒ กระเทียม รากเจ็ตมูลเพลิง พริกไทย ผักเสี้ยนผี

้าน
เกลือ การะบูน ลูกจันทน์ ดอกจันทน์ เอาสิง่ ละเท่ากัน บดเป็นผงเคล้ากับน�้ำส้ม ปัน้ เป็นแท่งละลายน�้ำกระสาย

ื้นบ
ตามควรแก่โรคกิน”

ย์พ
พท
สูตรต�ำรับยา ประกอบด้วยตัวยา ๑๔ ชนิด รวมน�้ำหนัก ๗๐ กรัม (๒) ดังนี้

ะแ
ตัวยา น�ำ้ หนักยา

แล
ไทย
กระเทียม ผน ๕ กรัม
การบูร ๕ กรัม
ย์แ
กุ่มน�้ำ ๕ กรัม
พท

กุ่มบก ๕ กรัม
รแ

เกลือสินเธาว์ ๕ กรัม
ากา

ขมิ้นอ้อย ๕ กรัม
ัญญ

ข่า ๕ กรัม
ูมิป

เจตมูลเพลิงแดง ๕ กรัม

ดอกจันทน์ ๕ กรัม
ริม

ทองหลางใบมน (ใบ) ๕ กรัม


่งเส

ผักเสี้ยนผี ๕ กรัม
ะส

พริกไทยล่อน ๕ กรัม

องแ

ไพล ๕ กรัม
คร

ลูกจันทน์ ๕ กรัม
งคุ้ม

สรรพคุณ บรรเทาอาการปวดตามเส้นเอ็น กล้ามเนื้อ มือ เท้า ตึงหรือชา (๒)


กอ

รูปแบบยา ยาผง (ดูภาคผนวก ๓.๒)


ขนาดและวิธีการใช้ ครั้งละ ๑ กรัม ชงน�้ำร้อน ๑๒๐–๒๐๐ มิลลิลิตร ดื่มวันละ ๓ ครั้ง ก่อนอาหาร (๒)
ข้อห้ามใช้ ห้ามใช้กับหญิงตั้งครรภ์ ผู้ที่มีไข้ และเด็กอายุต�่ำกว่า ๑๒ ขวบ (๒)
ข้อควรระวัง ควรระวังการใช้ยาอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในผู้ป่วยที่มีความผิดปรกติ
ของตับ ไตเนื่องจากอาจเกิดการสะสมของการบูรและเกิดพิษได้ และผู้ป่วยความดัน
โลหิตสูง เนื่องจากมีเกลือเป็นส่วนประกอบ (๒)
55
อาการไม่พึงประสงค์ แสบร้อนยอดอก (๒)
ข้อมูลเพิ่มเติม - ต� ำ รั บ นี้ มี สู ต รใกล้ เ คี ย งกั บ คั ม ภี ร ์ แ พทย์ ไ ทยแผนโบราณ เล่ ม ๒ ขุ น โสภิ ต
บรรณลักษณ์ ซึ่งต�ำรับยานี้ไม่มีตัวยามะกรูด น�้ำมะงั่ว น�้ำมะนาว
- ต�ำรับนี้มีการบูรเป็นส่วนประกอบร้อยละ ๖.๖๗ ในผงยา ๑,๐๐๐ มิลลิกรัม
จะมีการบูรอยู่ ๖๖.๗ มิลลิกรัม ปริมาณการบูรที่ได้รับใน ๑ มื้อ เท่ากับ ๖๖.๗ มิลลิกรัม
ซึง่ ปริมาณทีท่ ำ� ให้เกิดพิษจากการกินการบูร เท่ากับ ๒ กรัม โดยขนาดถึงตาย (lethal

ไทย
dose) ในผู้ใหญ่อยู่ที่ ๔,๐๐๐ มิลลิกรัม/มื้อ ในเด็กอยู่ที่ ๕๐๐-๑,๐๐๐ มิลลิกรัม/มื้อ

้าน
และในทารกอยู่ที่ ๗๐ มิลลิกรัม/กิโลกรัม/มื้อ (๓)

ื้นบ
เอกสารอ้างอิง

ย์พ
๑. ขุนโสภิตบรรณลักษณ์ (อ�ำพัน กิตติขจร), คัมภีร์แพทย์ไทยแผนโบราณ เล่ม ๒. กรุงเทพฯ

พท
: โรงพิมพ์อุตสาหกรรมการพิมพ์, ๒๕๐๔. หน้า ๒๕๙.

ะแ
๒. ประกาศคณะกรรมการพัฒนาระบบยาแห่งชาติ เรื่อง บัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๑.

แล
(๒๕๖๑, ๑๙ มกราคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม ๑๓๕ ตอนพิเศษ ๑๔ ง. หน้า ๔. (เอกสารแนบท้ายประกาศ

ไทย
หน้า ๒๕๔).

ผน
๓. U.S. National Library of Medicine [Internet]. Hazardous Substance
ย์แ
Database-Camphor [updated 2014 Sep 9; cited 2019 May 28]. Available from: https://toxnet.
พท

nlm.nih.gov/cgi-bin/sis/search2/r?dbs+hsdb:@term+@DOCNO+37.
รแ
ากา
ัญญ
ภ ูมิป
ริม
่งเส
ล ะส
องแ
คร
งคุ้ม
กอ

56
ยาแก้ลมอัมพฤกษ์ อัมพาต สูตร ๑
ที่มาของต�ำรับยา ต�ำราเวชศาสตร์ฉบับหลวง รัชกาลที่ ๕ เล่ม ๓ (๑, ๒)
“ยาแก้ลมอ�ำมพฤก อ�ำมพาด ให้มือตาย เท้าตาย เอาน�้ำมะนาว น�้ำมะงั่ว น�้ำมะกรูด เปลือก
ทองหลางใบมน ๑ ไพล ๑ ฃ่า ๑ ขมิ้นอ้อย ๑ กุ่มทั้ง ๒ กะเทียม ๑ รากเจตมูล ๑ พริกไทย ๑ ผักเสี้ยนผี

ไทย
๑ เกลือ ๑ การะบูร ๑ ผลจันทน์ ๑ ดอกจันทน์ ๑ เอาเท่า ๆ กันต�ำผงน�ำ้ กระสายตามควร ๚ะ๛ ”

้าน
สูตรต�ำรับยา ประกอบด้วยตัวยา ๑๗ ชนิด รวมน�้ำหนัก ๑๗ ส่วน ดังนี้

ื้นบ
ย์พ
ตัวยา น�ำ้ หนักยา

พท
กระเทียม (ราก) ๑ ส่วน

ะแ
การบูร ๑ ส่วน

แล
กุ่มน�้ำ ๑ ส่วน

ไทย
กุ่มบก ผน ๑ ส่วน
เกลือ ๑ ส่วน
ย์แ
ขมิ้นอ้อย ๑ ส่วน
พท

ข่า ๑ ส่วน
รแ

เจตมูลเพลิงแดง ๑ ส่วน
ากา

ดอกจันทน์ ๑ ส่วน
ัญญ

ทองหลางใบมน ๑ ส่วน
ูมิป

ผักเสี้ยนผี ๑ ส่วน

พริกไทย ๑ ส่วน
ริม

ไพล
่งเส

๑ ส่วน
มะกรูด ๑ ส่วน
ล ะส

มะงั่ว ๑ ส่วน
องแ

มะนาว ๑ ส่วน
คร

ลูกจันทน์ ๑ ส่วน
งคุ้ม
กอ

สรรพคุณ แก้ลมอัมพฤกษ์ อัมพาต


รูปแบบยา ยาผง (ดูภาคผนวก ๓.๒)
ขนาดและวิธีการใช้ ครั้งละ ๑-๒ กรัม กินวันละ ๓ ครั้ง ก่อนอาหาร เช้า กลางวัน และเย็น ใช้น�้ำกระสาย
ยาตามสมควร

57
ข้อควรระวัง ควรระวังการใช้ยาอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในผู้ป่วยที่มีความผิดปรกติของ
ตับ ไต เนื่องจากอาจเกิดการสะสมของการบูรและเกิดพิษได้
ข้อมูลเพิ่มเติม - ต�ำรับนี้มีการบูรเป็นส่วนประกอบร้อยละ ๕.๘๘ ในผงยา ๑,๐๐๐ มิลลิกรัม
จะมีการบูรอยู่ ๕๘.๘ มิลลิกรัม ปริมาณการบูรทีไ่ ด้รบั ใน ๑ มือ้ เท่ากับ ๑๗๖.๔ มิลลิกรัม
ซึง่ ปริมาณทีท่ ำ� ให้เกิดพิษจากการกินการบูร เท่ากับ ๒ กรัม โดยขนาดถึงตาย (lethal

ไทย
dose) ในผู้ใหญ่อยู่ที่ ๔,๐๐๐ มิลลิกรัม/มื้อ ในเด็กอยู่ที่ ๕๐๐-๑,๐๐๐ มิลลิกรัม/มื้อ
และในทารกอยู่ที่ ๗๐ มิลลิกรัม/กิโลกรัม/มื้อ (๓)

้าน
- ตัวยามะกรูด มะงั่วและมะนาว ในยาต�ำรับนี้ให้ใช้น�้ำคั้นจากส่วนของผล

ื้นบ
เอกสารอ้างอิง

ย์พ
๑. หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. ต�ำราเวชศาสตร์ฉบับหลวง รัชกาลที่ ๕ เล่ม ๓. กรุงเทพฯ :

พท
บริษัท อมรินทร์ พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง จ�ำกัด (มหาชน), ๒๕๕๕. หน้า ๓๕-๓๖.

ะแ
๒. ประกาศกําหนดตําราการแพทย์แผนไทยของชาติและตํารับยาแผนไทยของชาติ (ฉบับที่ ๒)

แล
ไทย
พ.ศ. ๒๕๕๘, (๒๕๕๙, ๑๒ มกราคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม ๑๓๓ ตอนพิเศษ ๗ ง, หน้า ๑-๓.
๓. U.S. National Library of Medicine [Internet]. Hazardous Substance
ผน
Database-Camphor [updated 2014 Sep 9; cited 2019 May 28]. Available from: https://toxnet.
ย์แ
nlm.nih.gov/cgi-bin/sis/search2/r?dbs+hsdb:@term+@DOCNO+37.
รแ พท
ากา
ัญญ
ภ ูมิป
ริม
่งเส
ล ะส
องแ
คร
งคุ้ม
กอ

58
ยาแก้ลมอัมพฤกษ์ อัมพาต สูตร ๒
ที่มาของต�ำรับยา แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ เล่ม ๒ พระยาพิศณุประสาทเวช ร.ศ.๑๒๖ (๑, ๒)
“ให้เอามหาหิงคุ์ ๑ บาท ว่านน�ำ้ ๑ สลึง เจตมูลเพลิง ๒ สลึง เกลือสินเธาว์ ๒ สลึง พริกไทย
๖ สลึง การะบูร ๒ สลึง กานพลู ๑ สลึง แห้วหมู ๒ สลึง โกฐพุงปลา ๑ เฟื้อง โกฐสอ ๑ เฟื้อง ยาด�ำ ๑ บาท

ไทย
รากตองแตก ๑ บาท ดีปลี ๖ สลึง รากช้าพลู ๑ สลึง ผลกระดอม ๖ สลึง บอระเพ็ด ๒ สลึง ลูกกระวาน
๒ สลึง กะเทียม ๒ สลึง ขมิ้นอ้อย ๒ สลึง หัศด�ำเทศ ๑ บาท ใบสะเดา ๑ ต�ำลึง ต�ำเปนผงละลายน�ำ้ ร้อนหรือ

้าน
น�้ำส้มก็ได้ หรือส้มซ่าก็ได้ น�้ำผึ้งก็ได้หรือน�้ำร้อนก็ได้ แก้ลมอันเกิดแต่เท้าให้เท้าตายมือตาย และแก้ลม

ื้นบ
ริศดวงก็หายสิ้นแล ให้รับประทานเท่าผลสมอแก้ลม ๓๐๐ จ�ำพวกก็หายแล ถ้ารับประทานได้ ๗ วันเสียงดัง

ย์พ
จักกระจั่นเรไร ถ้ารับประทาน ๑๕ วัน เสียงนกการะเวก ถ้ารับประทานได้นานๆ เสียงดังหงษ์ทองอยู่ใน

พท
ถ�ำ้ คูหาสวรรค์ ถ้ารับประทานถึงเดือน ๑ เรียนพระไตรปิกฏ ๘๔๐๐ จบคาถาปัญญาสว่าง ปราศจากพยาธิ

ะแ
๕๐๐ จ�ำพวกก็หายสิ้นแล รับประทานถึง ๖ เดือนจักษุสว่างทั้ง ๒ ข้าง รับประทานถึง ๗ เดือน รู้กำ� เนิดเทวดา

แล
ไทย
ในชั้นฟ้า รับประทานถึง ๘ เดือนพระเวสุวรรณลงมาสู่เราแล รับประทานถึง ๙ เดือนอายุยีนได้ถึง ๒๐๐ ปี
ให้ทำ� ยานี้กนิ เถิด ถ้าผู้ใดได้ต�ำรานีแ้ ล้ว ไม่ท�ำกินเหมือนเหยียบแผ่นดินผิดทีเดียวแล ต�ำรานี้ท่านคิดปฤษณา
ผน
ได้อย่าสนเท่ห์เลย ถ้าได้พบให้ท�ำกินจ�ำเริญอาหารด้วยแล”
ย์แ
พท

สูตรต�ำรับยา ประกอบด้วยตัวยา ๒๑ ชนิด รวมน�้ำหนัก ๒๖๒.๕ กรัม ดังนี้


รแ

ตัวยา น�ำ้ หนักยา


ากา
ัญญ

สะเดา ๖๐ กรัม
ูมิป

กระดอม ๒๒.๕ กรัม


ดีปลี ๒๒.๕ กรัม


ริม

พริกไทย ๒๒.๕ กรัม


่งเส

ตองแตก ๑๕ กรัม
ะส

มหาหิงคุ์ ๑๕ กรัม

องแ

ยาด�ำ ๑๕ กรัม
คร

หัสด�ำเทศ ๑๕ กรัม
งคุ้ม

กระเทียม ๗.๕ กรัม


กระวาน ๗.๕ กรัม
กอ

การบูร ๗.๕ กรัม


เกลือสินเธาว์ ๗.๕ กรัม
ขมิ้นอ้อย ๗.๕ กรัม
เจตมูลเพลิงแดง ๗.๕ กรัม

59
ตัวยา น�้ำหนักยา

บอระเพ็ด ๗.๕ กรัม


แห้วหมู ๗.๕ กรัม
กานพลู ๓.๗๕ กรัม
ชะพลู ๓.๗๕ กรัม

ไทย
ว่านน�้ำ ๓.๗๕ กรัม
โกฐพุงปลา ๑.๘๗๕ กรัม

้าน
โกฐสอ ๑.๘๗๕ กรัม

ื้นบ
ย์พ
สรรพคุณ แก้ลมอัมพฤกษ์อัมพาต แก้ปวดเข่า ปวดข้อ

พท
รูปแบบยา ยาลูกกลอน ๓๐๐ มิลลิกรัม (ดูภาคผนวก ๓.๕)

ะแ
ขนาดและวิธีการใช้ ครั้งละ ๓-๕ เม็ด กินวันละ ๒ ครั้ง ก่อนอาหาร เช้าและเย็น

แล
ข้อห้ามใช้ ห้ามใช้ในหญิงตั้งครรภ์ ผู้ที่มีไข้ และเด็กอายุต�่ำกว่า ๑๒ ขวบ

ไทย
ข้อควรระวัง - ควรระวั ง การกิ น ร่ ว มกั บ ยาในกลุ ่ ม สารกั น เลื อ ดเป็ น ลิ่ ม (anticoagulant)
ผน
และยาต้านการจับตัวของเกล็ดเลือด (antiplatelets)
ย์แ
- ควรระวังการใช้ ร่วมกับยา phenyltoin propranolol theophylline และ
พท

rifampicin เนื่องจากต�ำรับนี้มีพริกไทยในปริมาณสูง
รแ

- ควรระมัดระวังการใช้ในผู้สูงอายุ
ากา

ข้อมูลเพิ่มเติม - ต�ำรับนี้มีการบูรเป็นส่วนประกอบร้อยละ ๒.๘๕ ในเม็ดยา ๓๐๐ มิลลิกรัม จะมี


ัญญ

การบูรอยู่ ๘.๕๕ มิลลิกรัม ปริมาณการบูรที่ได้รับใน ๑ มื้อ เท่ากับ ๔๒.๗๕ มิลลิกรัม


ซึง่ ปริมาณทีท่ ำ� ให้เกิดพิษจากการกินการบูร เท่ากับ ๒ กรัม โดยขนาดถึงตาย (lethal
ูมิป

dose) ในผู้ใหญ่อยู่ที่ ๔,๐๐๐ มิลลิกรัม/มื้อ ในเด็กอยู่ที่ ๕๐๐-๑,๐๐๐ มิลลิกรัม/มื้อ



ริม

และในทารกอยู่ที่ ๗๐ มิลลิกรัม/กิโลกรัม/มื้อ (๓)


่งเส

- การเตรียมตัวยาตองแตกก่อนน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก ๒.๑๒)


ะส

- การเตรียมตัวยาบอระเพ็ดก่อนน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก ๒.๑๓)


- การเตรียมตัวยามหาหิงคุ์ก่อนน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก ๒.๑๘)


องแ

- การเตรียมตัวยายาด�ำก่อนน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก ๒.๒๓)


คร

เอกสารอ้างอิง
งคุ้ม

๑. พิศณุประสาทเวช, พระยา. แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ เล่ม ๒. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ศุภการ


กอ

จ�ำรูญถนนอัษฏางค์, ร.ศ. ๑๒๖.


๒. ประกาศกําหนดตําราการแพทย์แผนไทยของชาติและตํารับยาแผนไทยของชาติ (ฉบับที่ ๑๓)
พ.ศ. ๒๕๖๐, (๒๕๖๐, ๖ พฤศจิกายน). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม ๑๓๔ ตอนพิเศษ ๒๗๑ ง, หน้า ๑.
๓. U.S. National Library of Medicine [Internet]. Hazardous Substance
Database-Camphor [updated 2014 Sep 9; cited 2019 May 28]. Available from: https://toxnet.
nlm.nih.gov/cgi-bin/sis/search2/r?dbs+hsdb:@term+@DOCNO+37.
60
ยาแก้สารพัดลม
ที่มาของต�ำรับยา ต�ำรายาเกร็ด (๑)
“๏ ๚ ๏๓๙๚ ขนานนี้แก้สารพัดลม จ�ำเริญอาหารด้วย เอา สะค้าน ๒ สลึง ๑ เฟื้อง
สมอเทศ ๑ บาท ๑ สลึง ๑ เฟื้อง ลูกช้าพลู ๑ บาท ๒ สลึง สหัสคุณเทศ ๑ บาท ๑ สลึง ต�ำผงลายน�ำ้ ร้อนกิน

ไทย
๑ สลึง แก้โรคดุจกัน ท่านตีค่าไว้ ๑ ชั่งหนึ่งแล๚”

้าน
สูตรต�ำรับยา ประกอบด้วยตัวยา ๔ ชนิด รวมน�้ำหนัก ๗๑.๒๕ กรัม ดังนี้

ื้นบ
ย์พ
ตัวยา น�ำ้ หนักยา

พท
ชะพลู (ผล) ๒๒.๕๐ กรัม

ะแ
สมอเทศ ๒๐.๖๒๕ กรัม

แล
หัสคุณเทศ ๑๘.๗๕ กรัม

ไทย
สะค้าน ผน ๙.๓๗๕ กรัม
ย์แ
พท

สรรพคุณ แก้สารพัดลม ช่วยให้เจริญอาหาร


รแ

รูปแบบยา ยาผง (ดูภาคผนวก ๓.๒)


ากา

ขนาดและวิธีการใช้ ครั้งละ ๑ ช้อนชา ละลายน�้ำอุ่น กินวันละ ๓ ครั้ง ก่อนอาหาร เช้า กลางวัน เย็น
ัญญ

ข้อห้ามใช้ ห้ามใช้ในหญิงตั้งครรภ์และหญิงให้นมบุตร ผู้ที่มีไข้ และเด็กอายุต�่ำกว่า ๑๒ ขวบ


ข้อมูลเพิ่มเติม การเตรียมตัวยาหัสคุณเทศก่อนน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก ๒.๔๒)
ูมิป

เอกสารอ้างอิง

ริม

๑. “ต�ำรายาเกร็ด”. หอสมุดแห่งชาติ. หนังสือสมุดไทยด�ำ. อักษรไทย. ภาษาไทย. เลขที่ ๒๒๒.


่งเส

หมวดต�ำราเวชศาสตร์.
ะส

๒. ประกาศกําหนดตําราการแพทย์แผนไทยของชาติและตํารับยาแผนไทยของชาติ (ฉบับที่ ๘)

พ.ศ. ๒๕๕๙, (๒๕๖๐, ๒๔ พฤษภาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม ๑๓๔ ตอนพิเศษ ๑๓๙ ง, หน้า ๑-๓.
องแ
คร
งคุ้ม
กอ

61
ยาแก้เส้นปัตคาด
ที่มาของต�ำรับยา ต�ำรายาเกร็ด (๑)
“ยาแก้เส้นปัตคาด เอา ผักเสี้ยนทั้ง ๒ ใบประค�ำไก่ ๑ ใบคนทีสอ ๑ พริกไทย ๑ ผิวไม้สีสุก ๑
ไพล ๑ ขมิ้นอ้อย ๑ ว่านนางค�ำ ๑ ขิง ๑ ข่า ๑ กะทือ ๑ ใบว่านน�ำ้ ๑ หอม ๑ กระเทียม ๑ ผิวมะกรูด ๑

ไทย
ยาด�ำ ๑ มหาหิงคุ์ ๑ กระชาย ๑ ต�ำผงละลายสุราก็ได้ น�้ำส้มสายชูก็ได้ ทั้งกินทั้งทา แก้ลมปัตคาดเมื่อยขบ
เหน็บชา ลมขึ้นแต่ฝ่าเท้าจนศีรษะ ปวดศีรษะทาหาย น�้ำกระสายได้ ๒ อย่างแล๚”

้าน
ื้นบ
สูตรต�ำรับยา ประกอบด้วยตัวยา ๑๙ ชนิด รวมน�้ำหนัก ๑๙ ส่วน ดังนี้

ย์พ
ตัวยา น�้ำหนักยา

พท
ะแ
กระชาย ๑ ส่วน

แล
กะทือ ๑ ส่วน

ไทย
กระเทียม ผน ๑ ส่วน
ขมิ้นอ้อย ๑ ส่วน
ย์แ
ข่า ๑ ส่วน
พท

ขิง ๑ ส่วน
รแ

คนทีสอ ๑ ส่วน
ากา

ประค�ำไก่ ๑ ส่วน
ัญญ

ผักเสี้ยนไทย ๑ ส่วน
ูมิป

ผักเสี้ยนผี ๑ ส่วน

ไผ่สีสุก ๑ ส่วน
ริม

พริกไทย ๑ ส่วน
่งเส

ไพล ๑ ส่วน
ะส

มหาหิงคุ์ ๑ ส่วน

องแ

มะกรูด ๑ ส่วน
คร

ยาด�ำ ๑ ส่วน
งคุ้ม

ว่านนางค�ำ ๑ ส่วน
ว่านน�้ำ (ใบ) ๑ ส่วน
กอ

หอม ๑ ส่วน

62
สรรพคุณ แก้ลมปัตคาด แก้เมื่อยขบ เหน็บชา แก้ลมขึ้นแต่ฝา่ เท้าจนศีรษะ ปวดศีรษะ
รูปแบบยา ยาผง (ดูภาคผนวก ๓.๒)
ขนาดและวิธีการใช้ ยากิน ครั้งละ ๑-๑.๕ กรัม ละลายน�้ำสุรา น�้ำส้มสายชู หรือน�้ำต้มสุก กินวันละ ๓ ครั้ง
ก่อนอาหาร เช้า กลางวันและเย็น หรือตามก�ำลังธาตุหนักเบา
ยาทา ผงยาละลายน�้ำสุรา น�้ำส้มสายชู หรือน�้ำต้มสุก ทาบริเวณที่มีอาการ
ข้อห้ามใช้ - ห้ามใช้ในหญิงตั้งครรภ์และหญิงให้นมบุตร ผู้ที่มีไข้ และเด็กอายุต�่ำกว่า ๑๒ ขวบ

ไทย
- ห้ามใช้บริเวณผิวหนังที่มีบาดแผลหรือแผลเปิด

้าน
ข้อมูลเพิ่มเติม - การเตรียมตัวยามหาหิงคุ์ก่อนน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก ๒.๑๘)

ื้นบ
- การเตรียมตัวยายาด�ำก่อนน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก ๒.๒๓)

ย์พ
เอกสารอ้างอิง

พท
๑. “ต�ำรายาเกร็ด”. หอสมุดแห่งชาติ. หนังสือสมุดไทยด�ำ. อักษรไทย. ภาษาไทย. เลขที่ ๒๗๓.

ะแ
หมวดต�ำราเวชศาสตร์.

แล
๒. ประกาศกําหนดตําราการแพทย์แผนไทยของชาติและตํารับยาแผนไทยของชาติ (ฉบับที่ ๑๐)

ไทย
พ.ศ. ๒๕๖๐, (๒๕๖๐, ๒๕ พฤษภาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม ๑๓๔ ตอนพิเศษ ๑๔๑ ง, หน้า ๑-๔.
ผน
ย์แ
รแ พท
ากา
ัญญ
ภ ูมิป
ริม
่งเส
ล ะส
องแ
คร
งคุ้ม
กอ

63
ยาแก้หืด
ที่มาของต�ำรับยา คัมภีร์แพทย์ไทยแผนโบราณ ขุนโสภิตบรรณลักษณ์ เล่ม ๓ (๑)
“ยาแก้หืด เอาขิง ๒๐ บาท สะค้าน ๒๐ บาท หัวแห้วหมู ๒๐ บาท เจ็ตมูลเพลิง ๒๐ บาท
พริกไทยล่อน ๑ ทนาน บดเป็นผงละลายน�ำ้ ร้อนกิน”

ไทย
สูตรต�ำรับยา ประกอบด้วยตัวยา ๕ ชนิด รวมน�้ำหนัก ๒,๒๐๐ กรัม ดังนี้

้าน
ื้นบ
ตัวยา น�้ำหนักยา

ย์พ
พริกไทยล่อน ๑,๐๐๐ กรัม

พท
ขิง ๓๐๐ กรัม

ะแ
๓๐๐ กรัม

แล
เจตมูลเพลิงแดง

ไทย
สะค้าน ๓๐๐ กรัม
แห้วหมู ผน ๓๐๐ กรัม
ย์แ
สรรพคุณ แก้หอบ หืด ภูมิแพ้อากาศ
พท

รูปแบบยา ยาผง (ดูภาคผนวก ๓.๒), ยาแคปซูล ขนาด ๒๕๐ มิลลิกรัม (ดูภาคผนวก ๓.๓)
รแ

ขนาดและวิธีการใช้ ยาผง ครั้งละ ๑ ช้อนชา ละลายน�้ำร้อนกิน วันละ ๒ ครั้ง ก่อนอาหาร เช้าและเย็น


ากา

หรือเมื่อมีอาการ
ัญญ

ยาแคปซูล ครั้งละ ๒-๔ แคปซูล วันละ ๒ ครั้ง ก่อนอาหาร เช้าและเย็น หรือเมื่อ


ูมิป

มีอาการ

ข้อห้ามใช้ ห้ามใช้ในหญิงตัง้ ครรภ์ ผูท้ มี่ ไี ข้ เด็กอายุตำ�่ กว่า ๑๒ ขวบ และผูท้ เี่ ป็นแผลในกระเพาะ
ริม
่งเส

อาหาร
ะส

ข้อควรระวัง - ควรระวังการกินร่วมกับยาในกลุ่มสารกันเลือดเป็นลิ่ม (anticoagulant) และ


ยาต้านการจับตัวของเกล็ดเลือด (antiplatelets)
องแ

- ควรระวังการใช้ ร่วมกับยา phenyltoin propranolol theophylline และ


คร

rifampicin เนื่องจากต�ำรับนี้มีพริกไทยในปริมาณสูง
งคุ้ม

- ควรระมัดระวังการใช้ในผู้สูงอายุ
กอ

เอกสารอ้างอิง
ขุนโสภิตบรรณลักษณ์ (อ�ำพัน กิตติขจร), คัมภีร์แพทย์ไทยแผนโบราณ เล่ม ๓. กรุงเทพฯ :
โรงพิมพ์อุตสาหกรรมการพิมพ์, ๒๕๐๔.

64
ยาแก้อัคนีจร
ชื่ออื่น ยาแก้ลมพิษ
ที่มาของต�ำรับยา ต�ำรายาเกร็ด (๑)
“ยาแก้ลมพิษ ๚ ๏๒๚ ยาแก้ลมพิษอันให้คันไปทั้งตัวก็ดี และลมปัตคาดก็ดี ลมสลักเพชรก็ดี

ไทย
ท่านให้เอา มหาหิงคุ์ ๑ ว่านน�้ำ ๑ ลูกช้าพลู ๑ ขิงแห้ง ๑ เทียนเยาวพาณี ๑ ผัดแผวแดง (ผักแพวแดง) ๑
โกฐสอ ๑ เอาเสมอภาค ต�ำเป็นผงบดลายน�้ำร้อนกินแก้ลม ๑๖ จ�ำพวก ยานี้ชื่ออัคนีจร แก้ลมขึ้นให้เจ็บตา

้าน
หายแล๚”

ื้นบ
ย์พ
สูตรต�ำรับยา ประกอบด้วยตัวยา ๗ ชนิด รวมน�้ำหนัก ๗ ส่วน ดังนี้

พท
ตัวยา น�้ำหนักยา

ะแ
แล
๑ ส่วน

ไทย
โกฐสอ
ขิงแห้ง ผน ๑ ส่วน
ชะพลู (ผล) ๑ ส่วน
ย์แ
เทียนเยาวพาณี ๑ ส่วน
พท

ผักแพวแดง ๑ ส่วน
รแ

มหาหิงคุ์ ๑ ส่วน
ากา

ว่านน�้ำ ๑ ส่วน
ัญญ
ูมิป

สรรพคุณ แก้ลม ๑๖ จ�ำพวก แก้ลมขึ้นให้ปวดตา แก้ลมพิษอันให้คันไปทั้งตัว



ริม

รูปแบบยา ยาผง (ดูภาคผนวก ๓.๒)


่งเส

ขนาดและวิธีการใช้ ครั้งละ ๑/๒-๑ ช้อนชา (๒.๕-๕ กรัม) ละลายน�้ำอุ่น ๓๐ มิลลิลิตร กินวันละ ๓ ครั้ง
ะส

ก่อนอาหาร เช้า กลางวันและเย็น


ข้อห้ามใช้ ห้ามใช้ในหญิงตั้งครรภ์และหญิงให้นมบุตร ผู้ที่มีไข้ และเด็กอายุต�่ำกว่า ๑๒ ขวบ


องแ

ข้อมูลเพิ่มเติม การเตรียมตัวยามหาหิงคุ์ก่อนน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก ๒.๑๘)


คร

เอกสารอ้างอิง
งคุ้ม

๑. “ต�ำรายาเกร็ด”. หอสมุดแห่งชาติ. หนังสือสมุดไทยด�ำ. อักษรไทย. ภาษาไทย. เลขที่ ๒๒๒.


กอ

หมวดต�ำราเวชศาสตร์.
๒. ประกาศกําหนดตําราการแพทย์แผนไทยของชาติและตํารับยาแผนไทยของชาติ (ฉบับที่ ๘)
พ.ศ. ๒๕๕๙, (๒๕๖๐, ๒๔ พฤษภาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม ๑๓๔ ตอนพิเศษ ๑๓๙ ง, หน้า ๑-๓.

65
ยาแก้ไอ
ที่มาของต�ำรับยา ศิลาจารึกวัดราชโอรสรามราชวรวิหาร (๑, ๒)
“สิทธิการิยะ จะกล่าวสรเภทโรค คือ ไอเสียงแหบแห้ง บังเกิดเพื่อลมนั้น ให้เสมหะออกมา
มีสีด�ำ ให้ระคายล�ำคอ ขนานหนึ่งเอาตรีกฏุก รากพรมมิ รากแมงลัก ว่านน�้ำ ชะเอม เอาเสมอภาค

ไทย
ท�ำเป็นจุณ บดละลายน�้ำผึ้ง ก็ได้ น�้ำตาลกรวดก็ได้ ให้กินแก้ไอแห้งเสียงดังกะสาบ เกิดเพื่อลมนั้นหาย ๚”

้าน
สูตรต�ำรับยา ประกอบด้วยตัวยา ๗ ชนิด รวมน�้ำหนัก ๗ ส่วน ดังนี้

ื้นบ
ย์พ
ตัวยา น�้ำหนักยา

พท
ขิงแห้ง ๑ ส่วน

ะแ
ชะเอมไทย ๑ ส่วน

แล
๑ ส่วน

ไทย
ดีปลี
พรมมิ (ราก) ผน ๑ ส่วน
พริกไทย ๑ ส่วน
ย์แ
แมงลัก (ราก) ๑ ส่วน
พท

ว่านน�้ำ ๑ ส่วน
รแ
ากา

สรรพคุณ แก้ไอแห้ง เสมหะน้อย ระคายคอ และเสียงแหบแห้ง


ัญญ

รูปแบบยา ยาผง (ดูภาคผนวก ๓.๒)


ูมิป

ขนาดและวิธีการใช้ ครั้งละ ๑ ช้อนชา ละลายน�้ำผึ้งหรือน�้ำตาลกรวด กินวันละ ๓-๔ ครั้ง ก่อนอาหารหรือ



ริม

เมื่อมีอาการ
่งเส

ข้อห้ามใช้ ห้ามใช้ในผู้ที่มีไข้ ร้อนใน เจ็บคอ


ะส

เอกสารอ้างอิง

๑. ส�ำนักคุ้มครองภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์
องแ

ทางเลือก. จารึกต�ำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร. พิมพ์ครัง้ ที่ ๑. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์องค์การสงเคราะห์


คร

ทหารผ่านศึก ในพระบรมราชูปภัมภ์, ๒๕๕๗.


งคุ้ม

๒. ประกาศกําหนดตําราการแพทย์แผนไทยของชาติและตํารับยาแผนไทยของชาติ (ฉบับที่ ๓)
กอ

พ.ศ. ๒๕๕๙, (๒๕๕๙, ๒๒ เมษายน). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม ๑๓๓ ตอนพิเศษ ๙๓ ง, หน้า ๑-๑๕.

66
ยาแก้ไอ ขับเสมหะ สูตร ๑
ที่มาของต�ำรับยา ศิลาจารึกต�ำรายาวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธิ์) (๑, ๒)
“สิทธิการิยะ จะกล่าวลักษณะสมุฏฐาน ๔ ประการนัน้ คือ เสมหะสมุฏฐาน ปิตตะสมุฏฐาน วาตะ
สมุฏฐาน สันนิปาตะสมุฏฐาน นั้นก่อนเป็นอาทิ ให้แพทย์ทั้งหลายพึงรู้โดยสังเขปอันนี้อยู่ในคัมภีร์สมุฏฐาน

ไทย
วินิจฉัยโน้นเสร็จแล้ว ฯ ในล�ำดับนี้ จะแสดงลักษณะเสมหะสมุฏฐานเป็นปฐม คือย�่ำรุ่งแล้วไปจน ๔ โมงเช้า
เป็นอ�ำเภอแห่งเสมหะสมุฏฐาน มีอาการกระท�ำให้ตัวร้อนตัวเย็นให้ขนลุกขนพอง บางทีให้เสโทตก ให้กลัดอก

้าน
บางทีให้หลับเชื่อมมัว แล้วให้เป็นหวัดแลไอ ให้เบื่ออาหาร ให้สวิงสวายโทษอันนี้เกิดแต่กองเสมหะสมุฏฐาน ฯ

ื้นบ
อนึ่ง เอา สมอไทย สมอพิเภก มะขามป้อม รากมะแว้งต้น รากมะแว้งเครือ รากมะเขือขื่น

ย์พ
รากมะกล�่ำต้น ว่านน�้ำ ชะเอมเทศ ดีปลีช้าง เสมอภาคท�ำเป็นจุณบดท�ำแท่งไว้ละลายน�ำ้ ร้อนกิน แก้เสมหะ

พท
สมุฏฐานโรคนั้นหาย ฯ”

ะแ
แล
สูตรต�ำรับยา ประกอบด้วยตัวยา ๑๐ ชนิด รวมน�้ำหนัก ๑๐ ส่วน ดังนี้

ไทย
ตัวยา ผน น�ำ้ หนักยา
ย์แ
ชะเอมเทศ ๑ ส่วน
พท

ดีปลี ๑ ส่วน
รแ

มะกล�่ำต้น ๑ ส่วน
ากา

มะขามป้อม (เนื้อผล) ๑ ส่วน


ัญญ

มะเขือขื่น ๑ ส่วน
ูมิป

มะแว้งเครือ (ราก) ๑ ส่วน


มะแว้งต้น ๑ ส่วน
ริม

ว่านน�้ำ ๑ ส่วน
่งเส

สมอไทย (เนื้อผล) ๑ ส่วน


ะส

๑ ส่วน

สมอพิเภก (เนื้อผล)
องแ
คร

สรรพคุณ แก้ไอ ขับเสมหะ


งคุ้ม

รูปแบบยา ยาเม็ดพิมพ์ ขนาด ๓๐๐ มิลลิกรัม (ดูภาคผนวก ๓.๔.๑)


กอ

ขนาดและวิธีการใช้ ครั้งละ ๒-๔ เม็ด ละลายน�้ำร้อน กินวันละ ๓ ครั้ง ก่อนอาหารเช้า กลางวัน และเย็น
ข้อมูลเพิ่มเติม - ในสูตรต�ำรับดีปลีชา้ งหาได้ยาก จึงเปลี่ยนมาใช้ดีปลี ซึ่งหาได้ง่ายและมีสรรพคุณ
เหมือนกัน
- การเตรียมตัวยามะกล�่ำต้นก่อนน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก ๒.๒๐)

67
เอกสารอ้างอิง
๑. ส�ำนักคุ้มครองภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์
ทางเลือก. ชุดต�ำราภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย ฉบับอนุรักษ์ ต�ำราการแพทย์แผนไทยในศิลาจารึกวัด
พระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธิ์) เล่ม ๒. พิมพ์ครั้งที่ ๑. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์องค์การสงเคราะห์
ทหารผ่านศึกในพระบรมราชูปภัมภ์. ๒๕๕๗.
๒. ประกาศกําหนดตําราการแพทย์แผนไทยของชาติและตํารับยาแผนไทยของชาติ พ.ศ. ๒๕๕๘,

ไทย
(๒๕๕๘, ๓๐ พฤศจิกายน). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม ๑๓๒ ตอนพิเศษ ๓๑๗ ง.

้าน
ื้นบ
ย์พ
พท
ะแ
แล
ไทย
ผน
ย์แ
รแ พท
ากา
ัญญ
ภ ูมิป
ริม
่งเส
ล ะส
องแ
คร
งคุ้ม
กอ

68
ยาแก้ไอ ขับเสมหะ สูตร ๒
ชื่ออื่น ยาแก้ไอเพื่อเสมหะ
ที่มาของต�ำรับยา คัมภีร์แพทย์ไทยแผนโบราณ ขุนโสภิตบรรณลักษณ์ เล่ม ๓ (๑)
“…ยาแก้ไอเพื่อเสมหะ เอาลูกจันทน์ ดอกจันทน์ ลูกกระวาน กานพลู พริกไทย ดีปลี หัวหอม

ไทย
หัวกระเทียม ชะเอมเทศ รากส้มกุ้งน้อย รากมะแว้งเครือ รากมะเขือขื่น รากมะกล�ำ่ เครือ เปลือกมะกล�ำ่ ต้น
เอาเสมอภาค ฝักส้มป่อยเท่ายาทั้งหลาย บดละลายน�ำ้ มะขามเปียกแทรกเกลือกวาด…”

้าน
ื้นบ
สูตรต�ำรับยา ประกอบด้วยตัวยา ๑๕ ชนิด รวมน�้ำหนัก ๒๘ ส่วน ดังนี้

ย์พ
พท
ตัวยา น�ำ้ หนักยา

ะแ
ส้มป่อย (ฝัก) ๑ ส่วน

แล
กระเทียม ๑ ส่วน

ไทย
กระวาน ผน ๑ ส่วน
กานพลู ๑ ส่วน
ย์แ
ชะเอมเทศ ๑ ส่วน
พท

ดอกจันทน์ ๑ ส่วน
รแ

ดีปลี ๑ ส่วน
ากา

พริกไทย ๑ ส่วน
ัญญ

มะกล�่ำเครือ ๑ ส่วน
ูมิป

มะกล�่ำต้น ๑ ส่วน

มะเขือขื่น ๑ ส่วน
ริม

๑ ส่วน
่งเส

มะแว้งเครือ (ราก)
ลูกจันทน์ ๑ ส่วน
ะส

๑ ส่วน

ส้มกุ้งน้อย
องแ

หอม ๑ ส่วน
คร
งคุ้ม

สรรพคุณ แก้ไอ ขับเสมหะ


รูปแบบยา ยาผง (ดูภาคผนวก ๓.๒)
กอ

ขนาดและวิธีการใช้ ครัง้ ละ ๓-๕ กรัม ละลายน�ำ้ มะขามเปียกแทรกเกลือ กินหรือกวาดคอ วันละ ๑-๓ ครัง้
ตามอาการหนักเบา
ข้อห้ามใช้ ห้ามใช้ในเด็ก

69
ข้อมูลเพิ่มเติม - การเตรียมตัวยามะกล�่ำเครือก่อนน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก ๒.๑๙)
- การเตรียมตัวยามะกล�่ำต้นก่อนน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก ๒.๒๐)
- การเตรียมตัวยาส้มป่อยก่อนน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก ๒.๓๐)
เอกสารอ้างอิง
ขุนโสภิตบรรณลักษณ์ (อ�ำพัน กิตติขจร), คัมภีร์แพทย์ไทยแผนโบราณ เล่ม ๓. กรุงเทพฯ :
โรงพิมพ์อุตสาหกรรมการพิมพ์, ๒๕๐๔.

ไทย
้าน
ื้นบ
ย์พ
พท
ะแ
แล
ไทย
ผน
ย์แ
รแ พท
ากา
ัญญ
ภ ูมิป
ริม
่งเส
ล ะส
องแ
คร
งคุ้ม
กอ

70
ยาแก้ไอคอแหบแห้ง
ที่มาของต�ำรับยา ต�ำราเวชศาสตร์ฉบับหลวง รัชกาลที่ ๕ เล่ม ๒ (๑, ๒)
“๏ ยาแก้ฅอแหบแห้งไม่มีน�้ำเขฬะ เอาชะเอม ๑ ศีศะกะเทียม ๑ ขิงแห้ง ๑ ศีศะหอม ๑
เกลือร�ำหัดกินมีน�้ำเขฬะแล ๚”

ไทย
สูตรต�ำรับยา ประกอบด้วยตัวยา ๔ ชนิด รวมน�้ำหนัก ๗๑.๒๕ กรัม ดังนี้

้าน
ื้นบ
ตัวยา น�ำ้ หนักยา

ย์พ
กระเทียม ๒๒.๕๐ กรัม

พท
ขิงแห้ง ๒๐.๖๒๕ กรัม

ะแ
ชะเอมไทย ๑๘.๗๕ กรัม

แล
หอม ๙.๓๗๕ กรัม

ไทย
ผน
ย์แ
สรรพคุณ แก้ไอที่ไม่มีเสมหะ คอแห้ง เสียงแห้ง
พท

รูปแบบยา ยาผง (ดูภาคผนวก ๓.๒)


รแ

ขนาดและวิธีการใช้ ครั้งละ ๑ ช้อนชา แทรกเกลือเล็กน้อย กินวันละ ๓ ครั้ง ก่อนอาหาร เช้า กลางวัน และ
ากา

เย็น หรือเมื่อมีอาการ
เอกสารอ้างอิง
ัญญ

๑. หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. ต�ำราเวชศาสตร์ฉบับหลวง รัชกาลที่ ๕ เล่ม ๒. กรุงเทพฯ :


ูมิป

บริษัท อมรินทร์ พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง จ�ำกัด (มหาชน), ๒๕๔๒. หน้า ๑๙๘.



ริม

๒. ประกาศกําหนดตําราการแพทย์แผนไทยของชาติและตํารับยาแผนไทยของชาติ (ฉบับที่ ๒)
่งเส

พ.ศ. ๒๕๕๘, (๒๕๕๙, ๑๒ มกราคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม ๑๓๓ ตอนพิเศษ ๗ ง, หน้า ๑-๓.
ล ะส
องแ
คร
งคุ้ม
กอ

71
ยาแก้ไอผสมกานพลู
ที่มาของต�ำรับยา สูตรต�ำรับนี้ โรงพยาบาลอู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี เสนอเข้าสู่รายการบัญชียาหลัก
แห่ ง ชาติ เป็ น ต� ำ รั บ ที่ ตั้ ง ขึ้ น ตามองค์ ค วามรู ้ ก ารแพทย์ แ ผนไทย มี บั น ทึ ก
การใช้ในโรงพยาบาลตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๓๒

ไทย
สูตรต�ำรับยา ประกอบด้วยตัวยา ๑๕ ชนิด รวมน�้ำหนัก ๑๐๐ กรัม (๒) ดังนี้

้าน
ื้นบ
ตัวยา น�้ำหนักยา

ย์พ
ชะเอมเทศ ๔๘ กรัม

พท
บ๊วย ๑๖ กรัม

ะแ
มะนาว (ผลดอง) ๑๐ กรัม

แล
น�้ำตาลกรวด ๔ กรัม

ไทย
เกล็ดสะระแหน่ ผน ๓ กรัม
พิมเสน ๓ กรัม
ย์แ
กานพลู ๒ กรัม
พท

เก๊กฮวย ๒ กรัม
รแ

มะขามป้อม (เนื้อผล) ๒ กรัม


ากา

มะแว้งเครือ ๒ กรัม
ัญญ

ว่านน�้ำ ๒ กรัม
ูมิป

ส้มจีน ๒ กรัม

สมอพิเภก (เนื้อผล) ๒ กรัม


ริม

หล่อฮั่งก๊วย ๒ กรัม
่งเส

อบเชย ๒ กรัม
ล ะส
องแ

สรรพคุณ บรรเทาอาการไอ ขับเสมหะ ท�ำให้ชุ่มคอ (๑)


คร

รูปแบบยา ยาลูกกลอน ขนาด ๓๐๐ มิลลิกรัม (๑) (ดูภาคผนวก ๓.๕)


งคุ้ม

ขนาดและวิธีการใช้ ครั้งละ ๑ เม็ด อมเมื่อมีอาการ ทุก ๔ ชั่วโมง (๑)


กอ

เอกสารอ้างอิง
ประกาศคณะกรรมการพัฒนาระบบยาแห่งชาติ เรื่อง บัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๑.
(๒๕๖๑, ๑๙ มกราคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม ๑๓๕ ตอนพิเศษ ๑๔ ง. หน้า ๔. (เอกสารแนบท้ายประกาศ
หน้า ๒๔๙).

72
ยาแก้ไอผสมมะนาวดอง
ที่มาของต�ำรับยา สูตรต�ำรับนี้ โรงพยาบาลพล จังหวัดขอนแก่น เสนอเข้าสูร่ ายการบัญชียาหลักแห่งชาติ
เดิมชือ่ ยาแก้ไอพลทิพย์ เป็นต�ำรับทีต่ งั้ ขึน้ ตามองค์ความรูก้ ารแพทย์แผนไทย มีบนั ทึก
การใช้ในโรงพยาบาลตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๓๒

ไทย
สูตรต�ำรับยา ประกอบด้วยตัวยา ๙ ชนิด รวมน�้ำหนัก ๙๙ กรัม ดังนี้

้าน
ื้นบ
ตัวยา น�ำ้ หนักยา

ย์พ
บ๊วย ๓๕ กรัม

พท
มะนาว (ผลดอง) ๓๕ กรัม

ะแ
๑๗ กรัม

แล
ชะเอมเทศ

ไทย
ชะเอมไทย ๓ กรัม
อบเชยญวน ผน ๓ กรัม
เกล็ดสะระแหน่ ๒ กรัม
ย์แ
มะแว้งเครือ ๒ กรัม
พท

กานพลู ๑ กรัม
รแ

๑ กรัม
ากา

มะขามป้อม
ัญญ

สรรพคุณ บรรเทาอาการไอ ขับเสมหะ ท�ำให้ชุ่มคอ (๑)


ูมิป

รูปแบบยา ยาลูกกลอน ขนาด ๓๐๐ มิลลิกรัม (๑) (ดูภาคผนวก ๓.๕)



ริม

ขนาดและวิธีการใช้ ครั้งละ ๑ เม็ด เมื่อมีอาการไอ ทุก ๔ ชั่วโมง (๑)


่งเส

ข้อมูลเพิ่มเติม ไม่ควรใช้ติดต่อกันเป็นเวลานาน เนื่องจากบ๊วยมีเกลือปริมาณสูง อาจท�ำให้ความดัน


ะส

โลหิตสูงขึ้นได้ ควรใช้ไม่เกิน ๕-๗ วัน


เอกสารอ้างอิง
องแ

ประกาศคณะกรรมการพัฒนาระบบยาแห่งชาติ เรื่อง บัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๖๑.


คร

(๒๕๖๑, ๑๙ มกราคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม ๑๓๕ ตอนพิเศษ ๑๔ ง. หน้า ๔. (เอกสารแนบท้ายประกาศ


งคุ้ม

หน้า ๒๕๐).
กอ

73
ยาแก้ไอพื้นบ้านอีสาน
ที่มาของต�ำรับยา สู ต รต� ำ รั บ นี้ โรงพยาบาลกาบเชิ ง จั ง หวั ด สุ ริ น ทร์ เสนอเข้ า สู ่ ร ายการบั ญ ชี ย า
หลั ก แห่ ง ชาติ เดิ ม ชื่ อ ยาแก้ ไ อมองคร่ อ เป็ น ต� ำ รั บ ที่ ตั้ ง ขึ้ น ตามองค์ ค วามรู ้
การแพทย์แผนไทย มีบันทึกการใช้ในโรงพยาบาลตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๔๘

ไทย
สูตรต�ำรับยา ในยาน�้ำ ๑๐๐ มิลลิลิตร ประกอบด้วยตัวยา ๑๗ ชนิด (๑) ดังนี้

้าน
ตัวยา น�้ำหนักยา

ื้นบ
ย์พ
น�้ำตาลทรายแดง ๕,๐๐๐ มิลลิกรัม
มะขามป้อม ๒,๐๐๐ มิลลิกรัม

พท
ชะเอมไทย (ราก) ๑,๘๐๐ มิลลิกรัม

ะแ
สมอไทย ๑,๖๐๐ มิลลิกรัม

แล
กะเพราแดง ๖๐๐ มิลลิกรัม

ไทย
ขมิ้นอ้อย ผน ๖๐๐ มิลลิกรัม
ชะเอมเทศ ๖๐๐ มิลลิกรัม
ย์แ
เกลือสินเธาว์ ๔๐๐ มิลลิกรัม
พท

ขิง ๒๐๐ มิลลิกรัม


รแ

ดีปลี ๒๐๐ มิลลิกรัม


ากา

สารส้ม ๑๔๐ มิลลิกรัม


ัญญ

โกฐจุฬาลัมพา ๑๐๐ มิลลิกรัม


ชะพลู ๑๐๐ มิลลิกรัม
ูมิป

พริกไทยล่อน ๑๐๐ มิลลิกรัม



ริม

กานพลู ๖๐ มิลลิกรัม
่งเส

เกล็ดสะระแหน่ ๓๐ มิลลิกรัม
น�้ำผึ้ง ๕ มิลลิกรัม
ล ะส
องแ

สรรพคุณ บรรเทาอาการไอ ขับเสมหะ (๑)


คร

รูปแบบยา ยาต้มเดือด (๑) (ดูภาคผนวก ๓.๑.๑)


งคุ้ม

ขนาดและวิธีการใช้ จิบเมื่อมีอาการไอ ทุก ๔ ชั่วโมง จิบขณะยายังอุ่นอยู่ (๑)


ข้อมูลเพิ่มเติม - ยา ๑ หม้อ ใช้ติดต่อกัน ๕-๗ วัน โดยให้อุ่นน�้ำสมุนไพรทุกครั้งก่อนใช้ยา
กอ

- การเตรียมตัวยาสารส้มก่อนน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก ๒.๓๖)


เอกสารอ้างอิง
ประกาศคณะกรรมการพัฒนาระบบยาแห่งชาติ เรื่อง บัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๑.
(๒๕๖๑, ๑๙ มกราคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม ๑๓๕ ตอนพิเศษ ๑๔ ง. หน้า ๔. (เอกสารแนบท้ายประกาศ
หน้า ๒๕๐).
74
ยาเขียวเบญจขันธ์
ที่มาของต�ำรับยา คัมภีร์แพทย์ไทยแผนโบราณ ขุนโสภิตบรรณลักษณ์ เล่ม ๑ (๑)
“ยาเขี ย วเบ็ ญ จขั น ธ์ เอาใบผั ก กระโฉม ใบสั น พร้ า หอม ใบฝ้ า ยแดง ใบสั น พร้ า มอญ
พรมมิใบพิมเสน เอาเสมอภาค บดเป็นผงปัน้ แท่ง แก้พษิ ไข้รอ้ นกระหายน�ำ้ ละลายน�ำ้ ดอกไม้ น�ำ้ เมล็ดมะกอก

ไทย
เผาไฟ หรือน�้ำรากบัวหลวงกิน”

้าน
สูตรต�ำรับยา ประกอบด้วยตัวยา ๖ ชนิด รวมน�้ำหนัก ๖ ส่วน ดังนี้

ื้นบ
ตัวยา น�ำ้ หนักยา

ย์พ
พท
ผักกระโฉม ๑ ส่วน

ะแ
ฝ้ายแดง ๑ ส่วน

แล
พรมมิ ๑ ส่วน

ไทย
พิมเสนต้น ผน ๑ ส่วน
สันพร้ามอญ ๑ ส่วน
ย์แ
สันพร้าหอม ๑ ส่วน
รแ พท

สรรพคุณ แก้ไข้ ร้อนในกระหายน�้ำ


ากา

รูปแบบยา ยาเม็ดพิมพ์ ขนาด ๓๐๐ มิลลิกรัม (ดูภาคผนวก ๓.๔.๑)


ัญญ

ขนาดและวิธีการใช้ ครั้งละ ๒-๔ เม็ด ละลายน�้ำดอกไม้เทศ น�้ำเมล็ดมะกอกเผา หรือน�้ำรากบัวหลวง


ูมิป

กินวันละ ๓ ครั้ง ก่อนอาหาร เช้า กลางวัน และเย็น


เอกสารอ้างอิง
ริม

ขุนโสภิตบรรณลักษณ์ (อ�ำพัน กิตติขจร), คัมภีร์แพทย์ไทยแผนโบราณ เล่ม ๓. กรุงเทพฯ :


่งเส

โรงพิมพ์อุตสาหกรรมการพิมพ์, ๒๕๐๔.
ล ะส
องแ
คร
งคุ้ม
กอ

75
ยาเขียวพิกุลทอง
ที่มาของต�ำรับยา คัมภีร์แพทย์ไทยแผนโบราณ ขุนโสภิตบรรณลักษณ์ เล่ม ๑ (๑)
“ยาเขียวพิกุลทอง แก้ไข้ร้อนกระสับกระส่าย แก้ไข้พิษต่าง ๆ เอาใบเล็บครุฑ ใบทองพันชั่ง
ใบพิมเสน ใบมะยม ใบมะเฟือง ใบสันพร้าหอม ใบผักกระโฉม ใบหญ้านาง ใบเตยหอม ใบบอระเพ็ด

ไทย
ใบชิงช้าชาลี ใบต�ำลึง ใบผักเข้า หว้านเปราะ เอาสิ่งละเท่ากัน เอาดอกพิกุลเท่ายาทั้ง บดปั้นแท่ง แก้ร้อน
ละลายน�ำ้ ดอกไม้หรือน�้ำซาวข้าวกินชะโลม”

้าน
ื้นบ
สูตรต�ำรับยา ประกอบด้วยตัวยา ๑๕ ชนิด รวมน�้ำหนัก ๒๘ ส่วน ดังนี้

ย์พ
ตัวยา น�้ำหนักยา

พท
ะแ
พิกุล ๑๔ ส่วน

แล
ชิงช้าชาลี (ใบ) ๑ ส่วน

ไทย
ต�ำลึง ๑ ส่วน
เตยหอม
ผน ๑ ส่วน
ย์แ
ทองพันชั่ง (ใบ) ๑ ส่วน
พท

บอระเพ็ด (ใบ) ๑ ส่วน


รแ

เปราะหอม ๑ ส่วน
ากา

ผักกระโฉม ๑ ส่วน
๑ ส่วน
ัญญ

พิมเสนต้น
ฟักข้าว (ใบ) ๑ ส่วน
ูมิป

มะเฟือง ๑ ส่วน

ริม

มะยม ๑ ส่วน
่งเส

ย่านาง (ใบ) ๑ ส่วน


ะส

เล็บครุฑ ๑ ส่วน

สันพร้าหอม ๑ ส่วน
องแ
คร

สรรพคุณ แก้ไข้ตัวร้อน แก้ไข้พิษ


งคุ้ม

รูปแบบยา ยาเม็ดพิมพ์ ขนาด ๓๐๐ มิลลิกรัม (ดูภาคผนวก ๓.๔.๑)


ขนาดและวิธีการใช้ ครั้งละ ๒-๔ เม็ด ละลายน�้ำดอกไม้หรือน�้ำซาวข้าว ทั้งกินและชะโลม วันละ ๓ ครั้ง
กอ

ก่อนอาหาร เช้า กลางวัน และเย็น


ข้อมูลเพิ่มเติม การเตรียมตัวยาบอระเพ็ดก่อนน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก ๒.๑๓)
เอกสารอ้างอิง
ขุนโสภิตบรรณลักษณ์ (อ�ำพัน กิตติขจร), คัมภีร์แพทย์ไทยแผนโบราณ เล่ม ๓. กรุงเทพฯ :
โรงพิมพ์อุตสาหกรรมการพิมพ์, ๒๕๐๔.
76
ยาจันทน์สามโลก
ที่มาของต�ำรับยา คัมภีร์แพทย์ไทยแผนโบราณ ขุนโสภิตบรรณลักษณ์ เล่ม ๑ (๑)
“ยาจัน ทน์สามโลก เอาเกษรบั ว หลวง ดอกสาระภี ดอกบุ นนาค ดอกพิ กุล หั ว แห้ ว หมู
ใบหญ้านาง ใบพิมเสน ใบเท้ายายม่อม ใบมะระ ใบน�ำ้ เต้า จันทน์แดง จันทน์เทศ เอาสิ่งละ ๑ บาท เอาจันทน์

ไทย
เท่ายาทั้งหลาย บดปั้นแท่ง ละลายน�ำ้ ดอกไม้ จันทน์แดง จันทนาฝนแทรกกิน แก้ไข้เชื่อมมัวร้อนใน แก้คูธ
เสมหะพิการ”

้าน
ื้นบ
สูตรต�ำรับยา ประกอบด้วยตัวยา ๑๓ ชนิด รวมน�้ำหนัก ๓๖๐ กรัม ดังนี้

ย์พ
พท
ตัวยา น�ำ้ หนักยา

ะแ
จันทน์ขาว ๑๘๐ กรัม

แล
๑๕ กรัม

ไทย
จันทน์แดง
จันทน์เทศ ผน ๑๕ กรัม
น�้ำเต้า ๑๕ กรัม
ย์แ
บัวหลวง ๑๕ กรัม
พท

บุนนาค ๑๕ กรัม
รแ

๑๕ กรัม
ากา

พิกุล
พิมเสนต้น ๑๕ กรัม
ัญญ

มะระ ๑๕ กรัม
ูมิป

ไม้เท้ายายม่อม (ใบ) ๑๕ กรัม


สารภี ๑๕ กรัม
ริม
่งเส

ย่านาง (ใบ) ๑๕ กรัม


๑๕ กรัม
ะส

แห้วหมู

องแ

สรรพคุณ แก้ไข้ตัวร้อน แก้ร้อนใน ดับกระหาย


คร

รูปแบบยา ยาเม็ดพิมพ์ ขนาด ๓๐๐ มิลลิกรัม (ดูภาคผนวก ๓.๔.๑)


งคุ้ม

ขนาดและวิธีการใช้ ครั้งละ ๒-๔ เม็ด ละลายน�้ำดอกไม้ ฝนแทรก จันทน์แดง จันทนา กินวันละ ๒ ครั้ง
กอ

ก่อนอาหาร เช้า และเย็น


เอกสารอ้างอิง
ขุนโสภิตบรรณลักษณ์ (อ�ำพัน กิตติขจร), คัมภีร์แพทย์ไทยแผนโบราณ เล่ม ๓. กรุงเทพฯ :
โรงพิมพ์อุตสาหกรรมการพิมพ์, ๒๕๐๔.

77
ยาจิตรวาโย
ที่มาของต�ำรับยา ต�ำรายาเกร็ด (๑)
“ยาชื่อจิตรวาโย ขนานนี้ ท่านให้เอา แก่นสน ๑ จันทน์หอม ๑ ลูกผักชีทั้งสอง ๑ ลูกช้าพลู ๑ ลูก
พิลังกาสา ๑ แห้วหมู ๑ สะค้าน ๑ ดีปลี ๑ พริกไทย ๑ ใบสะเดา ๑ สิริยา ๑๑ สิ่งนี้เอาเสมอภาคท�ำเป็นจุณบด
ท�ำแท่งไว้ กินแก้ลมจับหัวใจให้เย็นเหน็บไปทั้งตัวแลสลบไปแต่ไม่ถูกตาย ถ้าแพทย์จะแก้ให้เอายานี้ ๙ เม็ด

ไทย
ลายลงกับน�ำ้ ดอกไม้ น�้ำร้อนก็ได้กินหายดีนักได้ทำ� แล้ว ๚”

้าน
สูตรต�ำรับยา ประกอบด้วยตัวยา ๑๑ ชนิด รวมน�้ำหนัก ๑๑ ส่วน ดังนี้

ื้นบ
ย์พ
ตัวยา น�้ำหนักยา

พท
ะแ
จันทน์เทศ ๑ ส่วน

แล
ชะพลู (ผล) ๑ ส่วน

ไทย
ดีปลี ๑ ส่วน
ลูกชีล้อม ผน ๑ ส่วน
๑ ส่วน
ย์แ
ผักชีลา
พท

พริกไทย ๑ ส่วน
รแ

พิลังกาสา ๑ ส่วน
ากา

สน ๑ ส่วน
สะค้าน ๑ ส่วน
ัญญ

สะเดา ๑ ส่วน
ูมิป

แห้วหมู ๑ ส่วน

ริม
่งเส

สรรพคุณ แก้ลมจับหัวใจให้เย็นเหน็บไปทั้งตัว
ะส

รูปแบบยา ยาลูกกลอน ขนาด ๕๐๐ มิลลิกรัม (ดูภาคผนวก ๓.๕)



องแ

ขนาดและวิธีการใช้ ครั้งละ ๒ เม็ด ละลายน�้ำดอกไม้ หรือน�้ำร้อน กินวันละ ๓ ครั้ง ก่อนอาหาร เช้า


กลางวัน เย็น
คร

เอกสารอ้างอิง
งคุ้ม

๑. “ต�ำรายาเกร็ด”. หอสมุดแห่งชาติ. หนังสือสมุดไทยด�ำ. อักษรไทย. ภาษาไทย. เลขที่ ๒๓๐.


กอ

หมวดต�ำราเวชศาสตร์.
๒. ประกาศกําหนดตําราการแพทย์แผนไทยของชาติและตํารับยาแผนไทยของชาติ (ฉบับที่ ๘)
พ.ศ. ๒๕๕๙, (๒๕๖๐, ๒๔ พฤษภาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม ๑๓๔ ตอนพิเศษ ๑๓๙ ง, หน้า ๑-๓.

78
ยาชุมนุมวาโย
ที่มาของต�ำรับยา ต�ำราเวชศาสตร์ฉบับหลวง รัชกาลที่ ๕ เล่ม ๓ (๑, ๒)
“ขนานหนึ่งชื่อ ชุมนุมวาโย แก้ลมในเส้นแลผิวหนัง ในโลหิต กระดูก เนื้อ แลอาการที่ต่าง ๆ
เอาผลช้าพลู ๑ สะค้าน ๑ ดีปลี ๑ มหาหิง ๑ ยาด�ำ ๑ ตรีผลา ๑ ไพล ๑ ฃ่า ๑ กะทือ ๑ กะชาย ๑ คนทีสอ

ไทย
ทั้งใบ ทั้งผล เข้าข้า ๑ สมุลแว้ง ๑ ดองดึง ๑ ผิวมะกรูด ๑ ผิวมะนาว ๑ สหัศคุณทั้ง ๒ เปล้าทั้ง ๒ กระวาน ๑
กานพลู ๑ เทียนทั้ง ๕ โกฎสอ ๑ สารส้ม ๑ เกลือสินเทาว์ ๑ น�ำ้ ประสารทอง ๑ กรุงเขมา ๑ ใบสะเดา ๑

้าน
ใบเปราะหอม ๑ เอาสิ่งละ ๒ สลึง พริกไทย ๑ ต�ำลึง กระเทียม ๑ ต�ำลึง ๑ บาท ฃิงสด ๒ ต�ำลึง ผลสลอด ๓

ื้นบ
สลึง เอาน�้ำส้ม ๘ ประการ เปนกระสาย บดปั้นแท่ง เท่าผลมะแว้ง ละลายน�้ำผึ้งรวงภิมเสนร�ำหัด

ย์พ
กินบ�ำบัดลม ๑๐๐ จ�ำพวก ดังกล่าวมาแต่ต้นนั้นหายแล ๚ะ๛”

พท
ะแ
สูตรต�ำรับยา ประกอบด้วยตัวยา ๔๑ ชนิด รวมน�้ำหนัก ๕๔๓.๗๕ กรัม ดังนี้

แล
ไทย
ตัวยา น�ำ้ หนักยา

ขิง
ผน ๑๒๐ กรัม
ย์แ
กระเทียม ๗๕ กรัม
พท

พริกไทย ๖๐ กรัม
รแ

สลอด ๑๑.๒๕ กรัม


ากา

กระชาย ๗.๕ กรัม


ัญญ

กระวาน ๗.๕ กรัม


ูมิป

กรุงเขมา ๗.๕ กรัม


กะทือ ๗.๕ กรัม


ริม

กานพลู ๗.๕ กรัม


่งเส

เกลือสินเธาว์ ๗.๕ กรัม


ะส

โกฐสอ ๗.๕ กรัม



องแ

ข่า ๗.๕ กรัม


คร

เข้าค่า ๗.๕ กรัม


งคุ้ม

คนทีสอ ๗.๕ กรัม


คนทีสอ (ผล) ๗.๕ กรัม
กอ

ชะพลู (ผล) ๗.๕ กรัม


ดองดึง ๗.๕ กรัม
ดีปลี ๗.๕ กรัม
เทียนขาว ๗.๕ กรัม

79
ตัวยา น�้ำหนักยา

เทียนข้าวเปลือก ๗.๕ กรัม


เทียนด�ำ ๗.๕ กรัม
เทียนแดง ๗.๕ กรัม
เทียนตาตั๊กแตน ๗.๕ กรัม

ไทย
น�้ำประสานทอง ๗.๕ กรัม
เปราะหอม (ใบ) ๗.๕ กรัม

้าน
เปล้าน้อย ๗.๕ กรัม

ื้นบ
เปล้าใหญ่ ๗.๕ กรัม

ย์พ
ไพล ๗.๕ กรัม

พท
มหาหิงคุ์ ๗.๕ กรัม

ะแ
มะกรูด ๗.๕ กรัม

แล
ไทย
มะขามป้อม (เนื้อผล) ๗.๕ กรัม
มะนาว ผน ๗.๕ กรัม
ยาด�ำ ๗.๕ กรัม
ย์แ
สมอไทย (เนื้อผล) ๗.๕ กรัม
พท

สมอพิเภก (เนื้อผล) ๗.๕ กรัม


รแ

สมุลแว้ง ๗.๕ กรัม


ากา

สะค้าน ๗.๕ กรัม


ัญญ

สะเดา ๗.๕ กรัม


ูมิป

สารส้ม ๗.๕ กรัม


หัสคุณเทศ ๗.๕ กรัม


ริม
่งเส
ะส

สรรพคุณ แก้ลมในเส้น ลมในผิวหนัง ลมในโลหิต ลมในกระดูก ลมในเนื้อ เป็นต้น


รูปแบบยา ยาเม็ดพิมพ์ ขนาด ๓๐๐ มิลลิกรัม (ดูภาคผนวก ๓.๔.๑)


องแ

วิธีปรุงยา บดเป็นผงละเอียดผสมน�้ำส้ม ๘ ชนิด แล้วท�ำเป็นเม็ด


คร

ขนาดและวิธีการใช้ ครั้งละ ๓-๕ กรัม ละลายน�้ำผึ้งรวง ร�ำหัดพิมเสนเป็นกระสาย กินวันละ ๒ ครั้ง


งคุ้ม

ก่อนอาหารเช้าและเย็น
กอ

ข้อมูลเพิ่มเติม - การเตรียมตัวยาเข้าค่าก่อนน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก ๒.๖)


- การเตรียมตัวยาดองดึงก่อนน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก ๒.๑๐)
- การเตรียมตัวยามหาหิงคุ์ก่อนน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก ๒.๑๘)
- การเตรียมตัวยายาด�ำก่อนน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก ๒.๒๓)

80
- การเตรียมตัวยาสลอดก่อนน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก ๒.๓๒)
- การเตรียมตัวยาสารส้มก่อนน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก ๒.๓๖)
- การเตรียมตัวยาหัสคุณเทศก่อนน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก ๒.๔๒)
- การเตรียมตัวยาหัสคุณไทยก่อนน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก ๒.๔๓)
เอกสารอ้างอิง
๑. หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. ต�ำราเวชศาสตร์ฉบับหลวง รัชกาลที่ ๕ เล่ม ๓. กรุงเทพฯ :

ไทย
บริษัท อมรินทร์ พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง จ�ำกัด (มหาชน), ๒๕๕๕. หน้า ๓๑-๓๒.
๒. ประกาศกําหนดตําราการแพทย์แผนไทยของชาติและตํารับยาแผนไทยของชาติ (ฉบับที่ ๒)

้าน
พ.ศ. ๒๕๕๘, (๒๕๕๙, ๑๒ มกราคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม ๑๓๓ ตอนพิเศษ ๗ ง, หน้า ๑-๓.

ื้นบ
ย์พ
พท
ะแ
แล
ไทย
ผน
ย์แ
รแ พท
ากา
ัญญ
ภ ูมิป
ริม
่งเส
ล ะส
องแ
คร
งคุ้ม
กอ

81
ยาดาวดึงษา
ที่มาของต�ำรับยา แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ เล่ม ๒ พระยาพิศณุประสาทเวช ร.ศ. ๑๒๖ (๑, ๒)
“ท่านให้เอา จิงจ้อ ๒ ต�ำลึง รากตองแตก ๖ บาท สมอไทย ๖ บาท รากเจตมูลเพลิง ๖ บาท
สหัสคุณเทศ ๑ บาท เทียนด�ำ ๑ บาท เทียนขาว ๑ บาท เทียนแดง ๑ บาท เทียนตาตักแตน ๑ บาท
ฐสอ ๑ บาท โกฐเขมา ๑ บาท โกฐกัดตรา ๑ บาท ยาด�ำ ๑ บาท มหาหิงคุ์ ๑ บาท กานพลู ๑ บาท

ไทย
ดีปลี ๑ บาท การะบูร ๓ สลึง เอาพริกไทย ๕ บาท ๒ สลึง ต�ำเปนผงละลายน�ำ้ ผึ้งน�้ำร้อนก็ได้ น�ำ้ มะกรูดน�้ำ

้าน
มะนาวน�้ำส้มซ่าก็ได้ แก้สารพัดไกษยสารพัดโรคทั้งปวงแล ยานี้ชื่อดาวดึงษา พระอินทราเธอให้ทานแก่คน

ื้นบ
ทั้งหลาย ตีค่าไว้แสนต�ำลึงทอง ๑ แล”

ย์พ
สูตรต�ำรับยา ประกอบด้วยตัวยา ๑๘ ชนิด รวมน�้ำหนัก ๖๖๓.๗๕ กรัม ดังนี้

พท
ะแ
ตัวยา น�้ำหนักยา

แล
ไทย
จิงจ้อ ๑๒๐ กรัม
เจตมูลเพลิงแดง
ผน ๙๐ กรัม
ย์แ
ตองแตก ๙๐ กรัม
พท

สมอไทย ๙๐ กรัม
รแ

พริกไทย ๘๒.๕ กรัม


ากา

กานพลู ๑๕ กรัม
ัญญ

โกฐกักกรา ๑๕ กรัม
โกฐเขมา ๑๕ กรัม
ูมิป

โกฐสอ ๑๕ กรัม

ริม

ดีปลี ๑๕ กรัม
่งเส

เทียนขาว ๑๕ กรัม
ะส

เทียนด�ำ ๑๕ กรัม

องแ

เทียนแดง ๑๕ กรัม
เทียนตาตั๊กแตน ๑๕ กรัม
คร

๑๕ กรัม
งคุ้ม

มหาหิงคุ์
ยาด�ำ ๑๕ กรัม
กอ

หัสคุณเทศ ๑๕ กรัม
การบูร ๑๑.๒๕ กรัม

82
สรรพคุณ แก้กษัยเส้น ถ่ายลมในเส้นและล�ำไส้
รูปแบบยา ยาลูกกลอน ขนาด ๓๐๐ มิลลิกรัม (ดูภาคผนวก ๓.๕)
ขนาดและวิธีการใช้ ครั้งละ ๓-๕ เม็ด กินวันละ ๒ ครั้ง ก่อนอาหารเช้าและเย็น
ข้อควรระวัง ควรระวังการใช้ยาอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในผู้ป่วยที่มีความผิดปรกติของ
ตับ ไต เนื่องจากอาจเกิดการสะสมของการบูรและเกิดพิษได้
ข้อห้ามใช้ ห้ามใช้ในหญิงตั้งครรภ์และผู้ที่มีไข้

ไทย
ข้อมูลเพิ่มเติม - ต�ำรับนี้มีการบูรเป็นส่วนประกอบ ร้อยละ ๑.๖๙ ในยาเม็ด ๓๐๐ มิลลิกรัม
จะมีการบูรอยู่ ๕.๐๗ มิลลิกรัม ปริมาณการบูรทีไ่ ด้รบั ใน ๑ มือ้ เท่ากับ ๒๕.๓๕ มิลลิกรัม

้าน
ื้นบ
ซึง่ ปริมาณทีท่ ำ� ให้เกิดพิษจากการกินการบูร เท่ากับ ๒ กรัม โดยขนาดถึงตาย (lethal

ย์พ
dose) ในผู้ใหญ่อยู่ที่ ๔,๐๐๐ มิลลิกรัม/มื้อ ในเด็กอยู่ที่ ๕๐๐-๑,๐๐๐ มิลลิกรัม/มื้อ

พท
และในทารกอยู่ที่ ๗๐ มิลลิกรัม/กิโลกรัม/มื้อ (๓)
- การเตรียมตัวยาตองแตกก่อนน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก ๒.๑๒)

ะแ
แล
- การเตรียมตัวยามหาหิงคุ์ก่อนน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก ๒.๑๘)

ไทย
- การเตรียมตัวยายาด�ำก่อนน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก ๒.๒๓)
- การเตรียมตัวยาหัสคุณเทศก่อนน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก ๒.๔๒)
ผน
เอกสารอ้างอิง
ย์แ
๑. พิศณุประสาทเวช, พระยา. แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ เล่ม ๒. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ศุภการจ�ำรูญ
พท

ถนนอัษฏางค์, ร.ศ. ๑๒๖.


รแ

๒. ประกาศกําหนดตําราการแพทย์แผนไทยของชาติและตํารับยาแผนไทยของชาติ (ฉบับที่ ๑๓)


ากา

พ.ศ. ๒๕๖๐, (๒๕๖๐, ๖ พฤศจิกายน). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม ๑๓๔ ตอนพิเศษ ๒๗๑ ง, หน้า ๑.
ัญญ

๓. U.S. National Library of Medicine [Internet]. Hazardous Substance Database-


ูมิป

Camphor [updated 2014 Sep 9; cited 2019 May 28]. Available from: https://toxnet.nlm.nih.gov/

cgi-bin/sis/search2/r?dbs+hsdb:@term+@DOCNO+37.
ริม
่งเส
ล ะส
องแ
คร
งคุ้ม
กอ

83
ยาต้มแก้กษัยเส้น
ที่มาของต�ำรับยา ต�ำรายาพิเศษ กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์ (๑, ๒)
“๏ ขนานหนึ่งนั้น นายไชยรามัญ อยู่บ้านเชิงราก เปนโรคกระไสย ป่วยไข้ล�ำบาก คุมมอญไป
มาก ท�ำอิฐลพบุรี อายุนับได้ ห้าสิบสี่โดยปี ซูบผอมเต็มที เปนเกล็ดทั่วไป หิวหอบบอบแรง ไม่อาจเดินไกล

ไทย
ขัดสนจนใจ ไปหาผักฟืน พบพระหนึ่งมา หน้าตาสดชื่น อายุยาวยืน สักแปดสิบไป เดินคล่องเร็วนัก ดังจักร
กลไฟ นายไชยตามไล่ เต็มเหนื่อยจึงทัน ถึงแล้วกราบไห้ว คุณตาได้อะไร มาท�ำยาฉัน จึงเดินเร็วนัก ดังจักร

้าน
หมุนหัน จงเม็ดตาฉัน บอกให้เป็นทาน พระแก่จึงว่า กูได้กินยา เจ็ดสิ่งมานาน สักสามปีกว่า กายาอาจหาญ

ื้นบ
เดินไกลได้นาน ไม่เหนือ่ ยเมือ่ ยชา แรงไม่ถอยถด ถึงอดเข้าปลา เพราะได้กนิ ยา เจ็ดสิง่ จงจ�ำ รางแดงกระชาย

ย์พ
แห้ ว หมู ทั้ ง หาย ตะโกนาเปลื อ กด� ำ อี ก เปลื อ กประค� ำ ไก่ รากแจงจงจ� ำ สมอไทยดี ล�้ ำ ต้ ม กิ น ริ น ไป

พท
หรือจักตากแห้ง ท�ำผงเก็บไว้ น�ำ้ ผึ้งรินใส่ ปั้นก้อนกลืนกิน แก้กระไสยผอมแห้ง เกิดแรงกายิน อาหารทวีกิน

ะแ
ไม่เบื่อการงาน ของหนักยกได้ แรงกายอาจหาญ กินไปนานนาน จักหายโรคา นายไชยจ�ำได้ หายารวมไว้

แล
ไทย
ได้สมปราถนา ต้มกินรินไป หายโรคโรคา สามเดือนเขาว่า กายาบริบูรณ์ ผิวหนังเปนเกล็ด หล่นร่วงหายสูญ
แรงกายเพิม่ พูน ของหนักยกลอย เดินหนทางไกล อายุนบั ได้ หกสิบสีไ่ ม่ถอย ก�ำลังยังมาก หาบเข้าเดินหยอย
ผน
เที่ยวหนึ่งไม่น้อย หกสัดพอดี ไปตั้งท�ำอิฐอยู่ปฐมเจดีย์ กินมาสามปี ฟันแน่นไม่คลอน ถ้าไม่มีเพื่อน คนเดียว
ย์แ
ไม่นอน ไม่เปนโรคกล่อน เหมือนคนสิบแปดปี ผู้เล่านั้นชื่อ พระสุธรรมไมรี ข้าเขียนตามที่เขาจดหมายมา
พท

นายไชยเปนที่ สมิงสิทธิเดชา เปนผู้กินยา หายโรคแรงเจริญ มีผู้ได้ฟัง พลอยพูดสรรเสริญ ยาอื่นห่อนกิน


รแ

ดีจริงควรจ�ำ ลอกตัวยาไป ว่าเคยได้ใช้ มีคุณเข้มข�ำ แต่น้อยสิ่งไป เคยได้หาท�ำ ยานี้ดีลำ�้ จงทินเทอญฯ


ากา

๏ เขียนลงต�ำรา อายุตูข้า ได้สองหมื่นวัน กับเศษพันร้อย สามสิบเอ็ดด้วยกัน ครบถ้วน


ัญญ

ในวันภุมวารมี เดือนแปดข้างแร สัตมีดิถี เถาะเปนชื่อปี นพศกตกลง คิดตามรัชกาล ที่เขาเขียนอ่าน


ูมิป

ศกสิบเจ็ดจ�ำนง จงสังเกตุไว้ เพื่อใครต้องประสงค์ จักได้รู้ตรง ตามปีใช้กัน”



ริม

สูตรต�ำรับยา ประกอบด้วยตัวยา ๗ ชนิด รวมน�้ำหนัก ๗ ส่วน ดังนี้


่งเส

ตัวยา น�้ำหนักยา
ล ะส
องแ

กระชาย ๑ ส่วน
คร

แจง ๑ ส่วน
งคุ้ม

ตะโกนา ๑ ส่วน
มะค�ำไก่ (เปลือก) ๑ ส่วน
กอ

รางแดง ๑ ส่วน
สมอไทย ๑ ส่วน
แห้วหมู ๑ ส่วน

84
สรรพคุณ แก้กษัยเส้น ปวดหลัง ปวดเอว
รูปแบบยา ยาต้มเดือด (ดูภาคผนวก ๓.๑.๑)
ขนาดและวิธีการใช้ ครั้งละ ๕๐-๑๐๐ มิลลิลิตร ดื่มวันละ ๒ ครั้ง ก่อนอาหาร เช้าและเย็น ดื่มขณะยา
ยังอุ่นอยู่
ข้อมูลเพิ่มเติม ยา ๑ หม้อ ใช้ติดต่อกัน ๕-๗ วัน โดยให้อุ่นน�้ำสมุนไพรทุกครั้งก่อนใช้ยา
เอกสารอ้างอิง

ไทย
๑. เจ้าพระยาสุรสีห์วิสิษฐศักดิ์. ต�ำรายาพิเศษ กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์พระนคร :
โรงพิมพ์โสภณ พิพรรฒธนากร, ๒๔๖๒.

้าน
ื้นบ
๒. ประกาศกําหนดตําราการแพทย์แผนไทยของชาติและตํารับยาแผนไทยของชาติ (ฉบับที่ ๒)

ย์พ
พ.ศ. ๒๕๕๘, (๒๕๕๙, ๑๒ มกราคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม ๑๓๓ ตอนพิเศษ ๗ ง, หน้า ๑-๓.

พท
ะแ
แล
ไทย
ผน
ย์แ
รแ พท
ากา
ัญญ
ภ ูมิป
ริม
่งเส
ล ะส
องแ
คร
งคุ้ม
กอ

85
ยาตรีผลา
ที่มาของต�ำรับยา สูตรต�ำรับทีใ่ กล้เคียงต�ำรับนี้ พบใน ต�ำรายาศิลาจารึกในวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม(๑)
“อนึ่งสรรพคุณแห่งตรีผลานั้น กล่าวคือ สมอพิเภก, สมอไทย, มะขามป้อมทั้ง ๓ นี้ระคนกันเข้า
ได้ชื่อว่า ตรีผลา ถ้าผู้ใดได้บริโภคอาจระงับเสียซึ่งโรคอันบังเกิดแต่ดี รู้แก้ซึ่งเสมหะและลมในกองธาตุ
กองระดู กองอายุสมุฏฐานนั้น ฯ”

ไทย
สูตรต�ำรับยา ประกอบด้วยตัวยา ๓ ชนิด รวมน�้ำหนัก ๙๐ กรัม (๒) ดังนี้

้าน
ื้นบ
ตัวยา น�้ำหนักยา

ย์พ
พท
มะขามป้อม (เนื้อผล) ๓๐ กรัม

ะแ
สมอไทย (เนื้อผล) ๓๐ กรัม

แล
สมอพิเภก (เนื้อผล) ๓๐ กรัม

ไทย
สรรพคุณ
ผน
- ยาปรับธาตุ (สมุฏฐานโรคอันบังเกิดแต่ดี ในคิมหันตฤดู)
ย์แ
- เป็นยาระบายอ่อน ๆ
พท

- บรรเทาอาการไอจากการระคายคอ
รแ

รูปแบบยา ยาเม็ด ขนาด ๓๐๐ มิลลิกรัม (ดูภาคผนวก ๓.๔.๒), ยาลูกกลอน ขนาด ๓๐๐ มิลลิกรัม
ากา

(ดูภาคผนวก ๓.๕), ยาแคปซูล ขนาด ๓๐๐ มิลลิกรัม (ดูภาคผนวก ๓.๓)


ัญญ

ยาชง (ดูภาคผนวก ๓.๙)


ขนาดและวิธีการใช้ ยาปรับธาตุ (สมุฏฐานโรคอันบังเกิดแต่ดี ในคิมหันตฤดู)
ูมิป

ชนิดแคปซูล ชนิดเม็ด และชนิดลูกกลอน



ริม

ครั้งละ ๑-๓ เม็ด กินวันละ ๒–๓ ครั้ง หรือตามแพทย์สั่ง


่งเส

ยาระบายอ่อน ๆ
ะส

ชนิดยาชง

องแ

ครั้งละ ๑–๒ กรัม ชงน�้ำร้อน ๑๒๐–๒๐๐ มิลลิลิตร ทิ้งไว้ ๓–๕ นาที ดื่มวันละ
๒–๓ ครั้ง หรือตามแพทย์สั่ง ดื่มในขณะยายังอุ่นอยู่
คร

ชนิดแคปซูล ชนิดเม็ด และชนิดลูกกลอน


งคุ้ม

ครั้งละ ๑-๒ เม็ด กินวันละ ๒–๓ ครั้ง หรือตามแพทย์สั่ง


กอ

บรรเทาอาการไอจากการระคายคอ
ชนิดยาชง
ครั้งละ ๑–๒ กรัม ชงน�้ำร้อน ๑๒๐–๒๐๐ มิลลิลิตร ทิ้งไว้ ๓-๕ นาที จิบในขณะ
ยังอุ่น เมื่อมีอาการไอทุก ๔ ชั่วโมง

86
ข้อควรระวัง ควรระวังการใช้ในผู้ป่วยที่ท้องเสียง่าย (๒)
อาการไม่พึงประสงค์ ท้องเสีย (๒)
ข้อมูลเพิ่มเติม - ตรีผลาเป็นพิกัดชนิดหนึ่ง จ�ำกัดผลไม้ทั้ง ๓ อย่าง ได้แก่ สมอพิเภก สมอไทย
และมะขามป้อมในปริมาณเท่ากันโดยน�้ำหนัก ซึ่งเป็นพิกัดยาในคิมหันตฤดู
(ฤดูร้อน) ใช้ปรับสมดุลธาตุที่แปรไปในฤดูร้อน โดยสมอพิเภกเป็นตัวยาประจ�ำ
กองสมุฏฐานปิตตะ สมอไทยเป็นตัวยาประจ�ำกองสมุฏฐานวาตะ มะขามป้อม

ไทย
เป็นตัวยาประจ�ำกองสมุฏฐานเสมหะ
- พิ กั ด ตรี ผ ลามั ก ใช้ ป ระกอบยาต� ำ รั บ อื่ น หรื อ ใช้ เ ป็ น กระสายยา เพื่ อ เสริ ม

้าน
ื้นบ
ประสิทธิภาพในการรักษา เช่น ช่วยระบายพิษไข้ หรือช่วยปรับธาตุ

ย์พ
- การใช้ตรีผลา สามารถใช้สดั ส่วนไม่เท่ากันได้ เรียกว่า มหาพิกดั ตรีผลา แก้ปติ ตะ

พท
วาตะ เสมหะในกองธาตุ ฤดู อายุ และกองสมุฏฐาน มีสัดส่วนตัวยาที่แตกต่าง
กันขึ้นกับกองสมุฏฐานโรค

ะแ
แล
เอกสารอ้างอิง

ไทย
๑. ต�ำรายาศิลาจารึกในวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธิ์) พระนคร, พระบาทสมเด็จ
พระนัง่ เกล้าเจ้าอยูห่ วั ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าให้จารึกไว้เมือ่ พ.ศ. ๒๓๗๕ ฉบับสมบูรณ์, ๒๕๐๕. หน้า ๔๔๓.
ผน
๒. ประกาศคณะกรรมการพัฒนาระบบยาแห่งชาติ เรื่อง บัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๑.
ย์แ
พท

(๒๕๖๑, ๑๙ มกราคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม ๑๓๕ ตอนพิเศษ ๑๔ ง. หน้า ๔. (เอกสารแนบท้ายประกาศ


หน้า ๒๕๐).
รแ
ากา
ัญญ
ภ ูมิป
ริม
่งเส
ล ะส
องแ
คร
งคุ้ม
กอ

87
ยาตัดก�ำลังไข้
ที่มาของต�ำรับยา คัมภีร์แพทย์ไทยแผนโบราณ เล่ม ๑ (๑)
“ยาตัดก�ำลังไข้ เอาจันทน์ทั้ง ๒ ขอนดอก มวกแดง เทียนทั้ง ๕ โกฎทั้ง ๕ เกษรบัวหลวง ชะลูด
อบเชย ดอกพิกุล หัวแห้วหมู รากหญ้านาง เอาเสมอภาค ต้มกิน”
สูตรต�ำรับยา ประกอบด้วยตัวยา ๒๐ ชนิด รวมน�้ำหนัก ๒๐ ส่วน ดังนี้

ไทย
ตัวยา น�้ำหนักยา

้าน
ื้นบ
โกฐเขมา ๑ ส่วน

ย์พ
โกฐจุฬาล�ำพา ๑ ส่วน

พท
โกฐเชียง ๑ ส่วน

ะแ
โกฐสอ ๑ ส่วน

แล
โกฐหัวบัว ๑ ส่วน

ไทย
ขอนดอก ๑ ส่วน
จันทน์ขาว ผน ๑ ส่วน
จันทน์แดง ๑ ส่วน
ย์แ
ชะลูด ๑ ส่วน
พท

เทียนขาว ๑ ส่วน
รแ

เทียนข้าวเปลือก ๑ ส่วน
ากา

เทียนด�ำ ๑ ส่วน
ัญญ

เทียนแดง ๑ ส่วน
ูมิป

เทียนตาตั๊กแตน ๑ ส่วน

บัวหลวง ๑ ส่วน
ริม

พิกุล ๑ ส่วน
่งเส

มวกแดง ๑ ส่วน
ะส

ย่านาง ๑ ส่วน

แห้วหมู ๑ ส่วน
องแ

อบเชย ๑ ส่วน
คร
งคุ้ม

สรรพคุณ ลดไข้
กอ

รูปแบบยา ยาต้มเดือด (ดูภาคผนวก ๓.๑.๑)


ขนาดและวิธีการใช้ ครั้งละ ๑๕๐ มิลลิลิตร ดื่มวันละ ๒ ครั้ง ก่อนอาหาร เช้า และเย็น ดื่มขณะยายังอุ่นอยู่
ข้อมูลเพิ่มเติม ยา ๑ หม้อ ใช้ติดต่อกัน ๕-๗ วัน โดยให้อุ่นน�้ำสมุนไพรทุกครั้งก่อนใช้ยา
เอกสารอ้างอิง
ขุนโสภิตบรรณลักษณ์ (อ�ำพัน กิตติขจร), คัมภีร์แพทย์ไทยแผนโบราณ เล่ม ๓. กรุงเทพฯ :
โรงพิมพ์อุตสาหกรรมการพิมพ์, ๒๕๐๔.
88
ยาถ่ายไข้พิษไข้กาฬ
ที่มาของต�ำรับยา คัมภีร์แพทย์ไทยแผนโบราณ ขุนโสภิตบรรณลักษณ์ เล่ม ๑ (๑)
“ยาถ่ายไข้พิษไข้กาฬ เอาใบมะกา ใบมะยม ใบมะเฟือง หญ้าแพรก หญ้าปากควย ใบไผ่ป่า
ใบมะขาม ใบส้มป่อย เนื้อฝักคูน ๗ ฝัก ยาด�ำ ๑ บาท ข่า ๓ แว่น ขมิ้นอ้อย ๕ แว่น ดินประสิว ๓ หยิบ

ไทย
ต้มให้สุกต�ำคั้นเอาน�้ำแล้วเคี่ยว ๓ เอา ๑ กิน ๑ ถ้วยชาขนาดใหญ่ แทรกดีเกลือพอควร ขับพิษไข้พิษกาฬ
หายสิ้นแล”

้าน
ื้นบ
สูตรต�ำรับยา ประกอบด้วยตัวยา ๑๓ ชนิด รวมน�้ำหนัก ๒๗๗.๕๐ กรัม ดังนี้

ย์พ
ตัวยา น�ำ้ หนักยา

พท
ะแ
คูน ๑๐๕ กรัม

แล
ขมิ้นอ้อย ๑๕ กรัม

ไทย
ข่า ๑๕ กรัม
ไผ่ป่า
ผน ๑๕ กรัม
ย์แ
มะกา ๑๕ กรัม
พท

มะขาม ๑๕ กรัม
รแ

มะเฟือง ๑๕ กรัม
ากา

มะยม ๑๕ กรัม
ัญญ

ยาด�ำ ๑๕ กรัม
ูมิป

ส้มป่อย ๑๕ กรัม

หญ้าปากควาย ๑๕ กรัม
ริม

หญ้าแพรก ๑๕ กรัม
่งเส

ดินประสิว ๗.๕ กรัม


ล ะส

สรรพคุณ ถ่ายไข้พิษ ไข้กาฬ


องแ

รูปแบบยา ยาต้มเดือด (ดูภาคผนวก ๓.๑.๑)


คร

ขนาดและวิธีการใช้ ครั้งละ ๕๐-๑๐๐ มิลลิลิตร ดื่มวันละ ๑ ครั้ง ก่อนนอน ดื่มขณะยายังอุ่นอยู่


งคุ้ม

ข้อมูลเพิ่มเติม - ยา ๑ หม้อ ใช้ติดต่อกัน ๕-๗ วัน โดยให้อุ่นน�้ำสมุนไพรทุกครั้งก่อนใช้ยา


กอ

- การเตรียมตัวยาคูนก่อนน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก ๒.๗)


- การเตรียมตัวยาดินประสิวก่อนน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก ๒.๑๑)
- การเตรียมตัวยายาด�ำก่อนน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก ๒.๒๓)
เอกสารอ้างอิง
ขุนโสภิตบรรณลักษณ์ (อ�ำพัน กิตติขจร), คัมภีร์แพทย์ไทยแผนโบราณ เล่ม ๓. กรุงเทพฯ :
โรงพิมพ์อุตสาหกรรมการพิมพ์, ๒๕๐๔.
89
ยาถ่ายลมถ่ายเสมหะในโรคกษัย สูตร ๑
ที่มาของต�ำรับยา แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ เล่ม ๒ พระยาพิศณุประสาทเวช ร.ศ. ๑๒๖ (๑, ๒)
“อนึ่งเอา ผลจันทน์ ๑ ดอกจันทน์ ๑ เทียนด�ำ ๑ เทียนขาว ๑ เทียนแดง ๑ เทียนตาตักแตน ๑
โกฐสอ ๑ โกฐเขมา ๑ โกฐกัดตรา ๑ กานพลู ๑ ดีปลี ๑ สิ่งละ ๑ ส่วน ยาด�ำ ๔ ส่วน การะบูร ๙ ส่วน
สหัสคุณเทศ ๑ พริกไทย ๑ สิ่งละ ๕ ส่วน รากจิงจ้อ ๑ รากทนดี ๑ รากเจตมูลเพลิง ๑ สิ่งละ ๖ ส่วน สมอไทย

ไทย
๑๔ ส่วน ต�ำเปนผงบดด้วยน�้ำผึ้ง น�้ำมะกรูด น�้ำมะนาว ๑ น�้ำส้มซ่าก็ได้ กินแก้ไกษยปลวกซึ่งกระท�ำพิษต่างๆ
แลสรรพไกษยแลสรรพโรคทั้งปวง หายวิเศษนักท่านตีค่าไว้แสนต�ำลึงทอง”

้าน
ื้นบ
สูตรต�ำรับยา ประกอบด้วยตัวยา ๑๙ ชนิด รวมน�้ำหนัก ๖๖ ส่วน ดังนี้

ย์พ
พท
ตัวยา น�้ำหนักยา

ะแ
สมอไทย (เนื้อผล) ๑๔ ส่วน

แล
การบูร ๙ ส่วน

ไทย
จิงจ้อ ผน ๖ ส่วน
เจตมูลเพลิงแดง ๖ ส่วน
ย์แ
ทนดี ๖ ส่วน
พท

พริกไทย ๕ ส่วน
รแ

หัสคุณเทศ ๕ ส่วน
ากา

ยาด�ำ ๔ ส่วน
ัญญ

กานพลู ๑ ส่วน
ูมิป

โกฐกักกรา ๑ ส่วน

โกฐเขมา ๑ ส่วน
ริม

โกฐสอ ๑ ส่วน
่งเส

ดอกจันทน์ ๑ ส่วน
ล ะส

ดีปลี ๑ ส่วน
องแ

เทียนขาว ๑ ส่วน
คร

เทียนด�ำ ๑ ส่วน
งคุ้ม

เทียนแดง ๑ ส่วน
กอ

เทียนตาตั๊กแตน ๑ ส่วน
ลูกจันทน์ ๑ ส่วน

90
สรรพคุณ ถ่ายลมถ่ายเสมหะในผู้ป่วยโรคกษัย
รูปแบบยา ยาผง (ดูภาคผนวก ๓.๒)
ขนาดและวิธีการใช้ ครั้งละ ๑ กรัม ละลายน�้ำกระสายยา กินวันละ ๒ ครั้ง ก่อนอาหาร เช้าและเย็น
กระสายยาที่ใช้ น�้ำผึ้ง น�้ำมะกรูด น�้ำมะนาว หรือน�้ำส้มซ่า
ข้อมูลเพิ่มเติม - ต�ำรับนี้มีการบูรเป็นส่วนประกอบร้อยละ ๑๓.๖๔ ในผงยา ๑,๐๐๐ มิลลิกรัม
จะมีการบูรอยู่ ๑๓๖.๔ มิลลิกรัม ปริมาณการบูรทีไ่ ด้รบั ใน 1 มือ้ เท่ากับ ๑๓๖.๔ มิลลิกรัม

ไทย
ซึง่ ปริมาณทีท่ ำ� ให้เกิดพิษจากการกินการบูร เท่ากับ ๒ กรัม โดยขนาดถึงตาย (lethal
dose) ในผู้ใหญ่อยู่ที่ ๔,๐๐๐ มิลลิกรัม/มื้อ ในเด็กอยู่ที่ ๕๐๐-๑,๐๐๐ มิลลิกรัม/มื้อ

้าน
ื้นบ
และในทารกอยู่ที่ ๗๐ มิลลิกรัม/กิโลกรัม/มื้อ (๓)

ย์พ
- การเตรียมตัวยายาด�ำก่อนน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก ๒.๒๓)

พท
- การเตรียมตัวยาหัสคุณเทศก่อนน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก ๒.๔๒)
เอกสารอ้างอิง

ะแ
แล
๑. พิศณุประสาทเวช, พระยา. แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ เล่ม ๒. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ศุภการ

ไทย
จ�ำรูญ ถนนอัษฏางค์, ร.ศ. ๑๒๖.
๒. ประกาศกําหนดตําราการแพทย์ แ ผนไทยของชาติ แ ละตํารั บ ยาแผนไทยของชาติ
ผน
(ฉบับที่ ๑๓) พ.ศ. ๒๕๖๐, (๒๕๖๐, ๖ พฤศจิกายน). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม ๑๓๔ ตอนพิเศษ ๒๗๑ ง, .
ย์แ
พท

หน้า ๑.
๓. U.S. National Library of Medicine [Internet]. Hazardous Substance
รแ
ากา

Database-Camphor [updated 2014 Sep 9; cited 2019 May 28]. Available from: https://toxnet.
nlm.nih.gov/cgi-bin/sis/search2/r?dbs+hsdb:@term+@DOCNO+37.
ัญญ
ภ ูมิป
ริม
่งเส
ล ะส
องแ
คร
งคุ้ม
กอ

91
ยาถ่ายลมถ่ายเสมหะในโรคกษัย สูตร ๒
ที่มาของต�ำรับยา แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ เล่ม ๒ พระยาพิศณุประสาทเวช ร.ศ. ๑๒๖ (๑, ๒)
“อนึ่งเอา โกฐทั้ง ๕ เทียนทั้ง ๕ ตรีผลา ตรีกฏุก กานพลู ๑ สิ่งละ ๑ ส่วน รากส้มกุ้งทั้ง ๒ แก่น
ขี้เหล็ก ๑ แก่นแสมทเล ๑ สิ่งละ ๒ ส่วน รากทนดี ๕ ส่วน ต�ำเปนผงบดละลายน�ำ้ ผึ้งหรือน�้ำขิงก็ได้ น�้ำส้มซ่า
หรือน�้ำร้อนก็ได้ กินแก้ไกษยทั้งปวงหายวิเศษนัก”

ไทย
สูตรต�ำรับยา ประกอบด้วยตัวยา ๒๒ ชนิด รวมน�้ำหนัก ๓๐ ส่วน ดังนี้

้าน
ื้นบ
ตัวยา น�้ำหนักยา

ย์พ
ทนดี ๕ ส่วน

พท
ขี้เหล็ก ๒ ส่วน

ะแ
ส้มกุ้งน้อย ๒ ส่วน

แล
ส้มกุ้งใหญ่ ๒ ส่วน

ไทย
แสมทะเล ผน ๒ ส่วน
กานพลู ๑ ส่วน
ย์แ
โกฐเขมา ๑ ส่วน
พท

โกฐจุฬาลัมพา ๑ ส่วน
รแ

โกฐเชียง ๑ ส่วน
ากา

โกฐสอ ๑ ส่วน
ัญญ

โกฐหัวบัว ๑ ส่วน
ูมิป

ขิง ๑ ส่วน

ดีปลี ๑ ส่วน
ริม

เทียนขาว ๑ ส่วน
่งเส

เทียนข้าวเปลือก ๑ ส่วน
ะส

เทียนด�ำ ๑ ส่วน

องแ

เทียนแดง ๑ ส่วน
คร

เทียนตาตั๊กแตน ๑ ส่วน
งคุ้ม

พริกไทย ๑ ส่วน
มะขามป้อม ๑ ส่วน
กอ

สมอไทย ๑ ส่วน
สมอพิเภก ๑ ส่วน

92
สรรพคุณ ถ่ายลมถ่ายเสมหะในโรคกษัย
รูปแบบยา ยาผง (ดูภาคผนวก ๓.๒)
ขนาดและวิธีการใช้ ครั้งละ ๑ กรัม ละลายน�้ำกระสายยา กินวันละ ๒ ครั้ง ก่อนอาหาร เช้าและเย็น
กระสายยาที่ใช้ น�้ำผึ้ง น�้ำขิง น�้ำส้มซ่า หรือน�้ำร้อน
เอกสารอ้างอิง
๑. พิศณุประสาทเวช, พระยา. แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ เล่ม ๒. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ศุภการ

ไทย
จ�ำรูญ ถนนอัษฏางค์, ร.ศ. ๑๒๖.
๒. ประกาศกําหนดตําราการแพทย์แผนไทยของชาติและตํารับยาแผนไทยของชาติ (ฉบับที่ ๑๓)

้าน
ื้นบ
พ.ศ. ๒๕๖๐, (๒๕๖๐, ๖ พฤศจิกายน). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม ๑๓๔ ตอนพิเศษ ๒๗๑ ง, หน้า ๑.

ย์พ
พท
ะแ
แล
ไทย
ผน
ย์แ
รแ พท
ากา
ัญญ
ภ ูมิป
ริม
่งเส
ล ะส
องแ
คร
งคุ้ม
กอ

93
ยาถ่ายลมถ่ายเสมหะในโรคกษัย สูตร ๓
ที่มาของต�ำรับยา แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ เล่ม ๒ พระยาพิศณุประสาทเวช ร.ศ. ๑๒๖ (๑, ๒)
“ขนานหนึ่งวิเศษนักท่านให้เอา ขมิ้นอ้อย ๑ สลึง ดองดึง ๑ สลึง ดีปลี ๒ สลึง ขันทศกร ๒ สลึง
ตรีผลา ๓ สลึง ขิงแห้ง ๓ สลึง พริกไทย ๑ บาท รากเจตมูลเพลิง ๑ บาท รากทนดี ๓ บาท ๒ สลึง ต�ำเปน
ผงแล้วเอาน�้ำผึ้ง ๔ ส่วน น�ำ้ อ้อยแดง ๑ ส่วน คุลีการเข้าด้วยกันกินหนัก ๑ สลึง กินวัน ๑ คุ้มไปเดือนหนึ่ง

ไทย
กินเดือน ๑ คุ้มไปปีหนึ่งแลรูปงามแล”

้าน
สูตรต�ำรับยา ประกอบด้วยตัวยา ๑๑ ชนิด รวมน�้ำหนัก ๑๕๐ กรัม ดังนี้

ื้นบ
ย์พ
ตัวยา น�้ำหนักยา

พท
ะแ
ทนดี ๕๒.๕ กรัม

แล
เจตมูลเพลิงแดง ๑๕ กรัม

ไทย
พริกไทย ๑๕ กรัม
ขิงแห้ง ผน ๑๑.๒๕ กรัม
๑๑.๒๕ กรัม
ย์แ
มะขามป้อม (เนื้อผล)
พท

สมอไทย (เนื้อผล) ๑๑.๒๕ กรัม


รแ

สมอพิเภก (เนื้อผล) ๑๑.๒๕ กรัม


ากา

ขันทศกร ๗.๕ กรัม


ดีปลี ๗.๕ กรัม
ัญญ

ขมิ้นอ้อย ๓.๗๕ กรัม


ูมิป

ดองดึง ๓.๗๕ กรัม



ริม
่งเส

สรรพคุณ ถ่ายลมถ่ายเสมหะในโรคกษัย
ะส

รูปแบบยา ยาลูกกลอน ขนาด ๓๐๐ มิลลิกรัม (ดูภาคผนวก ๓-๕)



องแ

ขนาดและวิธีการใช้ ครั้งละ ๓-๕ เม็ด กินวันละ ๒ ครั้ง ก่อนอาหาร เช้าและเย็น


ข้อห้ามใช้ ห้ามใช้ในหญิงตั้งครรภ์ และผู้ที่มีไข้
คร

ข้อมูลเพิ่มเติม การเตรียมตัวยาดองดึงก่อนน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก ๒.๑๐)


งคุ้ม

เอกสารอ้างอิง
กอ

๑. พิศณุประสาทเวช, พระยา. แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ เล่ม ๒. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ศุภการ


จ�ำรูญถนนอัษฏางค์, ร.ศ. ๑๒๖.
๒. ประกาศกําหนดตําราการแพทย์แผนไทยของชาติและตํารับยาแผนไทยของชาติ (ฉบับที่ ๑๓)
พ.ศ. ๒๕๖๐, (๒๕๖๐, ๖ พฤศจิกายน). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม ๑๓๔ ตอนพิเศษ ๒๗๑ ง, หน้า ๑.

94
ยาทาแก้เรื้อนกวาง
ที่มาของต�ำรับยา ศิลาจารึกต�ำรายาวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธิ์) (๑, ๒)
“๏ ปุนะจะปะรัง ในล�ำดับนี้จะกล่าวด้วยนัยอันหนึ่งใหม่ ว่าด้วยลักษณะพยาธิโรค อันบังเกิด
แก่บุคคลทั้งหลาย คือเป็นชาติบุพกรรมโรคคือโรคเรื้อนอันเป็นสาธารณะสืบต่อไป บังเกิดด้วยกิมิชาติ
อันอาศัยกินอยู่ในชิ้นเนื้อนั้นแล จะได้เหมือนดั่งกุฏฐโรค ซึ่งกินอัฐิกุด จนเสียซึ่งชีวิตนั้นหามิได้ เป็นแต่จะให้

ไทย
ล�ำบากกาย ดุจอาจารย์กล่าวไว้อีก ๓ จ�ำพวก เป็น ๗ จ�ำพวก ด้วยกันกับกล่าวมาแล้วในเบื้องต้น ในที่นี้

้าน
จะว่าแต่ ๓ จ�ำพวก ฯ

ื้นบ
จ�ำพวกหนึ่ง คือชาติเรื้อนอันบังเกิดเนื่องกันมาแต่สัมพันธ์ตระกูล ฯ๒

ย์พ
จ�ำพวกหนึ่งคือชาติเรื้อนบังเกิดด้วยสามัคคีรส คือหลับนอนระคนกันอยู่เป็นนิจจึงเป็น ฯ๓

พท
จ�ำพวกหนึ่งคือชาติเรื้อนอันบังเกิดเป็นอุปาติกะหาเหตุมิได้ อยู่ดีๆ ก็เกิดขึ้นเอง แลธาตุทั้ง ๔

ะแ
ก็มิได้วิปริตแปรปรวน แลทั้ง ๓ จ�ำพวกซึ่งกล่าวมานี้ ให้เอายาตามชาติจำ� พวกนั้นมาแก้ก็จะหาย เป็นยาปะ

แล
ยะโรคหายโดยง่าย ดังอาจารย์กล่าวไว้ดังนี้ในล�ำดับนี้จะกล่าวเรื้อนจ�ำพวกหนึ่ง คือเรื้อนกวางนั้นก่อน

ไทย
เป็นปฐม เมื่อจะบังเกิดนั้นเกิดขึ้นตามข้อมือข้อเท้า แลก�ำด้นต้นคอ กระท�ำให้เป็นน�้ำเหลืองพรึนลามออกไป
ผน
ครั้นต้องยาแล้วแห้งเข้า บางทีก็หายขาดไป บางทีก็ไม่หาย แต่ไม่ตายเป็นแต่ลำ� บากดังอาจารย์กล่าวไว้ ฯ
ย์แ
ขนานหนึ่ง เอาเห็ดร่างแห เห็ดมูลโค เอาเสมอภาค บดละลายน�ำ้ มันงาทา แก้พยาธิโรคคือเรื้อนกวางนั้นหาย
พท

วิเศษนัก ฯ”
รแ
ากา

สูตรต�ำรับยา ประกอบด้วยตัวยา ๓ ชนิด รวมน�้ำหนัก ๓ ส่วน ดังนี้


ัญญ

ตัวยา น�ำ้ หนักยา


ภ ูมิป

น�้ำมันงา ๑ ส่วน
ริม

เห็ดมูลโค ๑ ส่วน
่งเส

เห็ดร่างแห ๑ ส่วน
ล ะส
องแ

สรรพคุณ แก้เรื้อนกวาง (สะเก็ดเงิน)


คร

รูปแบบยา ยาน�้ำมัน (ดูภาคผนวก ๓.๖)


งคุ้ม

วิธีปรุงยา บดเป็นผงละเอียด หุงกับน�้ำมันงา แล้วกรอง


กอ

ขนาดและวิธีการใช้ ทาแผล วันละ ๒ ครั้ง เช้า และเย็น


ค�ำเตือน เป็นยาใช้ภายนอกห้ามกิน

95
เอกสารอ้างอิง
๑. ส�ำนักคุ้มครองภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์
ทางเลือก. ชุดต�ำราภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย ฉบับอนุรักษ์ ต�ำราการแพทย์แผนไทย ในศิลาจารึกวัด
พระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธิ์) เล่ม ๒. พิมพ์ครั้งที่ ๑. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์องค์การสงเคราะห์
ทหารผ่านศึกในพระบรมราชูปถัมภ์, ๒๕๕๗.
๒. ประกาศกําหนดตําราการแพทย์แผนไทยของชาติและตํารับยาแผนไทยของชาติ พ.ศ. ๒๕๕๘,

ไทย
(๒๕๕๘, ๓๐ พฤศจิกายน). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม ๑๓๒ ตอนพิเศษ ๓๑๗ ง.

้าน
ื้นบ
ย์พ
พท
ะแ
แล
ไทย
ผน
ย์แ
รแ พท
ากา
ัญญ
ภ ูมิป
ริม
่งเส
ล ะส
องแ
คร
งคุ้ม
กอ

96
ยาทาแก้เรื้อนขี้นก
ที่มาของต�ำรับยา ศิลาจารึกต�ำรายาวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธิ์) (๑, ๒)
“๏ ปุนะจะปะรัง ในล�ำดับนี้จะกล่าวด้วยนัยอันหนึ่งใหม่ ว่าด้วยลักษณะพยาธิโรค คือเรื้อน
มู ลนกนั้ น เป็น ค�ำรบ ๒ เมื่อ จะบังเกิ ด นั้ นผุ ด ขึ้ นมาเป็ นแว่ น เป็ นวงขึ้ นตามผิ ว หนั ง เล็ กก็ มี ใหญ่ ก็ มี
มีสีอันขาวนุงๆ ขอบนั้นนูนดูสัณฐานดังกลากพรรนัย กระท�ำให้คัน ถ้าแก่เข้าเป็นลามไปทั้งตัว พยาธิอันนี้

ไทย
หายบ้าง มิหายบ้าง แต่ไม่ตาย เป็นแต่ล�ำบาก ดังอาจารย์กล่าวไว้ ฯ ขนานหนึ่ง เอาใบล�ำโพง ใบกรวยป่า

้าน
ข่าหลวง ใบพลูแก่ เอื้องเพ็ดม้า ใบกุ่มน�้ำ ใบกุ่มบก ใบขอบชะนางแดง ใบขอบชะนางขาว เอาเสมอภาค

ื้นบ
ท�ำเป็นจุณบดละลายสุรา ทาแก้พยาธิโรค คือเรื้อนมูลนกนั้นหาย ตามอาจารย์กล่าวไว้วิเศษนัก ฯ”

ย์พ
พท
สูตรต�ำรับยา ประกอบด้วยตัวยา ๙ ชนิด รวมน�้ำหนัก ๙ ส่วน ดังนี้

ะแ
แล
ตัวยา น�ำ้ หนักยา

ไทย
กรวยป่า ผน ๑ ส่วน
กุ่มน�้ำ (ใบ) ๑ ส่วน
ย์แ
กุ่มบก (ใบ) ๑ ส่วน
พท

ขอบชะนางขาว ๑ ส่วน
รแ

ขอบชะนางแดง ๑ ส่วน
ากา

ข่าหลวง ๑ ส่วน
ัญญ

พลูแก ๑ ส่วน
ูมิป

ล�ำโพง (ใบ) ๑ ส่วน


เอื้องเพ็ดม้า ๑ ส่วน
ริม
่งเส

สรรพคุณ แก้โรคสะเก็ดเงิน (ระยะที่มีแผลเป็นวงสีขาว มีขุย ขอบนูน มีอาการคัน และ


ล ะส

ลามไปทั้งตัว)
องแ

รูปแบบยา ยาผง (ดูภาคผนวก ๓.๒)


คร

ขนาดและวิธีการใช้ ผสมสุรา ทาวันละ ๒ ครั้ง เช้าและเย็น


งคุ้ม

ค�ำเตือน เป็นยาใช้ภายนอกห้ามกิน
กอ

ข้อมูลเพิ่มเติม - ตัวยาที่ใช้ในต�ำรับนี้ควรเป็นตัวยาสด
- การเตรียมตัวยาล�ำโพงก่อนน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก ๒.๒๘)

97
เอกสารอ้างอิง
๑. ส�ำนักคุ้มครองภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์
ทางเลือก. ชุดต�ำราภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย ฉบับอนุรักษ์ ต�ำราการแพทย์แผนไทย ในศิลาจารึกวัด
พระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธิ์) เล่ม ๒. พิมพ์ครั้งที่ ๑. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์องค์การสงเคราะห์
ทหารผ่านศึกในพระบรมราชูปถัมภ์, ๒๕๕๗.
๒. ประกาศกําหนดตําราการแพทย์แผนไทยของชาติและตํารับยาแผนไทยของชาติ พ.ศ. ๒๕๕๘,

ไทย
(๒๕๕๘, ๓๐ พฤศจิกายน). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม ๑๓๒ ตอนพิเศษ ๓๑๗ ง.

้าน
ื้นบ
ย์พ
พท
ะแ
แล
ไทย
ผน
ย์แ
รแ พท
ากา
ัญญ
ภ ูมิป
ริม
่งเส
ล ะส
องแ
คร
งคุ้ม
กอ

98
ยาทาแก้เรื้อนวิลา
ที่มาของต�ำรับยา ศิลาจารึกต�ำรายาวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธิ์) (๑, ๒)
“๏ ปุนะจะปะรัง ในล�ำดับนี้จะกล่าวด้วยนัยอันหนึ่งใหม่ ว่าด้วยลักษณะพยาธิโรคคือเรื้อน
วิลานั้นเป็นค�ำรบ ๓ เมื่อจะบังเกิดนั้นขึ้นที่หูแลก�ำด้นต้นคอ กระท�ำให้เปื่อยพุพอง ให้คัน ดูสัณฐานดุจมะเร็ง

ไทย
ไรยิ่งคันยิ่งเกา ครั้นวายเกาแล้วให้แสบร้อนตามที่เกา แลลักษณะเรื้อนวิลานี้หายมากกว่าไม่หาย ดังอาจารย์
กล่าวไว้ ฯ

้าน
ขนานหนึ่ง เอาผลล�ำโพงแดง ใบกรวยป่า ใบขอบชะนางทั้งสอง ใบรักขาว เอาเสมอภาค ท�ำเป็น

ื้นบ
จุณบดละลายน�้ำมันดิบทา แก้พยาธิโรคคือเรื้อนวิลา เป็นต้น แลเรื้อนมูลนก แลเรื้อนกวางแลเรื้อนหูด

ย์พ
แลแก้สรรพเรื้อนทั้งปวงก็หายวิเศษนัก ฯ”

พท
ะแ
สูตรต�ำรับยา ประกอบด้วยตัวยา ๖ ชนิด รวมน�้ำหนัก ๖ ส่วน ดังนี้

แล
ไทย
ตัวยา น�ำ้ หนักยา
ผน
กรวยป่า ๑ ส่วน
ย์แ
ขอบชะนางขาว ๑ ส่วน
พท

ขอบชะนางแดง ๑ ส่วน
รแ

น�้ำมันงา ๑ ส่วน
ากา

รักขาว ๑ ส่วน
ัญญ

ล�ำโพงแดง ๑ ส่วน
ภ ูมิป

สรรพคุณ แก้โรคสะเก็ดเงิน ระยะที่มีแผลเปื่อย


ริม
่งเส

รูปแบบยา ยาน�้ำมัน (ดูภาคผนวก ๓.๖)


วิธีปรุง ตัวยาล�ำโพงแดง กรวยป่า ขอบชะนางแดง ขอบชะนางขาว รักขาว โขลกให้ละเอียด
ล ะส

แล้วน�ำไปหุงตามวิธีกับน�้ำมันงา
องแ

ขนาดและวิธีการใช้ ทา วันละ ๒ ครั้ง เช้าและเย็น


คร

ค�ำเตือน เป็นยาใช้ภายนอกห้ามกิน
งคุ้ม

ข้อมูลเพิ่มเติม - ตัวยาที่ใช้ในต�ำรับนี้ควรเป็นตัวยาสด
กอ

- การเตรียมตัวยารักขาวก่อนน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก ๒.๒๗)

99
เอกสารอ้างอิง
๑. ส�ำนักคุ้มครองภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์
ทางเลือก.ชุดต�ำราภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย ฉบับอนุรักษ์ ต�ำราการแพทย์แผนไทย ในศิลาจารึกวัด
พระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธิ์) เล่ม ผภ. พิมพ์ครั้งที่ ๑. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์องค์การสงเคราะห์
ทหารผ่านศึกในพระบรมราชูปถัมภ์, ๒๕๕๗.
๒. ประกาศกําหนดตําราการแพทย์แผนไทยของชาติและตํารับยาแผนไทยของชาติ พ.ศ. ๒๕๕๘,

ไทย
(๒๕๕๘, ๓๐ พฤศจิกายน). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม ๑๓๒ ตอนพิเศษ ๓๑๗ ง.

้าน
ื้นบ
ย์พ
พท
ะแ
แล
ไทย
ผน
ย์แ
รแ พท
ากา
ัญญ
ภ ูมิป
ริม
่งเส
ล ะส
องแ
คร
งคุ้ม
กอ

100
ยาทาแก้โรคผิวหนัง
ชื่ออื่น น�้ำมันทากุฏฐโรค
ที่มาของต�ำรับยา ศิลาจารึกต�ำรายาวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธิ์) (๑, ๒)
“...๏ สิทธิการิยะ จะกล่าวด้วยต�ำรายาคือวิเศษสรรพคุณส�ำเร็จ อันอาจารย์เจ้าในก่อนประมวล

ไทย
ไว้ ให้แก้สรรพโรคทัง้ ปวงต่างๆ สืบกันมา ฯในทีน่ จี้ ะว่าแต่สรรพคุณวิเศษ คือคณะสรรพยาทีจ่ ะแก้ซงึ่ โรคกล่าว
คือชาติบุพกรรมกุฏฐโรค สมมุติว่าโรคเรื้อนนั้นโดยนัยดังนี้ ฯ ยาชื่อน�้ำมันทากุฏฐโรค เอาผลกะเบา

้าน
ผลกะเบียน ผลล�ำโพง กาสลัก ผลดีหมีต้น เลี่ยนทั้งใบทั้งเปลือก ขอบชะนางทั้งสอง ทั้งต้นทั้งราก

ื้นบ
ใบกรวยป่า ใบสะแกแสง ใบมะเกลือ ใบตานหม่อน ใบยาสูบ ขมิ้นอ้อย สิ่งละ ๑ ต�ำลึง มะพร้าวไฟผล ๑

ย์พ
ท� ำ เป็ น จุ ณ แล้ ว คุ ลี ก ารเข้ า ด้ ว ยกั น หุ ง ให้ ค งแต่ น�้ ำ มั น แล้ ว จึ ง มาทาสรรพกุ ฏ ฐโรคคื อ โรคเรื้ อ นทั้ ง ปวง

พท
หายดีนัก ฯ …”

ะแ
แล
สูตรต�ำรับยา ประกอบด้วยตัวยา ๑๔ ชนิด รวมน�้ำหนัก ๗๘๐ กรัม* ดังนี้

ไทย
ตัวยา ผน น�ำ้ หนักยา
ย์แ
กรวยป่า ๖๐ กรัม
พท

กระเบา ๖๐ กรัม
รแ

๖๐ กรัม
ากา

กระเบียน
ขมิ้นอ้อย ๖๐ กรัม
ัญญ

ขอบชะนางขาว (รากและต้น) ๖๐ กรัม


ูมิป

ขอบชะนางแดง (รากและต้น) ๖๐ กรัม


๖๐ กรัม
ริม

ดีหมีต้น
่งเส

ตานหม่อน ๖๐ กรัม
ะส

มะเกลือ ๖๐ กรัม

ยาสูบ ๖๐ กรัม
องแ

ล�ำโพงกาสลัก (ผล) ๖๐ กรัม


คร

เลี่ยน (เปลือกและใบ) ๖๐ กรัม


งคุ้ม

สะแกแสง ๖๐ กรัม
กอ

มะพร้าวไฟ (ผล) ๑ กรัม

*ไม่รวมน้ำ�หนัก มะพร้าวไฟ

101
สรรพคุณ แก้โรคผิวหนังซึ่งมีอาการผื่นคัน เช่น กลาก เกลื้อน
รูปแบบยา ยาน�้ำมัน (ดูภาคผนวก ๓.๖)
วิธีปรุงยา ตัวยากระเบา กระเบียน ล�ำโพงกาสลัก ดีหมีต้น เลี่ยน ขอบชะนางแดง ขอบชะนางขาว
กรวยป่า สะแกแสง มะเกลือ ตานหม่อน ยาสูบ ขมิ้นอ้อยบดเป็นผงละเอียด
แล้วหุงตามวิธีกับน�้ำมันมะพร้าวไฟ
ขนาดและวิธีการใช้ ทาแผลวันละ ๒ ครั้ง เช้าและเย็น

ไทย
ค�ำเตือน เป็นยาใช้ภายนอกห้ามกิน
ข้อห้ามใช้ ห้ามใช้ในแผลติดเชื้อ แผลเน่าเปื่อยเรื้อรัง

้าน
ื้นบ
ข้อมูลเพิ่มเติม การเตรียมตัวยายาสูบก่อนน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก ๒.๒๔)

ย์พ
เอกสารอ้างอิง

พท
๑. ส�ำนักคุ้มครองภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์
ทางเลือก.ชุดต�ำราภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย ฉบับอนุรักษ์ ต�ำราการแพทย์แผนไทย ในศิลาจารึก

ะแ
แล
วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธิ์) เล่ม ๓. พิมพ์ครั้งที่ ๑. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์องค์การสงเคราะห์

ไทย
ทหารผ่านศึกในพระบรมราชูปถัมภ์, ๒๕๕๗.
๒. ประกาศกําหนดตําราการแพทย์แผนไทยของชาติและตํารับยาแผนไทยของชาติ พ.ศ. ๒๕๕๘,
ผน
(๒๕๕๘, ๓๐ พฤศจิกายน). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม ๑๓๒ ตอนพิเศษ ๓๑๗ ง.
ย์แ
รแ พท
ากา
ัญญ
ภ ูมิป
ริม
่งเส
ล ะส
องแ
คร
งคุ้ม
กอ

102
ยาทาพระเส้น
ที่มาของต�ำรับยา คัมภีร์ธาตุพระนารายณ์ ฉบับใบลาน (๑, ๒)
“ทาพระเส้น ให้เอาพริกไทย ข่า กระชาย หอม กะเทียม มหาหิงคุ์ ยาด�ำ สิ่งละส่วน ตะไคร้หอม
ใบขี้เหล็ก ใบตองแตก ใบมะขาม ใบเลี่ยน สิ่งละ ๔ ส่วน เอาใบมะค�ำไก่ ๑๖ ส่วน น�ำ้ สุรา น�้ำส้มสาชูก็ได้

ไทย
เป็นกระสาย น�ำ้ สมสาชูทาแก้พระเส้นพิรุธ แลแก้ลมอัมพาต ลมปัตฆาฏ กล่อน ตระคริว จับโปง เมื่อยขบ
ทั้งปวงหายสิ้นแล ฯ”

้าน
ื้นบ
สูตรต�ำรับยา ประกอบด้วยตัวยา ๑๓ ชนิด รวมน�้ำหนัก ๔๓ ส่วน ดังนี้

ย์พ
ตัวยา น�ำ้ หนักยา

พท
ะแ
มะค�ำไก่ ๑๖ ส่วน

แล
ขี้เหล็ก (ใบ) ๔ ส่วน

ไทย
ตองแตก (ใบ) ๔ ส่วน
ตะไคร้หอม
ผน ๔ ส่วน
ย์แ
มะขาม ๔ ส่วน
พท

เลี่ยน ๔ ส่วน
รแ

กระชาย ๑ ส่วน
ากา

กระเทียม ๑ ส่วน
ัญญ

ข่า ๑ ส่วน
ูมิป

พริกไทย ๑ ส่วน

มหาหิงคุ์ ๑ ส่วน
ริม

ยาด�ำ ๑ ส่วน
่งเส

หอม ๑ ส่วน
ล ะส
องแ

สรรพคุณ แก้ปวดเมื่อยตามเส้นเอ็น ในโรคอัมพาต ปัตฆาต เป็นตะคริว ปวดบวมตามข้อ


รูปแบบยา ยาผง (ดูภาคผนวก ๓.๒)
คร
งคุ้ม

ขนาดและวิธีการใช้ ละลายเหล้าหรือน�้ำส้มสายชู ทาหรือพอกวันละ ๒-๓ ครั้ง เช้า (กลางวัน) เย็น


ค�ำเตือน เป็นยาใช้ภายนอกห้ามกิน
กอ

ข้อมูลเพิ่มเติม - การใช้ยาขนานนี้พอกเข่าเป็นเวลานานเกิน ๑ ชั่วโมง อาจท�ำให้ผิวหนังบริเวณที่


พอกลอกเป็นขุยได้ แต่ไม่ท�ำให้เกิดอันตรายแต่อย่างไร
- น�้ำส้มสายชู ที่ใช้เป็นกระสายนั้น ควรเป็นน�้ำส้มสายชูที่ได้จากการหมักตาม
ธรรมชาติ

103
- การเตรียมตัวยาตองแตกก่อนน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก ๒.๑๒)
- การเตรียมตัวยามหาหิงคุ์ก่อนน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก ๒.๑๘)
- การเตรียมตัวยายาด�ำก่อนน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก ๒.๒๓)
เอกสารอ้างอิง
๑. ส�ำนักคุ้มครองภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์
ทางเลือก. ชุดต�ำราภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย ฉบับอนุรักษ์ คัมภีร์ธาตุพระนารายณ์ ฉบับใบลาน

ไทย
(ต�ำราพระโอสถพระนารายณ์). พิมพ์ครัง้ ที่ ๑. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึกในพระบรม
ราชูปถัมภ์, ๒๕๕๕. หน้า ๑๖๖.

้าน
ื้นบ
๒. ประกาศกําหนดตําราการแพทย์แผนไทยของชาติและตํารับยาแผนไทยของชาติ (ฉบับที่ ๒)

ย์พ
พ.ศ. ๒๕๕๘, (๒๕๕๙, ๑๒ มกราคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม ๑๓๓ ตอนพิเศษ ๗ ง, หน้า ๑-๓.

พท
ะแ
แล
ไทย
ผน
ย์แ
รแ พท
ากา
ัญญ
ภ ูมิป
ริม
่งเส
ล ะส
องแ
คร
งคุ้ม
กอ

104
ยาทิพดารา
ที่มาของต�ำรับยา คัมภีร์แพทย์ไทยแผนโบราณ ขุนโสภิตบรรณลักษณ์ เล่ม ๑ (๑)
“ยาทิ พ ดารา แก้ ไข้ พิ ษ ไข้ ก าฬ ไข้ สั น นิ บ าต ไข้ ร ากสาด ไข้ ก าฬโรค ไข้ ป ระดงทั้ ง ปวง
ไข้เหือดหัด อีสุกอีไส เอาจากชิงชี่ รากคนทา รากมะเดื่อชุมพร รากเท้ายายม่อม รากหญ้านาง เอาสิ่งละ

ไทย
๑ บาท เหมือดคน ช้องระอา รากล�ำโพง ระย่อม ไคร้เครือ จันทน์แดง จันทน์ขาว จันทน์ชะมด จันทนา
เอาสิ่งละ ๘ บาท เปลือกต้นปลาไหลเผือกเท่ายาทั้งหลาย ฝางเสนกึ่งยาทั้งหลาย บดปั้นแท่งด้วยน�้ำดอกไม้

้าน
แทรกชะมด พิมเสน กระแจะตะนาว หญ้าฝรั่น อ�ำพันทอง ดีหมี ดีหมูป่า ดีตะพาบน�้ำ ละลายน�้ำกระสายกิน”

ื้นบ
ย์พ
สูตรต�ำรับยา ประกอบด้วยตัวยา ๑๖ ชนิด รวมน�้ำหนัก ๒,๘๘๗.๕ กรัม ดังนี้

พท
ตัวยา น�ำ้ หนักยา

ะแ
แล
ปลาไหลเผือก ๑,๑๕๕ กรัม

ไทย
ฝางเสน ผน ๕๗๗.๕ กรัม
ไคร้เครือ ๑๒๐ กรัม
ย์แ
จันทน์ขาว ๑๒๐ กรัม
พท

จันทน์ชะมด ๑๒๐ กรัม


รแ

จันทน์แดง ๑๒๐ กรัม


ากา

จันทนา ๑๒๐ กรัม


ัญญ

ชองระอา ๑๒๐ กรัม


ระย่อม ๑๒๐ กรัม
ูมิป

ล�ำโพง ๑๒๐ กรัม



ริม

เหมือดคน ๑๒๐ กรัม


่งเส

คนทา ๑๕ กรัม
ะส

ชิงชี่ ๑๕ กรัม

มะเดื่ออุทุมพร ๑๕ กรัม
องแ

ไม้เท้ายายม่อม ๑๕ กรัม
คร

ย่านาง ๑๕ กรัม
งคุ้ม
กอ

สรรพคุณ แก้ไข้พษิ ไข้กาฬ ไข้สนั นิบาต ไข้รากสาด ไข้กาฬ ไข้ประดงทัง้ ปวง ไข้เหือดหัด อีสกุ อีใส
รูปแบบยา ยาเม็ดพิมพ์ ขนาด ๓๐๐ มิลลิกรัม (ดูภาคผนวก ๓.๔.๑)
วิธีปรุงยา บดปั้นแท่งด้วยน�้ำดอกไม้แทรกชะมดพิมเสน กระแจะตะนาว หญ้าฝรั่น ดีหมี
ดีหมูป่า ดีตะพาบน�้ำ ละลายน�้ำกระสาย

105
ขนาดและวิธีการใช้ ครั้งละ ๒-๔ เม็ด กินวันละ ๓ ครั้ง ก่อนอาหาร เช้า กลางวัน และเย็น
ข้อมูลเพิ่มเติม - การเตรียมตัวยาไคร้เครือก่อนน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก ๒.๘)
- การเตรียมตัวยาระย่อมก่อนน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก ๒.๒๖)
- การเตรียมตัวยาล�ำโพงก่อนน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก ๒.๒๘)
เอกสารอ้างอิง
ขุนโสภิตบรรณลักษณ์ (อ�ำพัน กิตติขจร), คัมภีร์แพทย์ไทยแผนโบราณ เล่ม ๓. กรุงเทพฯ :

ไทย
โรงพิมพ์อุตสาหกรรมการพิมพ์, ๒๕๐๔.

้าน
ื้นบ
ย์พ
พท
ะแ
แล
ไทย
ผน
ย์แ
รแ พท
ากา
ัญญ
ภ ูมิป
ริม
่งเส
ล ะส
องแ
คร
งคุ้ม
กอ

106
ยาทิภาวุธ
ที่มาของต�ำรับยา ต�ำรายาเกร็ด (๑)
“๏ ยาชื่อทิภาวุธ เอา โกฐ (หัว) บัว โกฐเชียง โกฐกระดูก เทียนขาว อบเชยเทศ ชะเอมเทศ
สิ่งละส่วน กฤษณา กระล�ำพัก ชะลูด สิ่งละ ๒ ส่วน พริกหาง เปราะหอม สิ่งละ ๓ ส่วน ขอนดอก ๔ ส่วน

ไทย
ท�ำเป็นจุณบดท�ำแท่งไว้ ละลายน�้ำดอกไม้แทรกชะมด แทรกพิมเสนให้กิน แก้ลมสัถกะวาต ซึ่งกระทา
ให้จักษุมัว แลให้หิวหาแรงมิได้นั้นหายวิเศษนัก ๚”

้าน
ื้นบ
สูตรต�ำรับยา ประกอบด้วยตัวยา ๑๒ ชนิด รวมน�้ำหนัก ๒๒ ส่วน ดังนี้

ย์พ
ตัวยา น�ำ้ หนักยา

พท
ะแ
ขอนดอก ๔ ส่วน

แล
เปราะหอม ๓ ส่วน

ไทย
พริกหาง ๓ ส่วน
กระล�ำพัก (สลัดได)
ผน ๒ ส่วน
ย์แ
กฤษณา ๒ ส่วน
พท

ชะลูด ๒ ส่วน
รแ

โกฐกระดูก ๑ ส่วน
ากา

โกฐเชียง ๑ ส่วน
ัญญ

โกฐหัวบัว ๑ ส่วน
ูมิป

ชะเอมเทศ ๑ ส่วน

เทียนขาว ๑ ส่วน
ริม

อบเชยเทศ ๑ ส่วน
่งเส
ะส

สรรพคุณ แก้ลมสัตถกวาต ซึ่งกระท�ำให้จักษุมัว แลให้หิวหาแรงมิได้



องแ

รูปแบบยา ยาเม็ดพิมพ์ ขนาด ๕๐๐ มิลลิกรัม (ดูภาคผนวก ๓.๔.๑)


ขนาดและวิธีการใช้ ครั้ ง ละ ๑ เม็ ด ละลายน�้ ำ ดอกไม้ แทรกพิ ม เสนหรื อ ชะมด กิ น วั น ละ ๓ ครั้ ง
คร

ก่อนอาหารเช้า กลางวันและเย็น
งคุ้ม

เอกสารอ้างอิง
กอ

๑. “ต�ำรายาเกร็ด”. หอสมุดแห่งชาติ. หนังสือสมุดไทยด�ำ. อักษรไทย. ภาษาไทย. เลขที่ ๒๓๓.


หมวดต�ำราเวชศาสตร์.
๒. ประกาศกําหนดตําราการแพทย์แผนไทยของชาติและตํารับยาแผนไทยของชาติ (ฉบับที่ ๘)
พ.ศ. ๒๕๕๙, (๒๕๖๐, ๒๔ พฤษภาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม ๑๓๔ ตอนพิเศษ ๑๓๙ ง, หน้า ๑-๓.

107
ยาธรณีสันฑะฆาต
ชื่ออื่น ธรณีสันฑคาต (๑)
ที่มาของต�ำรับยา สูตรต�ำรับที่ใกล้เคียงต�ำรับนี้ พบใน ต�ำรายายุรเวทศึกษา ขุนนิทเทศสุขกิจ เล่ม ๒ (๑)
“ยา ธรณีสนั ฑคาต เอาลูกจันทน์ ดอกจันทน์ กระวาน กานพลู เทียนด�ำ เทียนขาว ดองดึง หัวบุก
หัวกลอย กระดาดแดง กระดาดขาว ลูกเร่ว ขิงแห้ง ชะเอมเทศ เจตมูล โกฐกระดูก โกฐเขมา โกฐน�ำ้ เต้า

ไทย
สิ่งละ ๑ บาท ผักแพวแดง ลูกมะขามป้อม สิ่งละ ๒ บาท สมอไทย มหาหิงคุ์ การบูร สิ่งละ ๖ บาท
รงทอง ๑๒ บาท ยาด�ำ ๒๐ บาท พริกไทย ๙๖ บาท ต�ำเป็นผง กินถ่าย”

้าน
ื้นบ
สูตรต�ำรับยา ประกอบด้วยตัวยา ๒๖ ชนิด รวมน�้ำหนัก ๑๖๐ กรัม (๒) ดังนี้

ย์พ
พท
ตัวยา น�้ำหนักยา

ะแ
พริกไทยล่อน ๙๖ กรัม

แล
ยาด�ำ ๒๐ กรัม

ไทย
การบูร ๖ กรัม
มหาหิงคุ์
ผน ๖ กรัม
ย์แ
สมอไทย (เนื้อผล) ๖ กรัม
พท

รงทอง ๔ กรัม
รแ

ผักแพวแดง ๒ กรัม
ากา

มะขามป้อม (เนื้อผล) ๒ กรัม


กระดาดขาว ๑ กรัม
ัญญ

กระดาดแดง ๑ กรัม
ูมิป

กลอย ๑ กรัม

กานพลู ๑ กรัม
ริม

โกฐกระดูก ๑ กรัม
่งเส

โกฐเขมา ๑ กรัม
ะส

โกฐน�้ำเต้า ๑ กรัม

ขิง ๑ กรัม
องแ

เจตมูลเพลิงแดง ๑ กรัม
คร

ชะเอมเทศ ๑ กรัม
งคุ้ม

ดอกจันทน์ ๑ กรัม
กอ

ดองดึง ๑ กรัม
เทียนขาว ๑ กรัม
เทียนด�ำ ๑ กรัม
บุก ๑ กรัม
เร่ว ๑ กรัม
กระวาน ๑ กรัม
ลูกจันทน์ ๑ กรัม
108
สรรพคุณ แก้เถาดาน ท้องผูก แก้กษัยเส้น (๒)
รูปแบบยา ยาแคปซูล ยาผง ยาเม็ด ยาลูกกลอน (๒)
ขนาดและวิธีการใช้ ชนิดผง
กินครั้งละ ๕๐๐ มิลลิกรัม – ๑ กรัม ละลายน�้ำสุกหรือผสมน�้ำผึ้ง ปั้นเป็นลูกกลอน
วันละ ๑ ครั้ง ก่อนอาหารเช้าหรือก่อนนอน
ชนิดแคปซูล ชนิดเม็ด และลูกกลอน

ไทย
กินครั้งละ ๕๐๐ มิลลิกรัม - ๑ กรัม วันละ ๑ ครั้ง ก่อนอาหารเช้าหรือก่อนนอน (๒)

้าน
ข้อห้ามใช้ ห้ามใช้ในหญิงตั้งครรภ์ ผู้ที่มีไข้ และเด็กเล็กอายุต�่ำกว่า ๖ ขวบ (๒)

ื้นบ
ข้อควรระวัง - ควรระวั ง การกิ น ร่ ว มกั บ ยาในกลุ ่ ม สารกั น เลื อ ดเป็ น ลิ่ ม (anticoagulant)

ย์พ
และยาต้านการจับตัวของเกล็ดเลือด (antiplatelets)

พท
- ควรระวังการใช้ยาอย่างต่อเนือ่ ง โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในผูป้ ว่ ยทีม่ คี วามผิดปกติของ

ะแ
ตับ ไต เนื่องจากอาจเกิดการสะสมของการบูรและเกิดพิษได้

แล
- ควรระวังการใช้ร่วมกับยา phenytoin, propranolol, theophylline และ

ไทย
rifampicin เนื่องจากต�ำรับนี้มีพริกไทยในปริมาณสูง มีรายงานว่าสารมีรายงาน
ผน
ว่าสารพิเพอรีน (piperine) ในพริกไทยเพิ่มการดูดซึมของยาเหล่านี้ (๒)
ย์แ
- ควรระวังการใช้ในผู้สูงอายุ (๒)
พท

ข้อมูลเพิ่มเติม - การเตรียมตัวยากลอยก่อนน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก ๒.๒)


รแ

- การเตรียมตัวยาดองดึงก่อนน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก ๒.๑๐)


ากา

- การเตรียมตัวยาบุกก่อนน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก ๒.๑๔)


ัญญ

- การเตรียมตัวยารงทองก่อนน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก ๒.๒๕)


ูมิป

เอกสารอ้างอิง

ริม

๑. อายุรเวทศึกษา (ขุนนิทเทสสุขกิจ) เล่ม ๒. นิทเทส (ถมรัตน์) พุ่มชูศรี. กรุงเทพ ฯ :


่งเส

พร้อมจักรการพิมพ์, ๒๕๑๖. หน้า ๑๘๖.


ะส

๒. ประกาศคณะกรรมการพัฒนาระบบยาแห่งชาติ เรื่อง บัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๑.


(๒๕๖๑, ๑๙ มกราคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม ๑๓๕ ตอนพิเศษ ๑๔ ง. หน้า ๔. (เอกสารแนบท้ายประกาศ


องแ

หน้าที่ ๒๓๘, ๒๕๔)


คร
งคุ้ม
กอ

109
ยาธาตุเด็ก
ที่มาของต�ำรับยา ต�ำรายาเกร็ด (๑)
“๏ ยาธาตุเด็ก ใบเจตมูล ๑ ใบดีปลี ๑ ใบขิง ๑ ใบสะค้าน ๑ ใบช้าพลู ๑ ใบโหระพาเท่ายา
ท�ำเม็ดกินแก้ธาตุมิเสมอกัน ๚”

ไทย
สูตรต�ำรับยา ประกอบด้วยตัวยา ๖ ชนิด รวมน�้ำหนัก ๑๐ ส่วน ดังนี้

้าน
ื้นบ
ตัวยา น�้ำหนักยา

ย์พ
โหระพา ๕ ส่วน

พท
ขิง (ใบ) ๑ ส่วน

ะแ
เจตมูลเพลิงแดง (ใบ) ๑ ส่วน

แล
ชะพลู (ใบ) ๑ ส่วน

ไทย
ดีปลี (ใบ) ผน ๑ ส่วน
สะค้าน ๑ ส่วน
ย์แ
พท

สรรพคุณ แก้ธาตุไม่เสมอกัน (บ�ำรุงธาตุในเด็ก เช่น แก้ท้องอืดท้องเฟ้อ อาหารไม่ย่อย


รแ
ากา

เจ็บป่วยง่าย)
รูปแบบยา ยาเม็ดพิมพ์ ขนาด ๑๐๐ มิลลิกรัม (ดูภาคผนวก ๓.๔.๑)
ัญญ

วิธีปรุงยา บดเป็นผงละเอียดแล้วท�ำเป็นเม็ด
ูมิป

ขนาดและวิธีการใช้ อายุ ๑ เดือน-๕ เดือน ครั้งละ ๑ เม็ด



ริม

อายุ ๖ เดือน-๑ ปี ครั้งละ ๒ เม็ด


่งเส

อายุ ๑ ปี-๕ ปี ครั้งละ ๓ เม็ด


ะส

อายุ ๕ ปี ขึ้นไป ครั้งละ ๔ เม็ด


ละลายน�้ำต้มสุก กินวันละ ๒ ครั้ง ก่อนอาหาร เช้าและเย็น


องแ

ข้อห้ามใช้ ห้ามใช้ในเด็กที่มีไข้
คร

เอกสารอ้างอิง
งคุ้ม

๑. “ต�ำรายาเกร็ด”. หอสมุดแห่งชาติ. หนังสือสมุดไทยด�ำ. อักษรไทย. ภาษาไทย. เลขที่ ๓๑๔.


กอ

หมวดต�ำราเวชศาสตร์.
๒. ประกาศกําหนดตําราการแพทย์แผนไทยของชาติและตํารับยาแผนไทยของชาติ (ฉบับที่ ๑๐)
พ.ศ. ๒๕๖๐, (๒๕๖๐, ๒๕ พฤษภาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม ๑๓๔ ตอนพิเศษ ๑๔๑ ง, หน้า ๑-๔.

110
ยานารายณ์ประสิทธิ์
ที่มาของต�ำรับยา คัมภีร์แพทย์ไทยแผนโบราณ ขุนโสภิตบรรณลักษณ์ เล่ม ๑ (๑)
“ยานารายณ์ประสิทธิ์ แก้ไข้พิษไข้กาฬ ไข้สันนิบาต ไข้รากสาดที่ลงเป็นโลหิต ไข้จับสั่น แก้ร้อน
ภายในภายนอก ถอนเบื่อเมาต่าง ๆ เอาเปลือกต้นปลาไหลเผือก รากล�ำโพงกาสลัก ช้องระอา รากชิงชี่
รากคนทา รากมะเดื่อชุมพร รากเท้ายายม่อม รากหญ้านาง จันทน์แดง จันทน์ขาว จันทน์เทศ จันทน์ชะมด

ไทย
จันทนา โกฎสอ โกฎหัวบัว รากมะปรางหวาน รากมะนาว รากมะกรูด ฝางเสน เอาสิ่งละ ๔ บาท เหมือดคน
เท่ายาทั้งหลาย บดปั้นแท่งด้วยน�้ำดอกไม้ แทรกชะมดพิมเสน กระแจะตะนาว ดีงูเหลือม ดีจรเข้ ดีหมูป่า

้าน
ดีหมี ละลายน�้ำกระสายตามควรแก่โรคกิน”

ื้นบ
ย์พ
สูตรต�ำรับยา ประกอบด้วยตัวยา ๒๐ ชนิด รวมน�้ำหนัก ๒,๒๘๐ กรัม ดังนี้

พท
ะแ
ตัวยา น�ำ้ หนักยา

แล
เหมือดคน ๑,๑๔๐ กรัม

ไทย
โกฐสอ ผน ๖๐ กรัม
โกฐหัวบัว ๖๐ กรัม
ย์แ
คนทา ๖๐ กรัม
พท

จันทน์ขาว ๖๐ กรัม
รแ

จันทน์ชะมด ๖๐ กรัม
ากา

จันทน์แดง ๖๐ กรัม
ัญญ

จันทน์เทศ ๖๐ กรัม
ูมิป

จันทนา ๖๐ กรัม

ชองระอา ๖๐ กรัม
ริม

ชิงชี่ ๖๐ กรัม
่งเส

ปลาไหลเผือก ๖๐ กรัม
ะส

ฝางเสน ๖๐ กรัม

องแ

มะกรูด (ราก) ๖๐ กรัม


คร

มะเดื่ออุทุมพร ๖๐ กรัม
งคุ้ม

มะนาว ๖๐ กรัม
มะปรางหวาน ๖๐ กรัม
กอ

ไม้เท้ายายม่อม ๖๐ กรัม
ล�ำโพงกาสลัก ๖๐ กรัม
ย่านาง ๖๐ กรัม

111
สรรพคุณ แก้ไข้พิษไข้กาฬ ไข้สันนิบาต ไข้รากสาดที่ถ่ายเป็นโลหิต ไข้จับสั่น แก้ร้อนภายใน
ภายนอก ถอนพิษเบื่อเมาต่าง ๆ
รูปแบบยา ยาเม็ดพิมพ์ ขนาด ๓๐๐ มิลลิกรัม (ดูภาคผนวก ๓.๔.๑)
วิธีปรุงยา บดปั้นแท่งด้วยน�้ำดอกไม้แทรกชะมด พิมเสน กระแจะตะนาว ดีงูเหลือม ดีจระเข้
ดีหมูป่า ดีหมี ละลายน�้ำกระสายยาตามควรแก่โรค
ขนาดและวิธีการใช้ ครั้งละ ๒-๔ เม็ด กินวันละ ๓ ครั้ง ก่อนอาหาร เช้า กลางวัน และเย็น

ไทย
เอกสารอ้างอิง
ขุนโสภิตบรรณลักษณ์ (อ�ำพัน กิตติขจร), คัมภีร์แพทย์ไทยแผนโบราณ เล่ม ๓. กรุงเทพฯ :

้าน
ื้นบ
โรงพิมพ์อุตสาหกรรมการพิมพ์, ๒๕๐๔.

ย์พ
พท
ะแ
แล
ไทย
ผน
ย์แ
รแ พท
ากา
ัญญ
ภ ูมิป
ริม
่งเส
ล ะส
องแ
คร
งคุ้ม
กอ

112
ยานารายณ์พังค่าย
ที่มาของต�ำรับยา ต�ำรายาเกร็ด (๑)
“ยาชื่อนารายณ์พังค่าย มหาหิงคุ์ ๑ (๑) อ�ำพัน ๑ (๒) เจตมูล ๑ (๓) ชีล้อม ๑ (๔) สะค้าน
๑ (๕) โกฐสอ ๑ (๖) พริกหอม ๑ (๗) ลูกมะตูมอ่อน ๑ (๘) ลูกช้าพลู ๑ (๙) ขิง ๑ (๑๐) สมอเทศ ๑ (๑๑)

ไทย
เทียนด�ำ ๑ (๑๒) เกสรบุนนาค ๑ (๑๓) เปล้าทั้ง ๒ ๑ (๑๔) รากทนดี ๑ (๑๕) พริกไทย ๑ (๑๖) ยา ๑๖ สิ่งนี้
ทวีตามวัยเลข ตากแห้งท�ำผงไว้เมื่อกินหนัก ๑ สลึง ละลายน�ำ้ ร้อนกิน ผายลง ๒ หน ๓ หน ต้องคุณก็ดีและ

้าน
ลมขึ้นเบื้องบนถึงกระหม่อมแลลมให้เย็นตีนมือให้บวมเท้า ให้ตีนมือตายไป ต�ำหระ (ซีก) ตัวข้างหนึ่ง

ื้นบ
รับอาหารมิได้ให้คับทรวง ทั่วสารพางค์ตัว ไข้สันนิบาตลมมีพิษ ให้ฟกบวมทุกแห่งลมให้เย็นตัว ให้หาแรง

ย์พ
มิได้ ไฟธาตุหย่อนเผาอาหารมิแหลก ให้เจ็บสีข้าง ให้ไอ เป็นหืด เป็นปาน เป็นพยาธิ ในท้อง ให้สั่นทั้งตีนมือ

พท
ลมให้ไอให้กระตุกทุกแห่ง และกินยาอันใด ๆ มิฟัง ให้กินยานี้ ถึงจะกินยาอื่น ยานี้อย่าทิ้งเสีย ๑๕ วัน

ะแ
กินทีหนึ่ง ชื่อนารายณ์พังค่าย ตีราคาไว้ชั่งทองหนึ่งแล ฯ”

แล
ไทย
สูตรต�ำรับยา ประกอบด้วยตัวยา ๑๗ ชนิด รวมน�้ำหนัก ๑๗ ส่วน ดังนี้
ผน
ย์แ
ตัวยา น�ำ้ หนักยา
พท

โกฐสอ ๑ ส่วน
รแ

ขิง ๑ ส่วน
ากา

เจตมูลเพลิงแดง ๑ ส่วน
ัญญ

ชะพลู ๑ ส่วน
ูมิป

บุนนาค ๑ ส่วน

เปล้าน้อย ๑ ส่วน
ริม

เปล้าใหญ่ ๑ ส่วน
่งเส

ทนดี ๑ ส่วน
ะส

เทียนด�ำ ๑ ส่วน

องแ

ลูกชีล้อม ๑ ส่วน
คร

พริกไทย ๑ ส่วน
งคุ้ม

พริกหอม ๑ ส่วน
กอ

มะตูม ๑ ส่วน
มหาหิงคุ์ ๑ ส่วน
สะค้าน ๑ ส่วน
สมอเทศ ๑ ส่วน
อ�ำพันทอง ๑ ส่วน

113
สรรพคุณ แก้ลมขึ้นเบื้องบน ลมให้เย็นมือเย็นเท้าให้เท้าบวม ให้มือเท้าตาย ซีกตัวข้างหนึ่ง
รับอาหารไม่ได้ ให้ คั บทรวงทั่ ว สารพางค์ ตัว ไข้ สั นนิ บาตลมมี พิ ษ ให้ ฟ กบวม
ทุกแห่งลมให้เย็นตัว ให้หาแรงมิได้ ไฟธาตุหย่อนเผาอาหารมิแหลก ให้เจ็บสีข้าง
ให้ไอ เป็นหืด เป็นปาน เป็นพยาธิ ในท้อง ให้สั่นทั้งมือทั้งเท้า ลมให้ไอให้กระตุก
ทุกแห่ง
รูปแบบยา ยาผง (ดูภาคผนวก ๓.๒)

ไทย
ขนาดและวิธีการใช้ ครั้งละ ๓.๗๕ กรัม ละลายน�้ำร้อน กินวันละ ๒ ครั้ง ก่อนอาหาร เช้าและเย็น

้าน
ข้อห้ามใช้ ห้ามใช้ในหญิงตั้งครรภ์และหญิงให้นมบุตร ผู้ที่มีไข้ และเด็กอายุต�่ำกว่า ๑๒ ขวบ

ื้นบ
ข้อมูลเพิ่มเติม - อ�ำพันขี้ปลา หรือ อ�ำพันทอง มีชื่อสามัญว่า ambergris (ค�ำว่า amber คือ อ�ำพัน

ย์พ
ส่วนค�ำว่า gris แปลว่า อาจม) ซึ่งเป็นวัตถุคล้ายขี้ผึ้งมีสีเทาอมเหลือง พบลอยอยู่

พท
ในทะเลแถบร้อน เป็นของเสียที่ถ่ายออกมาจากท้องวาฬหัวทุย เมื่อถูกอากาศ

ะแ
นานเข้าจะมีกลิ่นหอม มีรสเอียน คาวเล็กน้อย ใช้ผสมเครื่องหอมให้มีกลิ่นคงทน

แล
แพทย์แผนไทยใช้เป็นยาแก้ลม แก้เสมหะ และท�ำให้เกิดก�ำลัง (๓)

ไทย
- การเตรียมตัวยามหาหิงคุ์ก่อนน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก ๒.๑๘)
เอกสารอ้างอิง
ผน
ย์แ
๑. “ต�ำรายาเกร็ด”. หอสมุดแห่งชาติ. หนังสือสมุดไทยด�ำ. อักษรไทย. ภาษาไทย. เลขที่ ๒๔๗.
พท

หมวดต�ำราเวชศาสตร์.
รแ

๒. ประกาศกําหนดตําราการแพทย์แผนไทยของชาติและตํารับยาแผนไทยของชาติ (ฉบับที่ ๘)
ากา

พ.ศ. ๒๕๕๙, (๒๕๖๐, ๒๔ พฤษภาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม ๑๓๔ ตอนพิเศษ ๑๓๙ ง, หน้า ๑-๓.
ัญญ

๓. ชยันต์ พิเชียรสุนทร และ วิเชียร จีรวงส์. คู่มือเภสัชกรรมแผนไทย เล่มที่ ๓ เครื่องยา


สัตว์วัตถุ. กรุงเทพฯ : อมรินทร์, ๒๕๔๖.
ภ ูมิป
ริม
่งเส
ล ะส
องแ
คร
งคุ้ม
กอ

114
ยาน�ำ้ มันช�ำระแผล
ที่มาของต�ำรับยา ศิลาจารึกต�ำรายาวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธิ์) (๑)
“๏ สิทธิการิยะ จะกล่าวซึ่งสรรพยาขี้ผึ้งน�้ำมัน อันจะรักษาวัณโรคคือ สรรพแผล ทั้งปวงนั้น
สืบต่อไป ให้บุคคลทั้งหลายพึงรู้ดังนี้ ฯ
ยาน�้ำมันช�ำระแผล เอาใบขอบชะนางทั้งสอง ใบหญ้าน�้ำดับไฟ ใบล�ำโพงกาสลัก น�ำเอาน�้ำสิ่งละ

ไทย
ทะนาน น�้ำมันงาทะนาน ๑ น�ำใบเถาคันแดง ๒ ทะนาน หุงตามวิธีให้คงแต่น�้ำมัน แล้วจึงเอาผลจันทน์

้าน
ดอกจันทน์ กานพลู จุลสี สารส้ม สิ่งละ ๒ สลึง เป็นจุณปรุงลงในน�ำ้ มัน ชุบส�ำลีใส่แผลเป็นยาช�ำระวิเศษนักฯ”

ื้นบ
สูตรต�ำรับยา ประกอบด้วยตัวยา ๑๑ ชนิด รวมน�้ำหนัก ๓๗.๕ กรัม* ดังนี้

ย์พ
พท
ตัวยา น�ำ้ หนักยา

ะแ
แล
กานพลู ๗.๕ กรัม

ไทย
จุนสี ๗.๕ กรัม
ดอกจันทน์ ผน ๗.๕ กรัม
ย์แ
ลูกจันทน์ ๗.๕ กรัม
พท

สารส้ม ๗.๕ กรัม


รแ

เถาคันแดง ๒ ลิตร
ากา

ขอบชะนางขาว ๑ ลิตร
ัญญ

ขอบชะนางแดง ๑ ลิตร
น�้ำมันงา ๑ ลิตร
ูมิป

ล�ำโพงกาสลัก (ใบ) ๑ ลิตร



ริม

หญ้าน�้ำดับไฟ ๑ ลิตร
่งเส
ะส

*ไม่รวมน้ำ�หนัก ขอบชะนางขาว ขอบชะนางแดง หญ้าน้�ำ ดับไฟ ลำ�โพงกาสลัก น้ำ�มันงา เถาคันแดง



องแ

สรรพคุณ ช�ำระแผล
คร

รูปแบบยา ยาน�้ำมัน (ดูภาคผนวก ๓.๖)


งคุ้ม

วิธีปรุงยา ตัวยาขอบชะนางขาว ขอบชะนางแดง หญ้าน�้ำดับไฟ ล�ำโพงกาสลัก น�้ำมันงา


กอ

เถาคันแดง หุงตามวิธใี ห้เหลือแต่นำ�้ มัน แล้วจึงเอาตัวยาลูกจันทน์ ดอกจันทน์ กานพลู


จุนสี สารส้ม บดเป็นผงละเอียด ผสมลงในน�้ำมัน
ขนาดและวิธีการใช้ ใช้ส�ำลีชุบน�้ำมันทาแผลหรือปิดแผล วันละ ๒ ครั้ง เช้าและเย็น
ค�ำเตือน เป็นยาใช้ภายนอกห้ามกิน

115
ข้อมูลเพิ่มเติม - การช�ำระแผล ในศาสตร์การแพทย์แผนไทยหมายถึง ท�ำความสะอาดแผลโดยการ
ใช้ยาทาหรือพอกไว้ ใช้ได้ทั้งแผลสดและแผลเปื่อย
- การเตรียมตัวยาจุนสีก่อนน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก ๒.๙)
- การเตรียมตัวยาสารส้มก่อนน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก ๒.๓๖)
เอกสารอ้างอิง
ต�ำรายาศิลาจารึกในวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธิ์) พระนคร, พระบาทสมเด็จ

ไทย
พระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าให้จารึกไว้เมื่อ พ.ศ. ๒๓๗๕ ฉบับสมบูรณ์, ๒๕๐๕.

้าน
ื้นบ
ย์พ
พท
ะแ
แล
ไทย
ผน
ย์แ
รแ พท
ากา
ัญญ
ภูมิป
ริม
่งเส
ล ะส
องแ
คร
งคุ้ม
กอ

116
ยาน�้ำมันมหาจักร
ที่มาของต�ำรับยา คัมภีร์ธาตุพระนารายณ์ ฉบับใบลาน (๑, ๒)
“...น�ำ้ มันมหาจักร เอาน�้ำมันงาทะนานหนึ่ง ด้วยทะนาน ๖๐๐ มะกรูดสด ๓๐ ลูก แล้วจึงเอา
น�้ำมันตั้งเพลิงขึ้น รุมเพลิงให้ร้อน เอาผิวมะกรูดใส่ลงให้เหลืองเกรียมดีแล้ว ยกลงกรองกากให้หมดเอาไว้ให้
เย็น จึงเอาเทียนทั้ง ๕ สิ่งละ ๒ สลึง ดีปลีบาท ๑ การบูร ๒ บาท บดจงละเอียดปรุงลงในน�ำ้ มันนั้น ยอนหู

ไทย
แก้ลม แก้ริดสีดวง แก้เปื่อยคันก็ได้ ทาเมื่อยขบก็ได้ ใส่บาดแผลเจ็บปวดเสี้ยนหนามหอกดาบก็ได้หายแล

้าน
แต่อย่าให้ ถูกน�ำ้ ๓ วัน มิเปนบุบโพเลย ฯ…”

ื้นบ
ย์พ
สูตรต�ำรับยา ประกอบด้วยตัวยา ๙ ชนิด รวมน�้ำหนัก ๘๒.๕ กรัม* ดังนี้

พท
ตัวยา น�ำ้ หนักยา

ะแ
แล
การบูร ๓๐ กรัม

ไทย
ดีปลี ๑๕ กรัม
เทียนขาว
ผน ๗.๕ กรัม
ย์แ
เทียนข้าวเปลือก ๗.๕ กรัม
พท

เทียนด�ำ ๗.๕ กรัม


รแ

เทียนแดง ๗.๕ กรัม


ากา

เทียนตาตั๊กแตน ๗.๕ กรัม


ัญญ

น�้ำมันงา ๑ ลิตร
ูมิป

มะกรูด ๓๐ ลูก

ริม

*ไม่รวมน้ำ�หนัก น้ำ�มันงา มะกรูด


่งเส

สรรพคุณ ทาแก้ปวดเมื่อยตามร่างกาย
ะส

รูปแบบยา ยาน�้ำมัน (ดูภาคผนวก ๓.๖)



องแ

สรรพคุณ ทาแก้ปวดเมื่อยตามร่างกาย
คร

วิธีปรุงยา ๑) ทอดผิวมะกรูดในน�้ำมันงา จนผิวมะกรูดเปลี่ยนเป็นสีเหลืองเกรียม ยกลงจากไฟ


งคุ้ม

กรองกากออกให้หมด พักให้เย็น
๒) ตัวยาเทียนแดง เทียนขาว เทียนข้าวเปลือก เทียนตาตั๊กแตน เทียนด�ำ ดีปลี
กอ

บดให้พอหยาบ แล้วจึงใส่ลงในน�้ำมันตามข้อ ๑) คนให้เข้ากัน กรองเอากากออก


ให้หมด ตั้งทิ้งไว้ให้เย็น แล้วจึงเติมการบูร ลงในน�้ำมันคนให้เข้ากัน
ขนาดและวิธีการใช้ ทาบริเวณที่มีอาการปวดเมื่อย วันละ ๒-๓ ครั้ง เช้า (กลางวัน) เย็น
ค�ำเตือน เป็นยาใช้ภายนอกห้ามกิน

117
เอกสารอ้างอิง
๑. ส�ำนักคุ้มครองภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์
ทางเลือก. ชุดต�ำราภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย ฉบับอนุรักษ์ คัมภีร์ธาตุพระนารายณ์ ฉบับใบลาน
(ต�ำราพระโอสถพระนารายณ์). พิมพ์ครัง้ ที่ ๑. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึกในพระบรม
ราชูปถัมภ์, ๒๕๕๕. หน้า ๑๑๙.
๒. ประกาศกําหนดตําราการแพทย์แผนไทยของชาติและตํารับยาแผนไทยของชาติ (ฉบับที่ ๒)

ไทย
พ.ศ. ๒๕๕๘, (๒๕๕๙, ๑๒ มกราคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม ๑๓๓ ตอนพิเศษ ๗ ง, หน้า ๑-๓.

้าน
ื้นบ
ย์พ
พท
ะแ
แล
ไทย
ผน
ย์แ
รแ พท
ากา
ัญญ
ภ ูมิป
ริม
่งเส
ล ะส
องแ
คร
งคุ้ม
กอ

118
ยาน�้ำมันสนั่นไตรภพ
ที่มาของต�ำรับยา ศิลาจารึกต�ำรายาวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธิ์) (๑), จารึกต�ำรายา
วัดราชโอรสารามวรวิหาร (๒)
“๏ สิทธิการิยะ จะกล่าวลักษณะกระษัยโรคอันบังเกิดขึ้นเป็นอุปปาติก คือกระษัยเหล็กนั้นเป็น
ค�ำรบ ๓ มีประเภทกระท�ำให้หน้าเหน่าและท้องน้อยนั้นแข็งดุจดังแผ่นศิลา และจะไหวตัวไปมาก็มิได้ ครั้นแก่

ไทย
เข้าแข็งลามขึ้นไปถึงยอดอก และให้บริโภคอาหารมิได้ ให้ปวดขบดังจะขาดใจตายดังนี้ ฯ
อนึ่ง เอาใบกะเพรา ใบแมงลัก ใบเสี้ยนผี กระชาย กัญชา พริกไทย หอมแดง หญ้าไซ เกลือ

้าน
ลูกคัดเค้า ยาทั้งนี้เอาน�้ำสิ่งละทะนาน ๑ น�้ำมันงาทะนาน ๑ หุงให้คงแต่น�้ำมันแล้ว จึงเอา ลูกจันทน์

ื้นบ
ดอกจันทน์ กระวาน กานพลู เทียนด�ำ เทียนขาว การบูร สิ่งละ ๑ สลึง ท�ำเป็นจุณปรุงลงในน�ำ้ มันนั้น แล้วจึง

ย์พ
เอามาทาท้องรีดเสียให้ได้ ๓ วันก่อน แล้วจึงกินน�้ำมันนี้อีก ๓ วันหายวิเศษนัก ยาน�้ำมันขนานนี้ชื่อ

พท
สนั่นไตรภพ แก้กล่อนกระษัยทั้งปวงหายดีนักฯ”

ะแ
แล
สูตรต�ำรับยา ประกอบด้วยตัวยา ๑๘ ชนิด

ไทย
ตัวยา ผน น�้ำหนักยา
ย์แ
กะเพรา ๑ กิโลกรัม (น�้ำหนักตัวยาสด)
พท

แมงลัก ๑ กิโลกรัม (น�้ำหนักตัวยาสด)


รแ

ผักเสี้ยนผี (ใบ) ๑ กิโลกรัม (น�้ำหนักตัวยาสด)


ากา

กระชาย ๑ กิโลกรัม (น�้ำหนักตัวยาสด)


ัญญ

กัญชา ๑ กิโลกรัม (น�้ำหนักตัวยาสด)


ูมิป

พริกไทย ๑ กิโลกรัม (น�้ำหนักตัวยาสด)


หอมแดง ๑ กิโลกรัม (น�้ำหนักตัวยาสด)


ริม

หญ้าไทร ๑ กิโลกรัม (น�้ำหนักตัวยาสด)


่งเส

เกลือ ๑ กิโลกรัม
ะส

คัดเค้า ๑ กิโลกรัม (น�้ำหนักตัวยาสด)



องแ

ลูกจันทน์ ๓.๗๕ กรัม


คร

ดอกจันทน์ ๓.๗๕ กรัม


งคุ้ม

กระวาน ๓.๗๕ กรัม


กอ

กานพลู ๓.๗๕ กรัม


เทียนด�ำ ๓.๗๕ กรัม
เทียนขาว ๓.๗๕ กรัม
การบูร ๓.๗๕ กรัม
น�้ำมันงา ๑ ทะนาน

119
สรรพคุณ แก้กษัยเหล็ก
รูปแบบยา ยาน�้ำมัน (ดูภาคผนวก ๓.๖)
ขนาดและวิธีใช้ ใช้น�้ำมันทารีดท้อง นวดคลึงบริเวณรอบสะดือถึงชายโครง ทิศตามเข็มนาฬิกา ๓ วัน
ก่อน แล้วจึงให้กินน�้ำมัน ครั้งละ ๓-๕ มิลลิลิตร กินวันละ ๑ ครั้ง ก่อนอาหารเช้า เป็น
เวลา ๓ วัน
ข้อห้ามใช้ ห้ามใช้ในหญิงตั้งครรภ์ ผู้ที่มีไข้ และผู้ที่มีอายุต�่ำกว่า ๑๘ ขวบ

ไทย
ข้อควรระวัง - ควรระวังการกินร่วมกับยาในกลุ่มสารกันเลือดเป็นลิ่ม (anticoagulant) และ
ยาต้านการแข็งตัวของเลือด (antiplatelets)

้าน
ื้นบ
- ควรระวังการใช้ร่วมกับยา phenytoin, propranolol, theophylline และ

ย์พ
rifampicin เนื่องจากต�ำรับนี้มีพริกไทยในปริมาณสูง

พท
- ควรระวังการใช้ในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ ผู้ป่วยโรคแผลเปื่อย
เพปติก ผู้ป่วยโรคกระเพาะอาหารและกรดไหลย้อน เนื่องจากเป็นต�ำรับยารสร้อน

ะแ
แล
- ควรระวังการใช้ยาอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในผู้ป่วยที่มีความผิดปรกติ

ไทย
ของตับ ไต เนื่องจากอาจเกิดการสะสมของการบูรและเกิดพิษได้
- ควรระวังในการทาบริเวณผิวที่บอบบางหรือผิวหนังทีแ่ ตกเนื่องจากอาจท�ำให้เกิด
ผน
การระคายเคืองได้
ย์แ
พท

ข้อมูลเพิ่มเติม - ต� ำ รั บ ยานี้ มี กั ญ ชาเป็ น ส่ ว นประกอบ จั ด เป็ น ยาเสพติ ด ให้ โ ทษประเภท ๕


ตามพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. ๒๕๒๒ และฉบับแก้ไขเพิ่มเติม การใช้ยา
รแ
ากา

เสพติดให้โทษต�ำรับนี้ต้องอยู่ภายใต้การปรุงและสั่งจ่ายโดยผู้ประกอบวิชาชีพแพทย์
แผนไทยตามหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในประกาศกระทรวงสาธารณสุข
ัญญ

- ตัวยากะเพรา แมงลัก ผักเสี้ยนผี กระชาย กัญชา พริกไทย หอมแดง หญ้าไทร


ูมิป

คัดเค้า ใช้ตัวยาสดสิ่งละ ๑ กิโลกรัม คั้นเอาแต่น�้ำมาใช้ในการปรุงยา



ริม

- ต�ำรับนี้มีการบูรเป็นส่วนประกอบ ซึ่งปริมาณที่ท�ำให้เกิดพิษจากการกินการบูร
่งเส

เท่ากับ ๒ กรัม โดยขนาดถึงตาย (lethal dose) ในผู้ใหญ่อยู่ที่ ๔,๐๐๐ มิลลิกรัม/มื้อ


ะส

ในเด็กอยู่ที่ ๕๐๐-๑,๐๐๐ มิลลิกรัม/มื้อ และในทารกอยู่ที่ ๗๐ มิลลิกรัม/กิโลกรัม/มื้อ (๓)


- การเตรียมตัวยากัญชาก่อนน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก ๒.๓)


องแ

เอกสารอ้างอิง
คร

๑. โรงเรียนแพทย์แผนโบราณ. ต�ำรายาศิลาจารึกในวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธิ์)


งคุ้ม

พระนคร, พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าให้ จารึกไว้เมื่อ พ.ศ. ๒๓๗๕


กอ

ฉบับสมบูรณ์, ๒๕๐๕. หน้า ๓๔๘.


๒. จารึกต�ำรายา วัดราชโอรสารามวรวิหาร. กรุงเทพฯ : กรมศิลปากร,๒๕๔๕. หน้า ๑๒๘.
๓. U.S. National Library of Medicine [Internet]. Hazardous Substance
Database-Camphor [updated 2014 Sep 9; cited 2019 May 28]. Available from: https://toxnet.
nlm.nih.gov/cgi-bin/sis/search2/r?dbs+hsdb:@term+@DOCNO+37.

120
ยาน�้ำมันสมานแผล
ที่มาของต�ำรับยา ศิลาจารึกต�ำรายาวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธิ์) (๑)
“๏ สิทธิการิยะ จะกล่าวซึ่งสรรพยาขี้ผึ้งน�ำ้ มัน อันจะรักษาวัณโรคคือ สรรพแผล ทั้งปวงนั้นสืบ
ต่อไปให้บุคคลทั้งหลายพึงรู้ดังนี้ ฯ
ยาน�้ำมันสมานแผล เอาใบมะเดื่ออุทมพร ใบขอบชะนางทั้งสอง ใบหญ้านาง ใบเถาวัลย์แดง
ใบไผ่ป่า ใบพุงดอ ใบมะเฟือง ใบทองหลางใบมน ใบขี้เหล็ก ใบมะระ ใบน�้ ำเต้า ต�ำเอาน�้ำสิ่งละทะนาน

ไทย
น�้ำมันงาทะนาน ๑ หุงตามวิธีให้คงแต่น�้ำมัน แล้วจึงเอาเทียนด�ำ เทียนแดง เทียนขาว เทียนเยาวภาณี สิ่งละ

้าน
๑ สลึง สีเสียดเทศ ชันตะเคียน ก�ำยาน สิ่งละ ๒ สลึง เปลือกขี้อ้ายนา ๒ บาท ท�ำเป็นจุณปรุงลงในน�้ำมัน

ื้นบ
ดีแล้ว ชุบส�ำลีปิดแผล ซึ่งกระท�ำพิษให้แสบ ให้ร้อน แลเป็นยาสมานแผล ทั้งปวงนั้นหายดีนัก ฯ”

ย์พ
พท
สูตรต�ำรับยา ประกอบด้วยตัวยา ๒๑ ชนิด รวมน�้ำหนัก ๖๗.๕ กรัม* ดังนี้

ะแ
ตัวยา น�ำ้ หนักยา

แล
ไทย
ขี้อ้ายนา ๓๐ กรัม
ก�ำยาน ผน ๗.๕ กรัม
ตะเคียน ๗.๕ กรัม
ย์แ
สีเสียดเทศ ๗.๕ กรัม
พท

เทียนขาว ๓.๗๕ กรัม


รแ

เทียนด�ำ ๓.๗๕ กรัม


ากา

เทียนแดง ๓.๗๕ กรัม


ัญญ

เทียนเยาวพาณี ๓.๗๕ กรัม


ูมิป

ขอบชะนางขาว ๑ ลิตร

ขอบชะนางแดง ๑ ลิตร
ริม

ขี้เหล็ก (ใบ) ๑ ลิตร


่งเส

เถาวัลย์แดง ๑ ลิตร
ะส

ทองหลางใบมน (ใบ) ๑ ลิตร


น�้ำเต้า ๑ ลิตร
องแ

น�้ำมันงา ๑ ลิตร
คร

ไผ่ป่า ๑ ลิตร
งคุ้ม

พุงดอ ๑ ลิตร
กอ

มะเดื่ออุทุมพร (ใบ) ๑ ลิตร


มะเฟือง ๑ ลิตร
มะระ ๑ ลิตร
ย่านาง (ใบ) ๑ ลิตร
*ไม่รวมน�้ำหนัก มะเดื่ออุทุมพร ขอบชะนางแดง ขอบชะนางขาว ย่านาง เถาวัลย์แดง ไผ่ป่า พุงดอ
มะเฟือง ทองหลางใบมน ขี้เหล็ก มะระ น�้ำเต้า น�้ำมันงา
121
สรรพคุณ สมานแผล ใช้ในกรณีแผลสดหรือ แผลเน่าเปื่อย แก้อาการปวดแสบปวดร้อนใน
อันเกิดจากแผลเปื่อย
รูปแบบยา ยาน�้ำมัน (ดูภาคผนวก ๓.๖)
วิธีปรุงยา ตัวยามะเดื่ออุทุมพร ขอบชะนางแดง ขอบชะนางขาว ย่านาง เถาวัลย์แดง ไผ่ป่า
พุงดอ มะเฟือง ทองหลางใบมน ขี้เหล็ก มะระ น�้ำเต้า น�้ำมันงา หุงตามวิธีให้เหลือแต่
น�้ำมัน แล้วจึงน�ำตัวยาเทียนด�ำ เทียนแดง เทียนขาว เทียนเยาวพาณี สีเสียดเทศ

ไทย
ตะเคียน ก�ำยาน ขี้อ้ายนา บดเป็นผงละเอียด ผสมลงในน�้ำมัน

้าน
ขนาดและวิธีการใช้ ใช้ส�ำลีชุบน�้ำมันทาแผลหรือปิดแผล วันละ ๒ ครั้ง เช้า และเย็น

ื้นบ
ค�ำเตือน เป็นยาใช้ภายนอกห้ามกิน

ย์พ
ข้อมูลเพิ่มเติม - สมานแผล ในศาสตร์ ก ารแพทย์ แ ผนไทยหมายถึ ง การท� ำ ให้ แ ผลติ ด กั น ใน

พท
แผลเปื่อย หรือการเรียกเนื้อในแผลสด

ะแ
- การเตรียมตัวยาสีเสียดเทศก่อนน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก ๒.๓๗)

แล
เอกสารอ้างอิง

ไทย
ต�ำรายาศิลาจารึกในวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธิ์) พระนคร, พระบาทสมเด็จ
ผน
พระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าให้จารึกไว้เมื่อ พ.ศ. ๒๓๗๕ ฉบับสมบูรณ์, ๒๕๐๕.
ย์แ
รแ พท
ากา
ัญญ
ภ ูมิป
ริม
่งเส
ล ะส
องแ
คร
งคุ้ม
กอ

122
ยาน�้ำมันสิทธิโยคี
ที่มาของต�ำรับยา ศิลาจารึกต�ำรายาวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธิ์) (๑, ๒)
“๏ สิทธิการิยะ จะกล่าวลักษณะก�ำเนิดแห่งลมอันชื่อว่า สิตมัควาโย เป็นค�ำรบ ๑๐ นั้นเกิดแต่
กามวาตแลกองลมวิหค กระท�ำให้มือเย็นเท้าเย็นก่อน แล้วจึงท�ำให้มือตายเท้าตาย ยกมือขึ้นมิได้ ลมกองนี้
ครั้นแก่เข้า แก้มิถอย จึงตกไปในระหว่างอัมพาต กระท�ำให้ลิ้นกระด้าง เจรจามิชัด มักให้เตโชเป็นติกะธาตุ
แพทย์ทั้งหลายพึงรู้ ถ้าบังเกิดขึ้นแก่บุคคลผู้ใดแล้ว อายุมิยืนเลย ฯ

ไทย
ยาน�้ำมันชื่อสิทธิโยคี เอาขิงแห้ง ข่าแก่ กระเทียม เจตมูลทั้งสอง เปลือกทองหลางใบมน

้าน
ทองเครือ บอระเพ็ดทั้งสอง ใบกะเพรา ใบแมงลัก หญ้าไซ ผักเสี้ยนผี หญ้าหนวดแมว เอาสิ่งละทะนาน

ื้นบ
น�้ำมันงาทะนาน ๑ หุงให้คงแต่นำ�้ มัน แล้วจึงเอาลูกจันทน์ ดอกจันทน์ กระวาน กานพลู มดยอบ เทียนด�ำ

ย์พ
เทียนขาว สิ่งละ ๑ สลึง ท�ำเป็นจุณปรุงลงในน�ำ้ มันทั้งกินทั้งทา แก้ลมสิตมัควาโยนั้นหายวิเศษนัก”

พท
สูตรต�ำรับยา ประกอบด้วยตัวยา ๒๒ ชนิด รวมน�้ำหนัก ๒๖.๒๕ กรัม* ดังนี้

ะแ
แล
ตัวยา น�ำ้ หนักยา

ไทย
กระวาน ผน ๓.๗๕ กรัม
กานพลู ๓.๗๕ กรัม
ย์แ
ดอกจันทน์ ๓.๗๕ กรัม
พท

เทียนขาว ๓.๗๕ กรัม


เทียนด�ำ ๓.๗๕ กรัม
รแ

มดยอบ ๓.๗๕ กรัม


ากา

ลูกจันทน์ ๓.๗๕ กรัม


ัญญ

กระเทียม ๑ ลิตร
ูมิป

กะเพรา ๑ ลิตร
ข่า ๑ ลิตร

ริม

ขิงแห้ง ๑ ลิตร
่งเส

เจตมูลเพลิงขาว ๑ ลิตร
ะส

เจตมูลเพลิงแดง ๑ ลิตร
ชิงช้าชาลี ๑ ลิตร

องแ

ทองเครือ ๑ ลิตร
ทองหลางใบมน ๑ ลิตร
คร

น�้ำมันงา ๑ ลิตร
งคุ้ม

บอระเพ็ด ๑ ลิตร
กอ

ผักเสี้ยนผี ๑ ลิตร
แมงลัก ๑ ลิตร
หญ้าไทร ๑ ลิตร
หญ้าหนวดแมว ๑ ลิตร
*ไม่รวมน�้ำหนัก กระเทียม กะเพรา ข่า ขิงแห้ง เจตมูลเพลิงขาว เจตมูลเพลิงแดง ชิงช้าชาลี ทองเครือ
ทองหลางใบมน น�้ำมันงา บอระเพ็ด ผักเสี้ยนผี แมงลัก หญ้าไทร หญ้าหนวดแมว
123
สรรพคุณ แก้ลมสิตมัควาโย ซึ่งท�ำให้เป็นอัมพฤกษ์ อัมพาต
รูปแบบยา ยาน�้ำมัน (ดูภาคผนวก ๓.๖)
วิธีปรุงยา ๑) กระเทียม กะเพรา ข่า ขิงแห้ง เจตมูลเพลิงขาว เจตมูลเพลิงแดง ชิงช้าชาลี
ทองเครือ (กวาวเครือ) ทองหลางใบมน บอระเพ็ด ผักเสี้ยนผี แมงลัก หญ้าไทร
หญ้าหนวดแมว คั้นเอาน�้ำอย่างละ ๑ ลิตร ผสมกับน�้ำมันงา ๑ ลิตร หุงให้เหลือแต่
น�้ำมัน

ไทย
๒) น�ำตัวยากระวาน กานพลู ดอกจันทน์ เทียนขาว เทียนด�ำ มดยอบ ลูกจันทน์
บดเป็นผงละเอียด ผสมลงในน�้ำมันตามข้อ ๑) และกวนให้เข้ากัน

้าน
ื้นบ
ขนาดและวิธีการใช้ ครั้งละ ๑ ช้อนชา กินวันละ ๑ ครั้ง ก่อนอาหารเช้า ร่วมกับใช้ทาบริเวณที่มีอาการหรือ

ย์พ
ทั้งตัว วันละ ๒ ครั้ง เช้าและเย็น

พท
ข้อควรระวัง ผู้ที่เป็นแผลในกระเพาะอาหาร ควรใช้ยานี้หลังอาหาร
ข้อห้ามใช้ - ห้ามใช้ในหญิงตั้งครรภ์และผู้ที่มีไข้

ะแ
แล
- ห้ามทาบริเวณขอบตาและเนื้อเยื่ออ่อน

ไทย
- ห้ามทาบริเวณผิวหนังที่มีบาดแผลหรือมีแผลเปิด
ข้อมูลเพิ่มเติม - ตัวยาขิงแห้ง ข่า กระเทียม เจตมูลเพลิงแดง เจตมูลเพลิงขาว ทองหลางใบมน
ผน
ทองเครือ ชิงช้าชาลี บอระเพ็ด กะเพรา แมงลัก หญ้าไทร ผักเสี้ยนผี หญ้าหนวดแมว
ย์แ
พท

ถ้าใช้เป็นตัวยาสด ให้ใช้วิธีการคั้นเอาน�้ำ ถ้าเป็นตัวยาแห้ง ให้ใช้วิธีการต้มเอาน�้ำ


- การเตรียมตัวยากัญชาก่อนน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก ๒.๓)
รแ
ากา

- การเตรียมตัวยาบอระเพ็ดก่อนน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก ๒.๑๓)


- การเตรียมตัวยามดยอบก่อนน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก ๒.๑๗)
ัญญ

เอกสารอ้างอิง
ูมิป

๑. ส�ำนักคุ้มครองภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์

ริม

ทางเลือก.ชุดต�ำราภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย ฉบับอนุรักษ์ ต�ำราการแพทย์แผนไทยในศิลาจารึกวัด


่งเส

พระเชตุพนวิมล มังคลาราม (วัดโพธิ์) เล่ม ๓. พิมพ์ครั้งที่ ๑. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์องค์การสงเคราะห์


ะส

ทหารผ่านศึกในพระบรม ราชูปภัมภ์, ๒๕๕๗.


๒. ประกาศกําหนดตําราการแพทย์แผนไทยของชาติและตํารับยาแผนไทยของชาติ พ.ศ. ๒๕๕๘,


องแ

(๒๕๕๘, ๓๐ พฤศจิกายน). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม ๑๓๒ ตอนพิเศษ ๓๑๗ ง.


คร
งคุ้ม
กอ

124
ยาบ�ำรุงธาตุหลังฟื้นไข้
ชื่ออื่น ยาบ�ำรุงธาตุเมื่อไข้หายแล้ว
ที่มาของต�ำรับยา คัมภีร์แพทย์ไทยแผนโบราณ ขุนโสภิตบรรณลักษณ์ เล่ม ๑ (๑)
“ยาบ�ำรุงธาตุเมื่อไข้หายแล้ว เอารากเจ็ตมูลเพลิง ขิง ดีปลี หัวแห้วหมู สะค้าน รากช้าพลู
ลูกมะตูมอ่อน เกษรบัวหลวง ขมิ้นอ้อย บอระเพ็ด ลูกกระดอม ดอกพิกุล ต้มกิน”

ไทย
สูตรต�ำรับยา ประกอบด้วยตัวยา ๑๒ ชนิด รวมน�้ำหนัก ๑๒ ส่วน ดังนี้ ดังนี้

้าน
ื้นบ
ตัวยา น�ำ้ หนักยา

ย์พ
พท
กระดอม ๑ ส่วน

ะแ
ขมิ้นอ้อย ๑ ส่วน

แล
ขิง ๑ ส่วน

ไทย
เจตมูลเพลิงแดง ๑ ส่วน
ชะพลู ผน ๑ ส่วน
ย์แ
ดีปลี ๑ ส่วน
พท

บอระเพ็ด ๑ ส่วน
รแ

บัวหลวง ๑ ส่วน
ากา

พิกุล ๑ ส่วน
ัญญ

มะตูม ๑ ส่วน
สะค้าน ๑ ส่วน
ูมิป

แห้วหมู ๑ ส่วน

ริม
่งเส

สรรพคุณ บ�ำรุงธาตุหลังจากฟื้นไข้
ะส

รูปแบบยา ยาต้มเดือด (ดูภาคผนวก ๓.๑.๑)


ขนาดและวิธีการใช้ ครั้งละ ๑๕๐ มิลลิลิตร ดื่มวันละ ๒ ครั้ง ก่อนอาหาร เช้าและเย็น ดื่มขณะยายังอุ่นอยู่


องแ

ข้อมูลเพิ่มเติม - ยา ๑ หม้อ ใช้ติดต่อกัน ๕-๗ วัน โดยให้อุ่นน�้ำสมุนไพรทุกครั้งก่อนใช้ยา


คร

- การเตรียมตัวยาบอระเพ็ดก่อนน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก ๒.๑๓)


งคุ้ม

เอกสารอ้างอิง
กอ

ขุนโสภิตบรรณลักษณ์ (อ�ำพัน กิตติขจร), คัมภีร์แพทย์ไทยแผนโบราณ เล่ม ๓. กรุงเทพฯ :


โรงพิมพ์อุตสาหกรรมการพิมพ์, ๒๕๐๔.

125
ยาเบญจขันธ์
ที่มาของต�ำรับยา ต�ำราเวชศาสตร์ฉบับหลวง รัชกาลที่ ๕ เล่ม ๓ (๑, ๒)
“…ขนานหนึ่ ง ยาชื่ อ ว่ า เบญจขั น ธ์ เอาเบญจมู ล เหลก ๑ เบญจกู ล ๑ เบญจเที ย น ๑
เบญจโกฎ ๑ เบญจสมอ ๑ เบญจเกลือ ๑ ยาทั้งนี้ต้ม ๓ เอา ๑ กินผายลมทั้งปวง อันบังเกิดในเส้น
ในเอน หายแล ๚ะ๛ …”

ไทย
สูตรต�ำรับยา ประกอบด้วยตัวยา ๒๖ ชนิด รวมน�้ำหนัก ๓๐ ส่วน ดังนี้

้าน
ื้นบ
ตัวยา น�้ำหนักยา

ย์พ
ขี้เหล็ก (ทั้ง ๕) ๕ ส่วน

พท
เกลือฝ่อ ๑ ส่วน

ะแ
เกลือพิก  ๑ ส่วน

แล
เกลือวิก  ๑ ส่วน

ไทย
เกลือสมุทรี  ๑ ส่วน
เกลือสินเธาว์  ผน ๑ ส่วน
โกฐเขมา  ๑ ส่วน
ย์แ
โกฐจุฬาลัมพา  ๑ ส่วน
พท

โกฐเชียง  ๑ ส่วน
รแ

โกฐสอ ๑ ส่วน
ากา

โกฐหัวบัว  ๑ ส่วน
ัญญ

ขิงแห้ง ๑ ส่วน
ูมิป

เจตมูลเพลิง ๑ ส่วน
ชะพลู ๑ ส่วน

ริม

ดีปลี ๑ ส่วน
่งเส

เทียนขาว ๑ ส่วน
ะส

เทียนข้าวเปลือก ๑ ส่วน

เทียนด�ำ ๑ ส่วน
องแ

เทียนแดง ๑ ส่วน
คร

เทียนตาตั๊กแตน ๑ ส่วน
งคุ้ม

สมอดีงู ๑ ส่วน
สมอทะเล ๑ ส่วน
กอ

สมอเทศ ๑ ส่วน
สมอไทย ๑ ส่วน
สมอพิเภก ๑ ส่วน
สะค้าน ๑ ส่วน

126
สรรพคุณ เป็นยาถ่าย ยาระบาย และขับลมในเส้นในเอ็น
รูปแบบยา ยาต้ม ๓ เอา ๑ (ดูภาคผนวก ๓.๑.๓)
ขนาดและวิธีการใช้ ครั้งละ ๑๕๐ มิลลิลิตร ดื่มวันละ ๒ ครั้ง ก่อนอาหารเช้าและเย็น ดื่มขณะยายังอุ่นอยู่
ข้อควรระวัง ควรระวังการใช้ในผู้ป่วยโรคหัวใจ และโรคไต เนื่องจากต�ำรับยามีโพแทสเซียมสูง
ข้อห้ามใช้ ห้ามใช้ในผู้ป่วยที่เป็นโรคไต โรคหัวใจ และผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง
ข้อมูลเพิ่มเติม ยา ๑ หม้อ ใช้ติดต่อกัน ๕-๗ วัน โดยให้อุ่นน�้ำสมุนไพรทุกครั้งก่อนใช้ยา

ไทย
เอกสารอ้างอิง
๑. หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. ต�ำราเวชศาสตร์ฉบับหลวง รัชกาลที่ ๕ เล่ม ๓. กรุงเทพฯ :

้าน
ื้นบ
บริษัท อมรินทร์ พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง จ�ำกัด (มหาชน), ๒๕๕๕. หน้า ๒๙.

ย์พ
๒. ประกาศกําหนดตําราการแพทย์แผนไทยของชาติและตํารับยาแผนไทยของชาติ (ฉบับที่ ๒)

พท
พ.ศ. ๒๕๕๘, (๒๕๕๙, ๑๒ มกราคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม ๑๓๓ ตอนพิเศษ ๗ ง, หน้า ๑-๓.

ะแ
แล
ไทย
ผน
ย์แ
รแ พท
ากา
ัญญ
ภ ูมิป
ริม
่งเส
ล ะส
องแ
คร
งคุ้ม
กอ

127
ยาประคบ
ที่มาของต�ำรับยา สูตรต�ำรับนี้ เป็นสูตรต�ำรับในรายการบัญชียาหลักแห่งชาติ
เผยแพร่โดยสถาบันการแพทย์แผนไทย ตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๓๘
สูตรต�ำรับยา ประกอบด้วยตัวยา ๘ ชนิด รวมน�้ำหนัก ๑๗๐ กรัม (๑) ดังนี้

ไทย
ตัวยา น�้ำหนักยา

้าน
ื้นบ
ไพล ๕๐ กรัม

ย์พ
มะขาม ๓๐ กรัม

พท
มะกรูด ๒๐ กรัม

ะแ
ขมิ้นชัน ๑๐ กรัม

แล
ตะไคร้ ๑๐ กรัม

ไทย
ส้มป่อย ๑๐ กรัม
การบูร
ผน ๒๐ กรัม
ย์แ
เกลือเม็ด ๒๐ กรัม
รแ พท

สรรพคุณ ประคบเพื่อลดอาการปวด ช่วยคลายกล้ามเนื้อ เอ็น และข้อ (๑)


ากา

รูปแบบยา ยาประคบ (๒) (ดูภาคผนวก ๓.๘)


ัญญ

ขนาดและวิธีการใช้ น�ำยาประคบไปนึ่ง แล้วใช้ประคบ ขณะยังอุ่น วันละ ๑–๒ ครั้ง ยาประคบ ๑ ลูก


ใช้ได้ ๓–๔ ครั้ง โดยหลังจากใช้แล้วผึ่งให้แห้ง ก่อนน�ำไปแช่ตู้เย็น (๑)
ูมิป

ข้อห้ามใช้ - ห้ามประคบบริเวณที่มีบาดแผล

ริม

- ห้ามประคบเมื่อเกิดการอักเสบเฉียบพลัน เช่น ข้อเท้าแพลง หรือมีอาการอักเสบ


่งเส

บวม แดง ร้อน ในช่วง ๒๔ ชั่วโมงแรก เนื่องจากจะท�ำให้มีอาการอักเสบบวมมากขึ้น


ะส

และอาจมีเลือดออกมากตามมาได้ โดยควรประคบหลังเกิดอาการ ๒๔ ชั่วโมง



องแ

- ห้ามใช้กับผู้ที่แพ้ส่วนประกอบของยาประคบ (๑)
ข้อควรระวัง - ไม่ควรใช้ยาประคบที่ร้อนเกินไป โดยเฉพาะบริเวณผิวหนังที่เคยเป็นแผลมาก่อน
คร

หรือบริเวณที่มีกระดูกยื่น และต้องระวังเป็นพิเศษในผู้ป่วยโรคเบาหวาน อัมพาต


งคุ้ม

เด็ก และผูส้ งู อายุ เพราะมักมีความรูส้ กึ ในการรับรูแ้ ละตอบสนองช้า อาจทาให้ผวิ หนัง


กอ

ไหม้พองได้งา่ ย
- หลังจากประคบสมุนไพรเสร็จใหม่ ๆ ไม่ควรอาบน�ำ้ ทันที เพราะเป็นการล้างตัวยา
จากผิวหนัง และร่างกายยังไม่สามารถปรับตัวได้ทัน (จากร้อนเป็นเย็นทันทีทันใด)
อาจท�ำให้เป็นไข้ได้ (๑)

128
ข้อมูลเพิ่มเติม - ยาประคบสมุนไพรสด ผลิตจากสมุนไพรสด (เก็บได้ประมาณ ๓ วัน) น�้ำหนัก
ไม่น้อยกว่าลูกละ ๔๐๐ กรัม และยาประคบสมุนไพรแห้ง ผลิตจากสมุนไพรแห้ง
(เก็บได้ประมาณ ๒ ปี) น�้ำหนักไม่น้อยกว่าลูกละ ๒๐๐ กรัม (๑)
- นอกจากนี้ ยาประคบยังมีสตู รต�ำรับทีม่ คี วามหลากหลาย โดยการปรับสัดส่วนหรือ
เติมสมุนไพรชนิดอื่น ๆ ตามภูมิปัญญาในแต่ละท้องถิ่น
เอกสารอ้างอิง

ไทย
ประกาศคณะกรรมการพัฒนาระบบยาแห่งชาติ เรื่อง บัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๑.

้าน
(๒๕๖๑, ๑๙ มกราคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม ๑๓๕ ตอนพิเศษ ๑๔ ง. หน้า ๔. (เอกสารแนบท้ายประกาศ

ื้นบ
หน้า ๒๕๗).

ย์พ
พท
ะแ
แล
ไทย
ผน
ย์แ
รแ พท
ากา
ัญญ
ภูมิป
ริม
่งเส
ล ะส
องแ
คร
งคุ้ม
กอ

129
ยาประคบคลายเส้น
ชื่ออื่น ยาพระอังคบพระเส้นตึงให้หย่อน
ที่มาของต�ำรับยา คัมภีร์ธาตุพระนารายณ์ ฉบับใบลาน (๑, ๒)
“...พระอังคบพระเส้นตึงให้หย่อน เอาเทียนด�ำ เกลือส่วน ๑ อบเชย ๒ ส่วน ไพล ๔ ส่วน

ไทย
ใบพลับพลึง ๘ ส่วน ใบมะขาม ๑๖ ส่วน ต�ำคุลิการห่อผ้านึ่งขึ้นให้ร้อน อังคบพระเส้นอันพิรุธให้หย่อนแล ฯ…”

้าน
สูตรต�ำรับยา ประกอบด้วยตัวยา ๖ ชนิด รวมน�้ำหนัก ๓๒ ส่วน ดังนี้

ื้นบ
ย์พ
ตัวยา น�้ำหนักยา

พท
มะขาม ๑๖ ส่วน

ะแ
พลับพลึง ๘ ส่วน

แล
ไพล ๔ ส่วน

ไทย
เกลือสมุทร ผน ๑ ส่วน
เทียนด�ำ ๑ ส่วน
ย์แ
อบเชย ๒ ส่วน
รแ พท

สรรพคุณ คลายกล้ามเนื้อและเส้น
ากา

รูปแบบยา ยาประคบ (ดูภาคผนวก ๓.๘)


ัญญ

วิธีปรุงยา บดเป็นผงหยาบ ห่อด้วยผ้าดิบ มัดเป็นลูกประคบ


ูมิป

ขนาดและวิธีการใช้ นึ่งให้ร้อน แล้วใช้ประคบบริเวณที่มีอาการ วันละ ๑-๒ ครั้ง เช้า เย็น


ค�ำเตือน - ไม่ควรใช้ลูกประคบที่ร้อนเกินไป โดยเฉพาะบริเวณผิวหนังที่เคยเป็นแผลมาก่อน


ริม

หรือบริเวณทีม่ กี ระดูกยืน่ และต้องระวังเป็นพิเศษในผูป้ ว่ ยโรคเบาหวาน อัมพาต เด็ก


่งเส

และผูส้ งู อายุ เพราะมักมีความรูส้ กึ ในการรับรูแ้ ละตอบสนองช้า อาจท�ำให้ผวิ หนังไหม้


ะส

พองได้ง่าย

องแ

- หลังจากประคบสมุนไพรเสร็จใหม่ๆ ไม่ควรอาบน�้ำทันที เพราะเป็นการล้างตัวยา


คร

จากผิวหนัง และร่างกายไม่สามารถปรับตัวได้ทนั (จากร้อนเป็นเย็นทันใด) อาจท�ำให้


งคุ้ม

เป็นไข้ได้
กอ

- ควรระวังการใช้ในผู้ที่แพ้ส่วนประกอบในลูกประคบ
ข้อห้ามใช้ - ห้ามประคบบริเวณที่มีบาดแผล
- ห้ามประคบเมื่อเกิดการอักเสบเฉียบพลัน เช่น ข้อเท้าแพลง หรือมีอาการอักเสบ
บวม แดง ร้อน ในช่วง ๒๔ ชั่วโมงแรก เนื่องจากจะท�ำให้มีอาการอักเสบบวมมากขึ้น
และอาจมีเลือดออกมากตามมาได้โดยควรประคบหลังเกิดอาการ ๒๔ ชั่วโมง

130
เอกสารอ้างอิง
๑. ส�ำนักคุ้มครองภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์
ทางเลือก. ชุดต�ำราภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย ฉบับอนุรักษ์ คัมภีร์ธาตุพระนารายณ์ ฉบับใบลาน
(ต�ำราพระโอสถพระนารายณ์). พิมพ์ครัง้ ที่ ๑. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึกในพระบรม
ราชูปถัมภ์, ๒๕๕๕. หน้า ๑๑๖.
๒. ประกาศกําหนดตําราการแพทย์แผนไทยของชาติและตํารับยาแผนไทยของชาติ (ฉบับที่ ๒)

ไทย
พ.ศ. ๒๕๕๘, (๒๕๕๙, ๑๒ มกราคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม ๑๓๓ ตอนพิเศษ ๗ ง, หน้า ๑-๓.

้าน
ื้นบ
ย์พ
พท
ะแ
แล
ไทย
ผน
ย์แ
รแ พท
ากา
ัญญ
ภ ูมิป
ริม
่งเส
ล ะส
องแ
คร
งคุ้ม
กอ

131
ยาประสะน�ำ้ มะนาว
ที่มาของต�ำรับยา ศิลาจารึกต�ำรายาวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธิ์) (๑, ๒)
“๏ สิทธิการิยะ จะกล่าวด้วยต�ำรายาคือวิเศษสรรพคุณส�ำเร็จอันอาจารย์เจ้าในก่อนประมวลไว้
ให้แก้สรรพโรคทัง้ ปวงต่างๆ สืบกันมา ฯ ในทีน่ จี้ ะว่าแต่สรรพคุณวิเศษ คือคณะสรรพยาทีจ่ ะแก้ซงึ่ โรคอันเป็น
ชาติกล่าวคือสรรพโรคหืดนั้นโดยนัยดังนี้ ฯ

ไทย
ยาชื่อประสะน�้ำมะนาว เอาฝักส้มป่อย รากส้มกุ้งทั้งสอง กระเทียม พริกไทย ดีปลี ขิงแห้ง

้าน
ดินประสิวขาว สารส้มเอาเสมอภาค ท�ำเป็นจุณแล้วจึงเอาน�ำ้ มะนาวใส่ลงให้ทว่ มยาทัง้ นัน้ จึงเอาขึน้ ตัง้ ไฟกวน

ื้นบ
ให้ปั้นได้ กินหนัก ๑ สลึง แก้สรรพโรคหืดทั้งปวงซึ่งกระท�ำอาการให้หอบ ให้จับ แก้ไอ แลโรคอันบังเกิดแต่

ย์พ
กองเสมหะสมุฏฐานนั้นหายสิ้นวิเศษนัก ฯ ”

พท
สูตรต�ำรับยา ประกอบด้วยตัวยา ๑๐ ชนิด รวมน�้ำหนัก ๑๘ ส่วน ดังนี้ ดังนี้

ะแ
แล
ตัวยา น�้ำหนักยา

ไทย
มะนาว ผน ๙ ส่วน
กระเทียม ๑ ส่วน
ย์แ
๑ ส่วน
พท

ขิงแห้ง
ดินประสิว ๑ ส่วน
รแ
ากา

ดีปลี ๑ ส่วน
พริกไทย ๑ ส่วน
ัญญ

ส้มกุ้งน้อย ๑ ส่วน
ูมิป

ส้มกุ้งใหญ่ ๑ ส่วน

ริม

ส้มป่อย (ฝัก) ๑ ส่วน


่งเส

สารส้ม ๑ ส่วน
ล ะส

สรรพคุณ แก้หอบหืด แก้ไอ


องแ

รูปแบบยา ยาลูกกลอน ขนาด ๓๐๐ มิลลิกรัม (ดูภาคผนวก ๓.๕)


คร

วิธีปรุงยา ตัวยาส้มป่อย ส้มกุ้งน้อย ส้มกุ้งใหญ่ กระเทียม พริกไทย ดีปลี ขิงแห้ง ดินประสิว


งคุ้ม

สารส้มน�ำไปบดเป็นผง เติมน�้ำมะนาวให้ท่วมยาขึ้นตั้งไฟกวนให้เข้ากัน แล้วปั้นเม็ด


กอ

ลูกกลอน
ขนาดและวิธีการใช้ ครั้งละ ๑-๒ เม็ด กินวันละ ๓ ครั้ง ก่อนอาหารเช้า กลางวันและเย็น หรือเมื่อมีอาการ
ข้อมูลเพิ่มเติม - การเตรียมตัวยาดินประสิวก่อนน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก ๒.๑๑)
- การเตรียมตัวยาส้มป่อยก่อนน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก ๒.๓๐)
- การเตรียมตัวยาสารส้มก่อนน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก ๒.๓๐)

132
เอกสารอ้างอิง
๑. ส�ำนักคุ้มครองภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์
ทางเลือก. ชุดต�ำราภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย ฉบับอนุรักษ์ ต�ำราการแพทย์แผนไทยในศิลาจารึกวัด
พระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธิ์) เล่ม ๒. พิมพ์ครั้งที่ ๑. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์องค์การสงเคราะห์
ทหารผ่านศึกในพระบรมราชูปภัมภ์. ๒๕๕๗.
๒. ประกาศกําหนดตําราการแพทย์แผนไทยของชาติและตํารับยาแผนไทยของชาติ พ.ศ. ๒๕๕๘,

ไทย
(๒๕๕๘, ๓๐ พฤศจิกายน). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม ๑๓๒ ตอนพิเศษ ๓๑๗ ง.

้าน
ื้นบ
ย์พ
พท
ะแ
แล
ไทย
ผน
ย์แ
รแ พท
ากา
ัญญ
ภ ูมิป
ริม
่งเส
ล ะส
องแ
คร
งคุ้ม
กอ

133
ยาประสะพริกไทย
ที่มาของต�ำรับยา ต�ำรายาเกร็ด (๑)
“ยาชื่อประสะพริกไทย ขนานนี้ ท่านให้เอา ลูกจันทน์ ๑ ดอกจันทน์ ๑ กระวาน ๑ กานพลู ๑
ผักแผ้วแดง ๑ ขิงแห้ง ๑ ดีปลี ๑ หอยแครงเผา ๑ หอยขมเผา ๑ สิริยา ๙ สิ่งนี้เอาเสมอภาคเอาพริกไทย
เท่ายาทั้งหลาย ทาเป็นจุณด้วยน�ำ้ ส้มซ่า น�ำ้ ผึ้งรวง ก็ได้กิน แก้ลม ๗๑๐ จ�ำพวก แก้ริดสะดวงกินเผ็ดร้อนมิได้

ไทย
ก็ดี ถ้าได้กินยาขนานนี้หายวิเศษดีนัก ๚”

้าน
สูตรต�ำรับยา ประกอบด้วยตัวยา ๑๐ ชนิด รวมน�้ำหนัก ๑๘ ส่วน ดังนี้ ดังนี้

ื้นบ
ย์พ
ตัวยา น�้ำหนักยา

พท
ะแ
พริกไทยด�ำ ๙ ส่วน

แล
กระวาน ๑ ส่วน

ไทย
กานพลู ๑ ส่วน
ขิงแห้ง
ผน ๑ ส่วน
ย์แ
ดอกจันทน์ ๑ ส่วน
พท

ดีปลี ๑ ส่วน
รแ

ผักแพวแดง ๑ ส่วน
ากา

ลูกจันทน์ ๑ ส่วน
ัญญ

หอยขม ๑ ส่วน
หอยแครง ๑ ส่วน
ภ ูมิป
ริม

สรรพคุณ ยาแก้ลม แก้ริดสีดวงล�ำไส้


่งเส

รูปแบบยา ยาผง (ดูภาคผนวก ๓.๒)


ะส

ขนาดและวิธีการใช้ ครั้งละ ๑ กรัม ละลายน�้ำส้มซ่าหรือน�้ำผึ้งรวง กินวันละ ๓ ครั้ง ก่อนอาหาร เช้า



องแ

กลางวันและเย็น
ข้อห้ามใช้ ห้ามใช้ในหญิงตั้งครรภ์และหญิงให้นมบุตร ผู้ที่มีไข้ และเด็กอายุต�่ำกว่า ๑๒ ขวบ
คร

ข้อควรระวัง
งคุ้ม

- ระวั ง การใช้ ร ่ ว มกั บ ยา Phenytoin, Propranolol, Theophylline และ


Rifampicin เนื่องจากต�ำรับนี้ มีพริกไทยในปริมาณสูง
กอ

- ระวังในผู้ป่วยโรคกระเพาะอาหารอักเสบและความดันโลหิตสูง
- ควรระมัดระวังการใช้ในผู้สูงอายุ

134
ข้อมูลเพิ่มเติม - การเตรียมตัวยาหอยขมก่อนน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก ๒.๓๙)
- การเตรียมตัวยาหอยแครงก่อนน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก ๒.๔๐)
เอกสารอ้างอิง
๑. “ต�ำรายาเกร็ด”. หอสมุดแห่งชาติ. หนังสือสมุดไทยด�ำ. อักษรไทย. ภาษาไทย. เลขที่ ๒๓๐.
หมวดต�ำราเวชศาสตร์.
๒. ประกาศกําหนดตําราการแพทย์แผนไทยของชาติและตํารับยาแผนไทยของชาติ (ฉบับที่ ๘)

ไทย
พ.ศ. ๒๕๕๙, (๒๕๖๐, ๒๔ พฤษภาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม ๑๓๔ ตอนพิเศษ ๑๓๙ ง, หน้า ๑-๓.

้าน
ื้นบ
ย์พ
พท
ะแ
แล
ไทย
ผน
ย์แ
รแ พท
ากา
ัญญ
ภ ูมิป
ริม
่งเส
ล ะส
องแ
คร
งคุ้ม
กอ

135
ยาประสะสมอ
ที่มาของต�ำรับยา ต�ำรายาเกร็ด (๑)
“๏ ยาชื่อประสะสมอ ขนานนี้ ท่านให้เอา โกฐบัว ๑ บาท โกฐเขมา ๑ บาท มหาหิงคุ์ ๑ บาท
ขิงแห้ง ๑ บาท ดีปลี ๑ บาท รากช้าพลู ๓ บาท รากจิงจ้อ ๓ บาท รากเจตมูล ๓ บาท ลูกจันทน์ ๑ สลึง

ไทย
กระวาน ๑ สลึง บุกรอ ๑ สลึง กลอย 1 สลึง อุตพิด ๑ สลึง เกลือสินเธาว์ ๑ สลึง ลูกผักชี ๑ สลึง ลูกสมอไทย
ปอกผิวเสียเอาแต่เนื้อ ๓ ต�ำลึง ๓ บาท ๒ สลึง ๑ เฟื้อง สิริยา ๑๖ สิ่งนี้ ท�ำเป็นจุณลายน�ำ้ ผึ้งรวงกินเท่าผล

้าน
พุทราท�ำขึ้นไปให้ได้ ๓ วันจึงปลุก แก้ลมจุกเสียดแลลมให้องคชาติตาย แลลมกล่อนแลลมเสียดแทงให้ขึ้น

ื้นบ
ทั้งตัวแล ลมผ่านไส้ลมพรรดึก แลลมอัมพฤกษ์ลมกระสาย... (ช�ำรุด)... แก้ทั้งลม ๓๐ จ�ำพวกดีนัก

ย์พ
ได้ใช้มามากแล้วอย่าสนเท่ห์เลย ๚”

พท
ะแ
สูตรต�ำรับยา ประกอบด้วยตัวยา ๑๖ ชนิด รวมน�้ำหนัก ๔๗๐.๖๒๕ กรัม ดังนี้

แล
ไทย
ตัวยา น�้ำหนักยา

สมอไทย (เนื้อผล)
ผน ๒๓๔.๓๗๕ กรัม
ย์แ
จิงจ้อแดง ๔๕ กรัม
พท

เจตมูลเพลิงแดง ๔๕ กรัม
รแ

ชะพลู ๔๕ กรัม
ากา

โกฐเขมา ๑๕ กรัม
ัญญ

โกฐหัวบัว ๑๕ กรัม
ูมิป

ขิงแห้ง ๑๕ กรัม

ดีปลี ๑๕ กรัม
ริม

มหาหิงคุ์ ๑๕ กรัม
่งเส

กลอย ๓.๗๕ กรัม


ะส

กระวาน ๓.๗๕ กรัม



องแ

เกลือสินเธาว์ ๓.๗๕ กรัม


คร

บุกรอ ๓.๗๕ กรัม


งคุ้ม

ลูกผักชี ๓.๗๕ กรัม


๓.๗๕ กรัม
กอ

ลูกจันทน์
อุตพิด ๓.๗๕ กรัม

136
สรรพคุณ แก้ ล มจุ ก เสี ย ดและลมให้ อ งคชาติ ต าย แก้ ล มกล่ อ น ลมเสี ย ดแทงให้ ขึ้ น ทั้ ง ตั ว
ลมผ่านไส้ลมพรรดึก ลมอัมพฤกษ์ แก้ลม ๓๐ จ�ำพวก
รูปแบบยา ยาลูกกลอน ขนาด ๕๐๐ มิลลิกรัม (ดูภาคผนวก ๓.๕)
ขนาดและวิธีการใช้ ครั้งละ ๒ เม็ด กินวันละ ๓ ครั้ง ก่อนอาหาร เช้า กลางวัน เย็น
ข้อห้ามใช้ ห้ามใช้ในหญิงตั้งครรภ์และหญิงให้นมบุตร ผู้ที่มีไข้ และเด็กอายุต�่ำกว่า ๑๒ ขวบ
ข้อมูลเพิ่มเติม - การเตรียมตัวยากลอยก่อนน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก ๒.๒)

ไทย
- การเตรียมตัวยาบุกรอก่อนน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก ๒.๑๔)
- การเตรียมตัวยามหาหิงคุ์ก่อนน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก ๒.๑๘)

้าน
ื้นบ
- การเตรียมตัวยาอุตพิดก่อนน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก ๒.๔๕)

ย์พ
เอกสารอ้างอิง

พท
๑. “ต�ำรายาเกร็ด”. หอสมุดแห่งชาติ. หนังสือสมุดไทยด�ำ. อักษรไทย. ภาษาไทย. เลขที่ ๒๓๐.
หมวดต�ำราเวชศาสตร์.

ะแ
แล
๒. ประกาศกําหนดตําราการแพทย์แผนไทยของชาติและตํารับยาแผนไทยของชาติ (ฉบับที่ ๘)

ไทย
พ.ศ. ๒๕๕๙, (๒๕๖๐, ๒๔ พฤษภาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม ๑๓๔ ตอนพิเศษ ๑๓๙ ง, หน้า ๑-๓.
ผน
ย์แ
รแ พท
ากา
ัญญ
ภ ูมิป
ริม
่งเส
ล ะส
องแ
คร
งคุ้ม
กอ

137
ยาปะโตลาธิคุณ
ที่มาของต�ำรับยา คัมภีร์แพทย์ไทยแผนโบราณ ขุนโสภิตบรรณลักษณ์ เล่ม ๑ (๑)
“ยาแก้ไข้ตั้งแต่ ๗ วันถึง ๑๔ วัน ชื่อปะโตลาทิคุณ เอาเนื้อฝักราชพฤกษ์ ๒ สลึง ขิงแห้ง ๒ สลึง
ผลกระดอม ๑ สลึง จันทน์ขาว ๑ สลึง เปลือกประค�ำดีควาย ๑ สลึง สะค้าน ๑ สลึง รากเสนียด ๑ สลึง แฝกหอม

ไทย
๑ สลึง เมล็ดผักชีล้อม ๑ สลึง บอระเพ็ด ๑ สลึง หัวแห้วหมู ๑ สลึง ผลมะตูมอ่อน ๑ สลึง เนื้อผลสมอพิเภก
๑ บาท เนื้อผลมะขามป้อม ๑ บาท ต้มกินหรือจะบดเป็นผงละลายน�้ำร้อนกินก็ได้ แก้ไข้เพื่อก�ำเดาหรือ

้าน
ไข้เว้นวันจับ แก้เมื่อยขบจุกเสียด โลหิตตก หายแล”

ื้นบ
ย์พ
สูตรต�ำรับยา ประกอบด้วยตัวยา ๑๔ ชนิด รวมน�้ำหนัก ๘๒.๕ กรัม ดังนี้

พท
ตัวยา น�้ำหนักยา

ะแ
แล
มะขามป้อม (เนื้อผล) ๑๕ กรัม

ไทย
สมอพิเภก (เนื้อผล) ผน ๑๕ กรัม
ขิงแห้ง ๗.๕ กรัม
ย์แ
ราชพฤกษ์ ๗.๕ กรัม
พท

กระดอม ๓.๗๕ กรัม


รแ

จันทน์ขาว ๓.๗๕ กรัม


ากา

บอระเพ็ด ๓.๗๕ กรัม


ัญญ

ลูกชีล้อม ๓.๗๕ กรัม


ูมิป

แฝกหอม ๓.๗๕ กรัม


มะค�ำดีควาย (เปลือกผล) ๓.๗๕ กรัม


ริม

มะตูม ๓.๗๕ กรัม


่งเส

สะค้าน ๓.๗๕ กรัม


ะส

เสนียด ๓.๗๕ กรัม



องแ

แห้วหมู ๓.๗๕ กรัม


คร
งคุ้ม

สรรพคุณ แก้ไข้เพื่อก�ำเดาและเสมหะ แก้ไข้จับวันเว้นวัน


กอ

รูปแบบยา ยาต้มเดือด (ดูภาคผนวก ๓.๑.๑), ยาเม็ดพิมพ์ ขนาด ๕๐๐ มิลลิกรัม


(ดูภาคผนวก ๓.๔.๑)
ขนาดและวิธีการใช้ ยาต้ม ครั้งละ ๑๕๐ มิลลิลิตร ดื่มวันละ ๒ ครั้ง ก่อนอาหาร เช้าและเย็น ดื่มขณะยายัง
อุ่นอยู่

138
ยาเม็ดพิมพ์ ครั้งละ ๒-๓ เม็ด ละลายน�้ำต้มสุก กินวันละ ๒ ครั้ง ก่อนอาหาร
เช้าและเย็น
ข้อมูลเพิ่มเติม - ยา ๑ หม้อ ใช้ติดต่อกัน ๕-๗ วัน โดยให้อุ่นน�้ำสมุนไพรทุกครั้งก่อนใช้ยา
- การเตรียมตัวยาบอระเพ็ดก่อนน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก ๒.๑๓)
- การเตรียมตัวยามะค�ำดีควายก่อนน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก ๒.๒๒)
เอกสารอ้างอิง

ไทย
ขุนโสภิตบรรณลักษณ์ (อ�ำพัน กิตติขจร), คัมภีร์แพทย์ไทยแผนโบราณ เล่ม ๓. กรุงเทพฯ :
โรงพิมพ์อุตสาหกรรมการพิมพ์, ๒๕๐๔.

้าน
ื้นบ
ย์พ
พท
ะแ
แล
ไทย
ผน
ย์แ
รแ พท
ากา
ัญญ
ภ ูมิป
ริม
่งเส
ล ะส
องแ
คร
งคุ้ม
กอ

139
ยาปัตคาดใหญ่
ที่มาของต�ำรับยา ต�ำรายาสภาอุณาโลมแดง ร.ศ. ๑๑๒ (๑, ๒)
“ยาปัตคาดใหญ่ชเอมเทษ ๒ บาท โกฏบัว ๒ บาท โกฏสอ ๒ บาท โกฏกระดูก ๒ บาท
สค้าน ๒ บาท ฃิง ๑ บาท เจตมูล ๒ บาท สมูลแว่ง ๒ บาท เทียนด�ำ ๑ บาท เทียนฃาว ๑ บาท กานพลู
๑ บาท ดอกจัน ๑ สลึง ลูกจันเทด ๑ บาท สีสดองดึง ๒ บาท สีสอุตพิษ ๒ บาท โหราท้าวสุนัก ๒ บาท

ไทย
สีสกลอย สีสบุกรอ ๒ บาท สมอไท ๗ บาท มฃามป่อม ๑๐ บาท กันชา ๒ บาท ดีปลี ๑ บาท โกฏจุลา ๒

้าน
บาท โกฏน�้ำเต้า ๓ บาท รงทอง ๙ บาท ยาด�ำ ๙ บาท มหาหิง ๔ บาท การบูน ๓ บาท ๒ สลึง พริกไทลอน

ื้นบ
เท่ายาทังหลาย กระท�ำเปนจุล น�้ำกระสายต่าง ๆ กินแก้ลมกระไสกร่อน ผูกกลัดเสียดแน่น”

ย์พ
สูตรต�ำรับยา ประกอบด้วยตัวยา ๒๙ ชนิด รวมน�้ำหนัก ๒,๓๙๒.๕ กรัม ดังนี้

พท
ะแ
ตัวยา น�้ำหนักยา

แล
ไทย
พริกไทยล่อน ๑,๑๙๖.๒๕ กรัม
มะขามป้อม (เนื้อผล) ผน ๑๕๐ กรัม
ย์แ
ยาด�ำ ๑๓๕ กรัม
พท

รงทอง ๑๓๕ กรัม


รแ

สมอไทย (เนื้อผล) ๑๐๕ กรัม


ากา

มหาหิงคุ์ ๖๐ กรัม
ัญญ

การบูร ๕๒.๕ กรัม


โกฐน�้ำเต้า ๔๕ กรัม
ูมิป

กลอย ๓๐ กรัม

ริม

กัญชา ๓๐ กรัม
่งเส

โกฐกระดูก ๓๐ กรัม
ะส

โกฐจุฬาลัมพา ๓๐ กรัม

โกฐสอ ๓๐ กรัม
องแ

โกฐหัวบัว ๓๐ กรัม
คร

เจตมูลเพลิง ๓๐ กรัม
งคุ้ม

ชะเอมเทศ ๓๐ กรัม
กอ

ดองดึง ๓๐ กรัม
บุกรอ ๓๐ กรัม
สมุลแว้ง ๓๐ กรัม
สะค้าน ๓๐ กรัม

140
ตัวยา น�ำ้ หนักยา

โหราท้าวสุนัข ๓๐ กรัม
อุตพิด ๓๐ กรัม
กานพลู ๑๕ กรัม
ขิง ๑๕ กรัม

ไทย
ดีปลี ๑๕ กรัม
เทียนขาว ๑๕ กรัม

้าน
เทียนด�ำ ๑๕ กรัม

ื้นบ
ลูกจันทน์ ๑๕ กรัม

ย์พ
ดอกจันทน์ ๓.๗๕ กรัม

พท
ะแ
แล
สรรพคุณ แก้ลมกระษัยกล่อน แก้เถาดาน พรรดึก

ไทย
รูปแบบยา ยาผง (ดูภาคผนวก ๓.๒)
ขนาดและวิธีการใช้ ครั้งละ ๑-๒ กรัม ละลายน�้ำร้อน กินวันละ ๒ ครั้ง ก่อนอาหาร เช้า และเย็น
ผน
ย์แ
ข้อควรระวัง - ควรระวังการกินร่วมกับยาในกลุ่มสารกันเลือดเป็นลิ่ม (anticoagulant) และ
พท

ยาต้านการจับตัวของเกล็ดเลือด (antiplatelet)
รแ

- ควรระวังการใช้ร่วมกับยา phenyltoin, propranolol, theophylline และ


ากา

rifampicin เนื่องจากต�ำรับยานี้มีพริกไทยในปริมาณสูง
- ควรระมัดระวังการใช้ในผู้สูงอายุ
ัญญ

- ควรระวังการใช้ยาอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในผู้ป่วยที่มีความผิดปรกติ
ูมิป

ของตับ ไต เนื่องจากอาจเกิดการสะสมของการบูรและเกิดพิษได้

ริม

ข้อห้ามใช้ ห้ามใช้ในหญิงตั้งครรภ์ ผู้ที่มีไข้ และเด็กอายุต�่ำกว่า ๑๒ ขวบ


่งเส

ข้อมูลเพิ่มเติม - ต� ำ รั บ ยานี้ มี กั ญ ชาเป็ น ส่ ว นประกอบ จั ด เป็ น ยาเสพติ ด ให้ โ ทษประเภท ๕


ะส

ตามพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. ๒๕๒๒ และฉบับแก้ไขเพิ่มเติม การใช้ยา


เสพติดให้โทษต�ำรับนี้ต้องอยู่ภายใต้การปรุงและสั่งจ่ายโดยผู้ประกอบวิชาชีพแพทย์
องแ

แผนไทยตามหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในประกาศกระทรวงสาธารณสุข
คร

- ต�ำรับนี้มีการบูรเป็นส่วนประกอบร้อยละ ๒.๑๙ ในผงยา ๑,๐๐๐ มิลลิกรัม


งคุ้ม

จะมีการบูรอยู่ ๒๑.๙ มิลลิกรัม ปริมาณการบูรทีไ่ ด้รบั ใน ๑ มือ้ เท่ากับ ๔๓.๘ มิลลิกรัม


กอ

ซึง่ ปริมาณทีท่ ำ� ให้เกิดพิษจากการกินการบูร เท่ากับ ๒ กรัม โดยขนาดถึงตาย (lethal


dose) ในผู้ใหญ่อยู่ที่ ๔,๐๐๐ มิลลิกรัม/มื้อ ในเด็กอยู่ที่ ๕๐๐-๑,๐๐๐ มิลลิกรัม/มื้อ
และในทารกอยู่ที่ ๗๐ มิลลิกรัม/กิโลกรัม/มื้อ (๓)
- การเตรียมตัวยากลอยก่อนน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก ๒.๒)
- การเตรียมตัวยากัญชาก่อนน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก ๒.๓)

141
- การเตรียมตัวยาโกฐน�้ำเต้าก่อนน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก ๒.๕)
- การเตรียมตัวยาดองดึงก่อนน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก ๒.๑๐)
- การเตรียมตัวยาบุกรอก่อนน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก ๒.๑๔)
- การเตรียมตัวยามหาหิงคุ์ก่อนน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก ๒.๑๘)
- การเตรียมตัวยายาด�ำก่อนน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก ๒.๒๓)
- การเตรียมตัวยารงทองก่อนน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก ๒.๒๕)

ไทย
- การเตรียมตัวยาโหราท้าวสุนัขก่อนน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก ๒.๔๔)
- การเตรียมตัวยาอุตพิดก่อนน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก ๒.๔๕)

้าน
ื้นบ
เอกสารอ้างอิง

ย์พ
๑. สภากาชาดไทย. ต�ำรับยาสภาอุณาโลมแดง ร.ศ. ๑๑๒. พิมพ์ครั้งที่ ๓. กรุงเทพฯ : บริษัท

พท
รุ่งศิลป์การพิมพ์ (๑๙๙๗) จ�ำกัด, ๒๕๕๗.
๒. ประกาศกําหนดตําราการแพทย์แผนไทยของชาติและตํารับยาแผนไทยของชาติ (ฉบับที่ ๑)

ะแ
แล
พ.ศ. ๒๕๖๐, (๒๕๖๐, ๒๕ พฤษภาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม ๑๓๔ ตอนพิเศษ ๑๔๑ ง, หน้า ๒-๕.

ไทย
๓. U.S. National Library of Medicine [Internet]. Hazardous Substance
Database-Camphor [updated 2014 Sep 9; cited 2019 May 28]. Available from: https://toxnet.
ผน
nlm.nih.gov/cgi-bin/sis/search2/r?dbs+hsdb:@term+@DOCNO+37.
ย์แ
รแ พท
ากา
ัญญ
ภ ูมิป
ริม
่งเส
ล ะส
องแ
คร
งคุ้ม
กอ

142
ยาแปรไข้
ชื่ออื่น ยาแปลไข้
ที่มาของต�ำรับยา คัมภีร์แพทย์ไทยแผนโบราณ ขุนโสภิตบรรณลักษณ์ เล่ม ๑ (๑)
“ยาแปลไข้ เอารากคนทา รากชิ ง ชี่ รากหญ้ า นาง รากมะเดื่ อ ชุ ม พร รากเท้ า ยายม่ อ ม
เกษรบัวหลวง ดอกสาระภี ดอกพิกุล ดอกบุนนาค ดอกมะลิ หญ้าแพรก หญ้าปากควาย ใบระงับ
รากหวายขม รากหวายลิง เหมือดคน ลูกกระดอม บอระเพ็ด แก่นจันทน์ทั้ง ๒ รากหญ้าคา เอาสิ่งละ ๔ บาท

ไทย
ก้านสะเดา ๓๓ ก้าน ต้มกินเวลาเช้าเย็น แก้ไข้พิษ ไข้จับสั่น แก้ได้ทั้ง ๓ ฤดู”

้าน
สูตรต�ำรับยา ประกอบด้วยตัวยา ๒๒ ชนิด รวมน�้ำหนัก ๑,๒๖๐ กรัม* ดังนี้

ื้นบ
ย์พ
ตัวยา น�ำ้ หนักยา

พท
กระดอม ๖๐ กรัม

ะแ
คนทา ๖๐ กรัม

แล
ไทย
จันทน์ขาว ๖๐ กรัม
จันทน์แดง ผน ๖๐ กรัม
ชิงชี่ ๖๐ กรัม
ย์แ
บอระเพ็ด ๖๐ กรัม
พท

บัวหลวง ๖๐ กรัม
รแ

บุนนาค ๖๐ กรัม
ากา

พิกุล ๖๐ กรัม
ัญญ

มะเดื่ออุทุมพร ๖๐ กรัม
ูมิป

มะลิ ๖๐ กรัม

ไม้เท้ายายม่อม ๖๐ กรัม
ริม
่งเส

ระงับ ๖๐ กรัม
ะส

สารภี ๖๐ กรัม

หญ้าคา ๖๐ กรัม
องแ

ย่านาง ๖๐ กรัม
คร

หญ้าปากควาย ๖๐ กรัม
งคุ้ม

หญ้าแพรก ๖๐ กรัม
กอ

หวายขม ๖๐ กรัม
หวายลิง ๖๐ กรัม
เหมือดคน ๖๐ กรัม
สะเดา (ก้าน) ๓๓ ก้าน

* ไม่รวมน้ำ�หนัก ก้านสะเดา ๓๓ ก้าน


143
สรรพคุณ แก้ไข้ตัวร้อน ไข้จับสั่น ไข้ ๓ ฤดู
รูปแบบยา ยาต้มเดือด (ดูภาคผนวก ๓.๑.๑)
ขนาดและวิธีการใช้ ครั้งละ ๑๕๐ มิลลิลิตร ดื่มวันละ ๒ ครั้ง ก่อนอาหาร เช้าและเย็น ดื่มขณะยายังอุ่นอยู่
ข้อมูลเพิ่มเติม - ยา ๑ หม้อ ใช้ติดต่อกัน ๕-๗ วัน โดยให้อุ่นน�้ำสมุนไพรทุกครั้งก่อนใช้ยา
- การเตรียมตัวยาบอระเพ็ดก่อนน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก ๒.๑๓)
เอกสารอ้างอิง

ไทย
ขุนโสภิตบรรณลักษณ์ (อ�ำพัน กิตติขจร), คัมภีร์แพทย์ไทยแผนโบราณ เล่ม ๓. กรุงเทพฯ :
โรงพิมพ์อุตสาหกรรมการพิมพ์, ๒๕๐๔.

้าน
ื้นบ
ย์พ
พท
ะแ
แล
ไทย
ผน
ย์แ
รแ พท
ากา
ัญญ
ภ ูมิป
ริม
่งเส
ล ะส
องแ
คร
งคุ้ม
กอ

144
ยาผสมโคคลาน
ที่มาของต�ำรับยา สูตรต�ำรับนีโ้ รงพยาบาลกุดชุม จังหวัดยโสธร เสนอเข้าสูร่ ายการบัญชียาหลักแห่งชาติ
เป็นต�ำรับของผู้ใหญ่วิบูลย์ เข็มเฉลิม เผยแพร่โดยโครงการสมุนไพรเพื่อการพึ่งพา
ตนเอง มีบันทึกการใช้ในโรงพยาบาลตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๒๙

ไทย
สูตรต�ำรับยา ประกอบด้วยตัวยา ๔ ชนิด รวมน�้ำหนัก ๑๐๕ กรัม (๑) ดังนี้

้าน
ื้นบ
ตัวยา น�ำ้ หนักยา

ย์พ
โพคาน ๕๐ กรัม

พท
ทองพันชั่ง ๒๕ กรัม

ะแ
โด่ไม่รู้ล้ม ๑๕ กรัม

แล
๑๕ กรัม

ไทย
มะตูม
ผน
ย์แ
สรรพคุณ บรรเทาอาการปวดเมื่อยตามร่างกาย (๑)
พท

รูปแบบยา ยาต้มเดือด (๑) (ดูภาคผนวก ๓.๑.๓)


รแ

ขนาดและวิธีการใช้ ครั้งละ ๑๒๐–๒๐๐ มิลลิลิตร ดื่มวันละ ๓ ครั้ง ก่อนอาหาร เช้า กลางวันและเย็น


ากา

ดื่มขณะยายังอุ่นอยู่ (๑)
ัญญ

ข้อมูลเพิ่มเติม - ตัวยาโคคลานตามสูตรต�ำรับในประกาศบัญชียาหลักแห่งชาติ (๑) คือ โพคาน


ที่มีชื่อพฤกษศาสตร์ว่า Mallotus repandus (Willd.) Müll. Arg. วงศ์ Euphorbiaceae
ูมิป

- นอกจากนีย้ งั มีสตู รต�ำรับทีใ่ ช้ในรูปแบบยาชง และพบว่ามีสถานบริการใช้สตู รต�ำรับ



ริม

ทีม่ สี ดั ส่วนแตกต่างกันออกไป เช่น โรงพยาบาลบ้านนา จังหวัดนครนายก โรงพยาบาล


่งเส

สูงเนิน จังหวัดนครราชสีมา
ะส

- ยา ๑ หม้อ ใช้ติดต่อกัน ๕-๗ วัน โดยให้อุ่นน�้ำสมุนไพรทุกครั้งก่อนใช้ยา


เอกสารอ้างอิง
องแ

ประกาศคณะกรรมการพัฒนาระบบยาแห่งชาติ เรื่อง บัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๑.


คร

(๒๕๖๑, ๑๙ มกราคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม ๑๓๕ ตอนพิเศษ ๑๔ ง. หน้า ๔. (เอกสารแนบท้ายประกาศ


งคุ้ม

หน้า ๒๕๕).
กอ

145
ยาผสมเถาวัลย์เปรียง
ที่มาของต�ำรับยา สูตรต�ำรับนี้ โรงพยาบาลกุดชุม จังหวัดยโสธร เสนอเข้าสู่รายการบัญชียาหลัก
แห่งชาติ เป็นต�ำรับตามภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน มีที่มาจากชมรมหมอยาพื้นบ้าน
อ�ำเภอกุดชุม จังหวัดยโสธร มีการบันทึกใช้ในโรงพยาบาล ตั้งแต่พ.ศ. ๒๕๒๙

ไทย
สูตรต�ำรับยา ประกอบด้วยตัวยา ๔ ชนิด รวมน�้ำหนัก ๑๐๐ กรัม (๑) ดังนี้

้าน
ื้นบ
ตัวยา น�้ำหนักยา

ย์พ
พท
ไพล ๔๐ กรัม
๒๐ กรัม

ะแ
ดูกหิน

แล
ดูกใส ๒๐ กรัม

ไทย
เถาวัลย์เปรียง ๒๐ กรัม
ผน
ย์แ
สรรพคุณ บรรเทาอาการปวดเมื่อยตามร่างกาย (๑)
พท

รูปแบบยา ยาลูกกลอน (๑) (ดูภาคผนวก ๓.๕)


รแ

ขนาดและวิธีการใช้ ครั้งละ ๙๐๐ มิลลิกรัม – ๑.๕ กรัม กินวันละ ๓ ครั้ง หลังอาหารทันที (๑)
ากา

ข้อห้ามใช้ ห้ามใช้ในหญิงตั้งครรภ์ (๑)


ัญญ

ข้อควรระวัง - ควรระวังการใช้ในผู้ป่วยที่เป็นแผลในกระเพาะอาหารเนื่องจากเถาวัลย์เปรียง
ูมิป

มีกลไกออกฤทธิเ์ ช่นเดียวกับยาแก้ปวดในกลุม่ ยาต้านการอักเสบทีไ่ ม่ใช่สเตียรอยด์


(Nonsteroidal Anti-Inflammatory Drugs: NSAIDs)


ริม

- การใช้ยานี้อาจท�ำให้เกิดการระคายเคืองของระบบทางเดินอาหาร (๑)
่งเส

อาการไม่พึงประสงค์ ปวดท้อง ท้องผูก ปัสสาวะบ่อย คอแห้ง ใจสั่น (๑)


ะส

เอกสารอ้างอิง

องแ

ประกาศคณะกรรมการพัฒนาระบบยาแห่งชาติ เรื่อง บัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๑.


(๒๕๖๑, ๑๙ มกราคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม ๑๓๕ ตอนพิเศษ ๑๔ ง. หน้า ๔. (เอกสารแนบท้ายประกาศ
คร
งคุ้ม

หน้า ๒๕๖).
กอ

146
ยาผสมเพชรสังฆาต
ที่มาของต�ำรับยา สูตรต�ำรับนี้ โรงพยาบาลพล จังหวัดขอนแก่น เสนอเข้าสูร่ ายการบัญชียาหลักแห่งชาติ
เดิมชื่อยาริดสีดวง เป็นต�ำรับที่ตั้งขึ้นตามองค์ความรู้การแพทย์แผนไทย
สูตรต�ำรับยา ประกอบด้วยตัวยา ๔ ชนิด รวมน�้ำหนัก ๘๕ กรัม (๑) ดังนี้

ไทย
้าน
ตัวยา น�ำ้ หนักยา

ื้นบ
เพชรสังฆาต ๕๐ กรัม

ย์พ
กะเม็ง ๑๕ กรัม

พท
กระชาย ๑๐ กรัม

ะแ
๑๐ กรัม

แล
โกฐน�้ำเต้า

ไทย
สรรพคุณ บรรเทาอาการริดสีดวงทวารหนัก (๑) ผน
ย์แ
รูปแบบยา ยาแคปซูล ขนาด ๕๐๐ มิลลิกรัม (๑) (ดูภาคผนวก ๓.๓)
พท

ขนาดและวิธีการใช้ ครั้ง ๑-๒ แคปซูล กินวันละ ๓ ครั้ง หลังอาหารทันที (๑) เช้า กลางวันและเย็น
รแ

ข้อควรระวัง ควรระวังการใช้ยาในหญิงตั้งครรภ์และหญิงให้นมบุตร (๑)


ากา

อาการไม่พึงประสงค์ ท้องเสีย มวนท้อง (๑)


ัญญ

ข้อมูลเพิ่มเติม - ความเห็นจากผู้เชี่ยวชาญ ระบุว่าสูตรต�ำรับนี้เหมาะกับริดสีดวงทวารหนักที่มีการ


ถ่ายเป็นเลือดร่วมด้วย เนื่องจากมีกะเม็ง และกระชาย ซึ่งมีฤทธิ์สมานล�ำไส้
ูมิป

- ในการรั ก ษา ผู ้ ป ่ ว ยควรงด หรื อ หลี ก เลี่ ย งอาหารแสลง เช่ น เหล้ า เบี ย ร์



ริม

ของหมักดอง อาหารทะเล
่งเส

- การเตรียมตัวยาโกฐน�้ำเต้าก่อนน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก ๒.๕)


ะส

เอกสารอ้างอิง

องแ

ประกาศคณะกรรมการพัฒนาระบบยาแห่งชาติ เรื่อง บัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๑.


(๒๕๖๑, ๑๙ มกราคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม ๑๓๕ ตอนพิเศษ ๑๔ ง. หน้า ๔. (เอกสารแนบท้ายประกาศ
คร

หน้า ๒๔๑).
งคุ้ม
กอ

147
ยาผักเป็ดแดง
ที่มาของต�ำรับยา ต�ำรายาเกร็ด (๑)
“ยาผักเป็ดแดงแก้ลมปัตคาด แก้ลมพิษให้ผูกพรรดึกจุกเสียด เอา มหาหิงคุ์ ๑ การบูร ๑
ว่านนํ้า ๑ ขิง ๑ ดีปลี ๑ พริกล่อน ๑ สมอทั้ง ๓ ยาทั้งนี้เอาสิ่งละ ๑ บาท เอา ผักเป็ดแดงเท่ายาทั้งหลาย
ต�ำเป็นผงละลายนํ้าส้มซ่านํ้าส้มสายชูก็ได้หายแล ๚”

ไทย
สูตรต�ำรับยา ประกอบด้วยตัวยา ๑๐ ชนิด รวมน�้ำหนัก ๒๗๐ กรัม ดังนี้

้าน
ื้นบ
ตัวยา น�้ำหนักยา

ย์พ
พท
ผักเป็ดแดง ๑๓๕ กรัม
๑๕ กรัม

ะแ
การบูร

แล
ขิง ๑๕ กรัม

ไทย
ดีปลี ๑๕ กรัม
พริกไทยล่อน ผน ๑๕ กรัม
มหาหิงคุ์ ๑๕ กรัม
ย์แ
พท

ว่านน�้ำ ๑๕ กรัม
สมอเทศ (เนื้อผล) ๑๕ กรัม
รแ
ากา

สมอไทย (เนื้อผล) ๑๕ กรัม


สมอพิเภก (เนื้อผล) ๑๕ กรัม
ัญญ
ูมิป

สรรพคุณ แก้ลมปัตคาด แก้ลมพิษให้ผูกพรรดึกจุกเสียด



ริม

รูปแบบยา ยาผง (ดูภาคผนวก ๓.๒)


่งเส

ขนาดและวิธีการใช้ ครั้งละ ๑ กรัม ละลายน�้ำส้มซ่าหรือน�้ำส้มสายชู กินวันละ ๓ ครั้ง ก่อนอาหาร เช้า


ะส

กลางวัน เย็น

องแ

ข้อห้ามใช้ ห้ามใช้ในหญิงตั้งครรภ์และหญิงให้นมบุตร ผู้ที่มีไข้ และเด็กอายุต�่ำกว่า ๑๒ ขวบ


ข้อควรระวัง ไม่ควรใช้ติดต่อกันเป็นเวลานาน โดยเฉพาะในผู้ป่วยที่มีความผิดปรกติของตับ ไต
คร

เนื่องจากอาจเกิดการสะสมของการบูรและเกิดพิษได้
งคุ้ม

ข้อมูลเพิ่มเติม - ต�ำรับนี้มีการบูรเป็นส่วนประกอบร้อยละ ๕๕.๕ ในผงยา ๑,๐๐๐ มิลลิกรัม


กอ

จะมีการบูรอยู่ ๕๕.๕ มิลลิกรัม ปริมาณการบูรทีไ่ ด้รบั ใน ๑ มือ้ เท่ากับ ๕๕.๕ มิลลิกรัม


ซึ่งปริมาณที่ท�ำให้เกิดพิษจากการกินการบูร เท่ากับ ๒,๐๐๐ มิลลิกรัม โดยขนาด
ถึงตาย (lethal dose) ในผู้ใหญ่อยู่ที่ ๔,๐๐๐ มิลลิกรัม ในเด็กอยู่ที่ ๕๐๐–๑,๐๐๐
มิลลิกรัม และในทารกอยู่ที่ ๗๐ มิลลิกรัม/กิโลกรัม (๓)
- การเตรียมตัวยามหาหิงคุ์ก่อนน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก ๒.๑๘)
148
เอกสารอ้างอิง
๑. “ต�ำรายาเกร็ด”. หอสมุดแห่งชาติ. หนังสือสมุดไทยด�ำ. อักษรไทย. ภาษาไทย. เลขที่ ๒๓๗.
หมวดต�ำราเวชศาสตร์.
๒. ประกาศกําหนดตําราการแพทย์แผนไทยของชาติและตํารับยาแผนไทยของชาติ (ฉบับที่ ๘)
พ.ศ. ๒๕๕๙, (๒๕๖๐, ๒๔ พฤษภาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม ๑๓๔ ตอนพิเศษ ๑๓๙ ง, หน้า ๑-๓.
๓. U.S. National Library of Medicine [Internet]. Hazardous Substance

ไทย
Database-Camphor [updated 2014 Sep 9; cited 2019 May 28].Available from: https://toxnet.
nlm.nih.gov/cgi-bin/sis/search2/r?dbs+hsdb:@term+@DOCNO+37.

้าน
ื้นบ
ย์พ
พท
ะแ
แล
ไทย
ผน
ย์แ
รแ พท
ากา
ัญญ
ภ ูมิป
ริม
่งเส
ล ะส
องแ
คร
งคุ้ม
กอ

149
ยาฝนแสนห่าสิงคาทิจร
ที่มาของต�ำรับยา แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ เล่ม ๒ พระยาพิศณุประสาทเวช ร.ศ. ๑๒๖ (๑, ๒)
“ยาขนานหนึ่งชื่อฝนแสนห่าสิงคาทิจร แก้สันนิบาต ๗ จ�ำพวก เปนเพื่อเสมหะโลหิตแลเพื่อกิน
ของคาว เปนเพื่อท�ำการหนักชื่อสิงคาทิจร คือน�้ำมูกตกเบื้องบนอากาศธาตุ จึงให้ไอเสียงแห้งให้หอบสอึก

ไทย
ให้แต่งยานี้แก้ เอาเม็ดพรรผักกาด ๑ ผลผักชี ๑ ขิงฝอย ๑ ข่า ๑ กะทือ ๑ ท�ำผงบดกินหายแล”

้าน
สูตรต�ำรับยา ประกอบด้วยตัวยา ๕ ชนิด รวมน�้ำหนัก ๕ ส่วน ดังนี้

ื้นบ
ตัวยา น�้ำหนักยา

ย์พ
พท
กะทือ ๑ ส่วน

ะแ
ข่า ๑ ส่วน

แล
ขิง (ราก) ๑ ส่วน

ไทย
เมล็ดพรรณผักกาด ผน ๑ ส่วน
ลูกผักชี ๑ ส่วน
ย์แ
พท

สรรพคุณ ลดน�้ำมูกในผู้ป่วยที่เป็นหวัด ซึ่งไม่มีอาการไข้


รแ

รูปแบบยา ยาผง (ดูภาคผนวก ๓.๒)


ากา

ขนาดและวิธีการใช้ ครั้งละ ๑ ช้อนชา ละลายน�้ำร้อน กินวันละ ๓ ครั้ง ก่อนอาหาร เช้า กลางวัน และเย็น
ัญญ

ข้อห้ามใช้ ห้ามใช้ในผู้ที่มีไข้ ร้อนใน เจ็บคอ


ูมิป

ข้อมูลเพิ่มเติม ขิงฝอย คือ รากขิง (ginger)


เอกสารอ้างอิง
ริม

๑. พิศณุประสาทเวช, พระยา. แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ เล่ม ๒. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ศุภการ


่งเส

จ�ำรูญถนนอัษฏางค์, ร.ศ. ๑๒๖.


ะส

๒. ประกาศกําหนดตําราการแพทย์แผนไทยของชาติและตํารับยาแผนไทยของชาติ (ฉบับที่ ๑๓)



องแ

พ.ศ.๒๕๖๐, (๒๕๖๐, ๖ พฤศจิกายน). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม ๑๓๔ ตอนพิเศษ ๒๗๑ ง, หน้า ๑.


คร
งคุ้ม
กอ

150
ยาพระเป็นเจ้ามงกุฎลม
ที่มาของต�ำรับยา ต�ำรายาเกร็ด (๑)
“ยานี้ชื่อพระเป็นเจ้ามงกุฎลม เอา โลดแดง โลดขาว รากมะรุม ๑ รากกุ่มทั้ง ๒ รากชิงชี่ ๑
ข่าทั้ง ๒ ว่านน�้ำ ๑ ลูกจันทน์ ๑ ดอกจันทน์ ๑ ใบกะเพรา ๑ ผิวมะกรูด ๑ เทียนทั้ง ๕ มหาหิงคุ์ หนักเท่า

ไทย
ยาทั้งหลาย บดทั้งกินทั้งพ่น แก้ลมชักทั้งปวง แก้ปวดท้องแก้จุกเสียด แก้ผูกละลายน�้ำขิงน�้ำร้อนก็ได้
ศิริยา ๒๑ สิ่ง ๚”

้าน
ื้นบ
สูตรต�ำรับยา ประกอบด้วยตัวยา ๑๙ ชนิด รวมน�้ำหนัก ๕๔๐ กรัม ดังนี้

ย์พ
ตัวยา น�ำ้ หนักยา

พท
ะแ
มหาหิงคุ์ ๒๗๐ กรัม

แล
กะเพรา ๑๕ กรัม

ไทย
กุ่มน�้ำ (ราก) ๑๕ กรัม
กุ่มบก (ราก)
ผน ๑๕ กรัม
ย์แ
ข่า ๑๕ กรัม
พท

ข่าหลวง ๑๕ กรัม
รแ

ชิงชี่ ๑๕ กรัม
ากา

ดอกจันทน์ ๑๕ กรัม
ัญญ

เทียนขาว ๑๕ กรัม
ูมิป

เทียนข้าวเปลือก ๑๕ กรัม

เทียนด�ำ ๑๕ กรัม
ริม

เทียนแดง ๑๕ กรัม
่งเส

เทียนตาตั๊กแตน ๑๕ กรัม
ะส

มะกรูด ๑๕ กรัม

องแ

มะรุม (ราก) ๑๕ กรัม


๑๕ กรัม
คร

โรกขาว
งคุ้ม

โรกแดง ๑๕ กรัม
ลูกจันทน์ ๑๕ กรัม
กอ

ว่านน�้ำ ๑๕ กรัม

151
สรรพคุณ แก้ลมชักทั้งปวง แก้ปวดท้องแก้จุกเสียด แก้ท้องผูก
รูปแบบยา ยาเม็ดพิมพ์ ขนาด ๕๐๐ มิลลิกรัม (ดูภาคผนวก ๓.๔.๑)
ขนาดและวิธีการใช้ ครั้งละ ๒ เม็ด ละลายน�้ำร้อนหรือน�้ำขิง กินวันละ ๓ ครั้ง ก่อนอาหาร เช้า กลางวัน
และเย็น
ข้อมูลเพิ่มเติม การเตรียมตัวยามหาหิงคุ์ก่อนน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก ๒.๑๘)
เอกสารอ้างอิง

ไทย
๑. “ต�ำรายาเกร็ด”. หอสมุดแห่งชาติ. หนังสือสมุดไทยด�ำ. อักษรไทย. ภาษาไทย. เลขที่ ๒๓๗.
หมวดต�ำราเวชศาสตร์.

้าน
ื้นบ
๒. ประกาศกําหนดตําราการแพทย์แผนไทยของชาติและตํารับยาแผนไทยของชาติ (ฉบับที่ ๘)

ย์พ
พ.ศ. ๒๕๕๙, (๒๕๖๐, ๒๔ พฤษภาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม ๑๓๔ ตอนพิเศษ ๑๓๙ ง, หน้า ๑-๓.

พท
ะแ
แล
ไทย
ผน
ย์แ
รแ พท
ากา
ัญญ
ภ ูมิป
ริม
่งเส
ล ะส
องแ
คร
งคุ้ม
กอ

152
ยาพระแสงจักร
ที่มาของต�ำรับยา ต�ำราเวชศาสตร์ฉบับหลวง รัชกาลที่ ๕ เล่ม ๓ (๑, ๒)
“ยาชื่อพระแสงจักร ให้เอาพริกล่อน ๑ สหัศคุณ ๑ เปล้าน้อย ๑ เบญจกูล ๑ ฃิง ๑ เทียนทั้ง ๕
ตรีผลา ๑ ไพล ๑ ดองดึง ๑ สมุลแว้งเท่ายา เจตมูลกึ่งยา สารส้มเท่ายา บดพอกลมจับแต่แม่เท้าจนศีศะ
แก้ลมกลิ้งในท้อง มือตายเท้าตาย จับเท้าเยน อันมีพิศม์ในกาย หายแล ๚ะ๛ ”

ไทย
สูตรต�ำรับยา ประกอบด้วยตัวยา ๒๑ ชนิด รวมน�้ำหนัก ๑๑๔ ส่วน ดังนี้

้าน
ื้นบ
ตัวยา น�ำ้ หนักยา

ย์พ
พท
สารส้ม ๕๗ ส่วน

ะแ
เจตมูลเพลิงแดง ๒๐ ส่วน

แล
สมุลแว้ง ๑๙ ส่วน

ไทย
ขิง ๑ ส่วน
ขิงแห้ง
ผน ๑ ส่วน
ย์แ
ชะพลู ๑ ส่วน
พท

ดองดึง ๑ ส่วน
รแ

ดีปลี ๑ ส่วน
ากา

เทียนขาว ๑ ส่วน
ัญญ

เทียนข้าวเปลือก ๑ ส่วน
เทียนด�ำ ๑ ส่วน
ูมิป

เทียนแดง ๑ ส่วน

ริม

เทียนตาตั๊กแตน ๑ ส่วน
่งเส

เปล้าน้อย (ใบ) ๑ ส่วน


ะส

พริกล่อน ๑ ส่วน

องแ

ไพล ๑ ส่วน
มะขามป้อม (เนื้อผล) ๑ ส่วน
คร

สมอไทย (เนื้อผล) ๑ ส่วน


งคุ้ม

สมอพิเภก (เนื้อผล) ๑ ส่วน


กอ

สะค้าน ๑ ส่วน
หัสคุณไทย ๑ ส่วน

153
สรรพคุณ แก้ลมจับตั้งแต่แม่เท้าจนถึงศีรษะ แก้ลมกลิ้งในท้อง มือตายเท้าตาย จับเท้าเย็น
อันมีพิษในกาย
รูปแบบยา ยาผง (ดูภาคผนวก ๓.๒)
ขนาดและวิธีการใช้ น�ำยามาทารอบบริเวณที่มีอาการ
ข้อควรระวัง ห้ามพอกบริเวณผิวหนังที่มีบาดแผลหรือแผลเปิด
ข้อมูลเพิ่มเติม - การเตรียมตัวยาดองดึงก่อนน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก ๒.๑๐)

ไทย
- การเตรียมตัวยาสารส้มก่อนน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก ๒.๓๖)
- การเตรียมตัวยาหัสคุณไทยก่อนน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก ๒.๔๓)

้าน
ื้นบ
เอกสารอ้างอิง

ย์พ
๑. หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. ต�ำราเวชศาสตร์ฉบับหลวง รัชกาลที่ ๕ เล่ม ๓. กรุงเทพฯ :

พท
บริษัท อมรินทร์ พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง จ�ำกัด (มหาชน), ๒๕๕๕. หน้า ๓๒.
๒. ประกาศกําหนดตําราการแพทย์แผนไทยของชาติและตํารับยาแผนไทยของชาติ (ฉบับที่ ๒)

ะแ
แล
พ.ศ. ๒๕๕๘, (๒๕๕๙, ๑๒ มกราคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม ๑๓๓ ตอนพิเศษ ๗ ง, หน้า ๑-๓.

ไทย
ผน
ย์แ
รแ พท
ากา
ัญญ
ภ ูมิป
ริม
่งเส
ล ะส
องแ
คร
งคุ้ม
กอ

154
ยาพัดในล�ำไส้
ที่มาของต�ำรับยา ต�ำราเวชศาสตร์ฉบับหลวง รัชกาลที่ ๕ เล่ม ๓ (๑, ๒)
“ภาคหนึ่งคู่กัน พริกไทย ๒ สลึง เกลือสินเทาว์ ๒ สลึง ดีปลี ๒ สลึง เบญจกูล สิ่งละ ๒ สลึง
กะเทียมเท่ายาต�ำผงละลายน�้ำร้อน น�้ำผึ้ง แก้ลมกลิ้งขึ้น กลิ้งลง หายแล ๚ะ๛ ”

ไทย
สูตรต�ำรับยา ประกอบด้วยตัวยา ๙ ชนิด รวมน�้ำหนัก ๑๒๐ กรัม ดังนี้

้าน
ื้นบ
ตัวยา น�ำ้ หนักยา

ย์พ
กระเทียม ๖๐ กรัม

พท
ดีปลี ๑๕ กรัม

ะแ
เกลือสินเธาว์ ๗.๕ กรัม

แล
ขิงแห้ง ๗.๕ กรัม

ไทย
เจตมูลเพลิงแดง ผน ๗.๕ กรัม
ชะพลู ๗.๕ กรัม
ย์แ
พริกไทย ๗.๕ กรัม
พท

สะค้าน ๗.๕ กรัม


รแ
ากา

สรรพคุณ แก้ลมจ�ำพวกหนึ่งพัดในล�ำไส้ ให้เป็นลูกกลิ้งขึ้นกลิ้งลงอยู่ในท้อง ให้จุกอกเสียดแทง


ัญญ

ตามชายโครง ทั่วสารพางค์กายและเสียดหัวใจ
ูมิป

รูปแบบยา ยาเม็ดพิมพ์ ขนาด ๓๐๐ มิลลิกรัม (ดูภาคผนวก ๓.๔.๑)


ขนาดและวิธีการใช้ ครั้งละ ๓-๕ เม็ด ละลายน�้ำร้อนหรือน�้ำผึ้ง กินวันละ ๓-๔ ครั้ง ก่อนอาหาร เช้า
ริม

กลางวัน เย็นและก่อนนอน
่งเส

เอกสารอ้างอิง
ะส

๑. หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. ต�ำราเวชศาสตร์ฉบับหลวง รัชกาลที่ ๕ เล่ม ๓. กรุงเทพฯ :



องแ

บริษัท อมรินทร์ พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง จ�ำกัด (มหาชน), ๒๕๕๕. หน้า ๓๒.


คร

๒. ประกาศกําหนดตําราการแพทย์แผนไทยของชาติและตํารับยาแผนไทยของชาติ (ฉบับที่ ๒)
งคุ้ม

พ.ศ. ๒๕๕๘, (๒๕๕๙, ๑๒ มกราคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม ๑๓๓ ตอนพิเศษ ๗ ง, หน้า ๑-๓.
กอ

155
ยามหาก�ำลัง
ที่มาของต�ำรับยา ต�ำรายาสภาอุณาโลมแดง ร.ศ. ๑๑๒ (๑, ๒)
“ยาชื่อมหาก�ำลังแต่ครั้งนรายนภบุรีย์ท�ำเสวยเปนเสนห์ให้หยากอาหาร ถึงมิได้กินอาหารวัน
ก็ดี กินยาขนานนี้ชูก�ำลังไปได้แก้ไข้อิดโรย จะถึงมระภาพย ท่านให้เอาเกษรบัวหลวง ๑ ดอกบุนนาก ๑

ไทย
ผลบัวเกราะ ๑ ศีศะบัวขม ๑ ศีศะบัวเผื่อน ๑ ศีศะถั่วภู ๑ กระจับ ๑ ชเอมเทษ ๑ น�้ำตาลกรวด ๑ เอาสิ่งลส่วน
ดอกยี่ซุ่น ๑ ใบกระวาน ๑ เข้าสานขั้ว ๑ เอาสิ่งละสามส่วน ท�ำผงบดด้วยน�ำ้ ดอกไม้แทรกหย้าฝรั่นปั้นแท่งไว้

้าน
ลลายน�้ำดอกมลิกินแก้อิดโรยหอบหิวหาย”

ื้นบ
ย์พ
สูตรต�ำรับยา ประกอบด้วยตัวยา ๑๒ ชนิด รวมน�้ำหนัก ๑๘ ส่วน ดังนี้

พท
ตัวยา น�้ำหนักยา

ะแ
แล
ข้าวสาร ๓ ส่วน

ไทย
ใบกระวาน ผน ๓ ส่วน
ยี่สุ่น ๓ ส่วน
ย์แ
กระจับ ๑ ส่วน
พท

ชะเอมเทศ ๑ ส่วน
รแ

ถั่วพู ๑ ส่วน
ากา

น�้ำตาลกรวด ๑ ส่วน
ัญญ

บัวเกราะ ๑ ส่วน
ูมิป

บัวขม ๑ ส่วน

บัวเผื่อน ๑ ส่วน
ริม

บัวหลวง ๑ ส่วน
่งเส

บุนนาค ๑ ส่วน
ล ะส
องแ

สรรพคุณ แก้อ่อนเพลีย บ�ำรุงก�ำลังหลังฟื้นไข้ ในผู้สูงอายุ


คร

รูปแบบยา ยาเม็ดพิมพ์ ขนาด ๓๐๐ มิลลิกรัม (ดูภาคผนวก ๓.๔.๑)


งคุ้ม

วิธีปรุงยา บดเป็นผงละเอียดผสมน�้ำดอกไม้ แทรกหญ้าฝรั่น แล้วปั้นเป็นเม็ด


ขนาดและวิธีการใช้ ครั้งละ ๓-๕ เม็ด ละลายน�้ำดอกมะลิ กินวันละ ๓ ครั้ง ก่อนอาหาร เช้า กลางวัน และเย็น
กอ

เอกสารอ้างอิง
๑. สภากาชาดไทย. ต�ำรับยาสภาอุณาโลมแดง ร.ศ. ๑๑๒. พิมพ์ครั้งที่ ๓. กรุงเทพฯ : บริษัท
รุ่งศิลป์การพิมพ์ (๑๙๗๗) จ�ำกัด, ๒๕๕๗.
๒. ประกาศกําหนดตําราการแพทย์แผนไทยของชาติและตํารับยาแผนไทยของชาติ (ฉบับที่ ๑๑)
พ.ศ. ๒๕๖๐, (๒๕๖๐, ๒๕ พฤษภาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม ๑๓๔ ตอนพิเศษ ๑๔๑ ง, หน้า ๒-๕.
156
ยามหาไชยวาตะ
ที่มาของต�ำรับยา ต�ำรายาเกร็ด (๑)
“๏ มหาไชยวาต เอา ลูกโหระพา กระวาน เกลือกะตัง โกฐสอ การบูร เกลือสินเธาว์
รากจิงจ้อใหญ่ เปลือกมะรุม สิ่งละส่วน กฤษณา กระล�ำพัก พริกล่อน ว่านน�ำ้ ใบหนาด ขิงแห้ง สิ่งละ ๒ ส่วน
ยาด�ำ เทียนด�ำ กานพลู สหัสคุณเทศ ดองดึง รากเจตมูลเพลิง ดีปลี สมอเทศ สิ่งละ ๔ ส่วน มหาหิงคุ์ ๘ ส่วน
น�้ำขิงต้มเป็นกระสาย บดเป็นแท่งละลายน�้ำส้มซ่า น�้ำหมากแก่ น�้ำขิง น�้ำกระเทียมก็ได้กิน อาจสามารถ

ไทย
จะชนะลมทั้ง ๗ จ�ำพวกแล ลมผู้ใหญ่คือลมอัมพาตราทยักษ์ ทักขิณคุณ ปะวาตะคุณ ลมสันดานจุกเสียด

้าน
หายแล ๚”

ื้นบ
สูตรต�ำรับยา ประกอบด้วยตัวยา ๒๓ ชนิด รวมน�้ำหนัก ๖๘ ส่วน ดังนี้

ย์พ
พท
ตัวยา น�ำ้ หนักยา

ะแ
แล
มหาหิงคุ์ ๘ ส่วน

ไทย
กานพลู ๔ ส่วน
เจตมูลเพลิงแดง ผน ๔ ส่วน
ดองดึง ๔ ส่วน
ย์แ
ดีปลี ๔ ส่วน
พท

เทียนด�ำ ๔ ส่วน
รแ

ยาด�ำ ๔ ส่วน
ากา

สมอเทศ ๔ ส่วน
หัสคุณเทศ ๔ ส่วน
ัญญ

กระล�ำพัก (ตาตุ่ม) ๒ ส่วน


ูมิป

กระวาน ๒ ส่วน

กฤษณา ๒ ส่วน
ริม

การบูร ๒ ส่วน
่งเส

เกลือกะตัง ๒ ส่วน
ะส

เกลือสินเธาว์ ๒ ส่วน

โกฐสอ ๒ ส่วน
องแ

ขิงแห้ง ๒ ส่วน
คร

จิงจ้อใหญ่ ๒ ส่วน
งคุ้ม

พริกไทยล่อน ๒ ส่วน
มะรุม ๒ ส่วน
กอ

ว่านน�้ำ ๒ ส่วน
หนาด ๒ ส่วน
โหระพา (ผล) ๒ ส่วน

157
สรรพคุณ แก้ลม ๗ จ�ำพวก ลมอัมพาต ลมราทยักษ์ ทักขิณคุณ ปะวาตะคุณ ลมสันดาน
แก้จุกเสียด
รูปแบบยา ยาเม็ดพิมพ์ ขนาด ๕๐๐ มิลลิกรัม (ดูภาคผนวก ๓.๔.๑)
ขนาดและวิธีการใช้ ครั้งละ ๑ เม็ด ละลายน�้ำส้มซ่า น�้ำหมากแก่ น�้ำขิง หรือน�้ำกระเทียม กินวันละ ๓ ครั้ง
ก่อนอาหาร เช้า กลางวันและเย็น
ข้อห้ามใช้ ห้ามใช้ในหญิงตั้งครรภ์และหญิงให้นมบุตร ผู้ที่มีไข้ และเด็กอายุต�่ำกว่า ๑๒ ขวบ

ไทย
ข้อควรระวัง ไม่ควรใช้ติดต่อกันเป็นเวลานาน โดยเฉพาะในผู้ป่วยที่มีความผิดปรกติของตับ ไต
เนื่องจากอาจเกิดการสะสมของการบูรและเกิดพิษได้

้าน
ื้นบ
ข้อมูลเพิ่มเติม - เกลือกะตัง (เกลือกะตังมูตร หรือเกลือเยี่ยว) คือ สมุนไพรชนิดหนึ่ง ได้มาจากน�้ำ

ย์พ
ปัสสาวะของคนที่ถ่ายใส่ภาชนะขังทิ้งไว้นานจนแห้งแล้วจะจับกันเป็นก้อน (๓)

พท
- ต�ำรับนี้มีการบูรเป็นส่วนประกอบร้อยละ ๒.๙๔ ในยาเม็ด ๕๐๐ มิลลิกรัม จะมี
การบูรอยู่ ๑๔.๗๐ มิลลิกรัม ปริมาณการบูรที่ได้รับใน ๑ มื้อ เท่ากับ ๑๔.๗๐ มิลลิกรัม

ะแ
แล
ซึ่งปริมาณที่ท�ำให้เกิดพิษจากการกินการบูร เท่ากับ ๒,๐๐๐ มิลลิกรัม โดยขนาดถึง

ไทย
ตาย (lethal dose) ในผูใ้ หญ่อยูท่ ี่ ๔,๐๐๐ มิลลิกรัม ในเด็กอยูท่ ี่ ๕๐๐-๑,๐๐๐ มิลลิกรัม
และในทารกอยู่ที่ ๗๐ มิลลิกรัม/กิโลกรัม (๔)
ผน
- การเตรียมตัวยาดองดึงก่อนน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก ๒.๑๐)
ย์แ
พท

- การเตรียมตัวยามหาหิงคุ์ก่อนน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก ๒.๑๘)


- การเตรียมตัวยายาด�ำก่อนน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก ๒.๒๓)
รแ
ากา

- การเตรียมตัวยาหัสคุณเทศก่อนน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก ๒.๔๒)


เอกสารอ้างอิง
ัญญ

๑. “ต�ำรายาเกร็ด”. หอสมุดแห่งชาติ. หนังสือสมุดไทยด�ำ. อักษรไทย. ภาษาไทย. เลขที่ ๒๓๗.


ูมิป

หมวดต�ำราเวชศาสตร์.

ริม

๒. ประกาศกําหนดตําราการแพทย์แผนไทยของชาติและตํารับยาแผนไทยของชาติ (ฉบับที่ ๘)
่งเส

พ.ศ. ๒๕๕๙, (๒๕๖๐, ๒๔ พฤษภาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม ๑๓๔ ตอนพิเศษ ๑๓๙ ง, หน้า ๑-๓.
ะส

๓. แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์: ภูมิปัญญาทางการแพทย์และมรดกทางวรรณกรรมของชาติ.

กรุงเทพฯ : สถาบันภาษาไทย กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ, ๒๕๔๒.


องแ

๔. U.S. National Library of Medicine [Internet]. Hazardous Substance


คร

Database-Camphor [updated 2014 Sep 9; cited 2019 May 28].Available from: https://toxnet.
งคุ้ม

nlm.nih.gov/cgi-bin/sis/search2/r?dbs+hsdb:@term+@DOCNO+37.
กอ

158
ยาลมอันให้เย็นไปทั้งตัว
ที่มาของต�ำรับยา ต�ำรายาเกร็ด (๑)
“ยาลมอันให้เย็นไปทัง้ ตัว ให้แน่นในยอดอก ให้เอา เปลือกปีบสวน ๑ เปลือกหอยขมเผา ๒ ส่วน
พริกไทย ๓ ส่วน บดลายน�้ำร้อนกินแก้ก็ได้ ลายน�ำ้ ผึ้งก็ได้ ได้ท�ำใช้แล้วดีจริงๆ ๚”

ไทย
สูตรต�ำรับยา ประกอบด้วยตัวยา ๓ ชนิด รวมน�้ำหนัก ๖ ส่วน ดังนี้

้าน
ตัวยา น�ำ้ หนักยา

ื้นบ
ย์พ
พริกไทย ๓ ส่วน

พท
หอยขม ๒ ส่วน

ะแ
ปีบ ๑ ส่วน

แล
ไทย
สรรพคุณ แก้ลมอันให้เย็นไปทั้งตัว ให้แน่นในยอดอก
ผน
รูปแบบยา ยาผง (ดูภาคผนวก ๓.๒)
ย์แ
ขนาดและวิธีการใช้ ครั้งละ ๑ ช้อนชา ละลายน�้ำอุ่นหรือน�้ำผึ้ง กินวันละ ๓ ครั้ง ก่อนอาหาร เช้า กลางวัน
พท

และเย็น
รแ

ข้อห้ามใช้ ห้ามใช้ในหญิงตั้งครรภ์และหญิงให้นมบุตร ผู้ที่มีไข้ และเด็กอายุต�่ำกว่า ๑๒ ขวบ


ากา

ข้อควรระวัง - ระวั ง การใช้ ร ่ ว มกั บ ยา Phenytoin, Propranolol, Theophylline และ


ัญญ

Rifampicin เนื่องจากต�ำรับนี้ มีพริกไทยในปริมาณสูง


ูมิป

- ระวังในผู้ป่วยโรคกระเพาะอาหารอักเสบ และความดันโลหิตสูง

- ควรระมัดระวังการใช้ในผู้สูงอายุ
ริม

ข้อมูลเพิ่มเติม - การเตรียมตัวยาหอยขมก่อนน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก ๒.๓๙)


่งเส

เอกสารอ้างอิง
ะส

๑. “ต�ำรายาเกร็ด”. หอสมุดแห่งชาติ. หนังสือสมุดไทยด�ำ. อักษรไทย. ภาษาไทย. เลขที่ ๒๒๒.



องแ

หมวดต�ำราเวชศาสตร์.
คร

๒. ประกาศกําหนดตําราการแพทย์แผนไทยของชาติและตํารับยาแผนไทยของชาติ (ฉบับที่ ๘)
งคุ้ม

พ.ศ. ๒๕๕๙, (๒๕๖๐, ๒๔ พฤษภาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม ๑๓๔ ตอนพิเศษ ๑๓๙ ง, หน้า ๑-๓.
กอ

159
ยาลุลม
ที่มาของต�ำรับยา ต�ำรายาเกร็ด
“๏ ยาลุลม ให้เอา ขิงองคุลี ๑ ดีปลี ๗ บดละเอียดลายน�้ำส้มซ่ากินเท่าลูกพุทราผายลมดีนัก
อย่าสนเท่เลย๚ ”สูตรต�ำรับยา ประกอบด้วยตัวยา ๒ ชนิด ดังนี้

ไทย
สูตรต�ำรับยา ประกอบด้วยตัวยา ๒ ชนิด ดังนี้

้าน
ตัวยา น�้ำหนักยา

ื้นบ
ย์พ
ขิง ๑ องคุลี

พท
ดีปลี ๗ ผล

ะแ
แล
สรรพคุณ ขับผายลม แก้อาการท้องอืดท้องเฟ้อ

ไทย
รูปแบบยา ยาสด (ดูภาคผนวก ๓.๑๐)
ผน
ขนาดและวิธีการใช้ ละลายน�้ำส้มซ่า กินให้หมดในครั้งเดียว เมื่อมีอาการ
ย์แ
ข้อห้ามใช้ ห้ามใช้ในหญิงตั้งครรภ์และหญิงให้นมบุตร ผู้ที่มีไข้ และเด็กอายุต�่ำกว่า ๑๒ ขวบ
พท

ข้อควรระวัง ระวังในผู้ป่วยโรคกระเพาะอาหารอักเสบ และความดันโลหิตสูง


รแ

ข้อมูลเพิ่มเติม ตัวยาในต�ำรับนี้ต้องใช้ตัวยาสด
ากา

เอกสารอ้างอิง
ัญญ

๑. “ต�ำรายาเกร็ด”. หอสมุดแห่งชาติ. หนังสือสมุดไทยด�ำ. อักษรไทย. ภาษาไทย. เลขที่ ๒๒๕.


ูมิป

หมวดต�ำราเวชศาสตร์.

๒. ประกาศกําหนดตําราการแพทย์แผนไทยของชาติและตํารับยาแผนไทยของชาติ (ฉบับที่ ๘)
ริม

พ.ศ. ๒๕๕๙, (๒๕๖๐, ๒๔ พฤษภาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม ๑๓๔ ตอนพิเศษ ๑๓๙ ง, หน้า ๑-๓.
่งเส
ล ะส
องแ
คร
งคุ้ม
กอ

160
ยาวาตาธิจร
ที่มาของต�ำรับยา ต�ำรายาเกร็ด (๑)
“๏ ยาชื่อวาตาธิจร แก้สาธารณะลมต่างๆ พริกไทย ๒ บาท ขิง ๒ บาท ดีปลี ๒ บาท
สะค้าน ๒ บาท กระเทียมสด ๒ บาท ว่านน�้ำ ๒ บาท เปราะหอม ๒ บาท ใบหนาด ๒ บาท ผิวมะกรูด
๒ บาท การบูร ๒ บาท ผิวมะตูมอ่อนเท่ายาทั้งหลาย ๕ ต�ำลึง ท�ำเป็นจุณน�้ำกระสายอันควรแก่โรค ๚”

ไทย
สูตรต�ำรับยา ประกอบด้วยตัวยา ๑๑ ชนิด รวมน�้ำหนัก ๖๐๐ กรัม ดังนี้

้าน
ื้นบ
ตัวยา น�ำ้ หนักยา

ย์พ
พท
มะตูม (ผิวเปลือกผล) ๓๐๐ กรัม

ะแ
กระเทียม ๓๐ กรัม

แล
การบูร ๓๐ กรัม

ไทย
ขิง ๓๐ กรัม
ดีปลี ผน ๓๐ กรัม
๓๐ กรัม
ย์แ
เปราะหอม
พท

พริกไทย ๓๐ กรัม
รแ

มะกรูด ๓๐ กรัม
ากา

ว่านน�้ำ ๓๐ กรัม
สะค้าน ๓๐ กรัม
ัญญ

หนาด ๓๐ กรัม
ภ ูมิป
ริม

สรรพคุณ แก้ลม
่งเส

รูปแบบยา ยาผง (ดูภาคผนวก ๓.๒)


ะส

ขนาดและวิธีการใช้ ครั้งละ ๑ กรัม ละลายน�้ำต้มสุก กินวันละ ๓ ครั้ง ก่อนอาหาร เช้า กลางวันและเย็น


ข้อห้ามใช้ ห้ามใช้ในหญิงตั้งครรภ์และหญิงให้นมบุตร ผู้ที่มีไข้ และเด็กอายุต�่ำกว่า ๑๒ ขวบ


องแ

ข้อควรระวัง ไม่ควรใช้ติดต่อกันเป็นเวลานาน โดยเฉพาะในผู้ป่วยที่มีความผิดปรกติของตับ ไต


คร

เนื่องจากอาจเกิดการสะสมของการบูรและเกิดพิษได้
งคุ้ม

ข้อมูลเพิ่มเติม - สมุนไพรในต�ำรับนี้ มะตูม ใช้ผิวเปลือกผลสด และกระเทียม ใช้หัวสด


กอ

- ต�ำรับนี้มีการบูรเป็นส่วนประกอบร้อยละ ๕ ในผงยา ๑,๐๐๐ มิลลิกรัม จะมีการบูร


อยู่ ๕๐ มิลลิกรัม ปริมาณการบูรที่ได้รับใน ๑ มื้อ เท่ากับ ๕๐ มิลลิกรัม ซึ่งปริมาณ
ท�ำให้เกิดพิษจากการกินการบูร เท่ากับ ๒,๐๐๐ มิลลิกรัม โดยขนาดถึงตาย (lethal
dose) ในผู้ใหญ่อยู่ที่ ๔,๐๐๐ มิลลิกรัม ในเด็กอยู่ที่ ๕๐๐-๑,๐๐๐ มิลลิกรัม และ
ในทารกอยู่ที่ ๗๐ มิลลิกรัม/กิโลกรัม (๓)

161
เอกสารอ้างอิง
๑. “ต�ำรายาเกร็ด”. หอสมุดแห่งชาติ. หนังสือสมุดไทยด�ำ. อักษรไทย. ภาษาไทย. เลขที่ ๒๓๓.
หมวดต�ำราเวชศาสตร์.
๒. ประกาศกําหนดตําราการแพทย์แผนไทยของชาติและตํารับยาแผนไทยของชาติ (ฉบับที่ ๘)
พ.ศ. ๒๕๕๙, (๒๕๖๐, ๒๔ พฤษภาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม ๑๓๔ ตอนพิเศษ ๑๓๙ ง, หน้า ๑-๓.
๓. U.S. National Library of Medicine [Internet]. Hazardous Substance

ไทย
Database-Camphor [updated 2014 Sep 9; cited 2019 May 28].Available from: https://toxnet.
nlm.nih.gov/cgi-bin/sis/search2/r?dbs+hsdb:@term+@DOCNO+37.

้าน
ื้นบ
ย์พ
พท
ะแ
แล
ไทย
ผน
ย์แ
รแ พท
ากา
ัญญ
ภ ูมิป
ริม
่งเส
ล ะส
องแ
คร
งคุ้ม
กอ

162
ยาวิรุณนาภี
ที่มาของต�ำรับยา ต�ำรายาเกร็ด (๑)
“พระต�ำราหลวง ยาวิรุณนาภี เอาเปลือกต้นกุ่มน�ำ้ ๑ กุ่มบก ๑ เปลือกต้นมะรุม ๑ เปลือกต้น
ทองหลางใบมน ๑ ว่านน�้ำ ๑ กะทือ (๑) ไพล ๑ ข่า ๑ กระชาย ๑ ขมิ้นอ้อย ๑ หัวเต่าเกียด ๑ แก่นขี้เหล็ก ๑
พริกไทย ๑ ขิง ๑ ดีปลี ๑ กระเทียม ๑ พริกเทศ ๑ ผิวมะกรูด ๑ กระวาน ๑ มหาหิงคุ์ ๑ ยาด�ำ ๑ ยาทั้งนี้

ไทย
สิ่งละ ๓ ต�ำลึง หอยแครงเผา ๑ ต�ำลึง ๒ บาท ปูนขาว ๒ สลึง ท�ำผงไว้บดด้วยน�ำ้ ผึ้งกิน แก้ปัตคาดเถาดาน

้าน
แก้ลมกล่อน แก้เลือดตีขึ้น แก้เลือดเน่าเลือดร้าย บดด้วยสุรากินวิเศษนัก ๚”

ื้นบ
สูตรต�ำรับยา ประกอบด้วยตัวยา ๒๒ ชนิด รวมน�้ำหนัก ๓,๘๗๗.๕ กรัม ดังนี้

ย์พ
พท
ตัวยา น�ำ้ หนักยา

ะแ
กระชาย ๑๘๐ กรัม

แล
กระเทียม ๑๘๐ กรัม

ไทย
กะทือ ผน ๑๘๐ กรัม
กระวาน ๑๘๐ กรัม
ย์แ
กุ่มน�้ำ ๑๘๐ กรัม
พท

กุ่มบก ๑๘๐ กรัม


ขมิ้นอ้อย ๑๘๐ กรัม
รแ

ข่า ๑๘๐ กรัม


ากา

ขิง ๑๘๐ กรัม


ัญญ

ขี้เหล็ก ๑๘๐ กรัม


ูมิป

ดีปลี ๑๘๐ กรัม


เต่าเกียด ๑๘๐ กรัม

ริม

ทองหลางใบมน ๑๘๐ กรัม


่งเส

พริกเทศ ๑๘๐ กรัม


พริกไทย ๑๘๐ กรัม
ะส

ไพล ๑๘๐ กรัม



องแ

มหาหิงคุ์ ๑๘๐ กรัม


มะกรูด ๑๘๐ กรัม
คร

มะรุม ๑๘๐ กรัม


งคุ้ม

ยาด�ำ ๑๘๐ กรัม


กอ

ว่านน�้ำ ๑๘๐ กรัม


หอยแครง ๙๐ กรัม
ปูนขาว ๗.๕ กรัม

163
สรรพคุณ แก้ปัตคาดเถาดาน แก้ลมกล่อน แก้เลือดตีขึ้น แก้เลือดเน่าเลือดร้าย
รูปแบบยา ยาลูกกลอน ขนาด ๕๐๐ มิลลิกรัม (ดูภาคผนวก ๓.๕)
ขนาดและวิธีการใช้ กินครั้งละ ๒ เม็ด ละลายน�้ำสุรา วันละ ๓ ครั้ง ก่อนอาหาร เช้า กลางวัน เย็น
ข้อห้ามใช้ ห้ามใช้ในหญิงตั้งครรภ์และหญิงให้นมบุตร
ข้อควรระวัง ระวังในผู้ป่วยโรคกระเพาะอาหารอักเสบ และความดันโลหิตสูง
ข้อมูลเพิ่มเติม - โบราณใช้เปลือกหอยแครงเผา น�ำมาท�ำเป็นปูนขาว

ไทย
- การเตรียมตัวยามหาหิงคุ์ก่อนน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก ๒.๑๘)
- การเตรียมตัวยายาด�ำก่อนน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก ๒.๒๓)

้าน
ื้นบ
- การเตรียมตัวยาหอยแครงก่อนน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก ๒.๔๐)

ย์พ
เอกสารอ้างอิง

พท
๑. “ต�ำรายาเกร็ด”. หอสมุดแห่งชาติ. หนังสือสมุดไทยด�ำ. อักษรไทย. ภาษาไทย. เลขที่ ๒๓๑.
หมวดต�ำราเวชศาสตร์.

ะแ
แล
๒. ประกาศกําหนดตําราการแพทย์แผนไทยของชาติและตํารับยาแผนไทยของชาติ (ฉบับที่ ๘)

ไทย
พ.ศ. ๒๕๕๙, (๒๕๖๐, ๒๔ พฤษภาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม ๑๓๔ ตอนพิเศษ ๑๓๙ ง, หน้า ๑-๓.
ผน
ย์แ
รแ พท
ากา
ัญญ
ภ ูมิป
ริม
่งเส
ล ะส
องแ
คร
งคุ้ม
กอ

164
ยาสหัศธารา
ที่มาของต�ำรับยา สู ต รต� ำ รั บ ที่ ใ กล้ เ คี ย งต� ำ รั บ นี้ พบใน คั ม ภี ร ์ แ พทย์ ไ ทยแผนโบราณ เล่ ม ๒
ขุนโสภิตบรรณลักษณ์ (๑)
“ยาชื่อสหัศธารา แก้ลม ๘๐ จ�ำพวก แก้เสมหะ ๒๐ จ�ำพวก แก้ลมเข้าในเส้น ชื่อวาตะพรรค ๓๐
จ�ำพวก แก้ลมแล่นในเนื้อ ๘ จ�ำพวก แก้ลมแล่นตามสันหลัง ชื่อปราณยักษ์ ๒๐ จ�ำพวก แก้โลหิตก�ำเดา ท�ำให้

ไทย
เป็นฝีในอก ๕ จ�ำพวก ชื่ออุระวาต ให้สลักอกจุกเสียด เอามหาหิงคุ์ ๕ สลึง โกฐก้านพร้าว ๒ สลึง โกฐพุงปลา
สลึงเฟื้อง โกฐเขมา ๒ สลึงเฟื้อง โกฐกักกรา ๓ สลึง เทียนด�ำ ๓ สลึงเฟื้อง เทียนขาว ๑ บาท เทียนสัตยบุษย์

้าน
๑ บาทเฟื้อง เทียนตาตั๊กแตก ๕ สลึง เทียนแดง ๕ สลึงเฟื้อง ลูกจันทน์ ๖ สลึง ดอกจันทน์ ๖ สลึงเฟื้อง

ื้นบ
การะบูน ๗ สลึง หัศคุนเทศ ๖ บาท รากทนดี ๑๐ บาท รากจิงจ้อ ๑ บาท หว้านน�้ำ ๑๑ บาท ดีปลี ๑๒ บาท

ย์พ
ลูกสมอไทย ๑๓ บาท รากเจ็ตมูลเพลิง ๒๘ บาท พริกไทย ๓๐ บาท บดเป็นผง แก้จุกเสียด ละลายน�ำ้ ลูกสมอไทย

พท
ต้ ม กิ น แก้ ตั ว เย็ น ละลายข่ า ต้ ม กิ น แก้ น�้ ำ ลายเหนี ย ว ละลายน�้ ำ มะงั่ ว กิ น แก้ น อนไม่ ห ลั บ ละลาย

ะแ
น�้ำอ้อยแดงกิน แก้สบัดร้อนสบัดหนาว ละลายน�้ำเปลือกมะรุมต้มกิน แก้รากเป็นเลือดหรือแก้บิด ละลาย

แล
ไทย
น�้ำตาลหม้อกิน แก้ท้องรุ้งพุงมาร ละลายน�้ำรากจิงจ้อต้มกิน แก้บวม ๕ ประการ ละลายน�ำ้ ร้อนกิน แก้ลมจุก
ขึ้นไปถึงต้นลิ้น ละลายน�ำ้ ผึ้งหรือน�้ำส้มส้ากินแก้ลมตายไปภาคหนึ่ง ละลายน�ำ้ นมโคกิน แก้ลมเป็นอ่างลิ้นขัด
ผน
พูดไม่ชัด ละลายน�้ำมันเนยกิน แก้ไข้ป่าเว้น ๒ วันจับ ๓ วันจับ ละลายน�้ำมะนาวกิน เมื่อหญิงคลอดลูกจะให้
ย์แ
ขับเลือด ละลายน�ำ้ มะงั่วกิน สะเดาะลูกตายในท้อง ละลายน�ำ้ มันงากิน แก้ฝีภายใน ละลายน�ำ้ ผักเป็ดต้มกิน”
รแ พท

สูตรต�ำรับยา ประกอบด้วยตัวยา ๒๑ ชนิด รวมน�้ำหนัก ๑,๐๐๐ กรัม (๒) ดังนี้


ากา

ตัวยา น�้ำหนักยา
ัญญ
ูมิป

พริกไทยล่อน ๒๔๐ กรัม


เจตมูลเพลิงแดง ๒๒๔ กรัม


ริม

สมอไทย ๑๐๔ กรัม


่งเส

ดีปลี ๙๖ กรัม
ะส

ว่านน�้ำ ๘๘ กรัม

องแ

ทนดี ๘๐ กรัม
คร

หัสคุณเทศ ๔๘ กรัม
งคุ้ม

การบูร ๑๔ กรัม
ดอกจันทน์ ๑๓ กรัม
กอ

ลูกจันทน์ ๑๒ กรัม
เทียนแดง ๑๑ กรัม
เทียนตาตั๊กแตน ๑๐ กรัม

165
ตัวยา น�้ำหนักยา

มหาหิงคุ์ ๑๐ กรัม
เทียนสัตตบุษย์ ๙ กรัม
จิงจ้อ ๘ กรัม
เทียนขาว ๘ กรัม

ไทย
เทียนด�ำ ๗ กรัม
โกฐกักกรา ๖ กรัม

้าน
โกฐเขมา ๕ กรัม

ื้นบ
โกฐก้านพร้าว ๔ กรัม

ย์พ
โกฐพุงปลา ๓ กรัม

พท
ะแ
แล
สรรพคุณ ขับลมในเส้น แก้โรคลมกองหยาบ (๒)

ไทย
รูปแบบยา ยาแคปซูล (ดูภาคผนวก ๓.๓), ยาผง (ดูภาคผนวก ๓.๒), ยาเม็ด (ดูภาคผนวก ๓.๔.๒)
ยาลูกกลอน (ดูภาคผนวก ๓.๔.๑) (๒) ผน
ย์แ
ขนาดและวิธีการใช้ ครั้งละ ๑–๑.๕ กรัม กินวันละ ๓ ครั้ง หลังอาหาร (๒)
พท

ข้อห้ามใช้ ห้ามใช้กับหญิงตั้งครรภ์ และผู้ที่มีไข้ (๒)


รแ

ข้อควรระวัง - ควรระวังการบริโภคในผู้ป่วยโรคความดันเลือดสูง โรคหัวใจ โรคแผลเปื่อยเพปติก


ากา

และโรคกรดไหลย้อน เนื่องจากเป็นต�ำรับยารสร้อน
- ควรระวังการใช้ยาอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในผู้ป่วยที่มีความผิดปรกติ
ัญญ

ของตับ ไต เนื่องจากอาจเกิดการสะสมของการบูรและเกิดพิษได้
ูมิป

- ควรระวังการใช้ยานี้ ร่วมกับยา phenytoin, propranolol, theophylline และ



ริม

rifampicin เนื่องจากต�ำรับนี้มีพริกไทยในปริมาณสูง มีรายงานว่าสารพิเพอรีน


่งเส

(piperine) ในพริกไทยเพิ่มการดูดซึมของยาเหล่านี้ (๒)


ะส

อาการไม่พึงประสงค์ ร้อนท้อง แสบท้อง คลื่นไส้ คอแห้ง ผื่นคัน (๒)


ข้อมูลเพิ่มเติม - จากการวิจัยทางคลินิกแบบ randomized double-blind controlled trial


องแ

เพือ่ ประเมินประสิทธิผลของยาแคปซูลสหัสธารากับยาเม็ดไดโคลฟีแนคในการรักษา
คร

อาการปวดกล้ามเนือ้ พบว่าการกินยาแคปซูลสหัสธาราขนาดวันละ ๑,๒๐๐ มิลลิกรัม


งคุ้ม

นาน ๗ วัน สามารถลดอาการปวดกล้ามเนื้อบ่าหรือต้นคอได้ไม่แตกต่างจากการใช้


กอ

ยาเม็ดไดโคลฟีแนคขนาดวันละ ๗๕ มิลลิกรัม (๓)


- จากการวิจัยทางคลินิกแบบ randomized double-blind controlled trial เพื่อ
ประเมินประสิทธิผลและความปลอดภัยของยาสหัสธารา (๓,๐๐๐ มิลลิกรัมต่อวัน)
เปรียบเทียบกับกับยาไดโคลฟีแนค (๗๕ มิลลิกรัมต่อวัน) ในผู้ป่วยข้อเข่าอักเสบ
(Knee osteoarthritis) พบว่าประสิทธิผลของการรักษาด้วยยาสหัสธารา และ

166
ยาไดโคลฟีแนคไม่แตกต่างกันอย่างมีนยั ส�ำคัญ ทัง้ ในวันที่ ๑๔ และ ๒๘ ของการรักษา
รวมทั้งการเกิดอาการข้างเคียงที่ไม่แตกต่างกันด้วย (๔)
- จากการวิจัยทางคลินิกแบบ randomized single-blind controlled trial
เพือ่ ประเมินประสิทธิผลและความปลอดภัยของยาสหัสธารา [๔,๐๕๐ มิลลิกรัมต่อวัน
(๑,๓๕๐ มิลลิกรัม วันละ ๓ ครั้ง)] เปรียบเทียบกับยาไอบูโพรเฟน [๑,๒๐๐ มิลลิกรัม
ต่อวัน (๔๐๐ มิลลิกรัม วันละ ๓ ครั้ง)] ในผู้ป่วยปวดหลังเฉียบพลัน (acute low
back pain) พบว่าประสิทธิผลของการรักษาด้วยยาสหัสธาราและยาไอบูโพรเฟน

ไทย
ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยส�ำคัญ ทั้งวันที่ ๗ ของการรักษา รวมทั้งการเกิดอาการข้าง

้าน
เคียงที่ไม่แตกต่างกันด้วย (๕)

ื้นบ
- ต�ำรับนีม้ กี ารบูรเป็นส่วนประกอบร้อยละ ๑.๔ ในผงยา ๑,๐๐๐ มิลลิกรัม จะมีการบูร

ย์พ
อยู่ ๑๔ มิลลิกรัม ปริมาณการบูรที่ได้รับใน ๑ มื้อ เท่ากับ ๒๑ มิลลิกรัม ซึ่งปริมาณ

พท
ที่ท�ำให้เกิดพิษจากการกินการบูร เท่ากับ ๒ กรัม โดยขนาดถึงตาย (lethal dose)

ะแ
ในผู้ใหญ่อยู่ที่ ๔,๐๐๐ มิลลิกรัม/มื้อ ในเด็กอยู่ที่ ๕๐๐-๑,๐๐๐ มิลลิกรัม/มื้อ และ

แล
ในทารกอยู่ที่ ๗๐ มิลลิกรัม/กิโลกรัม/มื้อ (๖)

ไทย
- การเตรียมตัวยามหาหิงคุ์ก่อนน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก ๒.๑๘)

ผน
- การเตรียมตัวยาหัสคุณเทศก่อนน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก ๒.๔๒)
ย์แ
เอกสารอ้างอิง
พท

๑. ขุนโสภิตบรรณลักษณ์ (อ�ำพัน กิตติขจร), คัมภีร์แพทย์ไทยแผนโบราณ เล่ม ๒. กรุงเทพฯ


รแ

: โรงพิมพ์อุตสาหกรรมการพิมพ์, ๒๕๐๔. หน้า ๒๗๙.


ากา

๒. ประกาศคณะกรรมการพัฒนาระบบยาแห่งชาติ เรื่อง บัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๑.


(๒๕๖๑, ๑๙ มกราคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม ๑๓๕ ตอนพิเศษ ๑๔ ง. หน้า ๔. (เอกสารแนบท้ายประกาศ
ัญญ

หน้า ๒๕๖).
ูมิป

๓. ปรีชา หนูทิม, วารณี บุญช่วยเหลือ, ณัฏฐิญา ค้าผล. การเปรียบเทียบประสิทธิผลของยา



ริม

แคปซูลสหัสธารากับยาเม็ดไดโคลฟีแนค ในการรักษาอาการปวดกล้ามเนือ้ . วารสารการแพทย์แผนไทยและ


่งเส

การแพทย์ทางเลือก. ๒๕๕๖;๑๑(๑):๕๔-๖๕.
๔. Pinsornsak P, Kanokkangsadal P, Itharat A. The clinical efficacy and safety of
ล ะส

the sahastara remedy versus diclofenac in the treatment of osteoarthritis of the knee: a
องแ

double-blind, randomized, and controlled trial. Evid Based Complement Alternat Med.
คร

2015;2015:103046. doi: 10.1155/2015/103046.


งคุ้ม

๕. Verayachankul T, Chatsiricharoenkul S, Harnphadungkit K, Jutasompakorn P,


Tantiwongse J, Piwtong M, et al. Single-blind randomized controlled trial of poly-herbal
กอ

formula Sahatsatara for acute low back pain: a pilot study. Siriraj Med J. 2016;68:30-6.
๖. U.S. National Library of Medicine [Internet]. Hazardous Substance
Database-Camphor [updated 2014 Sep 9; cited 2019 May 28]. Available from: https://toxnet.
nlm.nih.gov/cgi-bin/sis/search2/r?dbs+hsdb:@term+@DOCNO+37.

167
ยาส�ำหรับเด็ก
ที่มาของต�ำรับยา ต�ำรายาเกร็ด (๑)
“ยาเด็ก ท่านให้เอาใบสันพร้ามอญ ๑ ต�ำลึง ข่าตาแดง ๓ สลึง ขมิ้นอ้อย ๑ บาท การบูร ๑ สลึง
พิมเสน ๑ เฟื้อง เมื่อจะบด บดด้วยน�้ำซาวข้าวปั้นแท่งไว้ ถ้าเด็กลงท้องฝนด้วยลูกเบญกานี ถ้าท้องขึ้นฝนกับ
สุราทาท้อง๚”

ไทย
สูตรต�ำรับยา ประกอบด้วยตัวยา ๕ ชนิด รวมน�้ำหนัก ๙๑.๘๗๕ กรัม ดังนี้

้าน
ตัวยา น�้ำหนักยา

ื้นบ
ย์พ
สันพร้ามอญ ๖๐ กรัม

พท
ขมิ้นอ้อย ๑๕ กรัม

ะแ
ข่าตาแดง ๑๑.๒๕ กรัม

แล
การบูร ๓.๗๕ กรัม

ไทย
พิมเสน ๑.๘๗๕ กรัม
ผน
สรรพคุณ แก้ท้องอืดท้องเฟ้อ ท้องเสียในเด็ก
ย์แ
รูปแบบยา ยาเม็ดพิมพ์ ขนาด ๑๐๐ มิลลิกรัม (ดูภาคผนวก ๓.๔.๑)
พท

วิธีปรุงยา บดเป็นผงละเอียด ผสมกับน�้ำซาวข้าว บดยาจนเหนียว แล้วท�ำเป็นแท่ง และท�ำให้แห้ง


รแ

ขนาดและวิธีการใช้ บรรเทาอาการท้องอืดท้องเฟ้อ
ากา

ฝนยาละลายสุรา ทาบางๆ รอบสะดือเด็ก เมื่อมีอาการ


ัญญ

บรรเทาอาการท้องเสีย
อายุ ๑ ปี-๕ ปี ครั้งละ ๒-๓ เม็ด
ูมิป

๕ ปี ขึ้นไป ครั้งละ ๓ เม็ด



ริม

ฝนลูกเบญกานีละลายยา กินวันละ ๓ ครั้ง ก่อนอาหาร เช้า กลางวันและเย็น


่งเส

ข้อห้ามใช้ ห้ามทาบริเวณผิวหนังที่มีบาดแผลหรือแผลเปิด
ข้อควรระวัง
ะส

ระวังในเด็กที่มีไข้สูง และถ่ายเหลวรุนแรง ไม่ควรกินติดต่อกันเกิน ๓ วัน


ข้อมูลเพิ่มเติม

ต�ำรับนี้มีการบูรเป็นส่วนประกอบ ร้อยละ ๔.๐๘ ในยาเม็ด ๑๐๐ มิลลิกรัม จะมีการบูร


องแ

อยู่ ๔.๐๘ มิลลิกรัม ปริมาณการบูรที่ได้รับสูงสุดใน ๑ มื้อ เท่ากับ ๑๒.๒๔ มิลลิกรัม


คร

ซึ่งปริมาณที่ท�ำให้เกิดพิษจากการกินการบูร เท่ากับ ๒ กรัม โดยขนาดถึงตาย


งคุ้ม

(lethal dose) ในผู้ใหญ่อยู่ที่ ๔,๐๐๐ มิลลิกรัม ในเด็กอยู่ที่ ๕๐๐–๑,๐๐๐ มิลลิกรัม


และในทารกอยู่ที่ ๗๐ มิลลิกรัม/กิโลกรัม (๒)
กอ

เอกสารอ้างอิง
๑. “ต�ำรายาเกร็ด”. หอสมุดแห่งชาติ. หนังสือสมุดไทยด�ำ. อักษรไทย. ภาษาไทย. เลขที่ ๒๓๙.
หมวดต�ำราเวชศาสตร์.
๒. U.S. National Library of Medicine [Internet]. Hazardous Substance Database-
Camphor [updated 2014 Sep 9; cited 2019 May 28].Available from: https://toxnet.nlm.nih.gov/
cgi-bin/sis/search2/r?dbs+hsdb:@term+@DOCNO+37.
168
ยาสุมกระหม่อมเด็ก สูตร ๑
ที่มาของต�ำรับยา ต�ำรายาเกร็ด (๑)
“ยาสุมกระหม่อมถอนพิษซาง เอาใบสมี ๑ ใบพุทรา ๑ ดินหมาร่า ๑ ขมิ้นอ้อย ๑ ดินประสิวขาว ๑
บดให้ละเอียดพอกกระหม่อมดูดพิษซางหายแล๚”

ไทย
สูตรต�ำรับยา ประกอบด้วยตัวยา ๕ ชนิด รวมน�้ำหนัก ๕ ส่วน ดังนี้

้าน
ตัวยา น�ำ้ หนักยา

ื้นบ
ย์พ
ขมิ้นอ้อย ๑ ส่วน

พท
ดินประสิวขาว ๑ ส่วน

ะแ
ดินหมาร่า ๑ ส่วน

แล
พุทรา ๑ ส่วน

ไทย
สมี ผน ๑ ส่วน
ย์แ
สรรพคุณ ถอนพิษซาง บรรเทาอาการไข้ ตัวร้อน
พท

รูปแบบยา ยาพอก (ดูภาคผนวก ๓.๗)


รแ

ขนาดและวิธีการใช้ ละลายน�้ำต้มสุกที่เย็นแล้ว พอกบริเวณกระหม่อม จนกว่าไข้จะลดลง (ขนาดยาที่ใช้


ากา

ขึ้นอยู่กับขนาดกระหม่อมเด็ก)
ัญญ

ข้อห้ามใช้ - เป็นยาใช้ภายนอก ห้ามกิน


ูมิป

- ห้ามใช้ในเด็กที่มีพัฒนาการของกะโหลกศีรษะผิดปรกติ หรือมีบาดแผลที่บริเวณ

ศีรษะ เช่น เป็นชันนะตุ หัวดักแด้


ริม

ข้อควรระวัง ระวังอย่าให้ยาเข้าตา
่งเส

ข้อมูลเพิ่มเติม การเตรียมตัวยาดินประสิวก่อนน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก ๒.๑๑)


ะส

เอกสารอ้างอิง

องแ

๑. “ต�ำรายาเกร็ด”. หอสมุดแห่งชาติ. หนังสือสมุดไทยด�ำ. อักษรไทย. ภาษาไทย. เลขที่ ๒๗๓.


คร

หมวดต�ำราเวชศาสตร์.
งคุ้ม

๒. ประกาศกําหนดตําราการแพทย์แผนไทยของชาติและตํารับยาแผนไทยของชาติ (ฉบับที่ ๑๐)


กอ

พ.ศ. ๒๕๖๐, (๒๕๖๐, ๒๕ พฤษภาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม ๑๓๔ ตอนพิเศษ ๑๔๑ ง, หน้า ๑-๔.

169
ยาสุมกระหม่อมเด็ก สูตร ๒
ที่มาของต�ำรับยา ต�ำรายาเกร็ด (๑)
“ยาสุมกระหม่อมถอนพิษซาง ถ้ามิฟังเอา เปลือกทองหลางน�ำ้ ๑ รากพุทรา ๑ เปลือกสนุ่นน�ำ้ ๑
ต�ำลึงตัวผู้ ๑ ฟักข้าว ๑ ลูกประค�ำดีควาย ๓ ลูก ต้มแล้วจึงเอาประค�ำดีควายลูก ๑ ขย�ำลงที่นํ้าต้มให้เป็นฟอง
แล้วจึงช้อนฟองใส่กระหม่อมเด็ก ๓ วัน วันละลูกหายแล๚”

ไทย
สูตรต�ำรับยา ประกอบด้วยตัวยา ๖ ชนิด รวมน�้ำหนัก ๖ ส่วน ดังนี้

้าน
ื้นบ
ตัวยา น�้ำหนักยา

ย์พ
ต�ำลึงตัวผู้ ๑ ส่วน

พท
ทองหลางน�้ำ ๑ ส่วน

ะแ
มะค�ำดีควาย ๑ ส่วน

แล
พุทรา ๑ ส่วน

ไทย
ฟักข้าว ผน ๑ ส่วน
สนุ่นน�้ำ ๑ ส่วน
ย์แ
พท

สรรพคุณ ถอนพิษซาง บรรเทาอาการไข้ ตัวร้อน


รแ

รูปแบบยา ยาพอก (ดูภาคผนวก ๓.๗)


ากา

วิธีปรุงยา ตัวยาต�ำลึงตัวผู้ มะค�ำดีควาย พุทรา ฟักข้าว สนุ่นน�้ำ น�ำมาต้มให้เดือดในน�้ำ ๒๕๐


ัญญ

มิลลิลิตร นาน ๑๕ นาที แล้วพักให้เย็นลง แล้วจึงน�ำลูกมะค�ำดีควายขย�ำลงไปเคล้า


ูมิป

ให้เข้ากัน แล้วช้อนฟองใส่แผ่นส�ำลีให้ชุ่ม

ขนาดและวิธีการใช้ พอกกระหม่อม นาน ๓๐ นาทีหรือจนกว่าไข้ลดลง (ขนาดยาที่ใช้ขึ้นอยู่กับขนาด


ริม

กระหม่อมเด็ก)
่งเส

ข้อห้ามใช้ - ยาใช้ภายนอก ห้ามกิน


ะส

- ห้ามใช้ในเด็กที่มีพัฒนาการของกะโหลกศีรษะผิดปรกติ หรือมีบาดแผลที่บริเวณ

องแ

ศีรษะ เช่น เป็นชันนะตุ หัวดักแด้


คร

- ห้ามใช้ติดต่อกันเกิน ๓ วัน
งคุ้ม

ข้อควรระวัง ระวังอย่าให้ยาเข้าตา
ข้อมูลเพิ่มเติม - การเตรียมตัวยามะค�ำดีควายก่อนน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก ๒.๒๒)
กอ

เอกสารอ้างอิง
๑. “ต�ำรายาเกร็ด”. หอสมุดแห่งชาติ. หนังสือสมุดไทยด�ำ. อักษรไทย. ภาษาไทย. เลขที่ ๒๗๓.
หมวดต�ำราเวชศาสตร์.
๒. ประกาศกําหนดตําราการแพทย์แผนไทยของชาติและตํารับยาแผนไทยของชาติ (ฉบับที่ ๑๐)
พ.ศ. ๒๕๖๐, (๒๕๖๐, ๒๕ พฤษภาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม ๑๓๔ ตอนพิเศษ ๑๔๑ ง, หน้า ๑-๔.
170
ยาสุมลมเจ็บสูง
ที่มาของต�ำรับยา ต�ำรายาเกร็ด (๑)
“ยาสุมลมเจ็บสูง เอา ขิงสด ๑ กานพลูแก่ ๑ ผักเสี้ยนผี ๑ ก�ำยาน ๑ อบเชย ๑ บดสุมแก้ลมประ
กังกวาด ชื่อพระวิลาศแล ๚

ไทย
สูตรต�ำรับยา ประกอบด้วยตัวยา ๕ ชนิด รวมน�้ำหนัก ๕ ส่วน ดังนี้

้าน
ตัวยา น�ำ้ หนักยา

ื้นบ
ย์พ
กานพลู ๑ ส่วน

พท
ก�ำยาน ๑ ส่วน

ะแ
ขิง ๑ ส่วน

แล
ผักเสี้ยนผี ๑ ส่วน

ไทย
อบเชยเทศ ๑ ส่วน
ผน
ย์แ
สรรพคุณ แก้ลมปะกัง
พท

รูปแบบยา ยาพอก (ดูภาคผนวก ๓.๗)


รแ

ขนาดและวิธีการใช้ พอกบริเวณศีรษะเมื่อมีอาการ
ากา

ข้อห้ามใช้ - เป็นยาใช้ภายนอก ห้ามกิน


ัญญ

- ห้ามใช้บริเวณผิวหนังที่มีบาดแผลหรือแผลเปิด
ข้อควรระวัง
ูมิป

ระวังอย่าให้เข้าตา
ข้อมูลเพิ่มเติม

ตัวยาในต�ำรับนี้ ได้แก่ ขิง และ ผักเสี้ยนผี ควรใช้เป็นสมุนไพรสด ใช้สุมแก้การปวด


ริม

ตามข้อได้เป็นอย่างดี
่งเส

เอกสารอ้างอิง
ะส

๑. “ต�ำรายาเกร็ด”. หอสมุดแห่งชาติ. หนังสือสมุดไทยด�ำ. อักษรไทย. ภาษาไทย. เลขที่ ๒๗๓.



องแ

หมวดต�ำราเวชศาสตร์.
๒. ประกาศกําหนดตําราการแพทย์แผนไทยของชาติและตํารับยาแผนไทยของชาติ (ฉบับที่ ๑๐)
คร
งคุ้ม

พ.ศ. ๒๕๖๐, (๒๕๖๐, ๒๕ พฤษภาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม ๑๓๔ ตอนพิเศษ ๑๔๑ ง, หน้า ๑-๔.
กอ

171
ยาเสมหะพินาศ
ที่มาของต�ำรับยา คัมภีร์แพทย์ไทยแผนโบราณ ขุนโสภิตบรรณลักษณ์ เล่ม ๓ (๑)
“ยาชื่อเสมหะพินาศ เอาใบหนาด ผิวมะกรูดปิ้งไฟ ลูกสมอ เมล็ดผักกาด เมล็ดผักชีลา พริกไทย
เอาเสมอภาค บดปั้นแท่งด้วยน�้ำร้อน ละลายน�้ำร้อนหรือน�ำ้ ส้มส้ากิน แก้เสมหะท�ำให้เท้าเย็นมือเย็น ตัวร้อน
หัวร้อนหายแล”

ไทย
สูตรต�ำรับยา ประกอบด้วยตัวยา ๖ ชนิด รวมน�้ำหนัก ๖ ส่วน ดังนี้

้าน
ื้นบ
ตัวยา น�้ำหนักยา

ย์พ
๑ ส่วน

พท
พริกไทย
๑ ส่วน

ะแ
มะกรูด
๑ ส่วน

แล
เมล็ดพรรณผักกาด
๑ ส่วน

ไทย
ลูกผักชี
ผน ๑ ส่วน
สมอไทย (เนื้อผล)
๑ ส่วน
ย์แ
หนาด
รแ พท

สรรพคุณ ขับเสมหะ
ากา

รูปแบบยา ยาเม็ดพิมพ์ ขนาด ๓๐๐ มิลลิกรัม (ดูภาคผนวก ๓.๔.๑)


ขนาดและวิธีการใช้ ครั้งละ ๑-๒ เม็ด บดละลายน�้ำร้อน หรือน�้ำส้มซ่ากิน กินวันละ ๓ ครั้ง ก่อนอาหาร
ัญญ

เช้า กลางวันและเย็น หรือเมื่อมีอาการ


ูมิป

เอกสารอ้างอิง

ริม

ขุนโสภิตบรรณลักษณ์ (อ�ำพัน กิตติขจร), คัมภีร์แพทย์ไทยแผนโบราณ เล่ม ๓. กรุงเทพฯ :


่งเส

โรงพิมพ์อุตสาหกรรมการพิมพ์, ๒๕๐๔.
ล ะส
องแ
คร
งคุ้ม
กอ

172
ยาหทัยวาตาธิคุณ
ที่มาของต�ำรับยา ศิลาจารึกต�ำรายาวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธิ์) (๑, ๒)
“๏ สิทธิการิยะ จะกล่าวด้วยลักษณะก�ำเนิดลมอันหนึ่ง อันบังเกิดในกองพัทธปิตโรคนั้นอีก ๔
จ�ำพวก ตามนัยอาจารย์ส�ำแดงไว้ในก่อนสืบๆ กันมาดังนี้ ฯ จ�ำพวกหนึ่งชื่อหทัยวาต จ�ำพวกหนึ่งชื่อ
สัตถกะวาต จ�ำพวกหนึ่งชื่ออัศฎากาศ จ�ำพวกหนึ่งชื่อสุมะนา ลักษณะลมทั้ง ๔ จ�ำพวก ซึ่งกล่าวมานี้

ไทย
อาจยังให้กองสมุฏฐานโรคทัง้ ปวงวิบตั แิ ปรปรวนไปต่างๆ มีปติ สมุฏฐานเป็นต้น มีสนั นิบาตสมุฏฐานเป็นทีส่ ดุ
ดังกล่าวมานี้ ฯ ในที่นี้จะว่าแต่ลมอันชื่อว่าหทัยวาตนั้นก่อนเป็นปฐม อันบังเกิดขึ้นแก่บุคคลผู้ใด มักกระท�ำ

้าน
ให้มันตึง มิใคร่จะเจรจา ให้หนักปาก ให้ใจนั้นลอยอยู่เป็นนิจ มักจะอยู่สงัดแต่ผู้เดียว ให้ใจน้อยมักโกรธ

ื้นบ
มิได้รู้สึกอยากอาหารให้อิ่มไป บางทีกระท�ำให้หัวเราะระริกซิกซี้ บางทีกระท�ำให้ร้องไห้ ดุจดั่งคนก�ำพร้าหา

ย์พ
คณาญาติมไิ ด้ ถ้าจะแก้ให้แก้แต่ยงั มึนตึงอยูน่ นั้ ครัน้ แก่เข้ามักกลายเป็นดัง่ โรคร้ายสมมุตวิ า่ ลมบาดทะจิตเป็น

พท
อสาทยะโรค แพทย์จะรักษาเป็นอันยากยิ่งนัก ดุจอาจารย์กล่าวไว้ดังนี้ ฯ

ะแ
ยาชือ่ หทัยวาตาธิคณุ เอาตรีกฏุก โกฐกระดูก โกฐหัวบัว โกฐเชียง ผลจันทน์ ดอกจันทน์ กระวาน

แล
ไทย
บอระเพ็ด สมอไทย ใบสะเดา สิ่งละส่วน ชะมด พิมเสน หญ้าฝรั่น อ�ำพัน การบูร สิ่งละ ๒ ส่วนสมุลแว้ง ๓
ส่วน ดอกกระดังงา ๔ ส่วน ท�ำเป็นจุณเอาน�ำ้ ดอกไม้เทศเป็นกระสาย บดท�ำแท่งไว้ละลายน�้ำดอกมะลิให้กิน
ผน
แก้ลมหทัยวาต อันกระท�ำให้มึนตึงหายดีนัก”
ย์แ
พท

สูตรต�ำรับยา ประกอบด้วยตัวยา ๑๙ ชนิด รวมน�้ำหนัก ๒๙ ส่วน ดังนี้


รแ
ากา

ตัวยา น�ำ้ หนักยา


ัญญ

กระดังงา ๔ ส่วน
ูมิป

สมุลแว้ง ๓ ส่วน

การบูร ๒ ส่วน
ริม

ชะมดเช็ด ๒ ส่วน
่งเส

พิมเสน ๒ ส่วน
ะส

หญ้าฝรั่น ๒ ส่วน

องแ

อ�ำพันทอง ๒ ส่วน
คร

กระวาน ๑ ส่วน
งคุ้ม

โกฐกระดูก ๑ ส่วน
กอ

โกฐเชียง ๑ ส่วน
โกฐหัวบัว ๑ ส่วน
ขิงแห้ง ๑ ส่วน
ดอกจันทน์ ๑ ส่วน
ดีปลี ๑ ส่วน

173
ตัวยา น�้ำหนักยา

บอระเพ็ด ๑ ส่วน
พริกไทย ๑ ส่วน
ลูกจันทน์ ๑ ส่วน
สมอไทย ๑ ส่วน

ไทย
สะเดา ๑ ส่วน

้าน
สรรพคุณ แก้ลมหทัยวาตะ ซึ่งท�ำให้มึนตึง

ื้นบ
รูปแบบยา ยาเม็ดพิมพ์ ขนาด ๓๐๐ มิลลิกรัม (ดูภาคผนวก ๓.๔.๑)

ย์พ
วิธีปรุงยา บดเป็นผงละเอียด ผสมกับน�้ำดอกไม้เทศ แล้วท�ำเป็นเม็ด

พท
ขนาดและวิธีการใช้ ครั้งละ ๓-๕ เม็ด ละลายน�้ำดอกมะลิ กินวันละ ๓-๔ ครั้ง ก่อนอาหารเช้า กลางวัน

ะแ
เย็น และก่อนนอน

แล
ข้อควรระวัง ควรระวังการใช้ยาอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในผู้ป่วยที่มีความผิดปรกติของ

ไทย
ตับ ไต เนื่องจากอาจเกิดการสะสมของการบูรและเกิดพิษได้
ผน
ข้อมูลเพิ่มเติม - ต�ำรับนีม้ กี ารบูรเป็นส่วนประกอบร้อยละ ๖.๙ ในยาเม็ด ๓๐๐ มิลลิกรัม จะมีการบูร
ย์แ
อยู่ ๒๐.๗ มิลลิกรัม ปริมาณการบูรที่ได้รับใน ๑ มื้อ เท่ากับ ๑๐๓.๕ มิลลิกรัม
พท

ซึ่งปริมาณที่ท�ำให้เกิดพิษจากการกินการบูร เท่ากับ ๒ กรัม โดยขนาดถึงตาย


รแ

(lethal dose) ในผู้ใหญ่อยู่ที่ ๔,๐๐๐ มิลลิกรัม/มื้อ ในเด็กอยู่ที่ ๕๐๐-๑,๐๐๐ มิลลิกรัม/มื้อ


ากา

และในทารกอยู่ที่ ๗๐ มิลลิกรัม/กิโลกรัม/มื้อ (๓)


ัญญ

- การเตรียมตัวยาบอระเพ็ดก่อนน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก ๒.๑๓)


ูมิป

เอกสารอ้างอิง

๑. ส�ำนักคุ้มครองภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์
ริม

ทางเลือก.ชุดต�ำราภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย ฉบับอนุรักษ์ ต�ำราการแพทย์แผนไทยในศิลาจารึกวัด


่งเส

พระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธิ์) เล่ม ๓. พิมพ์ครั้งที่ ๑. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์องค์การสงเคราะห์


ะส

ทหารผ่านศึกในพระบรมราชูปภัมภ์, ๒๕๕๗.

องแ

๒. ประกาศกําหนดตําราการแพทย์แผนไทยของชาติและตํารับยาแผนไทยของชาติ พ.ศ. ๒๕๕๘,


คร

(๒๕๕๘, ๓๐ พฤศจิกายน). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม ๑๓๒ ตอนพิเศษ ๓๑๗ ง.


งคุ้ม

๓. U.S. National Library of Medicine [Internet]. Hazardous Substance


กอ

Database-Camphor [updated 2014 Sep 9; cited 2019 May 28]. Available from: https://toxnet.
nlm.nih.gov/cgi-bin/sis/search2/r?dbs+hsdb:@term+@DOCNO+37.

174
ยาหอมเบญโกฏ
ที่มาของต�ำรับยา ต�ำรายาสภาอุณาโลมแดง ร.ศ. ๑๑๒ (๑,๒)
“ยาชื่อหอมเบญโกฏ เอาโกฏ ๕ เทียน ๕ ลูกจัน ดอกจัน จันทั้ง ๒ กระวาน การพลู สน สักขี
ชะลูด อบเชย กรุงเขมา สมูลแว้ง ดอกค�ำ ดอกบุญนาก เปราะหอม ว่านน�้ำ น�้ำประสารทอง บรเพช
เจตพังคี ชเอมทั้ง ๒ พริกไทย ดีปลี สมอทั้ง ๓ ยาทั้งนี้เอาสิ่งละ ๑ บาทน�ำ้ ร้อนเปนกระสาย แก้จุก เซียด

ไทย
น�้ำข่า แก้ชัก แก้สอึก น�้ำสมอต้ม แทรกดีจรเข้”

้าน
สูตรต�ำรับยา ประกอบด้วยตัวยา ๓๖ ชนิด รวมน�้ำหนัก ๕๔๐ ส่วน ดังนี้

ื้นบ
ตัวยา น�ำ้ หนักยา

ย์พ
พท
กระวาน ๑๕ กรัม

ะแ
กรุงเขมา ๑๕ กรัม

แล
กานพลู ๑๕ กรัม

ไทย
โกฐเขมา ๑๕ กรัม
โกฐจุฬาลัมพา ผน ๑๕ กรัม
โกฐเชียง ๑๕ กรัม
ย์แ
โกฐสอ
พท

๑๕ กรัม
โกฐหัวบัว ๑๕ กรัม
รแ

ค�ำไทย ๑๕ กรัม
ากา

จันทน์ขาว ๑๕ กรัม
ัญญ

จันทน์แดง ๑๕ กรัม
ูมิป

เจตพังคี ๑๕ กรัม

ชะลูด ๑๕ กรัม
ริม

ชะเอมเทศ ๑๕ กรัม
่งเส

ชะเอมไทย (ราก) ๑๕ กรัม


ะส

ดอกจันทน์ ๑๕ กรัม

องแ

ดีปลี ๑๕ กรัม
เทียนขาว ๑๕ กรัม
คร

เทียนข้าวเปลือก ๑๕ กรัม
งคุ้ม

เทียนด�ำ ๑๕ กรัม
กอ

เทียนแดง ๑๕ กรัม
เทียนตาตั๊กแตน ๑๕ กรัม
น�้ำประสานทอง ๑๕ กรัม
บอระเพ็ด ๑๕ กรัม
บุนนาค ๑๕ กรัม

175
ตัวยา น�้ำหนักยา

เปราะหอม ๑๕ กรัม
พริกไทย ๑๕ กรัม
ลูกจันทน์ ๑๕ กรัม
ว่านน�้ำ ๑๕ กรัม
สน ๑๕ กรัม

ไทย
สมอเทศ (เนื้อผล) ๑๕ กรัม

้าน
สมอไทย (เนื้อผล) ๑๕ กรัม

ื้นบ
สมอพิเภก (เนื้อผล) ๑๕ กรัม

ย์พ
สมุลแว้ง ๑๕ กรัม

พท
สักขี ๑๕ กรัม

ะแ
อบเชย ๑๕ กรัม

แล
ไทย
สรรพคุณ แก้ลมจุก เสียด แก้สะอึก แก้ชักที่เกิดจากลม
รูปแบบยา ยาเม็ดพิมพ์ ขนาด ๓๐๐ มิลลิกรัม (ดูภาคผนวก ๓.๔.๑)
ผน
ขนาดและวิธีการใช้ ครั้งละ ๓-๕ เม็ด กินวันละ ๒ ครั้ง ก่อนอาหาร เช้า และเย็น กรณีที่มีอาการจุกเสียด
ย์แ
พท

ร่วมด้วย ให้ใช้น�้ำข่าต้มเป็นกระสาย ส่วนกรณีที่มีอาการชักหรือสะอึกร่วมด้วย


ให้ละลายน�้ำสมอไทยต้ม แทรกดีจระเข้
รแ
ากา

ข้อมูลเพิ่มเติม การเตรียมตัวยาบอระเพ็ดก่อนน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก ๒.๑๓)


เอกสารอ้างอิง
ัญญ

๑. สภากาชาดไทย. ต�ำรับยาสภาอุณาโลมแดง ร.ศ. ๑๑๒. พิมพ์ครั้งที่ ๓. กรุงเทพฯ :


ูมิป

บริษัท รุ่งศิลป์การพิมพ์ (๑๙๗๗) จ�ำกัด, ๒๕๕๗.



ริม

๒. ประกาศกําหนดตําราการแพทย์แผนไทยของชาติและตํารับยาแผนไทยของชาติ (ฉบับที่ ๑๑)


่งเส

พ.ศ. ๒๕๖๐, (๒๕๖๐, ๒๕ พฤษภาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม ๑๓๔ ตอนพิเศษ ๑๔๑ ง, หน้า ๒-๕.
ล ะส
องแ
คร
งคุ้ม
กอ

176
ยาอายุวัฒนะ
ที่มาของต�ำรับยา ต�ำรายาพิเศษ กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์ (๑, ๒)
“๏ ยาคนทุกวัน เขาหวงปิดกัน ว่าดีนักหนาก�ำจัดความแก่ แก้โรคชรา ก�ำลังกายา มากมาย
ไพรบูลย์ ต�ำเนินนิทาน ว่าคนพิการ อายุมากมูล มาว่ากับนาย ถึงเรื่องกฎหมาย มิให้หมู่สูญ ผู้ใดมีบุตร
สามคนประมูล บิดาหักสูญ ออกนอกราชการ ตัวข้านีไ้ ซ้ บุตรเล็กบุตรใหญ่ ไม่มชี า้ นาน ล้มตายหายจาก เพราะ

ไทย
กรรมบันดาน อายุสังขาร แปดสิบล่วงไป ฝ่ายนายได้ฟัง อาไศรยก�ำลัง กรุณาเป็นไป ช่วยหักชรา ปลดเปลื้อง

้าน
แก้ไข ปล่อยผู้นั้นไป ได้บวชบรรพชา พระนั้นร�ำพึง ถึงความชรา ว่าตัวอาตมา แก่แล้วจวนตาย ควรจักไปลา

ื้นบ
พระบาทพระฉาย แต่ เ มื่ อ อั น ตราย ยั ง ไม่ ถึ ง ตน จึ่ ง ขึ้ น ไปไหว้ พระบาททศพล กั บ ด้ ว ยฝู ง ชน

ย์พ
ในไสมยเวลา พระนั้นไปอยู่ แทบถ้าคูหา มีความปรารถนา จักสนานกายิน จึ่งไปนั่งอยู่ ที่ตะภักใกล้ดิน

พท
ภิกษุมีศีล รูปหนึ่งเดินมา ร่างกายหนุ่มเด็ก เดินแวะมาหา ครั้นใกล้ปูผ้า จักกราบมัศการฯ

ะแ
๏ พระแก่จงึ ว่า ข้าน้อยพรรษา ท่านอย่ากราบกราน ช้าก่อนเจ้าข้า ดีฉนั บรรพชา เมือ่ แก่ไม่นาน

แล
ท่านแก่กระมัง จงนั่งส�ำราญ อายุวัสสะการ มากน้อยเท่าไร ภิกษุหนุ่มเล่า อายุข้าพเจ้า ได้เกิดแต่ใน แผ่นดิน

ไทย
นารายณ์ บิดาว่าไว้ อายุข้าได้ ครบถ้วนสิบสามปี ใหญ่แล้วบวชมา จนกาลบัดนี้ กี่รอบกี่ปี ข้ามิได้จำ� ฯ
ผน
๏ พระแก่เห็นว่า พระหนุ่มพูดจา ลี้ลับฦกข�ำ หยากจักรู้ความ ตามเรื่องถ้อยค�ำ จึ่งกลับถามซ�้ำ
ย์แ
ให้แจ้งใจความ ข้าแต่คุณตา อายุพรรษา เหลือข้าจะนับตาม ท� ำไมคุณตา ไม่แก่ชรา จงแจ้งเรื่องความ
พท

ได้สิ่งใดหนอ ไว้สู้สงคราม ชรามาตาม ต่อต้านมีไชย ดูเหมือนพระหนุ่ม ร่างกายสุกใส ได้สิ่งอันใด แก้กันชรา


รแ

ขอท่านจงแสดง ด้วยความกรุณา สงเคราะห์แก่ข้า อันได้วิงวอนฯ


ากา

๏ พระหนุม่ เล่าว่า ข้าได้กนิ ยา แต่หนุม่ จักสอน เครือ่ งยาหกสิง่ เจือแซกของร้อน ท�ำผงเป็นก้อน


ัญญ

เท่าเม็ดพุทรา เมื่อกินนั้นไซ้ อายุเพียงใด ร่างกายกายา คงอยู่เพียงนั้น ห้ามกันชรา ก�ำลังเจริญกล้า เดินคล่อง


ูมิป

ว่องไว ทิ้งถ่อนตะโกนา สองสิ่งจงหา เปลือกมาเตรียมไว้ บอระเพ็ด แห้วหมู หาดูให้ได้ เมล็ดข่อยพริกไทย


หกสิ่งเสมอกัน ท�ำเปนผงแล้ว น�้ำผึ้งละลายฉัน วันหนึ่งพึงปั้น เท่าเม็ดพุทรา อย่าให้ใหญ่นัก จักเผากายา


ริม

ให้ผอมผิดตา เพราะยาเผาลนฯ
่งเส

๏ พระแก่กลับมา เที่ยวเสาะแสวงหา เครื่องยาเพื่อตน ท� ำแล้วกินไป ตามวิไสยของตน


ะส

ก�ำลังเจริญล้น หมุนศึกออกมา เที่ยวท�ำการจ้าง เลี้ยงชีพแสวงหา นายพบต่อว่า บอกยาให้นาย ว่าได้ตำ� รา



องแ

ดังว่าบรรยาย ท่านผู้เปนนาย ท�ำกินต่อมา อายุนับได้เจ็ดสิบห้าบ่อคลา ไปขึ้นภูผา เมืองเพชร์บุรี เดินคล่อง


คร

ว่องไว คนหนุ่มตามไปมิได้ทันที มีผู้ให้แคร่ เดินแชหลีกหนี ว่าตัวข้านี้ บังอาจเดินไป ถึงแล้วสบาย ยิ้มแย้ม


งคุ้ม

แจ่มใส ดูเหมือนมิได้ เหน็จเหนื่อยเมื่อยชา ตรงไปท�ำกิจ ตามกาลเวลา รูปกายกายา ยืนตราไม่แปร อย่างไร


อย่างนั้น ไม่หนุ่มไม่แก่ เขาเล่ากันแล บุตรเด็กยังมี จะจริงหรือเท็จ ไม่รู้ถ้วนถี่ แต่ดูท่วงที ผิดแปลกฝูงชน
กอ

ไม่ไคร่ไม่เจ็บ เหมือนสามัญชน จะเปนกุศล หรือฤทธิ์คุณยา จบเสร็จสิ้นเรื่อง เท่านี้กล่าวมา เขียนลงต�ำรา


ปีขาลต้นปี พันสองร้อยเศษ ยี่สิบแปดได้มี ในรัชกาลนี้ สิบหกศกมา ปีที่เจ็ดสิบเจ็ด แห่งผู้ทำ� ยา ผู้ใดปราถนา
จงท�ำกินเทอญฯ

177
๏ พระหนุม่ องค์นนั้ ตามเขาเล่าขาน ว่าเป็นเจ้าของยา ค�ำนวนอายุ ตัง้ แต่เกิดมา หักเป็นพรรษา
ร้อยเจ็ดสิบเจ็ดปี คิดเป็นอายุ แต่ได้เกิดมี ร้อยเก้าสิบเจ็ดปี ในที่ศกแสดงฯ
๏ วันเขียนต�ำรา อายุตขู่ า้ ได้สองหมืน่ วัน กับเศษหกร้อย แปดสิบสามด้วยกัน ครบถ้วนเท่านัน้
ในวันบุรณมี เดือนหกอาทิตย์ วารเพ็ญดิถี ขาลเป็นชื่อปี อัฐศกตกลงฯ
๏ ยังไม่สิ้นเรื่อง ดังจิตรจ�ำนง ผู้ใดยังประสงค์จงอ่านต่อไปฯ
๏ ยาหกสิ่งนี้ แต่อย่างเดียวมี คุณควรพรรณา บ�ำบัดโรคไภย มากมายนักหนา มีผู้เล่าว่า

ไทย
สรรเสริญต่างกัน ย่อมล้วนอุดมเอก มีคุณมะหันต์ เปนยาอัศจรรย์ แก้กันโรคไภย ก�ำจัดปัดทุกข์ เวทนา
เปนไป ในกายในใจ ขับไล่เสื่อมคลาย ต่อใครสิ้นบุญ จึงต้องเสื่อมสูญ สิ้นชีพอัตราย ถ้ายังบุญมาก

้าน
ื้นบ
ก็หากสบาย ทุกข์ในจิตรกาย เบาถอยน้อยลง มีผู้บริโภค สิ่งเดียวจ�ำนง ได้เห็นอานิสงษ์ อ�ำนาจคุณยา

ย์พ
ทีนี้จักได้ เรียงตัวพรรณา ผู้ใดกินยา เห็นคุณประการใดฯ”

พท
สูตรต�ำรับยา ประกอบด้วยตัวยา ๖ ชนิด รวมน�้ำหนัก ๖ ส่วน ดังนี้

ะแ
น�้ำหนักยา

แล
ตัวยา

ไทย
๑ ส่วน
ข่อย ผน ๑ ส่วน
ตะโกนา
ย์แ
๑ ส่วน
ทิ้งถ่อน
พท

๑ ส่วน
บอระเพ็ด
รแ

๑ ส่วน
พริกไทย
ากา

๑ ส่วน
แห้วหมู
ัญญ
ูมิป

สรรพคุณ บ�ำรุงร่างกาย เป็นยาอายุวัฒนะ


รูปแบบยา ยาลูกกลอน ขนาด ๕๐๐ มิลลิกรัม (ดูภาคผนวก ๓.๕)


ริม
่งเส

ขนาดและวิธีการใช้ ครั้งละ ๑-๒ เม็ด กินวันละ ๒ ครั้ง ก่อนอาหาร เช้าและเย็น


ข้อห้ามใช้ ห้ามใช้ในเด็ก และสตรีวัยเจริญพันธุ์
ล ะส

ข้อมูลเพิ่มเติม การเตรียมตัวยาบอระเพ็ดก่อนน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก ๒.๑๓)


องแ

เอกสารอ้างอิง
คร

๑. เจ้าพระยาสุรสีห์วิสิษฐศักดิ์. ต�ำรายาพิเศษ กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์พระนคร :


งคุ้ม

โรงพิมพ์โสภณ พิพรรฒธนากร, ๒๔๖๒.


กอ

๒. ประกาศกําหนดตําราการแพทย์แผนไทยของชาติและตํารับยาแผนไทยของชาติ (ฉบับที่ ๒)
พ.ศ. ๒๕๕๘, (๒๕๕๙, ๑๒ มกราคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม ๑๓๓ ตอนพิเศษ ๗ ง, หน้า ๑-๓.

178
ยาอินทจร
ที่มาของต�ำรับยา ต�ำรายาเกร็ด (๑)
“๏ ยาชื่ออินทจร เป็นยาทาสารพัด ลมกระษัยกล่อน กระษัยเลือด เป็นก้อน เป็นเถา เป็นดาน
ท้องมาน ริดสีดวง มองคร่อ หืด ไอ ผอมเหลือง เป็นซาง เป็นม้าม ให้ยอก ให้จุก ให้เสียด ให้เอา พริกไทย
๑ สลึง ขิง ๑ สลึง ดีปลี ๑ สลึง ผลพิลังกาสา ๑ สลึง แห้วหมู ๑ สลึง ลูกมะตูมอ่อน ๑ สลึง เจตมูลเพลิง ๑ สลึง

ไทย
กรุงเขมา ๑ สลึง บอระเพ็ด ๑ สลึง เปลือกโมกหลวง ๑ สลึง สะค้าน ๑ สลึง รากช้าพลู ๑ สลึง สมอเทศ ๑

้าน
บาท ลูกสลอดประสะ ๒ บาท ท�ำเป็นจุณละลายน�ำ้ ผึ้ง กินหนัก ๒ ไพ น�ำ้ ร้อน กินหนัก ๑ เฟื้อง ๚”

ื้นบ
สูตรต�ำรับยา ประกอบด้วยตัวยา ๑๔ ชนิด รวมน�้ำหนัก ๙๐ กรัม ดังนี้

ย์พ
พท
ตัวยา น�ำ้ หนักยา

ะแ
แล
สลอด ๓๐ กรัม

ไทย
สมอเทศ ๑๕ กรัม
กรุงเขมา ผน ๓.๗๕ กรัม
ขิง ๓.๗๕ กรัม
ย์แ
เจตมูลเพลิงแดง ๓.๗๕ กรัม
พท

ชะพลู ๓.๗๕ กรัม


รแ
ากา

ดีปลี ๓.๗๕ กรัม


บอระเพ็ด ๓.๗๕ กรัม
ัญญ

พริกไทย ๓.๗๕ กรัม


ูมิป

พิลังกาสา ๓.๗๕ กรัม



ริม

มะตูม ๓.๗๕ กรัม


่งเส

โมกหลวง ๓.๗๕ กรัม


ะส

สะค้าน ๓.๗๕ กรัม


แห้วหมู ๓.๗๕ กรัม


องแ
คร

สรรพคุณ แก้ลมกระษัยกล่อน กระษัยเลือด เป็นก้อน เป็นเถา เป็นดาน ท้องมาน แก้ริดสีดวง


งคุ้ม

มองคร่อ หืด ไอ ผอมเหลือง เป็นซาง เป็นม้าม ให้ยอก ให้จุก ให้เสียด


กอ

รูปแบบยา ยาลูกกลอน ขนาด ๑๐๐ มิลลิกรัม (ดูภาคผนวก ๓.๕)


ขนาดและวิธีการใช้ ครั้งละ ๒ เม็ด กินวันละ ๒ ครั้ง ก่อนอาหาร เช้าและเย็น
ข้อห้ามใช้ ห้ามใช้ในหญิงตั้งครรภ์และหญิงให้นมบุตร ผู้ที่มีไข้ และเด็กอายุต�่ำกว่า ๑๒ ขวบ
ข้อควรระวัง ยานี้อาจท�ำให้มีอาการท้องเสียได้

179
ข้อมูลเพิ่มเติม - การเตรียมตัวยาบอระเพ็ดก่อนน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก ๒.๑๓)
- การเตรียมตัวยาสลอดก่อนน�ำไปใช้ (ดูภาคผนวก ๒.๓๒)
เอกสารอ้างอิง
๑. “ต�ำรายาเกร็ด”. หอสมุดแห่งชาติ. หนังสือสมุดไทยด�ำ. อักษรไทย. ภาษาไทย. เลขที่ ๒๓๓.
หมวดต�ำราเวชศาสตร์.
๒. ประกาศกําหนดตําราการแพทย์แผนไทยของชาติและตํารับยาแผนไทยของชาติ (ฉบับที่ ๘)

ไทย
พ.ศ. ๒๕๕๙, (๒๕๖๐, ๒๔ พฤษภาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม ๑๓๔ ตอนพิเศษ ๑๓๙ ง, หน้า ๑-๓.

้าน
ื้นบ
ย์พ
พท
ะแ
แล
ไทย
ผน
ย์แ
รแ พท
ากา
ัญญ
ภ ูมิป
ริม
่งเส
ล ะส
องแ
คร
งคุ้ม
กอ

180
กอ
งคุ้ม
คร
องแ
ละส
่งเส
ริม
ภูมิป
ัญญ
ากา
รแ พท
ย์แ
ผน
ไทย
แล
ะแ
พท
ย์พ
ื้นบ
้าน

181
ไทย
กอ

182
งคุ้ม
คร
องแ
ละส
่งเส
ริม
ภูมิป
ัญญ
ากา
รแ พท
ย์แ
ผน
ไทย
แล
ะแ
พท
ย์พ
ื้นบ
้าน
ไทย
ภาคผนวก ๑
เภสัชวัตถุ
ลำ�ดับ ชื่อตัวยา ส่วนที่ใช้ ชื่อละติน ชื่อวิทยาศาสตร์
1 กรวยปา ใบ Caseariae Grewiifoliae Casearia grewiifolia Vent. var.
Folium grewiifolia
2 กระจับ เมล็ด Trapae Natansis Semen Trapa natans L.

ไทย
3 กระชาย เหงาและราก Boesenbergiae Rotundae Boesenbergia rotunda (L.) Mansf.

้าน
Rhizoma et Radix

ื้นบ
4 กระดอม ผลออน Gymnopetali Chinensis Gymnopetalum chinense (Lour.)

ย์พ
Fructus Merr.

พท
5 กระดังงา ดอก Canangae Odoratae Flos Cananga odorata (Lam.) Hook. f. &

ะแ
Thomson var. odorata

แล
6 กระดาดขาว หัว Alocasiae Macrorrhizotis Alocasia macrorrhizos (L.) G.Don,

ไทย
‘Alba’ Cormus ผน “KRADAT KHAO”
7 กระดาดแดง หัว Alocasiae Macrorrhizotis Alocasia macrorrhizos (L.) G.Don,
ย์แ
‘Rubra’ Cormus “KRADAT DAENG”
พท

8 กระทือ เหงา Zingiberis Zerumbeti Zingiber zerumbet (L.)


รแ

Rhizoma Roscoe ex Sm.


ากา

9 กระเทียม หัว* Allii Sativi Bulbus Allium sativum L.


ัญญ

กระเทียม ราก Allii Sativi Radix Allium sativum L.


ูมิป

กระเทียม ทั้งตน Allii Sativi Herba Allium sativum L.


กระเทียมทอก หัว Allii Ampeloprasi Allium ampeloprasum L.


ริม

10
่งเส

11 กระเบา ผล Hydnocarpi Hydnocarpus anthelminthicus


ะส

Anthelminthici Fructus Pierre ex Laness.


12 กระเบียน ผล Ceriscoidis Turgidae Ceriscoides turgida (Roxb.)


องแ

Fructus Tirveng.
คร

13 กระพังโหม เถา Paederiae Foetidae Paederia foetida L.


งคุ้ม

Caulis
กอ

14 กระลำพัก (สลัดได) แกน Euphorbiae Antiquori Euphorbia antiquorum L.


(ที่มีราลง) Lignum
15 กระลำพัก แกน Excoecariae Agallochae Excoecaria agallocha L.
(ตาตุม) (ที่มีราลง) Lignum
16 กระวาน ผล Amomi Testacei Fructus Amomum testaceum Ridl.
183
ลำ�ดับ ชื่อตัวยา ส่วนที่ใช้ ชื่อละติน ชื่อวิทยาศาสตร์
17 กรุงเขมา ราก Cissampelotis Pareirae Cissampelos pareira L. var. hirsuta
Radix (Buch.-Ham. ex DC.) Forman
18 กฤษณา แกน Aquilariae Resinatum Aquilaria crassna Pierre ex
(ที่มีราลง) Lignum Lecomte, A. malaccensis Lam.
19 กลอย หัว Dioscoreae Hispidae Dioscorea hispida Dennst.

ไทย
Radix

้าน
20 กะเพรา ใบ Ocimi Tenuiflori Folium Ocimum tenuiflorum L.

ื้นบ
21 กะเพราแดง ทั้งตน Ocimi Tenuiflori ‘Rubra’ Ocimum tenuiflorum L., red

ย์พ
Herba Rubrum cultivar

พท
22 กะเม็ง สวนเหนือดิน Ecliptae Prostratae Herba Eclipta prostrata (L.) L.

ะแ
23 กัญชา เรือนชอดอก Cannabidis Sativae Flos Cannabis sativa L.

แล
เพศเมีย

ไทย
24 กางปลาขาว ราก Flueggeae Virosae Radix Flueggea virosa (Roxb. ex Willd.)
ผน
Royle.
ย์แ
25 กางปลาแดง ราก Phyllanthi Reticulati Phyllanthus reticulatus Poir.
พท

Radix
รแ

กานพลู ดอกตูมกอน Caryophylli Flos Syzygium aromaticum (L.) Merr. &


ากา

26
บาน L.M. Perry
ัญญ

27 การบูร - Camphora d-camphor, dl-camphor


ูมิป

28 กำแพงเจ็ดชั้น ลำตน Salaciae Chinensis Caulis Salacia chinensis L.



ริม

29 กำมะถันเหลือง - Sulphuris sulphur


่งเส

30 กำยาน ยางจากตน Benzoinum Styrax tonkinensis (Pierre) Craib


ะส

(บาลซัม) ex Hartwich

31 กำลังวัวเถลิง เถา Anaxagoreae Luzonensis Anaxagorea luzonensis A. Gray


องแ

Caulis
คร

32 กุมน้ำ เปลือกตน* Cratevae Religiosae Crateva religiosa G. Forst.


งคุ้ม

Cortex
กอ

กุมน้ำ ใบ Cratevae Religiosae Crateva religiosa G. Forst.


Folium
กุมน้ำ ราก Cratevae Religiosae Crateva religiosa G. Forst.
Radix

184
ลำ�ดับ ชื่อตัวยา ส่วนที่ใช้ ชื่อละติน ชื่อวิทยาศาสตร์
33 กุมบก เปลือกตน* Cratevae Adansonii Crateva adansonii DC.
Cortex
กุมบก ใบ Cratevae Adansonii Crateva adansonii DC.
Folium
กุมบก ราก Cratevae Adansonii Crateva adansonii DC.

ไทย
Radix

้าน
34 เกกฮวย ดอก Chrysanthemi Flos Chrysanthemum indicum L.

ื้นบ
35 เกล็ดสะระแหน - Mentholum l-menthol, dl-menthol

ย์พ
36 เกลือ - Natrii Chloridum sodium chloride

พท
37 เกลือกะตัง - Ureae Urea

ะแ
38 เกลือฝอ - Natrii Chloridum prepared sodium chloride ‘Fo’

แล
ไทย
Preperatum ‘Fo’
39 เกลือพิก - Natrii Chloridum
ผน prepared sodium chloride ‘Pik’
Preperatum ‘Pik’
ย์แ
เกลือเม็ด - Natrii Chloridum Crudus crude sodium chloride
พท

40
41 เกลือวิก - Natrii Chloridum prepared sodium chloride ‘Wik’
รแ
ากา

Preperatum ‘Wik’
42 เกลือสมุทรี - Natrii Chloridum prepared sodium chloride ‘Samuttri’
ัญญ

Preperatum ‘Samuttri’
ูมิป

43 เกลือสินเธาว - Natrii Chloridum prepared sodium chloride ‘Sin Tao’



ริม

Preperatum ‘Sin Tao’


่งเส

44 แกแล แกน Maclurae Maclura cochinchinensis (Lour.)


ะส

Cochinchinensis Lignum Corner



องแ

45 โกฐกระดูก ราก Aucklandiae Lappae Aucklandia lappa DC.


Radix
คร

โกฐกักกรา ปุมหูด Pistachiae Galla Pistacia chinensis subsp.


งคุ้ม

46
integerrima (J. L. Stewart ex
กอ

Brandis) Rech. f.
47 โกฐกานพราว เหงาและราก Neopicrorhizae Neopicrorhiza scrophulariiflora
Scrophulariiflorae (Pennell) D.Y.Hong
Rhizoma et Radix

185
ลำ�ดับ ชื่อตัวยา ส่วนที่ใช้ ชื่อละติน ชื่อวิทยาศาสตร์
48 โกฐเขมา เหงา Atractylodis Lanceae Atractylodes lancea (Thunb.) DC.
Rhizoma
49 โกฐจุฬาลัมพา สวนเหนือดิน Artemisiae Annuae Artemisia annua L.
Herba
50 โกฐเชียง รากแขนง Angelicae Sinensis Radix Angelica sinensis (Oliv.) Diels

ไทย
Lateralis

้าน
51 โกฐน้ำเตา รากและเหงา Rhei Radix et Rhizoma Rheum palmatum L., R. officinale

ื้นบ
Baill., R. tanguticum Maxim. ex

ย์พ
Balf.

พท
52 โกฐพุงปลา ปุมหูด Terminaliae Chebulae Terminalia chebula Retz.

ะแ
Galla

แล
53 โกฐสอ ราก Angelicae Dahuricae Angelica dahurica (Hoffm.) Benth.

ไทย
Radix ผน & Hook. f. ex Franch. & Sav. Var.
dahurica
ย์แ
54 โกฐหัวบัว เหงา Chuanxiong Rhizoma Ligusticum sinense Oliv. cv.
พท

Chuanxiong
รแ

ขนุน แกน Artocarpi Heterophylli Artocarpus heterophyllus Lam.


ากา

55
Lignum
ัญญ

56 ขมิ้นชัน เหงา Curcumae Longae Curcuma Longa L.


ูมิป

Rhizoma

ริม

57 ขมิ้นออย เหงา Khamin Oi Rhizoma Curcuma sp. “Khamin Oi”


่งเส

58 ขอนดอก เนื้อไม Mimusops Elengi Mimusops elengi L.


ะส

Lignum

59 ขอบชะนางขาว ใบ* Pouzolziae Zeylanicae Pouzolzia zeylanica (L.) Benn.


องแ

Folium
คร

ขอบชะนางขาว รากและตน Pouzolziae Zeylanicae Pouzolzia zeylanica (L.) Benn.


งคุ้ม

Herba
กอ

60 ขอบชะนางแดง ใบ* Gonostegiae Pentandrae Gonostegia pentandra (Roxb.) Miq.


Folium
ขอบชะนางแดง รากและตน Gonostegiae Pentandrae Gonostegia pentandra (Roxb.) Miq.
Herba

186
ลำ�ดับ ชื่อตัวยา ส่วนที่ใช้ ชื่อละติน ชื่อวิทยาศาสตร์
61 ขอย เมล็ด Strebluti Asperis Semen Streblus asper Lour.
62 ขัดมอญ ราก Sidae Acutae Radix Sida acuta Burm. f.
63 ขันทศกร - Nectar Praecipito precipitated nectar
64 ขา เหงา Alpiniae Galangae Alpinia galanga (L.) Willd.
Rhizoma

ไทย
65 ขาตาแดง เหงา Alpiniae Officinari Alpinia officinarum Hance

้าน
Rhizoma

ื้นบ
66 ขาวเย็นใต หัว Premnae Herbaceae Premna herbacea Roxb.

ย์พ
Rhizoma

พท
67 ขาวเย็นเหนือ หัว Smilax Corbulariae Smilax corbularia Kunth subsp.

ะแ
Rhizoma corbularia

แล
68 ขาวสาร เมล็ดคั่ว Oryzae Endospermum Oryza sativa L.

ไทย
69 ขาหลวง เหงา Alpiniae Galangae
ผน Alpinia galanga (L.) Willd.
Rhizoma
ย์แ
70 ขิง เหงา* Zingiberis Officinales Zingiber officinale Roscoe.
พท

Rhizoma
รแ
ากา

ขิง ใบ Zingiberis Officinales Zingiber officinale Roscoe.


Folium
ัญญ

ขิง รากฝอย Zingiberis Officinales Zingiber officinale Roscoe.


ูมิป

Radix

ริม

71 ขิงแหง เหงา Zingiberis Zingiber ligulatum Roxb.


่งเส

Ligulati Rhizoma
ะส

72 ขี้กาแดง ราก Trichosanthis Trichosanthes tricuspidata Lour.


Tricuspidatae Radix
องแ

73 ขี้เหล็ก แกน* Sennae Siamea Lignum Senna siamea (Lam.) H. S. Irwin &
คร

Barneby
งคุ้ม

ขี้เหล็ก ทั้ง ๕ Sennae Siamea Omnis V Senna siamea (Lam.) H. S. Irwin &
กอ

Barneby
ขี้เหล็ก ใบ Sennae Siameae Folium Senna siamea (Lam.) H. S. Irwin &
Barneby
74 ขี้อายนา เปลือกตน Walsurae Trichostemonis Walsura trichostemon Miq.
Cortex
187
ลำ�ดับ ชื่อตัวยา ส่วนที่ใช้ ชื่อละติน ชื่อวิทยาศาสตร์
75 เขาคา หัว Euphorbiae Sessiliflorae Euphorbia sessiliflora Roxb.
Radix
76 ไขแลน ตน (เถา) Stixidis Obtusifoliae Stixis obtusifolia (Hook
Caulis f.&Thomson) Pierre
77 คนทา ราก Harrisoniae Perforatae Harrisonia perforata (Blanco) Merr.

ไทย
Radix

้าน
78 คนทีสอ ใบ* Viticis Trifoliae Folium Vitex trifolia L.

ื้นบ
คนทีสอ ผล Viticis Trifoliae Fructus Vitex trifolia L.

ย์พ
79 ครอบตลับ ราก Abutilonis Indici Radix Abutilon indicum (L.) Sweet

พท
80 คลา หัว Schumannianthi Schumannianthus dichotomus

ะแ
Dichotomi Rhizoma (Roxb.) Gagnep.

แล
81 คัดเคา ผล Oxycerotis Horridi Oxyceros horridus Lour.

ไทย
Fructus ผน
82 คำไทย ดอก Bixae Orellanae Flos Bixa orellana L.
ย์แ
83 คูน เนื้อในฝก Cassiae Fistulae Pulpa Cassia fistula L.
พท

84 ไครเครือ ราก Aristolochiae Pierrei Aristolochia pierrei Lec.


รแ

Radix
ากา

85 ไครหางนาค ทั้งตน Phyllanthi Taxodiifolii Phyllanthus taxodiifolius Beille


ัญญ

Herba
ูมิป

86 จวง ราก Cinnamomi Porrecti Cinnamomum porrectum Kosterm



ริม

Radix
่งเส

87 จันทนขาว แกน Santali Albi Lignum Santalum album L.


ะส

88 จันทนชะมด แกน Mansoniae Gagei Mansonia gagei J.R. Drumm. ex


Lignum Prain
องแ

89 จันทนแดง แกน Santali Rubri Lignum Pterocarpus santalinus L.f.


คร

90 จันทนเทศ แกน Santali Albi Lignum Santalum album L.


งคุ้ม

91 จันทนา แกน Tarennae Hoaensis Tarenna hoaensis Pit.


กอ

Lignum
92 จิงจอ ราก Aniseiae Martinicensis Aniseia martinicensis (Jacq.)
Radix Choisy
93 จิงจอแดง ราก Operculinae Turpethi Operculina turpethum (L.) Silva
Radix Manso
188
ลำ�ดับ ชื่อตัวยา ส่วนที่ใช้ ชื่อละติน ชื่อวิทยาศาสตร์
94 จิงจอเหลี่ยม ราก Operculinae Turpethi Operculina turpethum (L.) Silva
Radix Manso
95 จิงจอใหญ ราก Merremiae Vitifoliae Merremia vitifolia (Burm. f.)
Radix Hallier f.
96 จุกโรหินี ราก Calami Acanthophylli Calamus acanthophyllus Becc.

ไทย
Radix

้าน
97 จุณขี้เหล็ก ผงตะไบเหล็ก Ferrum Oxydatum ferric oxide

ื้นบ
98 จุนสี - Cupri Sulfas copper sulfate

ย์พ
99 เจตพังคี ราก Crotonis Crassifolii Croton crassifolius Geiseler

พท
Radix

ะแ
100 เจตมูลเพลิง/ ราก* Plumbaginis Indicae Plumbago indica L.

แล
เจตมูลเพลิงแดง Radix

ไทย
เจตมูลเพลิง/ ใบ Plumbaginis Indicae
ผน Plumbago indica L.
เจตมูลเพลิงแดง Folium
ย์แ
101 เจตมูลเพลิงขาว ราก Plumbagoinis Zeylanicae Plumbago zeylanica L.
พท

Radix
รแ

102 แจง ราก Maeruae Siamensis Maerua siamensis (Kurz) Pax


ากา

Radix
ัญญ

103 ชองระอา เถา Barleriae Lupulinae Barleria lupulina Lindl.


ูมิป

Caulis

ริม

ชองระอา ราก Barleriae Lupulinae Barleria lupulina Lindl.


่งเส

Radix
ะส

104 ชะพลู/ชาพลู ราก* Piperis Sarmentosi Radix Piper sarmentosum Roxb.


ชะพลู/ชาพลู ผล Piperis Sarmentosi Piper sarmentosum Roxb.


องแ

Fructus
คร

ชะพลู/ชาพลู ใบ Piperis Sarmentosi Piper sarmentosum Roxb.


งคุ้ม

Folium
กอ

ชะพลู/ชาพลู ทั้งตน Piperis Sarmentosi Herba Piper sarmentosum Roxb.


105 ชะมดเช็ด สารคัดหลั่งจาก Civetta Viverricula malaccensis (Gmelin)
ตอมกลิ่น
106 ชะลูด เปลือกเถา Alyxiae Reinwardtii Alyxia reinwardtii Blume
Cortex
189
ลำ�ดับ ชื่อตัวยา ส่วนที่ใช้ ชื่อละติน ชื่อวิทยาศาสตร์
107 ชะเอมเทศ ราก Glycyrrhizae Grabrae Glycyrrhiza glabra L.
Radix
108 ชะเอมไทย ลำตน* Albiziae Myriophyllae Albizia myriophylla Benth.
Caulis
ชะเอมไทย ราก Albiziae Myriophyllae Albizia myriophylla Benth.

ไทย
Radix

้าน
109 ชาหมอง/ ราก Suregadae Multiflorae Suregada multiflora (A.Juss.) Baill.

ื้นบ
ขันทองพยาบาท Radix

ย์พ
110 ชิงชาชาลี เถา* Tinosporae Baenzigeri Tinospora baenzigeri Forman

พท
Caulis

ะแ
ชิงชาชาลี ใบ Tinosporae Baenzigeri Tinospora baenzigeri Forman

แล
Folium

ไทย
111 ชิงชี่ ราก Capparidis Micracanthae
ผน Capparis micracantha DC.
Radix
ย์แ
112 ชุมเห็ด ราก Sennae Torae Radix Senna tora (L.) Roxb.
พท

113 ชุมเห็ดเทศ ทั้ง ๕ Sennae Alatae Omnis V Senna alata (L.) Roxb.
รแ
ากา

ชุมเห็ดเทศ ราก Sennae Alatae Radix Senna alata (L.) Roxb.


114 เชือกเขาหนัง ลำตน Amphineurionis Amphineurion marginatum (Roxb.)
ัญญ

Marginati Caulis D.J.Middleton


ูมิป

115 ดอกจันทน เยื่อหุมเมล็ด Myristicae Macis Myristica fragrans Houtt.



ริม

116 ดองดึง หัว Gloriosae Superbae Gloriosa superba L.


่งเส

Radix
ะส

117 ดินประสิว - Kalium Nitricum potassium nitrate


118 ดินประสิวขาว - Kalium Nitricum potassium nitrate


องแ

119 ดินหมารา - Solum Chalybionis Chalybion bengalense


คร

Bengalensei
งคุ้ม

120 ดีงูตน เปลือกตน Picrasmae Javanicae Picrasma javanica Blume


กอ

Cortex
121 ดีปลี ชอผล* Piperis Retrofracti Piper retrofractum Vahl
Fructus
ดีปลี ใบ Piperis Retrofracti Piper retrofractum Vahl
Folium
190
ลำ�ดับ ชื่อตัวยา ส่วนที่ใช้ ชื่อละติน ชื่อวิทยาศาสตร์
122 ดีหมีตน ผล Cleidionis Spiciflori Cleidion spiciflorum (Burm.f.)
Fructus Merr.
123 ดูกใส/ แกน Suregadae Multiflorae Suregada multiflora (A.Juss.) Baill.
ขันทองพยาบาท Lignum
124 ดูกหิน /มะดูก แกน Siphonodonis Celastrinei Siphonodon celastrineus Griff.

ไทย
Lignum

้าน
125 โดไมรูลม ทั้งตน Elephantopi Scaberis Elephantopus scaber L.

ื้นบ
Herba

ย์พ
126 ตองแตก ราก* Baliospermi Solanifolii Baliospermum solanifolium

พท
Radix (Burm.) Suresh

ะแ
ตองแตก ใบ Baliospermi Solanifolii Baliospermum solanifolium

แล
Folium (Burm.) Suresh

ไทย
127 ตะโกนา เปลือกตน Diospyrotis Rhodocalycis
ผน Diospyros rhodocalyx Kurz
Cortex
ย์แ
128 ตะเคียน ยาง (ชัน) Hopeae Odoratae Resina Hopea odorata Roxb.
พท

129 ตะไคร เหงาและ Cymbopogonis Citrati Cymbopogon citratus (DC.) Stapf.


รแ

กาบใบ Rhizoma et Folium


ากา

Laminae
ัญญ

130 ตะไครหอม เหงาและ Cymbopogonis Nardi Cymbopogon nardus (L.) Rendle


ูมิป

กานใบ Rhizoma et Folium



ริม

Laminae
่งเส

131 ตานหมอน ใบ Tarlmouniae Ellipticum Tarlmounia elliptica (DC.) H. Rob.,


ะส

Folium S. C. Keeleg, Skvarla & R. Chan


132 ตาล ราก Borassi Flabelliferis Borassus flabellifer L.


องแ

Radix
คร

133 ตาลโตนด น้ำตาล Borassi Flabelliferis Sucrose from Borassus


งคุ้ม

Saccharum flabellifer L.
กอ

134 ตำลึง ใบ Cocciniae Grandis Coccinia grandis (L.) Voigt


Folium
135 ตำลึงตัวผู ใบ Solenae Amplexicaulidis Solena amplexicaulis (Lam.)
Folium Gandhi

191
ลำ�ดับ ชื่อตัวยา ส่วนที่ใช้ ชื่อละติน ชื่อวิทยาศาสตร์
136 เตยหอม ใบ Pandani Amaryllifolii Pandanus amaryllifolius Roxb.
Folium
137 เตาเกียด หัว Homalomenae Homalomena aromatica (Spreng.)
Aromaticae Rhizoma Schott
138 ถั่วพู หัว Psophocarpi Psophocarpus tetragonolobus (L.)

ไทย
Tetragonolobi Radix DC.

้าน
139 เถาคันแดง ใบ Parthenocissi Parthenocissus quinquefolia (L.)

ื้นบ
Quinquefoliae Folium Planch.

ย์พ
140 เถาวัลยแดง ใบ Ichnocarpi Frutescenidis Ichnocarpus frutescens (L.)

พท
Folium W.T.Aiton

ะแ
141 เถาวัลยเปรียง เถา Solorii Scandenidis Solori scandens (Roxb.) Sirich. &

แล
Caulis Adema

ไทย
142 เถาวัลยเหล็ก ทั้ง ๕ Ventilaginis Denticulatae
ผน Ventilago denticulata Willd.
Omnis V
ย์แ
143 ทนดี ราก Baliospermi Solanifolii Baliospermum solanifolium
พท

Radix (Burm.) Suresh


รแ

144 ทองเครือ /กวาวเครือ หัว Puerariae Candollei Pueraria candollei var. mirifica
ากา

Radix (Airy Shaw & Suvat.) Niyomdham


ัญญ

145 ทองพันชั่ง ทั้งตน* Rhinacanthi Nasuti Rhinacanthus nasutus (L.) Kurz


ูมิป

Herba

ริม

ทองพันชั่ง ราก Rhinacanthi Nasuti Radix Rhinacanthus nasutus (L.) Kurz


่งเส

ทองพันชั่ง ใบ Rhinacanthi Nasuti Rhinacanthus nasutus (L.) Kurz


ะส

Folium

146 ทองหลางน้ำ เปลือกตน Erythrinae Fuscae Cortex Erythrina fusca Lour.


องแ

147 ทองหลางใบมน เปลือกตน* Erythrinae Suberosae Erythrina suberosa Roxb.


คร

Cortex
งคุ้ม

ทองหลางใบมน ใบ Erythrinae Suberosae Erythrina suberosa Roxb.


กอ

Folium
148 ทิ้งถอน เปลือกตน Albiziae Procerae Cortex Albizia procera (Roxb.) Benth.
149 เทียนขาว ผล Cumini Cymini Fructus Cuminum cyminum L.
150 เทียนขาวเปลือก ผล Foeniculi Dulcis Fructus Foeniculum vulgare Mill.

192
ลำ�ดับ ชื่อตัวยา ส่วนที่ใช้ ชื่อละติน ชื่อวิทยาศาสตร์
151 เทียนดำ เมล็ด Nigellae Sativae Semen Nigella sativa L.
152 เทียนแดง เมล็ด Lepidii Sativi Semen Lepidium sativum L.
153 เทียนตาตั๊กแตน ผล Anethi Graveolens Anethum graveolens L.
Fructus
154 เทียนเยาวพาณี ผล Trachyspermi Ammi Trachyspermum ammi (L.) Sprague

ไทย
Fructus

้าน
155 เทียนสัตตบุษย ผล Pimpinellae Anisi Pimpinella anisum L.

ื้นบ
Fructus

ย์พ
156 น้ำตาลกรวด - Saccharo Brunneis sucrose

พท
157 น้ำตาลทราย - Saccharo Brunneis sucrose

ะแ
158 น้ำตาลทรายแดง - Saccharo Brunneis sucrose

แล
159 น้ำเตา ใบ Lagenariae Sicerariae Lagenaria siceraria (Molina)

ไทย
Folium ผน Standl.
160 น้ำประสานทอง - Natrii Borate sodium borate
ย์แ
161 น้ำผึ้ง - Mel Honey
พท

162 น้ำมันงา น้ำมันระเหย Sesami Oleum Sesamum indicum L.


รแ
ากา

ยากที่บีบได
จากเมล็ด
ัญญ

163 เนระพูสี เหงา Taccae Chantrierii Tacca chantrieri Andre


ูมิป

Rhizoma

ริม

164 บวย เนื้อผล Pruni Mumes Prunus mume (Siebold) Siebold &
่งเส

Mesocarpium Zucc.
ะส

165 บอระเพ็ด เถา* Tinosporae Crispae Tinosp


Caulis ora crispa (L.) Hook. f. & Thomson


องแ

บอระเพ็ด ใบ Tinosporae Crispae Tinospora crispa (L.) Hook. f. &


คร

Folium Thomson
งคุ้ม

166 บัวเกราะ เมล็ด Nelumbinis Semen Nelumbo nucifera Gaertn.


กอ

167 บัวขม หัว Nymphaeae Rhizoma Nymphaea pubescens Wild.


168 บัวเผื่อน หัว Buaphuen Rhizoma Nymphaea nouchali Burm.f.
169 บัวหลวง เกสรเพศผู Nelumbinis Stamen Nelumbo nucifera Gaertn.
170 บุก หัว Amorphophalli Amorphophallus paeoniifolius
Paeoniifolii Cormus (Dennst.) Nicolson
193
ลำ�ดับ ชื่อตัวยา ส่วนที่ใช้ ชื่อละติน ชื่อวิทยาศาสตร์
171 บุกรอ หัว Amorphophalli Amorphophallus saraburiensis
Saraburiensis Cormus Gagnep.
172 บุนนาค ดอก Mesuae Ferreae Flos Mesua ferrea L.
173 เบญกานี ปุมหูด Querci Infectoriae Quercus infectoria G. Olivier
Galla

ไทย
174 เบี้ยจั่น - Monetariae Monetae Monetaria moneta Linnaeus

้าน
175 ใบกระวาน ใบ Lauri Nobilidis Folium Laurus nobilis L.

ื้นบ
176 ใบเงิน ใบ Graptophylli Picti Folium Graptophyllum pictum (L.) Griff.

ย์พ
177 ใบทอง ใบ Graptophylli Picti Folium Graptophyllum pictum (L.) Griff.

พท
178 ประคำไก/มะคำไก ใบ Drypetis Roxburghii Drypetes roxburghii (Wall.) Hurus.

ะแ
Folium

แล
179 ปลาไหลเผือก ราก Eurycomae Longifoliae Eurycoma longifolia Jack

ไทย
Radix ผน
180 ปบ เปลือกตน Millingtoniae Hortensis Millingtonia hortensis L.f.
ย์แ
Cortex
พท

181 ปูนขาว - Cadmiae Calcium Calcium oxide


รแ
ากา

182 เปราะหอม เหงา* Kaempferiae Galangae Kaempferia galanga L.


Rhizoma
ัญญ

เปราะหอม ใบ Kaempferiae Galangae Kaempferia galanga L.


ูมิป

Folium

ริม

183 เปลานอย ราก* Crotonis Stellatopilosi Croton stellatopilosus H. Ohba


่งเส

Radix
ะส

เปลานอย ใบ Crotonis Stellatopilosi Croton stellatopilosus H. Ohba


Folium
องแ

184 เปลาใหญ ราก Crotonis Persimilidis Croton persimilis Mull. Arg.


คร

Radix
งคุ้ม

185 ผักกระโฉม ใบ Limnophilae Rugosae Limnophila rugosa (Roth) Merr.


กอ

Folium
186 ผักคราด ทั้งตน* Spilanthis Acmellae Spilanthes acmella (L.) L.
Herba
ผักคราด ดอก Spilanthis Acmellae Flos Spilanthes acmella (L.) L.

194
ลำ�ดับ ชื่อตัวยา ส่วนที่ใช้ ชื่อละติน ชื่อวิทยาศาสตร์
187 ผักเปดแดง ทั้งตน Alternantherae Alternanthera bettzickiana (Regel)
Bettzickianae Herba G. Nicholson
188 ผักแพวแดง ทั้งตน Arnebiae Euchromae Arnebia euchroma (Royle)
Herba I.M.Johnst.
189 ผักเสี้ยนไทย ทั้งตน* Cleomes Gynandrae Cleome gynandra L.

ไทย
Herba

้าน
ผักเสี้ยนไทย ใบ Cleomes Gynandrae Cleome gynandra L.

ื้นบ
Folium

ย์พ
190 ผักเสี้ยนผี ทั้งตน* Cleomes Viscosae Herba Cleome viscosa L.

พท
ผักเสี้ยนผี ใบ Cleomes Viscosae Cleome viscosa L.

ะแ
Folium

แล
191 ไผปา ใบ* Bambusae Bambotis Bambusa bambos (L.) Voss

ไทย
Folium ผน
ไผปา ตาไม (กิ่ง) Bambusae Bambotis Bambusa bambos (L.) Voss
ย์แ
Gnarl
พท

192 ไผสีสุก ผิวเปลือกตน Bambusae Blumeanae Bambusa blumeana Schult. f.


รแ

Cortex
ากา

193 ฝาง/ฝางเสน แกน Sappan Lignum Caesalpinia sappan L.


ัญญ

194 ฝายแดง ใบ Gossypii Arborei Folium Gossypium arboreum L.


ูมิป

195 แฝกหอม ราก Chrysopogonis Chrysopogon zizanioides (L.)



ริม

Zizanioidis Radix Roberty


่งเส

196 พญามือเหล็ก ทั้ง 5 Strychnotis Lucidae Strychnos lucida R. Br.


ะส

Omnis V

197 พรมมิ ทั้งตน* Bacopae Herba Bacopa monnieri (L.) Wettst.


องแ

พรมมิ ราก Bacopae Radix Bacopa monnieri (L.) Wettst.


คร

198 พริกเทศ ผล Galangae Fructus Alpinia galanga (L.) Willd.


งคุ้ม

199 พริกไทย/พริกไทยดำ ผล* Piperis Nigri Fructus Piper nigrum L.


กอ

พริกไทย/พริกไทยดำ เถา Piperis Nigri Caulis Piper nigrum L.


200 พริกไทยลอน/ เมล็ด Piperis Nigri Semen Piper nigrum L.
พริกลอน
201 พริกหอม เมล็ด Zanthoxyli Piperati Zanthoxylum piperatum DC.
Fructus
195
ลำ�ดับ ชื่อตัวยา ส่วนที่ใช้ ชื่อละติน ชื่อวิทยาศาสตร์
202 พริกหาง ผล Piperis Cubebae Fructus Piper cubeba L. f.
203 พลับพลึง ใบ Crini Asiatici Folium Crinum asiaticum L.
204 พลูแก ใบ Piperis Aurantiaci Piper aurantiacum Miq.
Folium
205 พิกุล ดอก Mimusops Elengi Flos Mimusops elengi L.

ไทย
206 พิมเสน - Borneolum borneol camphor

้าน
207 พิมเสนตน/ ใบ Pogostemonis Folium Pogostemon cablin (Blanco) Benth.

ื้นบ
ใบพิมเสน

ย์พ
208 พิลังกาสา ผล Ardisiae Ellipticae Ardisia elliptica Thunb.

พท
Fructus

ะแ
209 พุงดอ ใบ Azimae Samentosae Azima sarmentosa Benth. &

แล
Folium Hook.f.

ไทย
210 พุทรา ใบ Ziziphi Mauritianae
ผน Ziziphus mauritiana Lam.
Folium
ย์แ
พุทรา ราก Ziziphi Mauritianae Ziziphus mauritiana Lam.
พท

Radix
รแ
ากา

211 เพชรสังฆาต เถา Cissi Quadrangularis Cissus quadrangularis L.


Caulis
ัญญ

212 โพคาน เถา Malloti Repandi Caulis Mallotus repandus (Willd.) Müll.
ูมิป

Arg.

ริม

213 ไพล เหงา Zingiberis Montani Zingiber montanum (J. Koenig)


่งเส

Rhizoma Link ex A Dietr.


ะส

214 ฟกขาว ราก* Momordicae Momordica cochinchinensis (Lour.)


Cochinchinensis Radix Spreng.


องแ

ฟกขาว ใบ Momordicae Momordica cochinchinensis (Lour.)


คร

Cochinchinensis Folium Spreng.


งคุ้ม

215 มดยอบ ยางไม Commiphorae Myrrhae Commiphora myrrha (Nees) Engl.


กอ

Resina
216 มวกแดง เถา Urceolae Roseae Caulis Urceola rosea (Hook. & Arn.) D.J.
Middleton
217 มหาหิงคุ/หิงคุยางโพ ยางจากราก Assafoetidae Gum Ferula assa-foetida L.

196
ลำ�ดับ ชื่อตัวยา ส่วนที่ใช้ ชื่อละติน ชื่อวิทยาศาสตร์
218 มะกรูด ผิวเปลือกผล* Citri Hystricis Citrus hystrix DC.
Exocarpium et
Mesocarpium
มะกรูด ผล Citri Hystricis Fructus Citrus hystrix DC.
มะกรูด ราก Citri Hystricis Radix Citrus hystrix DC.

ไทย
219 มะกล่ำเครือ ราก Abri Precatorii Radix Abrus precatorius L.

้าน
มะกล่ำเครือ ใบ Abri Precatorii Folium Abrus precatorius L.

ื้นบ
220 มะกล่ำตน ราก Adenantherae Pavoninae Adenanthera pavonina L.

ย์พ
Radix

พท
มะกล่ำตน ใบ Adenantherae Pavoninae Adenanthera pavonina L.

ะแ
Folium

แล
มะกล่ำตน เปลือกตน Adenantherae Pavoninae Adenanthera pavonina L.

ไทย
Cortex ผน
221 มะกา ใบ Brideliae Ovatae Folium Bridelia ovata Decne.
ย์แ
222 มะเกลือ ใบ Diospyrotis Mollidis Diospyros mollis Griff.
พท

Folium
รแ
ากา

223 มะขาม ใบ* Tamarindi Folium Tamarindus indica L.


มะขาม เนื้อในฝก Tamarindi Pulpa Tamarindus indica L.
ัญญ

224 มะขามปอม ผล* Phyllanthi Emblicae Phyllanthus emblica L.


ูมิป

Fructus

ริม

มะขามปอม เนื้อผล Phyllanthi Emblicae Phyllanthus emblica L.


่งเส

Pericarpium
ะส

225 มะเขือขื่น ราก Solani Aculeatissimi Solanum aculeatissimum Jacq.


Radix
องแ

226 มะคำไก/ประคำไก ใบ* Drypetis Roxburghii Drypetes roxburghii (Wall.) Hurus.


คร

Folium
งคุ้ม

มะคำไก/ประคำไก เปลือก Drypetis Roxburghii Drypetes roxburghii (Wall.) Hurus.


กอ

Cortex
227 มะคำดีควาย ผล* Sapindi Trifoliati Fructus Sapindus trifoliatus L.
มะคำดีควาย เปลือกผล Sapindi Trifoliati Sapindus trifoliatus L.
Exocarpium

197
ลำ�ดับ ชื่อตัวยา ส่วนที่ใช้ ชื่อละติน ชื่อวิทยาศาสตร์
228 มะงั่ว ผล Citri Medicae Fructus Citrus medica L. var. medica
229 มะเดือ่ อุทุมพร ราก* Fici Racemosae Radix Ficus racemosa L.
มะเดื่ออุทุมพร ใบ Fici Racemosae Folium Ficus racemosa L.
230 มะตูม ผลออน* Aegle Marmelotis Aegle marmelos (L.) Corrêa
Fructus

ไทย
มะตูม ใบ Aegle Marmelotis Aegle marmelos (L.) Corrêa

้าน
Folium

ื้นบ
มะตูม ผิวเปลือกผล Aegle Marmelotis Aegle marmelos (L.) Corrêa

ย์พ
Pericarpium

พท
มะตูม ราก Aegle Marmelotis Radix Aegle marmelos (L.) Corrêa

ะแ
231 มะนาว ผิวเปลือกผล Citri Aurantiifoliae Citrus aurantiifolia (Christm.)

แล
Exocarpium et Swingle

ไทย
Mesocarpium ผน
มะนาว ผล Citri Aurantiifoliae Citrus aurantiifolia (Christm.)
ย์แ
Fructus Swingle
พท

มะนาว ผล (ผลดอง) Citri Aurantiifoliae Citrus aurantiifolia (Christm.)


รแ
ากา

Fructus Swingle
มะนาว ราก Citri Aurantiifoliae Radix Citrus aurantiifolia (Christm.)
ัญญ

Swingle
ูมิป

232 มะปรางหวาน ราก Boueae Macrophyllae Bouea macrophylla Griff.



ริม

Radix
่งเส

233 มะพราวไฟ ผล Cocotis Nuciferae Cocos nucifera L.


ะส

Fructus

มะพราวไฟ กะลา Cocotis Nuciferae Semen Cocos nucifera L.


องแ

Loricae
คร

234 มะเฟอง ใบ Averrhoae Carambolae Averrhoa carambola L.


งคุ้ม

Folium
กอ

235 มะยม ใบ Phyllanthi Acidi Folium Phyllanthus acidus (L.) Skeels.


236 มะระ ใบ* Momordicae Charantiae Momordica charantia L.
Folium

198
ลำ�ดับ ชื่อตัวยา ส่วนที่ใช้ ชื่อละติน ชื่อวิทยาศาสตร์
237 มะรุม เปลือกตน* Moringae Oleiferae Moringa oleifera Lam.
Cortex
มะรุม ฝก Moringae Oleiferae Moringa oleifera Lam.
Fructus
มะรุม ราก Moringae Oleiferae Moringa oleifera Lam.

ไทย
Radix

้าน
238 มะลิ ดอก Jasmini Sambaci Flos Jasminum sambac (L.) Aiton

ื้นบ
239 มะแวงเครือ ผล* Solani Trilobati Fructus Solanum trilobatum L.

ย์พ
มะแวงเครือ ราก Solani Trilobati Radix Solanum trilobatum L.

พท
240 มะแวงตน ราก Solani Sanitwongsei Solanum sanitwongsei W. G. Craib

ะแ
Radix

แล
241 มะหาด แกน Artocarpi Lacuchae Artocarpus lacucha Buch.-Ham.

ไทย
Lignum ผน
242 มากระทืบโรง เถา Fici Foveolatae Caulis Ficus foveolata (Wall. ex Miq.)
ย์แ
Miq.
พท

243 เมล็ดพรรณผักกาด เมล็ด Sinapidis Albae Semen Sinapis alba L.


รแ
ากา

244 แมงลัก ใบ* Ocimi Africani Folium Ocimum × africanum Lour.


แมงลัก ทั้งตน Ocimi Africani Herba Ocimum × africanum Lour.
ัญญ

แมงลัก ราก Ocimi Africani Radix Ocimum × africanum Lour.


ูมิป

245 แมงลักคา ใบ Hyptidis Suaveolens Hyptis suaveolens (L.) Poit.



ริม

Folium
่งเส

246 โมกหลวง เปลือกตน Holarrhenae Holarrhena pubescens Wall. ex G.


ะส

Pubescensitis Cortex Don



องแ

247 ไมเทายายมอม ราก* Clerodendri Indici Radix Clerodendrum indicum (L.) Kuntze
ไมเทายายมอม ใบ Clerodendri Indici Clerodendrum indicum (L.) Kuntze
คร

Folium
งคุ้ม

248 ยั้ง หัว Smilax Ovalifoliae Smilax ovalifolia Roxb. ex D.Don


กอ

Rhizoma
249 ยาดำ ยางจากใบ Aloin Aloe vera (L.) Burm. f.

199
ลำ�ดับ ชื่อตัวยา ส่วนที่ใช้ ชื่อละติน ชื่อวิทยาศาสตร์
250 ยานาง ราก* Tiliacorae Triandrae Tiliacora triandra (Colebr.) Diels.
Radix
ยานาง ใบ Tiliacorae Triandrae Tiliacora triandra (Colebr.) Diels.
Folium
251 ยาสูบ ใบ Nicotianae Tabaci Nicotiana tabacum L.

ไทย
Folium

้าน
252 ยี่สุน ดอก Rosae Damascenae Flos Rosa × damascena Herrm.

ื้นบ
253 รงทอง ยางจากตน Gambogia Resina Garcinia hanburyi Hook.f.

ย์พ
254 ระงับ/ระงับพิษ ใบ Breyniae Glaucae Folium Breynia glauca Craib

พท
255 ระยอม ราก Rauvolfiae Serpentinae Rauvolfia serpentina (L.) Benth. ex

ะแ
Radix Kurz

แล
256 รักขาว ใบ Calotropidis Procerae Calotropis procera (Aiton) Dryand.

ไทย
Folium ผน
257 รางแดง เถา Ventilaginis Denticulatae Ventilago denticulata Willd.
ย์แ
Caulis
พท

258 ราชพฤกษ เนื้อในฝก Cassiae Javanicae Pulpa Cassia javanica L.


รแ
ากา

259 เรว ผล Amomi Villosi Fructus Amomum villosum Lour.


260 โรกขาว เปลือกตน Tamilnadiae Uliginosae Tamilnadia uliginosa (Retz.)
ัญญ

Cortex Tirveng. & Sastre


ูมิป

261 โรกแดง เปลือกตน Dioecrescidis Dioecrescis erythroclada (Kurz)



ริม

Erythrocladae Cortex Tirveng


่งเส

262 ลำโพง ราก* Daturae Metelonis Radix Datura metel L. var. metel
ะส

ลำโพง ใบ Daturae Metelonis Datura metel L. var. metel


Folium
องแ

263 ลำโพงกาสลัก ราก* Daturae Metelonis Radix Datura metel L. var. fastuosa
คร

Danert.
งคุ้ม

ลำโพงกาสลัก ใบ Daturae Metelonis Datura metel L. var. fastuosa


กอ

Folium Danert.
ลำโพงกาสลัก ผล Daturae Metelonis Datura metel L. var. fastuosa
Fructus Danert.
264 ลำโพงแดง ผล Daturae Metelonis Datura metel L. var. fastuosa
Fructus Danert.
200
ลำ�ดับ ชื่อตัวยา ส่วนที่ใช้ ชื่อละติน ชื่อวิทยาศาสตร์
265 ลูกจันทน เมล็ด Myristicae Semen Myristica fragrans Houtt.
266 ลูกชีลอม ผล Cnidii Monnierii Fructus Cnidium monnieri (L.) Cusson
267 ลูกชีลา/ลูกผักชี/ผล ผล Coriandri Sativi Fructus Coriandrum sativum L.
ผักชี/ผลชีลา
268 เล็บครุฑ ใบ Polysciaitis Fruticosae Polyscias fruticosa (L.) Harms

ไทย
Folium

้าน
269 เลี่ยน ใบ* Meliae Azedarach Melia azedarach L.

ื้นบ
Folium

ย์พ
เลี่ยน เปลือกและใบ Meliae Azedarach Cortex Melia azedarach L.

พท
et Folium

ะแ
270 วานนางคำ เหงา Curcumae Aromaticae Curcuma aromatica Salisb.

แล
Rhizoma

ไทย
271 วานน้ำ เหงาและราก* Acori Calami Rhizoma et
ผน Acorus calamus L.
Radix
ย์แ
วานน้ำ ใบ Acori Calami Folium Acorus calamus L.
พท

272 สน แกน Pini Merkusii Lignum Pinus merkusii Jungh. & de Vriese
รแ
ากา

273 สนุนน้ำ เปลือกตน Salicis Tetraspermae Salix tetrasperma Roxb.


Cortex
ัญญ

274 สมกุง/สมกุงใหญ ราก Ampelocissi Martinii Ampelocissus martini Planch.


ูมิป

Radix

ริม

275 สมกุงนอย ราก Grewiae Sinuatae Radix Grewia sinuata Wall. ex Mast.
่งเส

276 สมจีน ผิวเปลือกผล Citri Sinensis Citrus sinensis (L.) Osbeck


ะส

Exocarpium

277 สมซา ผิวเปลือกผล Citri Aurantii Citrus x aurantium L.


องแ

Exocarpium
คร

278 สมปอย ใบ* Acaciae Concinnae Acacia concinna (Willd.) DC.


งคุ้ม

Folium
กอ

สมปอย ฝก Acaciae Concinnae Acacia concinna (Willd.) DC.


Fructus
279 สมอดีงู ผล Terminaliae Citrinae Terminalia citrina (Gaertn.) Roxb.
Fructus ex Fleming

201
ลำ�ดับ ชื่อตัวยา ส่วนที่ใช้ ชื่อละติน ชื่อวิทยาศาสตร์
280 สมอทะเล ผล Shirakiopsis Indicae Shirakiopsis indica (Willd.) Esser
Fructus
281 สมอเทศ ผล* Terminaliae Chebulae Terminalia chebula Retz.
Fructus
สมอเทศ เนื้อผล Terminaliae Chebulae Terminalia chebula Retz.

ไทย
Pericarpium

้าน
282 สมอไทย ผล* Terminaliae Chebulae Terminalia chebula Retz.

ื้นบ
Fructus

ย์พ
สมอไทย เนื้อผล Terminaliae Chebulae Terminalia chebula Retz.

พท
Pericarpium

ะแ
283 สมอพิเภก ผล* Terminaliae Belliricae Terminalia bellirica (Gaertn.)

แล
Fructus Roxb.

ไทย
สมอพิเภก เนื้อผล Terminaliae Belliricae
ผน Terminalia bellirica (Gaertn.)
Pericarpium Roxb.
ย์แ
284 สมี ใบ Sesbaniae Sesbanis Sesbania sesban (L.) Merr.
พท

Folium
รแ

285 สมุลแวง เปลือกตน Cinnamomi Bejolghotae Cinnamomum bejolghota (Buch.-


ากา

Cortex Ham.) Sweet


ัญญ

286 สลอด เมล็ด* Crotonis Tiglii Semen Croton tiglium L.


ูมิป

สลอด ใบ Crotonis Tiglii Folium Croton tiglium L.



ริม

287 สะแกแสง ใบ Canangae Latifoliae Cananga latifolia (Hook.f. &


่งเส

Folium Thomson) Finet & Gagnep.


ะส

288 สะคาน เถา Piperis Wallichii Caulis Piper wallichii (Miq.) Hand.-Mazz.

289 สะเดา ใบ* Azadirachtae Indicae Azadirachta indica A. Juss.


องแ

Folium
คร

สะเดา กานใบ Azadirachtae Indicae Azadirachta indica A. Juss.


งคุ้ม

Peteolum
กอ

สะเดา ราก Azadirachtae Indicae Azadirachta indica A. Juss.


Radix
290 สะเดาดิน ราก Glini Oppositifolii Radix Glinus oppositifolius (L.) Aug.DC.
291 สัก แกน Tectonae Grandidis Tectona grandis L.f.
Lignum
202
ลำ�ดับ ชื่อตัวยา ส่วนที่ใช้ ชื่อละติน ชื่อวิทยาศาสตร์
292 สักขี แกน Dalbergiae Candenatensis Dalbergia candenatensis (Dennst.)
Lignum Prain
293 สันพรามอญ ใบ Justiciae Gendarussae Justicia gendarussa Burm.f.
Folium
294 สันพราหอม ใบ Eupatorii Fortunei Eupatorium fortunei Turcz.

ไทย
Folium

้าน
295 สารภี ดอก Mammeae Siamensis Mammea siamensis T. Anderson

ื้นบ
Flos

ย์พ
296 สารสม - Alumen aluminium potassium sulfate

พท
dodecahydrate

ะแ
297 สีเสียดเทศ สิ่งสกัดดวยน้ำ Gambir Extractum Uncaria gambir (Hunter) Roxb.

แล
จากใบและกิ่ง

ไทย
298 เสนียด ราก Justiciae Adhatodae
ผน Justicia adhatoda L.
Radix
ย์แ
299 แสมทะเล แกน Avicenniae Marinae Avicennia marina (Forssk.) Vierh.
พท

Lignum
รแ

300 แสมสาร แกน Sennae Garrettianae Senna garrettiana (Craib) H.S.Irwin


ากา

Lignum & Barneby


ัญญ

301 หญาคา ราก Imperatae Cylindricae Imperata cylindrica (L.) Raeusch.


ูมิป

Rhizoma

ริม

302 หญาใตใบ (ชนิด ทั้งตน Phyllanthi Urinariae Phyllanthus urinaria L.


่งเส

เขียว) Herba
ะส

303 หญาไทร ทั้งตน Leersiae Hexandrae Leersia hexandra Sw.


Herba
องแ

304 หญาน้ำดับไฟ ใบ Lindenbergiae Lindenbergia philippensis (Cham.


คร

Philippensis Folium & Schltdl.) Benth.


งคุ้ม

305 หญาปากควาย ทั้งตน Dactyloctenii Aegyptii Dactyloctenium aegyptium (L.)


กอ

Herba Willd.
306 หญาฝรั่น เกสรเพศเมีย Croci Stigma Crocus sativus L.
307 หญาแพรก ทั้งตน Cynodonis Dactylonis Cynodon dactylon (L.) Pers.
Herba

203
ลำ�ดับ ชื่อตัวยา ส่วนที่ใช้ ชื่อละติน ชื่อวิทยาศาสตร์
308 หญาหนวดแมว ทั้งตน Orthosiphonis Herba Orthosiphon aristatus (Blume) Miq.
309 หนอนตายหยาก หัว Clitoriae Macrophyllae Clitoria macrophylla Benth.
Radix
310 หนาด ใบ* Blumeae Balsamiferae Blumea balsamifera (L.) DC.
Folium

ไทย
หนาด ราก Blumeae Balsamiferae Blumea balsamifera (L.) DC.

้าน
Radix

ื้นบ
311 หมาก ขั้วกานชอผล Arecae Catechu Raehis Areca catechu L.

ย์พ
หมาก ราก Arecae Catechu Radix Areca catechu L.

พท
312 หมากผู ใบ Cordylines Fruticosae Cordyline fruticosa (L.) A. Chev.

ะแ
Folium

แล
313 หมากเมีย ใบ Cordylines Fruticosae Cordyline fruticosa (L.) A. Chev.

ไทย
Folium ผน
314 หลอฮังกวย ผล Siraitiae Grosvenorii Siraitia grosvenorii (Swingle)
ย์แ
Fructus C.Jeffrey ex A.M.Lu & Zhi
พท

Y.Zhang
รแ
ากา

315 หวายขม ราก Calami Rotangis Radix Calamus rotang L.


316 หวายลิง ราก Flagellariae Indicae Flagellaria indica L.
ัญญ

Radix
ูมิป

317 หอม หัว Allii Ascalonici Bulbus Allium ascalonicum L.



ริม

318 หอมแดง หัว Eleutherinae Americanae Eleutherine bulbosa (Mill.) Urb.


่งเส

Bulbus
ะส

319 หอยขม เปลือก Viviparae Bengalensis Vivipara bengalensis Lam.


Exocarpium
องแ

320 หอยแครง เปลือก Anadarae Granosae Anadara granosa Linnaeus


คร

Exocarpium
งคุ้ม

321 หัสคุณเทศ ราก Clausenae Excavatae Clausena excavata Burm. f.


กอ

Radix
322 หัสคุณไทย เนื้อไม Micromeli Integerrimi Micromelum integerrimum
Lignum (Buch.-Ham. ex DC.) Wight &
Arn. ex M. Roem.

204
ลำ�ดับ ชื่อตัวยา ส่วนที่ใช้ ชื่อละติน ชื่อวิทยาศาสตร์
323 หัสดำเทศ แกน Cyatheae Giganteae Cyathea gigantea (Wall. ex Hook.)
Lignum Holttum
324 เห็ดมูลโค ทั้งตน Psilocybes Cubensis Psilocybe cubensis (Earle) Singer
Herba bodies of
mushrooms

ไทย
325 เห็ดรางแห ทั้งตน Phalli Indusiati Herba Phallus indusiatus Vent.

้าน
bodies of mushrooms

ื้นบ
326 เหมือดคน ราก Heliciopsis Terminalidis Heliciopsis terminalis (Kurz)

ย์พ
Radix Sleumer

พท
327 แหวหมู เหงา Cyperi Rhizoma Cyperus rotundus L.

ะแ
328 โหระพา ใบ* Ocimi Basilici Folium Ocimum basilicum L.

แล
โหระพา ผล Ocimi Basilici Fructus Ocimum basilicum L.

ไทย
329 โหราทาวสุนัข ทั้งตน Balanophorae ผน Balanophora abbreviata Blume
Abbreviatae Herba
ย์แ
330 อบเชย/อบเชยไทย เปลือกตน Cinnamomi Cortex Cinnamomum iners Reinw. ex
พท

Blume
รแ
ากา

331 อบเชยญวน เปลือกตน Cinnamomi Loureirii Cinnamomum loureiroi Nees


Cortex
ัญญ

332 อบเชยเทศ เปลือกตน Cinnamomi Veri Cortex Cinnamomum verum J. Presl


ูมิป

333 อังกาบ ใบ Barleriae Cristatae Barleria cristata L.



ริม

Folium
่งเส

334 อำพันทอง น้ำกามของ Ambergris Physeter catodon Linnaeus


ะส

วาฬ

335 อุตพิด หัว Typhonii Trilobati Typhonium trilobatum (L.) Schott


องแ

Cormus
คร

336 เอื้องเพ็ดมา ทั้งตน Persicariae Chinensis Persicaria chinensis (L.) H. Gross


งคุ้ม

Herba
กอ

205
กอ

206
งคุ้ม
คร
องแ
ละส
่งเส
ริม
ภูมิป
ัญญ
ากา
รแ พท
ย์แ
ผน
ไทย
แล
ะแ
พท
ย์พ
ื้นบ
้าน
ไทย
กอ
งคุ้ม
คร
องแ
ละส
่งเส
ริม
ภูมิป
ัญญ
ากา
รแ พท
ย์แ
ผน
ไทย
แล
ะแ
พท
ย์พ
ื้นบ
้าน

207
ไทย
กอ

208
งคุ้ม
คร
องแ
ละส
่งเส
ริม
ภูมิป
ัญญ
ากา
รแ พท
ย์แ
ผน
ไทย
แล
ะแ
พท
ย์พ
ื้นบ
้าน
ไทย
ภาคผนวก ๒
การเตรียมตัวยาก่อนใช้ปรุงยา

ยาไทย หรือ ยาแผนไทย มักใช้เป็นยาต�ำรับ ซึ่งแต่ละต�ำรับประกอบด้วยตัวยาต่าง ๆ


ในการเตรียมตัวยาเพื่อใช้ปรุงยาตามต�ำรับยานั้นมีความส�ำคัญมาก เนื่องจากตัวยาสมุนไพรหลายชนิด

ไทย
ต้องผ่านกระบวนการบางอย่างก่อนที่แพทย์ปรุงยาจะน�ำมาใช้ปรุงยาได้ ทั้งนี้เนื่องจากตัวยามีฤทธิ์แรง

้าน
เกินไป ไม่สะอาด อาจมีการปนเปื้อนของเชื้อโรค มีปริมาณความชื้นมากเกินไป หรือมีพิษมาก จึงต้องผ่าน

ื้นบ
กระบวนการประสะ สะตุ และฆ่าฤทธิ์เสียก่อน เพื่อความปลอดภัยในการน�ำมาใช้

ย์พ

พท
ประสะ เมื่ออยู่ในชื่อยา ค�ำ ประสะ อาจมีความหมาย ๒ อย่าง คือ ท�ำให้สะอาด บริสุทธิ์ หรือมี

ะแ
มากขึ้น เช่น ยาประสะน�้ำนม หมายถึง ยาที่ท�ำให้น�้ำนมสะอาดขึ้น กับมีส่วนผสมเท่ายาอื่นทั้งหมด เช่น ยา

แล
ประสะกะเพรา หมายความว่า ยานัน้ มีกะเพราเท่าตัวยาอืน่ ทัง้ หมดรวมกัน แต่ในความหมายทีเ่ กีย่ วกับการเต

ไทย
รียมตัวยาก่อนน�ำไปใช้ปรุงยานัน้ ค�ำ ประสะ หมายถึง การท�ำให้พษิ ของตัวยานัน้ ลดลง เช่น ประสะยางสลัดได
ยางตาตุ่ม ยางหัวเข้าค่า ผน
ย์แ
สะตุ ในศาสตร์ดา้ นเภสัชกรรมแผนไทย ค�ำ สะตุ อาจหมายถึงท�ำให้ตัวยาแห้งและมีฤทธิ์แรงขึ้น
พท

(เช่น การสะตุสารส้ม) หรือท�ำให้พษิ ของตัวยาลดลง (เช่น การสะตุหวั งูเห่า) หรือท�ำให้ตวั ยาแห้งและปราศจาก


รแ

เชื้อ (เช่น การสะตุดินสอพอง) หรือการท�ำให้ตัวยานั้นสลายตัวลง (เช่น การสะตุเหล็ก)


ากา

ฆ่าฤทธิ์ หมายถึง ท�ำให้ความเป็นพิษของเครื่องยาบางอย่างลดลงหรือหมดไป จนสามารถน�ำไป


ัญญ

ใช้ปรุงยาได้โดยไม่เป็นอันตรายกับผู้ใช้ยา มักใช้กับตัวยาที่มีพิษมาก เช่น ลูกสลอด สารหนู ปรอท ชาด หรือ


ูมิป

ใช้ กั บ ตั ว อย่ า งที่ ไ ม่ มี พิ ษ เช่ น ชะมดเช็ ด ซึ่ ง เป็ น การฆ่ า กลิ่ น ฉุ น หรื อ ดั บ กลิ่ น คาว ท� ำ ให้ มี ช ะมดเช็ ด

ริม

มีกลิ่นหอม
่งเส

๑. กระเทียม
ะส

น�ำตัวยาไปคั่ว ด้วยไฟอ่อนๆ พอสุก อย่าให้ไหม้ จึงน�ำไปใช้ปรุงยาได้



องแ

๒. กลอย
คร

ถ้าเป็นตัวยาสด ให้หั่นเป็นแว่นบาง ๆ น�ำมาล้าง น�้ำสะอาด ๗ ครั้ง แล้ว น�ำมาตากหรืออบให้แห้ง


งคุ้ม

คั่วด้วยไฟอ่อน ๆ พอสุก จึงน�ำมาปรุงยาได้


๓. กัญชา
กอ

คั่วด้วยไฟอ่อนๆ พอมีกลิ่นหอม จึงน�ำมาปรุงยาได้


๔. เกลือ
การสะตุเกลือเป็นวิธีการล้างเกลือให้สะอาด โดยเอาเกลือใส่ในหม้อดินเทน�้ำใส่ให้เกลือละลาย
แล้วน�ำมาตั้งไฟจนแห้งและฟูหรือท�ำได้โดยการคั่วที่อุณหภูมิสูง จนความชื้นและน�้ำระเหยออกไปหมด
อาจท�ำได้โดยน�ำเกลือใส่ในหม้อดิน ตั้งไฟให้น�้ำระเหยออกหมด จนเกลือกรอบจึงน�ำมาใช้ปรุงยา
209
๕. โกฐน�้ำเต้า
น�ำโกฐน�ำ้ เต้ามาหัน่ ให้ขนาดเท่าๆ กัน ใส่ในลังถึง ซึง่ มีผา้ ขาวห่อทีฝ่ าลังถึงเพือ่ ให้ซบั ไอน�ำ้ ทีร่ ะเหย
ขึ้นมา นึ่งประมาณ ๓๐ นาที น�ำมาผึ่งให้แห้ง จึงน�ำไปใช้ท�ำยาได้
๖. เข้าค่า
ใส่กระทะคั่วพอสุก ก่อนน�ำมาปรุงยาผงหรือยาต้ม
๗. คูน (ฝัก)

ไทย
อบหรือคั่วด้วยไฟอ่อน ๆ ให้แห้งสนิท จึงน�ำมาปรุงยา

้าน
*ยาต้มใส่เฉพาะเนื้อในฝักผสมน�้ำสุกมาคั้นเอาแต่น�้ำ จะลดอาการคลื่นไส้ พะอืดพะอม

ื้นบ
๘. ไคร้เครือ

ย์พ
คั่วด้วยไฟอ่อนๆ ให้สุกจนเกือบไหม้ จึงน�ำมาปรุงยา

พท
๙. จุนสี

ะแ
ตั้งไฟอ่อน ๆ ให้ละลายจุนสีในหม้อดินจนแห้ง เป็นผงสีฟ้าอ่อน จึงน�ำมาปรุงยาได้

แล
๑๐. ดองดึง

ไทย
วิธีที่ ๑ น�ำไปต้ม หรือนึ่ง ให้สุกทุกครั้ง และน�ำไปผึ่งแดดหรือ อบให้แห้ง จึงน�ำมาปรุงยาได้
ผน
วิธีที่ ๒ หั่นดองดึง น�ำไปปิ้งไฟให้พอสุก ไม่ไหม้เกรียมจนเกินไป จึงน�ำมาปรุงยาได้
ย์แ
วิธีที่ ๓ น�ำหัวดองดึงมาล้างให้สะอาด เทน�้ำผึ้งให้ท่วมหัวดองดึง เคี่ยวในหม้อดินที่แตกแล้ว
พท

จนน�้ำผึ้งงวดและแห้ง จึงน�ำมาปรุงยาได้
รแ

๑๑. ดินประสิว
ากา

น�ำดินประสิวมาต�ำให้ละเอียดพอควรใส่ในหม้อดิน ประมาณ ๑ ใน ๓ ของหม้อดินทีใ่ ช้สะตุ ไม่ใส่นำ�้


ัญญ

ตั้งเตาถ่านใช้ไฟอ่อน ๆ ไม่ต้องปิดฝาหม้อดินรอจนดินประสิวละลายแห้งเป็นแผ่น สีขาวขุ่น ทิ้งให้เย็น


ูมิป

จึงน�ำมาปรุงยา

๑๒. ตองแตก
ริม

วิธีที่ ๑ น�ำตัวยาไปคั่ว ด้วยไฟอ่อนๆ พอสุกไม่ให้ไหม้ จึงน�ำไปปรุงยาได้


่งเส

วิธีที่ ๒ หั่นเป็นชิ้นเล็ก ๆ คลุกเคล้าด้วยสุราให้ชุ่มแล้วตั้งไฟคั่วให้แห้ง จึงน�ำมาปรุงยาได้


ะส

๑๓. บอระเพ็ด

องแ

น�ำตัวยาไปตากแห้ง แล้วน�ำไปคั่ว ด้วยไฟอ่อนๆ พอสุก ไม่ให้ไหม้ จึงน�ำมาปรุงยาได้


๑๔. บุก, บุกรอ
คร
งคุ้ม

ถ้าเป็นตัวยาสด ให้หั่นเป็นแว่นบาง ๆ น�ำมาล้าง น�้ำสะอาด ๗ ครั้ง แล้ว น�ำมาตากหรืออบให้แห้ง


คั่วด้วยไฟอ่อน ๆ พอสุก จึงน�ำมาปรุงยาได้
กอ

๑๕. เบี้ยจั่น
วิธีที่ ๑ น�ำตัวยาไปต�ำพอแหลก คั่วให้กรอบ เกือบไหม้ น�ำมาต�ำให้เป็นผงละเอียด จึงน�ำมาปรุงยาได้
วิธีที่ ๒ น�ำตัวยา ใส่ในเตาถ่าน เผาจนตัวยาสุก กรอบ เป็นสีขาว น�ำมาต�ำให้ละเอียด หลังจากนั้น
น�ำไปแร่งด้วยแร่งเบอร์ ๖๐ น�ำมาปรุงยาได้

210
๑๖. จุณขี้เหล็ก
น�ำผงเหล็กใส่ในหม้อดิน บีบน�้ำมะนาว ลงไปให้ท่วม ผงเหล็ก ยกขึ้นตั้งไฟอ่อนๆ ไม่ต้อง
ปิดฝาหม้อจนน�้ำมะนาวแห้ง ท�ำแบบนี้ ๗ ครั้ง จนผงเหล็กกรอบ จึงน�ำมาปรุงยาได้
๑๗. มดยอบ
น�ำตัวยาไปคั่ว ด้วยไฟอ่อน ๆ พอสุกกรอบ อย่าให้ไหม้ จึงน�ำมาปรุงยาได้
๑๘. มหาหิงคุ์

ไทย
น�ำมหาหิงคุ์ใส่หม้อดิน เอาใบกะเพราแดง ใส่น�้ำต้มจนเดือด เทน�้ำใบกะเพราแดง ขณะร้อนๆ ลง

้าน
ในหม้อดินลงละลายมหาหิงคุ์ แล้วกรองให้สะอาดจึงน�ำมาปรุงยาได้

ื้นบ
๑๙. มะกล�่ำเครือ

ย์พ
น�ำไปคั่วไฟอ่อน พอสุกก่อนใช้ปรุงยา หากเป็นยาต้มไม่ต้องสะตุ

พท
๒๐. มะกล�่ำต้น

ะแ
น�ำไปคั่วไฟอ่อน พอสุกก่อนใช้ปรุงยา หากเป็นยาต้มไม่ต้องสะตุ

แล
๒๑. มะกอก

ไทย
เอาตัวยาไปสุม จึงน�ำไปใช้ปรุงยาได้
๒๒. มะค�ำดีควาย
ผน
ย์แ
เอาตัวยาไปสุม จึงน�ำไปใช้ปรุงยาได้
พท

๒๓. ยาด�ำ
รแ

วิธีที่ ๑ เอายาด�ำใส่กระทะที่สะอาด คั่วไฟ จนยาด�ำละลาย ทิ้งไว้ให้เย็น ยาด�ำจะกรอบจึงน�ำมา


ากา

ปรุงยา
ัญญ

วิธีที่ ๒ เอายาด�ำใส่กระทะ บีบน�้ำมะกรูดพอท่วมยาด�ำ ตั้งบนเตาไฟ อ่อนๆ กวนให้แห้ง


ูมิป

อย่าให้ไหม้ ทิ้งให้เย็น จึงน�ำมาปรุงยา


วิธีที่ ๓ ยาด�ำใส่หม้อดิน เติมน�้ำเล็กน้อยยกขึ้นตั้งไฟอ่อน ๆ จนยาด�ำละลาย เหนียวข้นทิ้งให้เย็น


ริม

ยาด�ำจะกรอบ จึงน�ำมาปรุงยา
่งเส

๒๔. ยาสูบ (ใบ)


ะส

คั่วด้วยไฟอ่อน ๆ พอมีกลิ่นหอม จึงน�ำมาปรุงยาได้ ยาต้มไม่ต้องคั่ว



องแ

๒๕. รงทอง
วิธีที่ ๑ เอารงทองมาบดเป็นผง บีบน�้ำมะกรูดใส่ลงจนปั้นได้ ห่อใบบัวหลวง ๗ ชั้น ปิ้งไฟอ่อนๆ
คร
งคุ้ม

จนรงทองละลาย ใบบัวสุกเกรียม
วิธีที่ ๒ เอารงทอง ต�ำเป็นผง ห่อใบบัวหลาย ๆ ใบ มัดให้แน่น ไม่ให้รงทอง รั่วออกมาได้
กอ

น�ำมาปิ้งไฟอ่อน ๆ จนรงทองละลาย ทิ้งให้เย็น รงทอง จะสุกกรอบ จึงน�ำมาท�ำยาได้ หรือ


วิธีที่ ๓ เอารงทอง ต�ำเป็นผง ห่อใบข่าหลาย ๆ ใบ มัดให้แน่น ไม่ให้รงทอง รั่วออกมาได้ น�ำมาปิ้ง
ไฟอ่อน ๆ จนรงทองละลาย ทิ้งให้เย็น รงทอง จะสุกกรอบ จึงน�ำมาท�ำยาได้

211
๒๖. ระย่อม
แช่นำ�้ ซาวข้าวประมาณ 3-๔ ชัว่ โมง หรือพรมเหล้า แล้วน�ำใส่กระทะคัว่ ด้วยไฟอ่อนๆ ให้สกุ เหลือง
ไม่ให้ไหม้
๒๗. รักขาว (ใบ)
ตาก หรือ อบให้แห้งคั่วให้สุกด้วยไฟอ่อน ๆ ก่อนน�ำมาท�ำยา จึงน�ำมาปรุงยา
๒๘. ล�ำโพง

ไทย
คั่วไฟให้เหลืองเกือบจะไหม้ หรือสุมในหม้อดินจนเป็นถ่านแล้วน�ำมาใส่ในต�ำรับยา

้าน
๒๙. ลูกซัด

ื้นบ
เอาตัวยาไปคั่ว จึงน�ำไปใช้ปรุงยา

ย์พ
๓๐. ส้มป่อย (ฝัก)

พท
น�ำมาปิ้งไฟ จึงน�ำไปใช้ปรุงยาได้

ะแ
๓๑. สมอทะเล (ใบ)

แล
เอาใบสมอทะเลไปนึ่ง ตากหรือ อบให้แห้ง จึงจะน�ำมาใช้ได้ปรุงยาได้ ส่วนกรณียาต้ม ใช้ใบสดได้

ไทย
โดยไม่ต้องนึ่ง
๓๒. สลอด
ผน
ย์แ
วิธีการฆ่าฤทธิ์สลอดนั้น ต�ำราการแพทย์แผนไทย ให้ไว้หลายแบบหลายวิธี เช่น
พท

วิธีที่ ๑ ปอกเปลือกผลสลอด เอาเมล็ดออก ล้างน�้ำให้สะอาด ห่อผ้าขาวบาง ใส่ในหม้อต้มกับข้าว


รแ

สารหรือข้าวเปลือก กวนจนแห้ง ท�ำซ�้ำอีก ๒ ครั้ง แล้วเอามาคั่วกับน�้ำปลาจนเกรียม จากนั้นเอามาห่อผ้า


ากา

แล้วทับด้วยของหนัก จนน�้ำมันออก จึงน�ำมาปรุงยา


ัญญ

วิธีที่ ๒ เอาผลสลอดปอกเปลือกแล้ว ในวันแรกต้มกับใบพลูแก วันที่ ๒ ต้มกับใบชะพลู วันที่ ๓


ต้มกับใบพริกเทศ วันที่ ๔ ต้มกับใบมะขาม วันที่ ๕ ต้มน�้ำเกลือ วันที่ ๖ ต้มกับข้าวสาร วันที่ ๗ ต้มกับ
ูมิป

มูตรโคด�ำ

ริม

วิธีที่ ๓ เอาเมล็ดสลอด ห่อด้วยข้าวสุก ปั้นเป็นก้อน แล้วเอาไปเผาไฟอ่อน ๆ จนข้าวสุกเกรียม


่งเส

จึงน�ำมาท�ำยาได้
ะส

วิธีที่ ๔ เอาผลสลอดแช่น�้ำปลาร้าปากไหไว้ ๑ คืน แล้วยัดเข้าในผลมะกรูด เอาผลมะกรูดสุมในไฟ



องแ

แกลบให้ระอุ แล้วบดรวมกัน หรือบางต�ำราใช้สลอดยัดเข้าในมะกรูดหรือมะนาว แล้วเผาให้เมล็ดสลอดเกรียม


วิธีที่ ๕ ปอกเปลือกสลอดให้หมด แช่น�้ำเกลือไว้ ๒ คืน แล้วจึงเอายัดในผลมะกรูด เอาผลมะกรูด
คร

ใส่ในหม้อดิน ปิดฝาไม่ใส่น�้ำ สุมในไฟแกลบจนสุก แล้วน�ำไปปรุงยาพร้อมกับผลมะกรูด


งคุ้ม

วิธีที่ ๖ ต้มสลอดกับใบมะขามและส้มป่อย (๑ ก�ำมือ) และเกลือ (๑ ก�ำมือ) ให้สุก แล้วตากแดดให้แห้ง


กอ

วิธีที่ ๗ เอาผลสลอดปอกเปลือก เอาเมล็ดมาแช่น�้ำปลาร้าไว้คืน ๑ แล้วคั่วให้เหลือง เอาห่อผ้า


๕ ชั้น ทับเอาน�้ำมันออกเสีย (ใช้ครกทับ)
วิธีที่ ๘ เอาเนื้อเมล็ดสลอด ใส่ในลูกมะพร้าวนาฬิเก สุมไฟแกลบไว้ ๑ คืน เอาออกมาทับน�้ำให้แห้ง
แล้วคั่วให้เกรียม

212
วิธีที่ ๙ แกะเมล็ดสลอดเอาเปลือกออก ต้มกับน�้ำมูตร ๑ วัน ต้มกับน�้ำมะพร้าว ๑ วัน ต้มกับข้าว
สาร ๑ วัน ต้มกับน�้ำอ้อยแดง ๑ วัน ทับน�้ำให้แห้ง แล้วตากแดดให้แห้ง
วิธีที่ ๑๐ ปอกเปลือกผลสลอด แกะเอาเนื้อเมล็ดสลอด ห่อด้วยข้าวสุกให้มิด แล้วน�ำมาห่อด้วยผ้า
ขาว ต้มให้น�้ำแห้ง ๓ หน แล้วตากแดดให้แห้ง แล้วเอาต้มด้วยใบมะขามให้น�้ำแห้ง ๑ ครั้ง ต้มด้วยใบส้มป่อย
ให้น�้ำแห้ง ๑ ครั้ง ต้มด้วยเกลือให้น�้ำแห้ง ๑ ครั้ง แล้วเอาตากแดดให้แห้ง
วิธีที่ ๑๑ การฆ่าฤทธิ์สลอดโดยเอาผลสลอด ๑๐๘ เมล็ด ผ่าเอาเมล็ดละซีก บดให้ละเอียด แล้วทอด

ไทย
ในน�้ำมันมะพร้าวไฟให้เกรียม บางต�ำราใช้วิธีการคั่วให้เมล็ดสลอดเกรียมแทน

้าน
๓๓. สลัดได

ื้นบ
วิธีที่ ๑ เอายางสลัดไดใส่ในถ้วยทนความร้อน ต้มน�้ำร้อนให้เดือด ชงลงในถ้วยยาง กวนให้ทั่ว

ย์พ
ทิ้งไว้ให้เย็น ค่อย ๆ รินน�้ำทิ้ง ท�ำแบบนี้ ๗ ครั้ง จนน�้ำยางสุก เอาน�้ำยางมาผึ่งให้แห้ง จึงน�ำมาปรุงยาได้

พท
วิธีที่ ๒ เอายางสลัดไดใส่ถ้วยทนความร้อน นึ่งในกระทะที่มีน�้ำ ใช้ไฟปานกลางปิดฝากระทะ

ะแ
ไม่ต้องปิดฝาถ้วยน�้ำยางนึ่งแบบไข่ตุ๋น ระวังอย่าให้น�้ำในกระทะกระเด็นลงในถ้วยยาง นึ่งจนยางสุก น�ำยาง

แล
ไปผึ่งแดดให้แห้ง แล้ว น�ำมาย่างด้วยไฟอ่อน ๆ จึงน�ำมาปรุงยาได้

ไทย
วิธีที่ ๓ เอาต้นสลัดได หั่นเป็นชิ้น แล้วตากให้แห้ง จึงน�ำมาปรุงยาได้
๓๔. สะบ้ามอญ ผน
ย์แ
เอาตัวยาไปสุมกับไฟ จึงน�ำไปใช้ปรุงยาได้
พท

๓๕. สัก
รแ

เอาตัวยาไปสุมกับไฟ จึงน�ำไปใช้ปรุงยาได้ ถ้าใส่ยาต้ม ไม่ต้องสุมไฟ


ากา

๓๖. สารส้ม
ัญญ

สารส้มที่ใช้ทางยานั้น มักจะเอามาสะตุก่อนใช้ เรียก สารส้มสะตุ หรือ สารส้มสุทธิ โดยเอาสารส้ม


มาบดให้ละเอียด ใส่ในหม้อดินหรือกระทะเหล็ก ตัง้ ไฟจนสารส้มฟูและมีสขี าว แล้วจึงยกลงจากไฟ ทิง้ ให้แห้ง
ูมิป

๓๗. สีเสียดเทศ

ริม

ถ้าใส่ยาผงทุบเป็นก้อนเล็ก ๆ คั่วด้วยไฟอ่อน ๆ ไม่ให้ไหม้ จึงน�ำมาปรุงยา ถ้าเข้ายาภายนอก


่งเส

ไม่ต้องสะตุ
ะส

๓๘. หวายตะค้า

เอาตัวยาไปสุมกับไฟ จึงน�ำไปใช้ปรุงยาได้ ถ้าใส่ยาต้ม ไม่ต้องเอาไปสุมไฟ


องแ

๓๙. หอยขม
คร

๑) น�ำตัวยา ใส่ในหม้อดิน ไม่ใส่น�้ำใส่ประมาณ ๑/๒ หม้อ ปิดฝาตั้งไฟถ่าน ใส่ถ่านให้เต็มเตาใช้


งคุ้ม

ไฟแรง รอจนถ่านมอดทิ้งให้เย็น เปิดดูเปลือกหอย จะขาวกรอบ ใช้มือหักได้


กอ

๒) ถ้ายังไม่สุกขาวกรอบ ให้สุมอีกรอบ ใส่ถ่านให้เต็มเตา ใช้ไฟแรงเปลือกหอย จะสุก ขาวกรอบ


น�ำมาต�ำให้ละเอียด แร่งด้วยแร่ง เบอร์ ๖๐ จึงน�ำมาปรุงยาได้
๔๐. หอยแครง
๑) น�ำตัวยา ใส่ในหม้อดิน ไม่ใส่น�้ำใส่ประมาณ ๑/๒ หม้อ ปิดฝาตั้งไฟถ่าน ใส่ถา่ นให้เต็มเตาใช้
ไฟแรง รอจนถ่านมอดทิ้งให้เย็น เปิดดูเปลือกหอย จะขาวกรอบ ใช้มือหักได้
213
๒) ถ้ายังไม่สุกขาวกรอบ ให้สุมอีกรอบ ใส่ถา่ นให้เต็มเตา ใช้ไฟแรงเปลือกหอย จะสุก ขาวกรอบ
น�ำมาต�ำให้ละเอียด แร่งด้วยแร่ง เบอร์ ๖๐ จึงน�ำมาปรุงยาได้
๔๑. ยั้ง
ใส่กระทะคั่วพอสุก ก่อนน�ำมาปรุงยาผงหรือยาต้ม
๔๒. หัสคุณเทศ
วิธีที่ ๑ เอาตัวยาไปคั่ว จึงน�ำไปใช้ปรุงยาได้

ไทย
วิธีที่ ๒ หั่นเป็นชิ้นเล็ก ๆ คลุกเคล้าด้วยสุราให้ชุ่ม แล้วตั้งไฟคั่วให้แห้ง จึงน�ำมาปรุงยาได้

้าน
๔๓. หัสคุณไทย

ื้นบ
วิธีที่ ๑ เอาตัวยาไปคั่ว จึงน�ำไปใช้ปรุงยาได้

ย์พ
วิธีที่ ๒ หั่นเป็นชิ้นเล็ก ๆ คลุกเคล้าด้วยสุราให้ชุ่ม แล้วตั้งไฟคั่วให้แห้ง จึงน�ำมาปรุงยาได้

พท
๔๔. โหราท้าวสุนัข

ะแ
คั่วให้สุกเกือบไหม้ จึงน�ำมาปรุงยาได้

แล
๔๕. อุตพิด

ไทย
ถ้าเป็นตัวยาสด ให้หั่นเป็นแว่นบาง ๆ น�ำมาล้าง น�้ำสะอาด ๗ ครั้ง แล้ว น�ำมาตากหรืออบให้แห้ง
คั่วด้วยไฟอ่อน ๆ พอสุก จึงน�ำมาปรุงยาได้
ผน
ย์แ
รแ พท
ากา
ัญญ
ภ ูมิป
ริม
่งเส
ล ะส
องแ
คร
งคุ้ม
กอ

214
กอ
งคุ้ม
คร
องแ
ละส
่งเส
ริม
ภูมิป
ัญญ
ากา
รแ พท
ย์แ
ผน
ไทย
แล
ะแ
พท
ย์พ
ื้นบ
้าน

215
ไทย
กอ

216
งคุ้ม
คร
องแ
ละส
่งเส
ริม
ภูมิป
ัญญ
ากา
รแ พท
ย์แ
ผน
ไทย
แล
ะแ
พท
ย์พ
ื้นบ
้าน
ไทย
ภาคผนวก ๓
วิธีการปรุงยา

๓.๑ ยาต้ม เป็นรูปแบบการปรุงยาแผนโบราณที่แพทย์แผนไทยนิยมใช้กันมากรูปแบบหนึ่ง การปรุงยา


ด้วยรูปแบบนี้มีการจัดเตรียมตัวยาได้ทั้งสดและแห้ง ตัวยาหลากหลายชนิดประสมกันต้มเดือดหรือเคี่ยว

ไทย
รินกินน�้ำ โดยทั่วไปโบราณจะใช้หม้อดินเผาใหม่ ๆ ไม่ใช้หม้อดินที่ท�ำด้วยโลหะต่าง ๆ เช่น หม้อทองแดง

้าน
หม้ออะลูมิเนียม เพราะท�ำให้ฤทธิ์ของยาเปลี่ยนไปหรือมีโลหะปนเปื้อนยา ปัจจุบันนิยมใช้หม้อสเตนเลส

ื้นบ
หรือหม้อเคลือบตั้งต้มบนเตาแก๊ส ไม่ใช้หม้อดินเพราะแตกง่ายเนื่องจากไม่มียางฟืนผสานก้นหม้อ

ย์พ
เครื่องยาที่น�ำไปใช้ต้มตามต�ำรับนั้นต้องท�ำความสะอาดโดยการปัดฝุ่น ล้างน�้ำ น�ำไปผึ่งลมแห้ง

พท
แล้วย่อยขนาด ให้เหมาะสมส�ำหรับต้มให้น�้ำสามารถซึมซาบไปในเนื้อตัวยาและดึงตัวยาส�ำคัญออกมาได้

ะแ
แล้วน�ำตัวยาไปใส่ในหม้อต้มขนาดพอเหมาะ เติมน�้ำพอท่วมยา น�ำตั้งเตาต้มให้เดือดด้วยไฟกลางประมาณ

แล
๑๕ นาที ดับไฟยกหม้อลงจากเตา รินเอาน�้ำดื่ม ซึ่งรูปแบบยาต้มแบ่งออกเป็น ๓ วิธี ได้แก่

ไทย
๓.๑.๑ ยาต้ม วิธีที่ ๑ การต้มให้เดือดด้วยไฟแรงก่อนแล้วลดอุณหภูมิลงโดยใช้ไฟอ่อน ๆ
ต้มต่อไปอีก ๑๐-๑๕ นาที กรองเอาส่วนที่เป็นน�ำ้ มาดื่ม
ผน
ย์แ
๓.๑.๒ ยาต้ม วิธีที่ ๒ การต้มเคี่ยวด้วยไฟอ่อน คือ การต้มโดยใช้ไฟอ่อน ๆ ใช้เวลาในการต้ม
พท

ประมาณ ๒๐-๓๐ นาที กรองเอาแต่ส่วนที่เป็นน�ำ้ มาดื่ม


รแ

๓.๑.๓ ยาต้ม วิธีที่ ๓ ยาต้มเคี่ยวไฟกลาง ต้มสามเอาหนึ่ง คือ เติมน�้ำใส่ตัวยาสามส่วนต้ม


ากา

ให้เหลือน�้ำเพียงหนึ่งส่วน รินเอาแต่น�้ำเก็บไว้ วิธีการต้มแบบนี้นิยมใช้กับต�ำรับยาเล็ก ๆ ส่วนต�ำรับยาที่มี


ัญญ

ตัวยาประสมมาก ๆ นิยมน�ำยามาต้มซ�้ำแบบเดิม ๓ ครั้ง น�ำเอาน�้ำยาทั้งหมดมารวมกันแบ่งเอาแต่น�้ำดื่ม


๓.๑.๔ ยาต้ม วิธีที่ ๔ การต้มยาในระดับอุตสาหกรรม การต้มให้เดือดด้วยไฟแรงก่อนแล้ว
ูมิป

ลดอุณหภูมิลงโดยใช้ไฟอ่อนๆ ต้มต่อไปอีก ๑๐-๑๕ นาที กรองเอาส่วนที่เป็นน�้ำ แล้วให้เติมน�้ำต้มสุก



ริม

ปรับเพิ่มปริมาตรยาเท่ากับปริมาตรน�้ำเริ่มต้น
่งเส

กระบวนการผลิตยาต้ม
ะส

๑. น�ำเครื่องยาที่ใช้ตามต�ำรับยามาท�ำความสะอาด ด้วยการคัดแยกสิ่งแปลกปลอมออกจากตัวยา

ทีไ่ ม่สามารถล้างด้วยน�ำ้ ได้ และคัดแยกสิง่ ทีป่ นเปือ้ นมากับตัวยา เช่น น�ำไปล้างน�ำ้ ท�ำความสะอาด
องแ

เอาดิน ฝุ่นผง และสิ่งสกปรกอื่น ๆ ออกจากตัวยา น�ำตัวยาที่คัดแยกเอาสิ่งแปลกปลอมและ


คร

ปนเปื้อนออกเรียบร้อยแล้วไปผึ่งลมให้แห้ง
งคุ้ม

๒. ย่อยขนาดของสมุนไพรให้เหมาะสมส�ำหรับต้ม เพือ่ ให้นำ�้ สามารถซึบซาบเข้าไปในตัวยาและดึงเอา


กอ

สารส�ำคัญออกมาได้
๓. น�ำเครื่องยาปริมาณตามต�ำรับยามาต้มน�ำ้ ในระยะเวลาที่กำ� หนดไว้ในแต่ละต�ำรับ
๓.๑ กรณียาต้ม วิธีที่ ๑ ให้เติมน�้ำพอท่วม (โดยใช้มือกดบนยาเบา ๆ ให้ตัวยาจมอยู่ใต้นำ�้ และ
ให้น�้ำท่วมหลังมือ) น�ำไปตั้งบนเตา ต้มจนเดือดด้วยไฟกลาง แล้วลดอุณหภูมิลงโดย
ใช้ไฟอ่อน ๆ ต้มต่อไปอีก ๑๐-๑๕ นาที จึงยกหม้อลงจากเตา รินเอาน�ำ้ แต่นำ�้ ดื่ม
๓.๒ กรณียาต้ม วิธีที่ ๒ เติมน�้ำให้ท่วมยา ตั้งไฟต้มเคี่ยวจนเหลือน�้ำครึ่งหนึ่ง
217
๓.๓ กรณียาต้ม วิธีที่ ๓ ให้ประมาณจากน�้ำที่ใส่ลงไป เช่น หากใส่น�้ำลงไป ๓ ถ้วย ให้ต้มเคี่ยว
จนได้น�้ำยาประมาณ ๑ ถ้วย
๓.๔ กรณียาต้ม วิธีที่ ๔ ให้เติมน�้ำตามปริมาตรที่ก�ำหนดในสูตรต�ำรับ น�ำไปตั้งบนเตา ต้มจนเดือด
ด้วยไฟกลาง แล้วลดอุณหภูมิลงโดยใช้ไฟอ่อน ๆ ต้มต่อไปอีก ๑๐-๑๕ นาที จึงยกหม้อ
ลงจากเตา หลังกรองแยกกากและบีบกากแล้ว ให้เติมน�้ำต้มสุกปรับเพิ่มปริมาตรยาเท่ากับ
ปริมาตรน�้ำเริ่มต้น
๔. กรองแยกกากออกด้วยผ้าข้าวบางจะได้ส่วนยาน�้ำที่ผ่านการกรอง

ไทย
๕. สารปรุงแต่งในต�ำรับ (ถ้ามี)

้าน
๕.๑ สารปรุงแต่งที่เป็นของแข็ง เช่น การบูร พิมเสน ดีเกลือ ให้แทรกละลายน�้ำยาที่ได้จากข้อ ๔

ื้นบ
๕.๒ สารปรุงแต่งที่เป็นของเหลว เช่น น�้ำผึ้ง ให้แทรกผสมกันกับยาน�้ำที่ได้จากข้อ ๔

ย์พ
๖. บรรจุยาลงในภาชนะที่เหมาะสม

พท
ะแ
๓.๒ ยาผง

แล
ยาผงเป็นยาเตรียมแผนโบราณไทยรูปแบบหนึ่ง ยาเตรียมแบบนี้อาจใช้กินโดยตรง แล้วดื่มน�้ำ

ไทย
ตามมาก ๆ หรืออาจแทรกด้วยกระสายบางอย่างเพื่อช่วยให้กินยาได้ง่ายขึ้น การเตรียมยาผงอาจท�ำได้
โดยการน�ำตัวยาต่าง ๆ ตามชนิด ปริมาณ ปริมาตร ที่ระบุหรือก�ำหนดไว้ในต�ำรับยามาผสมกัน จากนั้น
ผน
น�ำยาที่ได้ไปบดให้ละเอียดโดยใช้เครื่องมือส�ำหรับบดยาชนิดต่าง ๆ ตามความเหมาะสม หรือน�ำไปบดด้วย
ย์แ
เครื่ อ งบดยาสมุน ไพรที่ใช้กระแสไฟฟ้ า จากนั้ นน� ำ ผงยาที่ ไ ด้ ไ ปแร่ ง ผ่า นตะแกรงหรื อ แร่ ง ที่ เ หมาะสม
พท

โดยทั่วไปมักใช้แร่งเบอร์ ๑๐๐ เบอร์ ๘๐ หรือเบอร์ ๖๐ จนได้ยาผงที่มีขนาดตามต้องการ


รแ

กระบวนการผลิตยาผง
ากา

๑. การท�ำให้แห้งก่อนน�ำไปย่อยขนาด มีหลักการปฏิบัติดังต่อไปนี้
ัญญ

๑.๑ ต้องท�ำความสะอาดวัตถุดบิ สมุนไพรอย่างเหมาะสม และเข้าสูก่ ระบวนการท�ำให้แห้งโดย


ูมิป

เร็วที่สุดเพื่อป้องกันการเน่า และเพื่อลดการปนเปื้อนของเชื้อจุลินทรีย์

๑.๒ ควรมีการย่อยขนาดให้เหมาะสมเท่า ๆ กัน ก่อนน�ำไปท�ำให้แห้ง


ริม

๑.๓ ไม่วางสมุนไพรซ้อนกันจนหนาเกินไป และควรเกลี่ยชิ้นส่วนของสมุนไพรให้สม�่ำเสมอ


่งเส

๑.๔ ใช้อุณหภูมิที่เหมาะสมกับชนิดและส่วนของสมุนไพร เพื่อคงกลิ่น รส สารส�ำคัญของพืช


ะส

สมุนไพรไว้

องแ

๑.๕ บริเวณที่ปฏิบัติงานควรสะอาด ถูกสุขลักษณะ มีการถ่ายเทอากาศที่ดี ลดการปนเปื้อน


คร

ของเชื้อจุลินทรีย์
งคุ้ม

๒. การย่อยขนาดหรือการบดผง เครื่องมือที่ใช้มีอยู่หลายประเภท เช่น เครื่องบด Hammer


mill และ Cutting mill ซึ่งใช้ในการย่อยขนาดของสมุนไพรแห้งและสมุนไพรสดตามล�ำดับ นอกจาก
กอ

เครื่องมือที่ใช้การย่อยขนาดแล้ว ยังต้องค�ำนึงถึงสิ่งต่อไปนี้
๒.๑ สมุนไพรที่น�ำไปย่อยต้องถูกชนิด ถูกส่วน สะอาด ไม่มีการปนเปื้อนของหิน ดิน และทราย
๒.๒ มีการลดความชื้นของสมุนไพรเพื่อให้ย่อยขนาดได้ง่าย ไม่เหนียว เช่น มีความชื้น
น้อยกว่าร้อยละ ๕ ของสมุนไพรแห้ง จะท�ำให้บดสมุนไพรได้ง่ายขึ้น

218
๒.๓ ในกรณีที่ต้องการผงยาสมุนไพรละเอียดมาก ไม่ควรบดสมุนไพรให้ละเอียดทั้งหมดใน
ครั้งเดียว แต่ควรมีการแร่งเป็นระยะๆ กล่าวคือ เริ่มแร่งจากแร่งเบอร์เล็กก่อน จากนั้น
น�ำไปบดซ�้ำและเปลี่ยนเป็นแร่งเบอร์ใหญ่ขึ้นเรื่อยๆ จนได้ขนาดที่ต้องการ
๒.๔ สมุน ไพรที่มีเส้น ใยสู ง เช่ น เถาวั ล ย์ เ ปรี ยง ควรตั ด หรื อ สั บให้ มี ข นาดเล็ ก ลงก่ อน
แล้วจึงน�ำไปบดด้วยเครื่องบด
๒.๕ ในกรณีที่ต้องบดสมุนไพรหลายชนิดรวมกัน เช่น ในสูตรต�ำรับยาหอม ให้ใส่สมุนไพร

ไทย
ที่บดยากลงไปบดก่อน

้าน
๒.๖ อัตราการป้อนสมุนไพรเข้าเครื่องบดต้องสัมพันธ์กับความสามารถในท�ำงานของเครื่อง

ื้นบ
๒.๗ การบดสมุนไพรที่ละเอียดมากอาจเกิดความร้อนขึ้นได้ง่าย จึงควรหยุดพักการท�ำงาน

ย์พ
ของเครื่องเป็นช่วงๆ หรือหาเทคนิคการลดความร้อนที่เหมาะสม

พท
๒.๘ ถ้าในสูตรต�ำรับมีตัวยาสมุนไพรหลายชนิด ต้องท�ำให้มีการกระจายของตัวยาสมุนไพร

ะแ
แต่ละชนิดอย่างสม�ำ่ เสมอก่อนทีจ่ ะน�ำไปบรรจุ หากใช้วธิ บี ดพร้อมกัน ต้องบดให้ละเอียด

แล
โดยมีขนาดเท่ากันทั้งหมด ไม่มีส่วนใดเหลือ ในกรณีที่แยกบด ต้องบดโดยผ่านแร่งที่มี

ไทย
เบอร์ขนาดเดียวกัน และน�ำไปผสมในเครือ่ งผสมทีเ่ หมาะสมในเวลาทีเ่ หมาะสมจนผงยา
เข้าเป็นเนือ้ เดียวกัน รวมทัง้ ศึกษาการกระจายตัวของผงยาสมุนไพรในวิธกี ารทีผ่ ลิตด้วย
ผน
๒.๙ บริเวณทีท่ ำ� การบดผง ต้องมีการควบคุมสุขลักษณะทีด่ เี พือ่ ลดการปนเปือ้ นเชือ้ จุลนิ ทรีย์
ย์แ
พท

๒.๑๐ บุ ค ลากรที่ ป ฏิ บั ติ ง านจะต้ อ งผ่ า นการฝึ ก อบรมทั้ ง ด้ า นการปฏิ บั ติ ก ารเภสั ช กรรม


ที่ดีและความปลอดภัยในโรงงาน เนื่องจากต้องท�ำงานกับเครื่องจักรกล
รแ
ากา

๓. การบรรจุ
๓.๑ ห้องที่ท�ำการบรรจุต้องสะอาด มีการควบคุมความชื้น มีการฆ่าเชื้อที่เหมาะสม ถ้าเป็นไป
ัญญ

ได้ควรบรรจุในห้องที่มีการควบคุมความดันอากาศเป็นบวก
ูมิป

๓.๒ เครื่องบรรจุมีความเหมาะสมในการบรรจุให้ผงยาสมุนไพรลงสู่ซองหรือภาชนะบรรจุได้

ริม

ในปริมาณที่ก�ำหนดไว้
่งเส

๓.๓ ยาแคปซูล
ะส

ยาแคปซูล (capsule) เป็นรูปแบบยาเตรียมสมัยใหม่ที่ส�ำนักงานคณะกรรมการอาหารและ


ยาอนุญาตให้ใช้กบั ยาแผนโบราณไทยได้ แคปซูลทีใ่ ช้อาจแบ่งเป็น ๒ ประเภท ใหญ่ ๆ ตามลักษณะภายนอก


องแ

ที่ปรากฏ คือ
คร

๑. แคปซูลชนิดแข็ง (hard gelatin capsule) เป็นแคปซูลที่มีปลอก ๒ ส่วน คือ ตัว (body) และ
งคุ้ม

ส่วนฝา (cap)
กอ

๒. แคปซูลชนิดนิ่ม (soft gelatin capsule) เป็นแคปซูลที่ต้องใช้เครื่องผลิตเฉพาะ ส่วนใหญ่ใช้


บรรจุยาที่มีลักษณะเป็นน�้ำมัน ของเหลว ของกึ่งแข็ง เป็นต้น
ในการเตรี ย มยาแผนไทยหรื อ ยาสมุ น ไพรนั้ น ส่ ว นใหญ่ จ ะบรรจุ ผ งยาสมุ น ไพรในแคปซู ล
ชนิดแข็ง โดยมีวิธีการเตรียมตัวยาสมุนไพรที่ใช้บรรจุแคปซูลนั้น คล้ายกับการเตรียมตัวยาเพื่อตอกยาเม็ด
แต่อาจใช้ผงยาที่บดละเอียดและผ่านแร่งแล้วผสมกับสารช่วยอื่น ๆ แล้วน�ำเข้าสู่กระบวนการบรรจุแคปซูล
โดยไม่ต้องเตรียมเป็นแกรนูลก่อน
219
การเตรียมยาแคปซูลสำหรับยาสมุนไพรหรือยาแผนไทยนั้น มักใช้แคปซูลขนาดเบอร์ 1 ขนาด
เบอร์ 0 ขนาดเบอร์
การเตรี ย มยาแคปซู ล ส� ำ หรั บ000
00 และขนาดเบอร์ ยาสมุ น ไพรหรื
(โดยมี อ ยาแผนไทยนั
ขนาดตั ้ น มักกไปใหญ่
วแคปซูลไล่จากเล็ ใช้ แ คปซู
)ดังลแสดงใน
ขนาดเบอร์ ๑
ขนาดเบอร์ ๐ ขนาดเบอร์ ๐๐ และขนาดเบอร์ ๐๐๐ (โดยมี ข นาดตั ว แคปซู ล ไล่ จ ากเล็ ก ไปใหญ่ )
ตารางดังต่อไปนี้
ดังแสดงในตารางดังต่อไปนี้

ขนาด ปริมาตร ความหนาแน่นของผงยา (g/mL)


(เบอร์) (mL) ๐.๖ ๐.๘ ๑.๐ ๑.๒

ไทย
แคปซูล น้ำหนักของผงยาที่บรรจุได้ (mg)
๐๐๐ ๑.๓๗ ๘๒๒ ๑๐๙๖ ๑๓๗๐ ๑๖๔๔

้าน
ื้นบ
๐๐ ๐.๙๑ ๕๔๖ ๗๒๘ ๙๑๐ ๑๐๙๒

ย์พ
๐ ๐.๖๘ ๔๐๘ ๕๔๔ ๖๘๐ ๘๑๖

พท
๑ ๐.๕๐ ๓๐๐ ๔๐๐ ๕๐๐ ๖๐๐

ะแ
กระบวนการผลิตยาแคปซูล

แล
กระบวนการผลิตยาแคปซูล

ไทย
๑. เตรียมอุปกรณ์การผลิตให้อยู่ในสภาพที่พร้อมจะใช้งาน มีการท�ำความสะอาดที่เหมาะสม
1.๒.เตรี เยตรีมอุยปมผงยาสมุ
กรณ์การผลิ ตให้(ผงยาผ่
นไพร อยู่ในสภาพที
านแร่ง่พอย่ร้อางน้
มจะใช้ งาน ๘๐)
อยเบอร์
ผน มีการทำความสะอาดที
และองค์ประกอบอื่เน่ หมาะสม อย่างเหมาะสม
2. เตรีเช่ยมผงยาสมุ
น การย่อยขนาด นไพร (ผงยาผ่ านแร่งอย่างน้อนยเบอร์
การผสมของผงยาสมุ ไพรหรื80)
อสารช่และองค์
วยในแต่ ประกอบอื
ละสูตรต�่นำอย่
รับาให้
งเหมาะสม
กระจายตัว
ย์แ
เช่นสม�การย่
่ำเสมอ อยขนาด การผสมของผงยาสมุนไพรหรือสารช่วยในแต่ละสูตรตำรับให้กระจายตัว
พท

๓.สม่ วัำดเสมอ
ปริมาณความชืน้ ของผงยาสมุนไพรผสม หากความชืน้ เกินกว่าร้อยละ ๕ ให้อบผงยาสมุนไพร
รแ

3. วัดปริ มาณความชื ้นของผงยาสมุ นไพรผสม หากความชื ้นเกินยสกว่นาน


า 5%๔-๖ ให้ทชัำการอบผงยา
ากา

ผสมอี กครั้ง โดยใช้ อุณหภูมิระหว่ าง ๔๐-๖๐ องศาเซลเซี ่วโมง


๔.สมุ บนรรจุ ไพรผสมอี
ผงยาสมุกครั ้ง โดยใช้อุณหภูลมด้ิรวะหว่
นไพรลงในแคปซู ยเครืาง่องบรรจุ
40-60แºCคปซูนานล 4-6 ชั่วโมง
ัญญ

4.๕.บรรจุ สุ่มผตรวจค่
งยาสมุานความผั
ไพรลงในแคปซู
นแปรของน� ลด้้ำวหนั
ยเครื ่องบรรจุ
กยาสมุ แคปซู
นไพร ถ้าลไม่เป็นไปตามข้อก�ำหนด หยุดการผลิต
ูมิป

5. สุ่มและด�
ตรวจค่ำเนิ าความผั
นการแก้ นแปรของน้
ไขโดยเร่งำด่หนั
วนกถ้ยาสมุ
าเป็นนไปตามข้
ไพร ถ้าไม่
อก�เำป็หนดให้
นไปตามข้ด�ำเนิอกำหนด
นการในข้หยุ อถัดดการผลิ
ไป ต

๖.และดำเนิ
น�ำยาแคปซู นการแก้
ลที่บไขโดยเร่
รรจุได้ไงปท�
ด่วำนความสะอาดเพื
ถ้าเป็นไปตามข้่อก�อำกำหนดให้
จัดผงยาสมุ ดำเนิ นการในข้
นไพรที ่เกาะติอดถัอยู
ดไป่ที่เปลือกด้าน
ริม
่งเส

6. นำยาแคปซู
นอกของยาแคปซูลที่บรรจุไลด้สมุ
ไปทำความสะอาดเพื
นไพร ถ้าผลิตยาแคปซู ่อกำจั ดผงยาสมุ
ลสมุ นไพรจ�ำนนวนน้
ไพรทีอ่เยอาจใช้
กาะติดอยูผา้ ่ทสะอาดเช็
ี่เปลือกด้ดาเบาๆ

ะส

ที่เปลือกด้านนอกของยาแคปซู
นอกของยาแคปซู ลสมุนไพรถ้าผลิตลสมุ นไพรลส�สมุำหรั
ยาแคปซู บในระดับอุตอสาหกรรมใช้
นไพรจำนวนน้ เครื่องขัดดแคปซูล
ย อาจใช้ผ้าสะอาดเช็

เบาๆซึ่งประกอบด้
ที่เปลือกด้วายขนแปรงที
นนอกของยาแคปซู่หมุนตลอดเวลาและต่
ลสมุนไพร สำหรั อเข้บาในระดั
กับเครืบ่ออุงดูตสาหกรรมใช้
ดฝุ่น เพื่อปัดเครื ฝุ่น่อและดู
งขัด ดฝุ่น
องแ

ออกจากยาแคปซูลที่ไหลผ่านเครื่องตั้งแต่เข้าจนออก
คร

๓.๔ ยาเม็ด
งคุ้ม

ยาเม็ดเป็นยาเตรียมรูปแบบหนึ่ง ต�ำราเภสัชกรรมแผนโบราณของไทยให้วิธีการปรุงยาเตรียม
กอ

รูปแบบนี้ไว้รวมกับยาผงว่า เตรียมจาก “ยาตากแห้งประสมแล้ว บดเป็นผงละเอียด ปั้นเม็ดหรือใช้ในรูป


ยาผง” การท�ำยาเม็ดแบ่งได้ ๒ วิธี ได้แก่ การใช้แบบพิมพ์ด้วยมือ และการใช้เครื่องตอกยาเม็ด
๓.๔.๑ การใช้แบบพิมพ์ด้วยมือ
การท�ำยาเม็ดด้วยวิธีนี้ จะต้องเตรียมเครื่องมือและอุปกรณ์ต่าง ๆ ก่อน โดยการน�ำแบบพิมพ์
ยาเม็ดและกระจกแผ่นใสวางลงในกะละมังขนาดใหญ่ เทราดด้วยน�ำ้ เดือดจนทัว่ เช็ดให้แห้งสนิทด้วยผ้าสะอาด

220
ใช้ส�ำลีชุบแอลกอฮอล์ เช็ดซ�้ำอีกครั้งหนึ่ง ทิ้งให้แอลกอฮอล์ระเหยไปก่อนน�ำไปใช้พิมพ์ยาเม็ด จากนั้น
วางกระจกแผ่นใสบนโต๊ะ แล้ววางแบบพิมพ์ยาเม็ดลงบนแผ่นกระจกใส
อุปกรณ์
๑. แบบพิมพ์ยาเม็ด (แบบทองเหลือง)
๒. แผ่นกระจกใส ๑ แผ่น
๓. กาต้มน�้ำ

ไทย
๔. ผ้าผืนเล็ก
๕. ถาดใส่ยาเม็ด

้าน
ื้นบ
๖. แป้งมัน

ย์พ
๗. กะละมัง

พท
๘. แอลกอฮอล์
๙. ส�ำลี

ะแ
แล
กระบวนการผลิตยาเม็ดแบบพิมพ์ด้วยมือ

ไทย
๑. กวนแป้งมันกับน�้ำเดือดให้เป็นแป้งเปียกใส น�ำผงยามาคลุกเคล้ากับแป้งเปียกใสในสัดส่วน
ที่พอเหมาะจนเข้ากันดี ผน
๒. น�ำผงยาที่ผสมกันแล้วมาแผ่บนแผ่นกระจก แล้วน�ำแบบพิมพ์ยาเม็ดกดลงบนยา
ย์แ
พท

๓. กดยาที่พิมพ์แล้วออกจากแบบพิมพ์ยาเม็ด ใส่ถาดที่เตรียมไว้
๔. น� ำ ไปตากแดดจั ด ๆ หรื อ เข้ า ตู ้ อ บไฟฟ้ า ซึ่ ง ตั้ ง อุ ณ หภู มิ ไว้ ที่ ๕๐-๕๕ องศาเซลเซี ย ส
รแ
ากา

นานราว ๕-๖ ชั่วโมง


๕. น�ำยาเม็ดที่ได้เก็บใส่ขวดโหลแก้วที่สะอาด ปิดฝาให้มิดชิด
ัญญ
ูมิป

๓.๔.๒ การใช้เครื่องตอกยาเม็ด

ยาเม็ดตอกอัด (compressed tablet) เป็นรูปแบบยาเตรียมที่ส�ำนักงานคณะกรรมการอาหาร


ริม

และยา กระทรวงสาธารณสุข อนุญาตให้น�ำมาใช้กับยาแผนไทยได้ เพื่อพัฒนายาแผนไทยให้มีมาตรฐาน


่งเส

ง่ายต่อการตรวจสอบ และปลอดภัยต่อผู้บริโภค ในการผลิตยาเม็ดตอกอัดนั้น จ�ำเป็นต้องมีส่วนผสมอื่น


ะส

นอกจากองค์ประกอบอันเป็นตัวยาส�ำคัญ ได้แก่ สารเพิ่มปริมาณ (diluent) สารยึดเกาะ (binder)



องแ

สารช่ ว ยไหล (glidant) สารช่ ว ยลื่ น (lubricant) สารกั น ติ ด (antiadherent) สารช่ ว ยแตกตั ว
คร

(disintegrant) สารลดแรงตึงผิว (surfactant) และสารดูดซับ (adsorbent)


งคุ้ม

กระบวนการผลิตยาเม็ดตอกอัดด้วยเครื่องตอกยาเม็ดมี ๒ วิธี คือ


๑. การตอกโดยตรง (direct compression) มีขั้นตอนดังนี้
กอ

๑.๑ น�ำผงยาและสารช่วยต่าง ๆ ในต�ำรับยาผ่านแร่งความละเอียดอย่างน้อยเบอร์ ๘๐


ชั่งตามสูตรต�ำรับ
๑.๒ ผสมผงยาและสารช่วยทั้งหมดเข้าด้วยกัน
๑.๓ น�ำไปตอกด้วยเครื่องตอกยาเม็ด ได้เป็นยาเม็ดออกมา
๑.๔ น�ำไปบรรจุภาชนะ
221
๒. ตอกยาเม็ดด้วยการท�ำแกรนูล (granulation) มีขั้นตอนดังนี้
๒.๑ น�ำผงยา และสารช่วย เช่น สารเพิ่มปริมาณ สารช่วยแตกตัว ผสมแห้งด้วยเครื่องผสม
ให้เข้าเป็นเนื้อเดียวกัน
๒.๒ เตรียมสารละลายสารยึดเกาะตามสูตรต�ำรับ ผสมเปียกในสารผสมข้อ ๒.๑ จนได้เป็น
สารที่จับตัวกันเป็นก้อน
๒.๓ น�ำมาแร่งเปียกด้วยเครื่องแร่งเปียก ได้เป็นแกรนูลเปียก

ไทย
๒.๔ น�ำแกรนูลเปียกมาอบแห้งด้วยตู้อบไฟฟ้าจนได้เป็นแกรนูลแห้ง
๒.๕ น�ำแกรนูลแห้งมาแร่งแห้งและผสมสารช่วย เช่น สารช่วยไหล สารกันติด สารช่วย

้าน
ื้นบ
หล่อลื่น ให้เข้ากัน

ย์พ
๒.๖ น�ำสารผสมที่ได้ในข้อ ๒.๕ ตอกด้วยเครื่องตอกยาเม็ดได้เป็นยาเม็ดออกมา

พท
๒.๗ น�ำไปบรรจุภาชนะ

ะแ
๓.๕ ยาลูกกลอน

แล
ยาลูกกลอนเป็นยาเตรียมทีม่ รี ปู ร่างกลม อาจท�ำจากผงยาชนิดเดียวหรือผงตัวยาหลายชนิดทีผ่ สม

ไทย
ปรุงตามต�ำรับยา โดยมีน�้ำกระสายยาที่ท�ำให้ผงยาเกาะติดกัน เช่น น�้ำต้มสุก น�้ำผึ้ง น�้ำแป้ง น�้ำข้าวเช็ด
ผน
น�้ำมะกรูด น�้ำเปลือกมะรุม โดยทั่วไปนิยมใช้ น�้ำผึ้ง ต�ำรายาแผนโบราณไทยให้วิธีการปรุงยาเตรียม
ย์แ
รูปแบบนี้ไว้ว่า “ยาตากแห้ง ประสมแล้ว บดเป็นผงละเอียด ปั้นเป็นลูกกลอน”
พท

องค์ประกอบในการผลิตยายาลูกกลอน
รแ

การผลิตยาลูกกลอนให้ได้คุณภาพต้องค�ำนึงถึงองค์ประกอบ ๓ ประการ ดังนี้


ากา

๑. ผงยาสมุนไพร คุณลักษณะของผงยาสมุนไพรแต่ละชนิดมีความส�ำคัญต่อการผลิตยาลูกกลอน
ัญญ

แตกต่างกัน ปัจจัยที่เกี่ยวข้องมีดังต่อไปนี้
๑.๑ ลักษณะผงยาสมุนไพรทีจ่ ะท�ำให้ผลิตยาลูกกลอนได้ดี จะต้องเป็นผงยาสมุนไพรทีล่ ะเอียด
ูมิป

ผ่านแร่งขนาดเบอร์ ๖๐-๑๐๐

ริม

๑.๒ คุณลักษณะเฉพาะตัวของสมุนไพรที่ใช้มีผลต่อการผลิตยาลูกกลอน เช่น ถ้าส่วนของ


่งเส

สมุนไพรนั้นมีแป้งอยู่เป็นจ�ำนวนมาก เช่น เหง้าของขมิ้น ไพล เปราะหอม รากระย่อมน้อย ผลกล้วย


ะส

เมล็ดเทียนต่างๆ เป็นต้น จะท�ำให้การผลิตยาลูกกลอนท�ำได้ง่าย เนื่องจากสมุนไพรมีการเกาะตัวกันได้ดี


ท�ำให้ปั้นเป็นลูกกลอนได้สะดวก ไม่ต้องใช้สารยึดเกาะจ�ำนวนมาก แต่ถา้ มีส่วนผสมของเปลือก แก่น ใบ ซึ่ง


องแ

ส่วนใหญ่ไม่มแี ป้ง จะมีปญั หาการไม่เกาะตัวของสมุนไพร ท�ำให้ปน้ั เม็ดได้ยาก ซึง่ อาจแก้โดยบดผงยาสมุนไพร


คร

ให้ละเอียดมากขึ้น และใช้สารยึดเกาะช่วยในปริมาณที่เหมาะสม เพราะอาจท�ำให้เกิดปัญหาการไม่แตกตัว


งคุ้ม

หรือแตกตัวช้าของยาลูกกลอน
กอ

๒. สารยึดเกาะ (binder) สารยึดเกาะทีใ่ ช้ในการผลิตยาลูกกลอน นิยมใช้นำ�้ ผึง้ หรือน�ำ้ ผึง้ เทียม


น�ำ้ ผึ้ง เป็นของเหลว เหนียว ใส สีเหลือง หรือเหลืองปนน�้ำตาล หนักกว่าน�้ำ คือมีน�้ำหนัก
๑.๓-๑.๕ กิโลกรัมต่อปริมาตร ๑ ลิตร เป็นผลิตผลจากน�้ำหวานของดอกไม้ ปัจจัยที่มีผลต่อคุณภาพของน�้ำ
ผึ้งได้แก่ แหล่งผลิตและฤดูกาล โดยทั่วไปน�้ำผึ้งแท้ประกอบด้วยน�้ำตาลอินเวอร์ต (invert sugar) ไม่น้อย
กว่าร้อยละ ๖๕ มีน�้ำตาลซูโครส (sucrose) น้อยมาก ไม่เกินร้อยละ ๑๐ นอกจากนี้ ยังมีน�้ำตาลเด็กซ์โทรส
(dextose) และฟรักโทส (fructose) ในปริมาณใกล้เคียงกัน
222
น�้ำผึ้งเทียม ส่วนผสมของน�้ำผึ้งเทียมส่วนใหญ่ คือ น�้ำตาลแบะแซหรือน�้ำเชื่อมกลูโคส
(glucose syrup) ได้มาจากการย่อยแป้งมันส�ำปะหลังหรือแป้งข้าวโพดได้เป็นน�้ำตาลกลูโคสชนิดหนึ่ง
บางชนิดมีแป้งผสมอยู่ซึ่งจะช่วยท�ำให้การเกาะตัวดีขึ้น แต่มีข้อเสียคือ เก็บได้ไม่นานเมื่อเทียบกับน�้ำผึ้ง
เกิดการบูด มีกลิ่นเปรี้ยว นอกจากนี้ ยาลูกกลอนที่ใช้น�้ำผึ้งเทียมในการยึดเกาะ จะคงตัวไม่ได้นานและ
ขึ้นราได้ง่าย
นอกจากนี้ ยังสามารถใช้น�้ำเชื่อมและแป้งเปียกมาใช้เป็นส่วนช่วยสารยึดเกาะได้อีกด้วย

ไทย
๓. เครื่องมือการผลิต เครื่องมือการผลิตที่ใช้ในการผลิตยาลูกกลอนขึ้นอยู่กับขนาดของ
การผลิต ตั้งแต่ระดับครัวเรือนจนถึงระดับโรงงานอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ โดยทั่วไปประกอบด้วยเครื่องมือ

้าน
ื้นบ
อย่างน้อย ๔ เครื่อง ได้แก่

ย์พ
- เครื่องผสม

พท
- เครื่องรีดเส้น
- เครื่องตัดเม็ด

ะแ
แล
- เครื่องปั้นเม็ดที่มีส่วนประกอบ ๓ ส่วน ได้แก่ เครื่องกลิ้งเม็ดให้กลม หม้อเคลือบ และ

ไทย
เครื่องอบแห้ง
กระบวนการผลิตยาลูกกลอน
ผน
ย์แ
๑. เตรียมเครื่องมือให้สะอาดอยู่ในสภาพที่พร้อมใช้งาน
พท

๒. เตรียมส่วนผสมให้เป็นไปตามสูตรต�ำรับ
รแ

๓. เตรียมผงยาสมุนไพรก่อนการผลิตให้เหมาะสม เช่น การท�ำความสะอาดการท�ำให้แห้ง


ากา

การย่อยขนาดการผสมให้เข้ากัน
ัญญ

๔. ผลิตตามรูปแบบเครื่องมือการผลิตของแต่ละสถานที่ผลิต โดยยึดแนวทางการท�ำให้ได้
ูมิป

ยาลูกกลอนที่ดี ซึ่งมีข้อควรระวังในขั้นตอนต่างๆ ดังนี้


๔.๑ ขั้นตอนการผสมเปียก ต้องมีความระมัดระวังรอบคอบทุกขั้นตอน การผสมให้เป็น


ริม

เนื้อเดียวกันขึ้นอยู่กับเครื่องมือ สารยึดเกาะที่ใช้ และระยะเวลาใช้ผสม


่งเส

๔.๒ ขั้นตอนการรีดเส้น ต้องรีดเส้นให้มีของเนื้อยาหนาแน่นสม�่ำเสมอ เพื่อให้ได้เม็ดยาที่มี


ะส

ขนาดใกล้เคียงกันเมื่อน�ำไปตัดเม็ด

องแ

๔.๓ ขั้นตอนการตัดเม็ด
คร

๔.๔ ขั้นตอนการปั้นเม็ดกลม
งคุ้ม

๔.๕ ขั้นตอนการกลิ้งเม็ดให้กลม นิยมใช้แป้งข้าวโพดหรือผงยาโปรยลงไปในบริเวณที่กลิ้ง


เม็ดยา เพื่อกันการติดกันของยาลูกกลอน
กอ

๔.๖ ขั้นตอนการอบแห้ง ซึ่งควรอยู่ในมาตรฐานที่ก�ำหนด


๔.๗ ขัน้ ตอนการเคลือบ ซึง่ ต้องมีความช�ำนาญอย่างมากเพือ่ ไม่ให้ความชืน้ ในเม็ดยาออกมา
ข้างนอก และไม่ให้ความชื้นจากข้างนอกเข้าไปในเม็ดยา ทั้งยังท�ำให้เม็ดยาลูกกลอน
เงางาม น่ากิน

223
ขั้นตอนการผลิตยาลูกกลอน
การเตรียมสมุนไพร
๑. ท�ำความสะอาด
๒ ท�ำให้แห้ง
๓. ลดขนาด

ไทย
การผสมเปียก
ผสมผงสมุนไพรต่างๆ กับสารยึดเกาะ (binder) ให้เป็นเนื้อเดียวกัน

้าน
ื้นบ
ย์พ
การปั้นลูกกลอน

พท
ะแ
แล
ไทย
วิธีที่ ๑. การใช้มือปั้นและ วิธีที่ ๒. การใช้เครื่องรีด วิธีที่ ๓ การใช้เครื่อง
ใช้รางไม้ปั้นลูกกลอน เส้นและเครื่องตัดเส้นผน ผลิตลูกกลอนอัตโนมัติ
ย์แ
๑. ปั้นเส้นยา ๑. รีดเส้นยา
พท

๒. ตัดเส้นยาด้วยรางไม้ ๒. ตัดเส้นยาเป็นเม็ดลูกกลอน
รแ

ปั้นลูกกลอน
ากา

๓.๖ ยาน�ำ้ มัน


ัญญ

ยาน�้ำมันเป็นยาเตรียมรูปแบบหนึ่ง วิธีการปรุงยาเตรียมจากยาสดหรือแห้ง เมื่อผสมแล้วบดเป็น


ูมิป

ผงหยาบ หุงด้วยน�้ำมัน ยาน�้ำมันใช้เป็นยาภายในและยาภายนอกได้ น�้ำมันที่ใช้ในการปรุงยามักเป็น


น�้ำมันพืช (ที่ใช้มากได้แก่ น�้ำมันงา และน�้ำมันมะพร้าว) น�้ำมันเนย นมหรือไขสัตว์ ผสมกับตัวยาตาม


ริม

ต�ำรับ ตัวยาที่มีน�้ำมากก็ให้บีบเอาแต่น้�ำ ส่วนตัวยาที่แห้งหรือมีน�้ำเป็นส่วนประกอบน้อยมากจะบดเป็นผง


่งเส

แล้วผสมน�้ำให้พอเปียก เมื่อผสมกับน�้ำมันพืชหรือไขสัตว์แล้วก็หุงเคี่ยวให้เหลือแต่น�้ำมัน เมื่อได้น�้ำมันแล้ว


ะส

อาจรินเอาน�้ำมันเก็บไว้ใช้ หรือเก็บน�้ำมันแช่ตัวยาไว้ เมื่อจะใช้ก็ตักเอาแต่น�้ำมันมาใช้



องแ
คร

กระบวนการผลิตยาน�้ำมัน
งคุ้ม

๑. น�ำสมุนไพรในสูตรต�ำรับมาหั่นบาง ๆ
๒. เคี่ยวในน�้ำมัน โดยใช้ไฟกลาง ๆ ระวังไม่ให้ชิ้นส่วนสมุนไพรไหม้
กอ

๓. เติมส่วนประกอบอื่น ๆ ในสูตรต�ำรับที่ต้องใช้ความร้อนเพื่อช่วยการละลายลงไปในระหว่าง
การเคี่ยว เช่น ก�ำยาน สีเสียด จุนสี
๔. กรองโดยใช้ผ้าขาวบาง เพื่อเก็บน�้ำมันที่ได้จากการเคี่ยว
๕. เติมส่วนประกอบในต�ำรับ (ทีไ่ ม่ตอ้ งใช้ความร้อนช่วยละลาย) ลงไปในน�ำ้ มัน ข้อ ๔ เช่น พิมเสน
การบูร
๖. บรรจุในภาชนะที่เหมาะสม
224
๓.๗ ยาพอก
ต�ำราเภสัชกรรมแผนโบราณของไทยมีวิธีการปรุงยารูปแบบนี้จากสมุนไพรสด หรือ สมุนไพรแห้ง
โดยการน� ำ สมุ น ไพรมาประสม ต� ำ ให้ แ หลก น� ำ มาพอกหรื อ สุ ม บริ เวณที่ ต ้ อ งการ มี ต้ั ง แต่ พ อกฝี
พอกเข่าแก้ปวด พอกหัวแม่เท้าให้ตาสว่าง หรือสุม เช่น กระหม่อม
กระบวนการผลิตยาพอกหรือยาสุม
๑. น�ำสมุนไพรตามสูตรต�ำรับมาท�ำความสะอาด จากนั้นน�ำมาหั่น สับ หรือโขลกให้แหลก

ไทย
เพื่อให้ตัวยามีขนาดตามที่ต้องการ
๒. ผสมกระสาย (ถ้ามี) เช่น สุรา น�้ำซาวข้าว

้าน
ื้นบ
๓. น�ำตัวยาพอก หรือสุม บริเวณที่ต้องการ หรือน�ำตัวยาห่อผ้าและน�ำมาพันบริเวณที่ต้องการ

ย์พ
เช่น พันตัวยารอบหัวเข่าบรรเทาปวด

พท
๓.๘ ยาประคบ

ะแ
ยาที่ได้จากภูมิปัญญาโบราณ โดยการน�ำสมุนไพรหลายชนิดที่เป็นสมุนไพรสดหรือสมุนไพรแห้ง

แล
ผ่านกระบวนการท�ำความสะอาด น�ำมาหั่นให้ได้ตามขนาดที่ต้องการ น�ำไปต�ำให้พอแหลกก่อนน�ำไปบรรจุ

ไทย
รวมกันในผ้าให้เป็นรูปทรงต่างๆ ตามวัตถุประสงค์และต�ำแหน่งทีต่ อ้ งการใช้ลกู ประคบ เช่น รูปทรงกลม ใช้ประคบ
ผน
ส่วนต่างๆของร่างกาย และทรงหมอน เพื่อใช้นาบบริเวณที่ต้องการ เป็นต้น
ย์แ
ยาประคบ ใช้ประคบส่วนต่างๆของร่างกายควบคูก่ บั การนวดแผนไทย เพือ่ รักษาและบรรเทาอาการ
พท

เกี่ยวกั บ กล้ ามเนื้ อ และเส้ น เอ็ น โดยสมุนไพรและความร้ อนจากลูกประคบนั้น ท�ำ ให้เกิด การกระตุ ้ น
รแ

การไหลเวียนของโลหิต ช่วยให้เกิดความผ่อนคลายของกล้ามเนือ้ ลดอาการหดเกร็ดของกล้ามเนือ้ ลดอาการ


ากา

อักเสบ รวมถึงการนวดเพื่อผ่อนคลาย แก้อาการปวดเมื่อย และยังท�ำให้รู้สึกสดชื่นจากกลิ่นหอมของ


ัญญ

น�้ำมันหอมระเหยอีกด้วย
ูมิป

อุปกรณ์ที่ใช้ในการท�ำลูกประคบ

๑. ผ้าส�ำหรับห่อสมุนไพรลูกประคบ ต้องเป็นผ้าฝ้ายหรือผ้าดิบทีม่ เี นือ้ แน่นพอดี สามารถป้องกัน


ริม

ไม่ให้สมุนไพรร่วงออกมาจากผ้าได้
่งเส

๒. เชือกส�ำหรับมัดผ้าห่อลูกประคบ
ะส

๓. สมุนไพรที่ใช้ต้องผ่านการท�ำความสะอาด ไม่มีเชื้อรา และต้องมีสมุนไพร ๔ กลุ่มหลัก ดังนี้



องแ

๓.๑ กลุ่มสมุนไพรที่มีน�้ำมันหอมระเหย เช่น ไพล ขมิ้นชัน ตะไคร้ มะกรูด เป็นต้น


คร

๓.๒ กลุ่มสมุนไพรที่มีรสเปรี้ยว มีฤทธิ์เป็นกรดอ่อนๆ เช่น ใบมะขาม ใบส้มป่อย เป็นต้น


งคุ้ม

๓.๓ กลุ่มสารแต่งกลิ่นหอม เช่น การบูร พิมเสน เป็นต้น


๓.๔ เกลือ มีฤทธิ์ฆ่าเชื้อ แก้อาการอักเสบได้ มีความสามารถในการดูดความร้อนท�ำให้
กอ

สรรพคุณสมุนไพรซึมได้เร็วขึ้น
กระบวนการผลิตลูกประคบ
๑. น�ำสมุนไพรมาล้างท�ำความสะอาด น�ำมาหั่นเป็นชิ้นให้ได้ขนาดที่ต้องการ
๒. น�ำสมุนไพรไปต�ำให้พอแหลก
๓. เติมเกลือและการบูรลงไป ผสมให้เข้ากัน ระวังอย่าให้สมุนไพรที่ผสมแฉะเป็นน�้ำ
225
๔. น�ำสมุนไพรที่ผสมเรียบร้อยแล้ว ไปบรรจุในผ้าฝ้ายหรือผ้าดิบ ห่อเป็นลูกประคบมัดด้วยเชือก
ให้แน่น
๓.๙ ยาชง
ยาชงอาจอยู่ในรูปแบบของใบหรือผงยาสมุนไพร ปัจจุบันนิยมบรรจุอยู่ในซองชาขนาดต่างๆ
เป็นรูปแบบยาสมุนไพรพร้อมชง เมื่อจะใช้ต้องน�ำมาแช่ในน�้ำเดือดหรือน�้ำกระสายยาเพื่อเป็นตัวท�ำละลาย

ไทย
ส่วนใหญ่ท�ำมาจากสมุนไพรแห้ง มีหลักการผลิตยาคล้ายกับการผลิตยาผง
กระบวนการผลิตยาชง

้าน
ื้นบ
๑. การท�ำให้แห้งก่อนน�ำไปย่อยขนาด มีหลักการปฏิบัติดังต่อไปนี้

ย์พ
๑.๑ ต้องควบคุมให้บริเวณที่ปฏิบัติงานสะอาด ถูกสุขลักษณะ มีอากาศถ่ายเทได้ดี ลดการ

พท
ปนเปื้อนเชื้อจุลินทรีย์ มีอุณหภูมิและความชื้นที่เหมาะสม
๑.๒ ท�ำความสะอาดวัตถุดบิ สมุนไพร และน�ำไปฆ่าเชือ้ โดยการนึง่ หรือผ่านน�ำ้ ร้อนอย่างรวดเร็ว

ะแ
แล
(heat shock) เพื่อลดปริมาณจุลินทรีย์ที่ปนเปื้อน

ไทย
๑.๓ น�ำไปลดขนาดให้เหมาะสมและมีความสม�่ำเสมอกัน ก่อนน�ำไปท�ำให้แห้ง
๑.๔ น�ำไปท�ำให้แห้งโดยเร็วที่สุด เช่น น�ำไปอบ หรือน�ำไปตากแห้ง เพื่อป้องกันการเน่าเสีย
ผน
ของสมุนไพร โดยใช้อุณหภูมิให้เหมาะสมกับสมุนไพรแต่ละชนิด เพื่อให้คงสรรพคุณ
ย์แ
สี กลิ่น และรสยา ของสมุนไพรนั้นไว้
พท

๒. การย่ อ ยขนาดหรื อ การบดผง คื อ การลดขนาดอนุ ภ าคของวั ต ถุ ดิ บ ให้ มี ข นาดเล็ ก ลง


รแ
ากา

โดยเครื่องมือที่นิยมใช้ในการลดขนาดวัตถุดิบ ได้แก่ เครื่องบดชนิด Hammer mill ใช้ในการบดสมุนไพร


แห้ง และเครื่องบดชนิด Cutting mill ใช้ในการบดสมุนไพรสด นอกจากเครื่องมือที่ใช้ในการบดแล้ว ยังต้อง
ัญญ

ค�ำนึงถึงสิ่งต่อไปนี้
ูมิป

๒.๑ ต้องควบคุมให้บริเวณที่ท�ำการบดสะอาด ถูกสุขลักษณะ ลดการปนเปื้อนเชื้อจุลินทรีย์



ริม

มีอุณหภูมิและความชื้นที่เหมาะสม
่งเส

๒.๒ สมุนไพรทีน่ ำ� ไปย่อยต้องถูกชนิด ถูกส่วน สะอาด และไม่มสี ารปนเปือ้ นของหิน ดิน และ
ะส

ทราย

๒.๓ สมุนไพรต้องผ่านการลดความชื้นก่อนน�ำมาลดขนาด โดยต้องมีความชื้นน้อยกว่า ๕


องแ

เปอร์เซ็นต์ ของสมุนไพรแห้ง จะท�ำให้บดสมุนไพรได้ง่ายขึ้น


คร

๒.๔ กรณีที่ต้องการบดผงยาให้ละเอียดมาก ไม่ควรบดขนาดให้ละเอียดในครั้งเดียว ควรใช้


งคุ้ม

แร่งในการลดขนาดผงยาเป็นระยะๆ โดยเริ่มใช้แร่งเบอร์เล็ก จากนั้นใช้แร่งขนาดใหญ่


กอ

ขึ้นตามล�ำดับ จนได้ขนาดตามที่ต้องการ
๒.๕ สมุนไพรที่มีเส้นใยสูง เช่น เถาวัลย์เปรียง ควรตัดหรือสับให้มีขนาเล็กลงก่อนที่จะน�ำไป
บดด้วยเครื่องบด
๒.๖ กรณีที่ต้องบดสมุนไพรหลายชนิดรวมกัน เช่น ในต�ำรับยาหอม ให้ใส่สมุนไพรที่บดยาก
ลงไปบดก่อนตามล�ำดับ

226
๒.๗ อัตราการป้อนสมุนไพรเข้าเครื่องบดต้องสัมพันธ์กับความสามารถในการท�ำงานของ
เครื่องบด
๒.๘ การบดสมุนไพรให้ละเอียดมาก อาจเกิดความร้อนขณะบดขึ้นได้ จึงควรหยุดเครื่องบด
เป็นช่วงๆ เพื่อลดความร้อนที่เกิดขึ้น
๒.๙ หากสูตรต�ำรับมีสมุนไพรหลายชนิด ต้องท�ำให้สมุนไพรแต่ละชนิดมีการกระจายตัวอย่าง
สม�่ำเสมอกันก่อนน�ำไปบรรจุ หากใช้วิธีบดพร้อมกัน ต้องบดให้ละเอียดโดยมีขนาด

ไทย
อนุภาคทีเ่ ท่ากัน หากใช้วธิ แี ยกบด ต้องบดโดยผ่านแร่งทีม่ ขี นาดเดียวกันแล้วน�ำไปผสม

้าน
ในเครื่องผสมที่เหมาะสม

ื้นบ
๓. การบรรจุ

ย์พ
๓.๑ ห้องที่ท�ำการบรรจุต้องสะอาด มีการควบคุมความชื้น มีการฆ่าเชื้อที่เหมาะสม และ

พท
ควรบรรจุในห้องที่มีความดันอากาศเป็นบวก

ะแ
๓.๒ เครื่องบรรจุมีความสามารถในการบรรจุให้ผงยาลงสู่ภาชนะบรรจุหรือซองชาชงได้

แล
ตามปริมาณที่ก�ำหนดไว้

ไทย
๓.๓ ภาชนะบรรจุต้องสะอาด สามารถเก็บรักษาผงยาสมุนไพรได้คงสภาพก่อนน�ำมาใช้
ผน
๓.๑๐ ยาสด
ย์แ
รูปแบบยาต�ำรับที่มีส่วนประกอบของตัวยาสมุนไพรในต�ำรับเป็นชนิดสด ปรุงขึ้นเพื่อกินหรือ
พท

ใช้ในทันที มีวิธีการเตรียมที่งา่ ยและใช้เวลาไม่มาก


รแ

กระบวนการผลิตยาสด
ากา

๑. น�ำสมุนไพรตามสูตรต�ำรับ มาท�ำความสะอาด จากนั้นหั่น สับ หรือโขลกให้แหลก เพื่อให้ยา


ัญญ

มีขนาดตามที่ต้องการ
ูมิป

๒. น�ำตัวยาสมุนไพรมาต�ำหรือโขลกให้ละเอียด ละลายน�้ำกระสายยาที่ก�ำหนดก่อนใช้ยา และ


ควรใช้ในทันที่เมื่อปรุงยาเสร็จ
ริม
่งเส
ละส
องแ
คร
งคุ้ม
กอ

227
กอ

228
งคุ้ม
คร
องแ
ละส
่งเส
ริม
ภูมิป
ัญญ
ากา
รแ พท
ย์แ
ผน
ไทย
แล
ะแ
พท
ย์พ
ื้นบ
้าน
ไทย
กอ
งคุ้ม
คร
องแ
ละส
่งเส
ริม
ภูมิป
ัญญ
ากา
รแ พท
ย์แ
ผน
ไทย
แล
ะแ
พท
ย์พ
ื้นบ
้าน

229
ไทย
กอ

230
งคุ้ม
คร
องแ
ละส
่งเส
ริม
ภูมิป
ัญญ
ากา
รแ พท
ย์แ
ผน
ไทย
แล
ะแ
พท
ย์พ
ื้นบ
้าน
ไทย
อภิธานศัพท์
กล่อนลงฝัก ดู กษัยกล่อนลงฝัก
กลาก ตามผิวหนังจะปรากฏวงมีขอบชัดเจน เชือ้ ราจะอยูต่ ามขอบของวงนัน้ โรคนีเ้ กิดจากเชือ้
ราหลายชนิด
กลากพรรนัย เกิดเป็นวงแล้วเป็นเม็ดขึ้นกลางวง แล้วก็ลามต่อ ๆ กันออกไปเต็มทั้งกายเป็นขนนุง

ไทย
คันมาก ถ้าแก่เข้ารักษาไม่หายก็กลายเป็นวงขดติด ๆ กันไปก็มี บางทีเป็นแนว ๆ

้าน
เหมือนไม้เรียวตีก็มี

ื้นบ
กลากเหล็ก เกิดแต่ผิวหนังก�ำเริบก็ดี ผิวหนังหย่อนก็ดี ผิวหนังพิการก็ดี กล่าวคือ กองปัถวีธาตุให้

ย์พ
เป็นเหตุท�ำให้คันผิวเนื้อ และผิวเนื้อนั้นชาสากไป แล้วก็ผุดขึ้นมาเป็นเม็ดรี ยาว กลม

พท
และเป็นวง มีผิวอันด�ำดุจผิวเหล็ก คันมาก ยิ่งเกายิ่งคัน ครั้นหายคันแล้วกระท�ำให้

ะแ
แสบร้อน เมื่อเหงื่อออก จึงจึงอีกเล่า ถ้าบุคคลผู้ใดเป็นดังกล่าวมานี้โลกสมมติว่าเป็น

แล
ชาติกรรมลามกโรค ว่าโรคเกิดแต่กายอันไปมิได้บริสุทธิ์ โดยอธิบายแห่งอาจารย์วา่ ไว้

ไทย
ดังนี้ ถ้าแพทย์รักษาให้กระท�ำสิรังษะวิธีเสียก่อน คือกระท�ำให้กายและเครื่องอุปโภค
บริโภคนั้นให้สุทธิ แล้วจึงแต่งยากิน ยาทา รักษาต่อไป
ผน
กษัยกล่อนลงฝัก ลูกอัณฑะข้างหนึ่งโต มีอาการปวดเสียด ถ่วง
ย์แ
กษัยเส้น น. ความผิดปรกติที่เกิดในกล้ามเนื้อและเส้นเอ็น ท�ำให้มีอาการปวดเมื่อยตามร่างกาย
พท

ท้องผูก อ่อนเพลีย เป็นต้น.


รแ

กษัยเหล็ก น. กษัยอันเกิดจากอุปปาติกะโรคชนิดหนึ่ง เกิดจากลมอัดแน่นแข็งเป็นดานอยู่ใน


ากา

ท้องน้อย ผูป้ ว่ ยมีอาการเจ็บปวด ท้องแข็งลามขึน้ ไปถึงยอดอก กินอาหารไม่ได้ เป็นต้น.


ัญญ

ไข้ก�ำเดา ไอแห่งความร้อน มีสมุฏฐานมาจากเปลวแห่งวาโย โลหิต และเสมหะ แบ่งเป็น ๒ จ�ำพวก


ูมิป

คือ ไข้กำ� เดาน้อย มีอาการปวดศีรษะ ตาแดง ตัวร้อน ไอ สะบัดร้อนสะท้านหนาว ปากขม


ปากเปรี้ยว กินข้าวไม่ได้ อาเจียน นอนไม่หลับ และไข้ก�ำเดาใหญ่ มีอาการคล้ายไข้


ริม

ก�ำเดาน้อย แต่อาการมากกว่า มีผดุ ตามร่างกายเหมือนยุงกัด ไม่มยี อด มีไอเป็นเสมหะ


่งเส

โลหิตออกทางปาก จมูก คอ ฟัน เพดานแห้ง ความร้อนสูง เชื่อมมัว เมื่อยไปทั้งตัว


ะส

อ่อนเพลียมึนงงมาก บางทีมือเทาก�ำไข้เกิดแต่กองเสมหะสมุฏฐาน

องแ

ไข้จับสั่น ดู ไข้ป่า. (โบราณเรียกเช่นนี้เนื่องจากผู้ป่วยโรคนี้มักมีอาการหนาวสั่น).


ไข้เชื่อมซึม ดู เชื่อมมัว
คร

ไข้ประดง ดู ประดง
งคุ้ม

ไข้ป่า น. โรคชนิดหนึ่ง ผู้ป่วยมีอาการไข้สูงมากเป็นเวลา ส่วนใหญ่มักมีอาการหนาวสั่นร่วม


กอ

ด้วย นอกจากนี้ ยังอาจมีอาการปวดศีรษะ มือและเท้าเย็น มีเหงื่อออกมาก กระหายน�ำ้


ปัสสาวะบ่อย หากเป็นติดต่อกันหลายวันไม่หาย ผู้ป่วยจะซีด เบื่ออาหาร ตับโต
ม้ามโต เป็นต้น โบราณเรียก ไข้ป่า เนื่องจากผู้ป่วยมักเป็นโรคนี้หลังกลับออกมา
จากป่า, ไข้จบั สัน่ ไข้ดอกสัก (ผูป้ ว่ ยมักเป็นโรคนีใ้ นช่วงฤดูฝนซึง่ เป็นช่วงทีด่ อกสักบาน)
หรือไข้ดอกบวบ ก็เรียก.

231
ไข้พิษไข้กาฬ น. โรคกลุ่มหนึ่งที่มีอาการรุนแรง ผู้ป่วยมีอาการปวดศีรษะ ตัวร้อนจัด ปากแห้ง
ฟันแห้ง น�ำ้ ลายเหนียว ตาแดง ร้อนในกระหายน�ำ้ มือเท้าเย็น มีเม็ดสีดำ� แดง หรือเขียว
ขนาดเล็กบ้างใหญ่บ้างผุดขึ้นตามร่างกาย ต�ำราการแพทย์แผนไทยแบ่งออกเป็น
๒๑ ชนิด โดยเรียกชื่อแตกต่างกันตามลักษณะอาการ เช่น ไข้อีแดง ไข้ปานด�ำ
ไข้ปานแดง ไข้รากสาด.
ไข้เพื่อก�ำเดา ดู ไข้ก�ำเดา

ไทย
ไข้เพื่อเสมหะ ดู ไข้เกิดแต่กองเสมหะสมุฏฐาน
ไข้รากสาด น. ไข้กาฬกลุ่มหนึ่ง ผู้ป่วยอาจมีอาการตัวร้อนจัด มือเท้าเย็น ปวดศีรษะมาก ตาแดง

้าน
ื้นบ
เพ้อ มือก�ำเท้าก�ำ ตาเหลือก ตาช้อน หรืออาจมีอาการตัวเย็น เหงื่อออกมาก แต่ร้อน
ภายใน หอบ สะอึก ลิ้นกระด้างคางแข็ง เชื่อมมัว ไม่มีสติ นอกจากนี้ ยังอาจมีอาการ

ย์พ
ถ่ายเป็นเลือด ไอเป็นเลือด อาเจียนเป็นเลือด เป็นต้น ต�ำราการแพทย์แผนไทยแบ่งไข้

พท
รากสาดออกเป็น ๙ ชนิด เรียกชื่อแตกต่างกันไปตามลักษณะอาการที่ปรากฏให้เห็น

ะแ
แล
ทางผิวหนัง ได้แก่ ไข้รากสาดปานแดง ไข้รากสาดปานด�ำ ไข้รากสาดปานเขียว

ไทย
ไข้รากสาดปานเหลือง ไข้รากสาดปานขาว ไข้รากสาดปานม่วง ไข้รากสาดนางแย้ม
ไข้รากสาดพะนันเมือง และไข้รากสาดสามสหาย, ไข้ลากสาด ก็เรียก.
ผน
ไข้ร�ำเพร�ำพัด น. โรคชนิดหนึ่ง มักไม่ทราบสาเหตุ ผู้ป่วยมีอาการแตกต่างกันออกไป เช่น อาจมีไข้
ย์แ
จุกเสียดในท้อง อาเจียนละเมอเพ้อพก, ไข้ลมเพลมพัด ร�ำเพร�ำพัด หรือลมเพลมพัด
พท

ก็เรียก.
รแ
ากา

ไข้สันนิบาต ดู สันนิบาต
ไข้หัด ดู ไข้ออกหัด
ัญญ

ไข้เหือด ดู ไข้ออกเหือด
ูมิป

ไข้ออกหัด น. ไข้กาฬชนิดหนึ่ง ผู้ป่วยมีไข้ สะบัดร้อนสะท้านหนาว เชื่อมมัว ปวดศีรษะ หลังจาก



ริม

นั้นจะ มีเม็ดคล้ายเม็ดทราย ยอดแหลมผุดขึ้นทั่วตัว หากไม่มีเม็ดยอดผุดขึ้นมา


่งเส

โบราณเรียก หัดหลบ หรือ ไข้หดั หลบใน ผูป้ ว่ ยมีอาการท้องเสีย เป็นต้น, ไข้หดั ก็เรียก.
ะส

ไข้ออกเหือด น. ไข้กาฬชนิดหนึ่ง ผู้ป่วยมีอาการคล้ายอาการออกหัดแต่เม็ดที่ผุดขึ้นทั่วตัวยอด


ไม่แหลม, ไข้เหือด ก็เรียก.


องแ

จุก อาการที่บังเกิดแน่นอยู่ในอกหรือในท้อง เช่น กินมากจนจุก.


คร

ช�ำระแผล วิธีการท�ำความสะอาดแผลตามศาสตร์การแพทย์แผนไทย โดยใช้ยาทาหรือพอกไว้


งคุ้ม

ที่บาดแผล ใช้ได้ทั้งแผลสดและแผลเปื่อย.
กอ

เชื่อมมัว หน้าหมองเนื่องจากพิษไข้
ซางขุม เป็นแผลในปากเด็ก เกิดเป็นจุดขาวเป็นขุมที่ลิ้น ปาก กระพุ้งแก้ม เพดาน เจ็บน�้ำลาย
ไหล ถ้าเป็นมากท�ำให้ดูดนมล�ำบาก
ท้องมาน, ท้องมาร น. ชื่อโรคจ�ำพวกหนึ่งมีอาการให้ท้องโตอย่างหญิงมีครรภ์.

232
ประดง น. ๑. โรคกลุ่มหนึ่ง ต�ำราการแพทย์แผนไทยส่วนใหญ่วา่ เกิดจากไข้กาฬแทรกไข้พิษ
ผู้ป่วยมีเม็ดผื่นหรือตุ่มขึ้นตามผิวหนัง อาจมีอาการคัน ปวดแสบปวดร้อน ตัวร้อน
มือเท้าเย็น ร้อนในกระหายน�้ำ หอบ สะอึก ปวดเมื่อย ในกระดูก ปวดศีรษะ เป็นต้น
แบ่งออกเป็น ๘ ประเภท ตามลักษณะของเม็ดผื่นหรือตุ่ม ได้แก่ ประดงมด ประดงช้าง
ประดงควาย ประดงวัว ประดงลิง ประดงแมว ประดงแรด และประดงไฟ. ๒. โรคประเภทหนึ่ง
ต�ำราการแพทย์แผนไทยว่า เกิดจากลมรามะธานี ซึ่งเกิดที่หัวใจ พัดขึ้นไปบนศีรษะ

ไทย
ท�ำให้ผู้ป่วยมีอาการคันหู หน้า และตา. ๓. โรคผิวหนังชนิดหนึ่ง ท�ำให้คัน เป็นต้น
ตามต�ำราการแพทย์แผนไทยว่า มีหลายชนิด เช่น ประดงเลือด ประดงลม, ไข้ประดง

้าน
ก็เรียก.

ื้นบ
ปัตฆาต [ปัดตะคาด] น. ๑. เส้นที่มีจุดเริ่มต้นบริเวณของเชิงกรานด้านหน้า แล่นถึงตาตุ่ม

ย์พ
เส้นด้านบนจะแล่นไปทางด้านหลังขึน้ ข้างกระดูกสันหลัง (ถัดออกมาจากเส้นรัตตฆาต)

พท
ถึงบริเวณต้นคอ ท้ายทอย ขึ้นศีรษะ แล้วลงมาที่แขน เส้นที่อยู่ด้านขวา เรียก เส้นปัต

ะแ
ฆาตขวา เส้นที่อยู่ด้านซ้าย เรียก เส้นปัตฆาตซ้าย ส่วนเส้นด้านล่างจะเริ่มจากบริเวณ

แล
ไทย
หน้าขา แล่นลงมาถึงตาตุ่มด้านใน เรียก เส้นปัตฆาตใน ส่วนด้านนอกเริ่มจากบริเวณ
สะโพก แล่นลงมาถึงตาตุม่ ด้านนอก เรียก เส้นปัตฆาตนอก. ๒. โรคลมชนิดหนึง่ ผูป้ ว่ ย
ผน
มักมีอาการปวดเมื่อย ตามแนวเส้นปัตฆาต เคลื่อนไหวไม่สะดวก, ลมปัตฆาต ก็เรียก,
ย์แ
เขียนว่า ปัฏฆาต ปัตคาด ปัตฆาฏ หรือ ปัตะฆาฎ ก็มี.
พท

พรรดึก [พันระดึก] ๑. ก. อาการท้องผูกมาก มีอุจจาระเป็นก้อนแข็ง คล้ายขี้แมวหรือขี้แพะ.


รแ

๒. น. อุจจาระเป็นก้อนแข็งกลม คล้ายขี้แมวหรือขี้แพะ.
ากา

มองคร่อ น. ๑. โรคระบบทางเดินหายใจประเภทหนึง่ ผูป้ ว่ ยมีเสมหะเหนียวข้นอยูใ่ นช่องหลอดลม


ัญญ

ท�ำให้มอี าการไอเรือ้ รัง.๒. ในทางการแพทย์แผนปัจจุบนั หมายถึงโรคหลอดลมโป่งพอง


ูมิป

มีเสมหะในช่องหลอดลม ท�ำให้มีอาการไอเรื้อรัง โดยเฉพาะเมื่อนอนราบ, มงคร่อ หรือ


มงคล่อ ก็เรียก. (อ. Bronchiectasis).


ริม
่งเส

ร�ำเพร�ำพัด ดู ไข้ร�ำเพร�ำพัด.
ะส

ริดสีดวง น. โรคกลุ่มหนึ่ง เกิดได้กับอวัยวะต่างๆ ของร่างกาย เช่น ตา จมูก ล�ำไส้ ทวารหนัก


ต�ำรา การแพทย์แผนไทยว่า มี 18 ชนิด แต่ละชนิดมีอาการและชื่อเรียกแตกต่างกันไป


องแ

บางชนิดอาจมีตงิ่ หรือก้อนเนือ้ เกิดขึน้ ทีอ่ วัยวะนัน้ เช่น ริดสีดวงตา ริดสีดวงทวารหนัก,


คร

หฤศโรค ก็เรียก, เขียนว่า ฤศดวง หรือ ฤษดวง ก็มี.


งคุ้ม

ริดสีดวงแห้ง โรคชนิดหนึ่ง ผู้ป่วยมีอาการกระหายน�้ำ อกแห้ง คอแห้ง ไอ หอบ ผอมเหลือง สาเหตุ


กอ

เนื่องมาจากพังผืดพิการ หรือแตก.
เรื้อนกวาง เกิดขึ้นตามข้อมือและข้อเท้า ขับพับ และก�ำด้น (ต้นคอ) ท�ำให้เป็นน�้ำเหลืองลามออก
ไป ครั้นต้องยาเข้าก็แห้งเข้า บางทีก็หายขาด บางทีก็ไม่หาย แต่ไม่ตายเป็นแต่ล�ำบาก
ลมกระษัย, ลมกษัย น. ลมที่ท�ำให้ผอมแห้งแรงน้อย เป็นต้น.
ลมกระษัยกล่อน ลมที่ลงอัณฑะท�ำให้อักเสบบวม

233
ลมกล่อน ลมลงลูกอัณฑะ ท�ำให้มีอาการปวดถ่วงลูกอัณฑะ มีอาการอักเสบ บวมแดง
แก้โดยการนวด
ลมกองละเอียด น. ลมทีท่ ำ� ให้มอี าการหน้ามืด ตาลาย วิงเวียน อ่อนเพลีย สวิงสวาย ใจสัน่ เป็นต้น,
สุขุมวาตะ หรือ สุขุมวาตา ก็เรียก.
ลมกองหยาบ น. ลมที่ท�ำให้มีอาการจุกเสียดแน่น ท้องอืด ท้องเฟ้อ เป็นต้น, โอฬาริกวาตะ หรือ
โอฬาริกวาตา ก็เรียก.

ไทย
ลมก�ำเดา โรคลมชนิดหนึ่ง ต�ำราการแพทย์แผนไทยว่า เป็นลมที่เกิดแทรกไข้ก�ำเดา ผู้ป่วย
มีอาการวิงเวียน หน้ามืด ตาลาย หนักศีรษะ เจ็บตา เป็นต้น.

้าน
ื้นบ
ลมเข้าข้อ โรคลมชนิดหนึ่ง ที่ท�ำให้ปวดข้อ ข้อบวม

ย์พ
ลมชัก ลมที่ท�ำให้เกิดอาการชัก

พท
ลมทักขิณคุณ โรคลมชนิดหนึ่ง ให้ศีรษะสั่น เจรจามิได้
ลมทุนะยักษวาโย โรคลมชนิดหนึ่ง เกิดแต่กองลมอัมพาต เป็นต้น ลมกองนี้มักท�ำให้เสียดสีข้าง และ

ะแ
แล
ชายโครงขึ้นมามิให้ไหวติงตัวได้ มักให้โก่งตัวอยู่ ให้ท้องแข็งเป็นเกลียว บริโภค

ไทย
อาหารมิได้ มักรากลมเปล่า และมักเป็นร�ำมะนาด มักให้ตามืด ตาฟาง และกระท�ำ
ลงเป็นคราว ๆ มักพัดเตโชให้ดับ ถ้าผู้ใดเป็นดังกล่าวมานี้มักถอยอายุทุกวัน
ผน
ลมประวาตะคุละมะ ดู ลมประวาตะคุละมะ
ย์แ
พท

ลมปะกัง น. โรคชนิดหนึ่ง ผู้ป่วยมีอาการปวดศีรษะมาก อาจจะปวดข้างเดียว หรือสองข้าง


ก็ได้ บางต�ำราว่ามักเป็นเวลาเช้า ผู้ป่วยอาจมีอาการอื่นร่วมด้วย เช่น ตาพร่า
รแ
ากา

วิงเวียน อาเจียน.
ลมปะวาตะคุณ อันว่าลม ก้อน ดาน อันชื่อว่าประวาตะคุละมะ ตั้งแอบก้อนลมทักษิณะคุละมะอยู่
ัญญ

ท�ำให้เป็นก้อน ดาน เถา อยู่ในอกและตั้งอยู่บนยอดไส้อ่อน ผ่านลงในนาภี


ูมิป

ลมพาหุรวาโย โรคลมชนิดหนึ่ง บังเกิดแต่สุขุมังควาต กล่าวคือลมคูถทวารแล่นขึ้นมาจับเอา



ริม

หลังมือ กระท�ำให้มือบวมขึ้น แล้วแล่นลงมาจับเอาหลังเท้า กระท�ำให้เท้านั้น


่งเส

เบ่งขึ้นแล้วกลับแล่นขึ้นสู่กระบาลศีรษะ กระท�ำให้หนักศีรษะ ให้ศีรษะซุนไป


ะส

ให้วิงเวียน และให้น�้ำมูกตก น�้ำตาตก ให้เสียวล�ำมือล�ำเท้า ให้เป็นเหน็บ และ


ลมกองนี้เกิดแต่ผู้ใดก�ำหนด ๕ เดือน จะลุกขึ้นมิได้เลย


องแ

ลมพุทธยักษ์ โรคลมชนิ ด หนึ่ ง ผู ้ ป ่ ว ยมั ก มี อ าการชั ก กระสั บ กระส่ า ย ขบฟั น ตาเหลื อ ก


คร

ตาเบิกกว้าง ปากเบีย้ ว มือก�ำเท้างอ แยกแข้งแยกขา ไม่มสี ติ เป็นต้น, ลมสันนิบาต


งคุ้ม

พุทธยักษ์ ก็เรียก.
กอ

ลมมหาสดมภ์ โรคลมอันมีพิษ ชนิดหนึ่ง ผู้ป่วยมีอาการหาวนอนมาก จิตใจสับสน หมดสติ.


ลมราทยักษ์ โรคลมชนิดหนึ่ง ผู้ป่วยมีอาการเป็นไข้ตัวร้อน ชัก มือเท้า ก�ำงอ ลิ้นกระด้างคาง
แข็ง คอแข็ง ตาเหลือง เป็นต้น, ลมราชยักษ์ หรือ ราทยักษวาโย ก็เรียก.

234
ลมสรรพวาระจักรโมละ โรคลมชนิดหนึง่ เกิดแต่กองอัมพฤกษ์และปัตคาดระคนกัน กระท�ำให้จบั เป็นคราว
๓-๔ วันจับทีหนึ่ง เมื่อจะจับขึ้นมานั้นให้เจ็บหลังก่อน แล้วแล่นขึ้นไปจับเกลียว
ข้าง ให้เจ็บต้นคอยิ่งนัก
ลมสันดาน ลมประจ�ำตัวแต่ละบุคคล
ลมสิตมัควาโย โรคลมชนิดหนึง่ กระท�ำให้มอื เท้าเย็นก่อน แล้วกระท�ำให้มอื เท้าตาย ยกมือขึน้ มิได้
ลมกองนี้ครั้นแก่เข้าแก้มิถอย จึงตกไปในระหว่างอัมพาต กระท�ำให้ล้ินกระด้าง

ไทย
เจรจามิชัด มักให้เตโชเป็นติกธาตุ แพทย์ทั้งหลายพึงรู้ ถ้าบังเกิดขึ้นแก่บุคคล

้าน
ผู้ใดแล้ว บุคคลผู้นั้นอายุมิยืนเลย

ื้นบ
ลมออกหู อาการหูอื้อ

ย์พ
ลมอัมพฤกษ์ ลมที่ท�ำให้เกิดอาการเคลื่อนไหวไม่ได้ โดยกระดูกไม่เคลื่อน

พท
ลมอัมพาต (๑) ลมที่ท�ำให้เคลื่อนไหวไม่ได้ และมีอาการกระดูกเคลื่อน (๒) ลมจับเอากันกบ

ะแ
ขึ้นไปถึงราวข้าง จับเอาหัวใจแล้วซึมมึน แล้วขึ้นไปราวบ่าทั้งสองข้าง ขึ้นไปจับ

แล
เอาต้นลิ้น เจรจามิได้ชัดแล

ไทย
ลมอุทธังคมาวาตา ลมที่พัดเป็นปกตินั้น พัดแต่ปลายเท้าจนถึงที่สุดแห่งศีรษะ ย่อมรักษากาย มิให้
ผน
เป็นอันตราย และลมจ�ำพวกนี้ ถ้าแตกเมื่อใดก็ให้ผู้นั้นทุรนทุราย มือตีนขวักไขว่
ย์แ
พลิกตัวไปมา ให้หาว ให้เรอ ให้ลมปะทะบ่อย
พท

สมุฏฐานวาตะ ที่ตั้งหรือที่แรกเกิดของโรคอันเกิดจากลม แบ่งออกเป็น ๓ อย่าง ได้แก่ หทัยวาตะ


รแ

(ลมในหัวใจ อันท�ำให้หัวใจท�ำงานเป็นปรกติ) สัตถกวาตะ (ลมที่ท�ำให้เกิดอาการ


ากา

เสียดแทงตามส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย) และ สุมนาวาตะ (ลมในเส้น อันท�ำให้เกิด


ัญญ

อาการปวดเมื่อย).
สัตถกวาตะ ดูใน สมุฏฐานวาตะ. 
ูมิป

สัตถกวาตะ โรคลมชนิดหนึ่ง ต�ำราแพทย์แผนไทยว่า เกิดจากสันฑฆาต ผู้ป่วยจะเริ่มมีอาการ



ริม

เจ็บบริเวณหน้าอก เมื่อเป็นนานเข้าจะเกิดเป็นเวลา โดยเมื่อมีอาการจะรู้สึกเจ็บ


่งเส

แปลบปลาบไปทัว่ ทัง้ ตัว เหมือนถูกมีดเชือดและเหล็กแหลมแทง ใจสัน่ เมือ่ อาการ


ะส

บรรเทาลงจะรู้สึกหิว ไม่มีแรง ปวดหัว ตามัว กินอาหารไม่ได้ นอนไม่หลับ.


สันนิบาต น. ๑. ความเจ็บป่วยอันเกิดจากกองสมุฏฐานปิตตะ วาตะ และเสมหะ กระท�ำร่วม


องแ

กั น ให้ เ กิ ด โทษเต็ ม ก� ำ ลั ง , ไข้ สั น นิ บ าต หรื อ สั น นิ ป าติ ก าอาพาธา ก็ เรี ย ก.


คร

๒. ชื่อความเจ็บป่วยพวกหนึ่ง ผู้ป่วยจะมีอาการสั่นเทิ้ม ชักกระตุก เพ้อ เป็นต้น


งคุ้ม

เช่น สันนิบาตลูกนก สันนิบาต หน้าเพลิง สันนิบาตหนังตาตก.


กอ

สุม วางทับซ้อน ๆ กันไปจนสูงเป็นกอง มักใช้กับค�ำว่า กระหม่อม.

235
กอ

236
งคุ้ม
คร
องแ
ละส
่งเส
ริม
ภูมิป
ัญญ
ากา
รแ พท
ย์แ
ผน
ไทย
แล
ะแ
พท
ย์พ
ื้นบ
้าน
ไทย
กอ
งคุ้ม
คร
องแ
ละส
่งเส
ริม
ภูมิป
ัญญ
ากา
รแ พท
ย์แ
ผน
ไทย
แล
ะแ
พท
ย์พ
ื้นบ
้าน

237
ไทย
กอ

238
งคุ้ม
คร
องแ
ละส
่งเส
ริม
ภูมิป
ัญญ
ากา
รแ พท
ย์แ
ผน
ไทย
แล
ะแ
พท
ย์พ
ื้นบ
้าน
ไทย
กลุ่มโรคเด็ก
กลุ่มโรคเด็ก กล่าวถึงโรคและอาการที่เกิดขึ้นในเด็ก ตั้งแต่แรกเกิด จนถึง อายุประมาณ ๑๔ – ๑๕ ปี
เป็นช่วงสิ้นก�ำหนดโรคซางและตานขโมย
๑. ซาง
โรคซางเกิดกับเด็กทารก ตั้งแต่แรกเกิด จนถึงอายุ ๕ - ๖ ขวบ เกิดเม็ดซางขึ้นตามร่างกาย

ไทย
จ�ำนวนหลายเม็ด มีสีต่างกัน เช่น สีแดง สีม่วง สีเหลือง เป็นต้น บริวารซางขึ้นล้อมรอบแม่ซางในลักษณะ

้าน
ต่างๆ เรียกว่า “ดวงซาง” เม็ดซางสามารถเลื่อนไปตามอวัยวะต่างๆได้ ซึ่งซางแต่ละชนิดจะมีจุดก�ำเนิด

ื้นบ
และการเคลื่อนที่ตา่ งกัน เรียกว่า “แผนซาง” ต�ำแหน่งที่เกิดเม็ดซางเกิดขึ้นได้ทั้งอวัยวะภายในร่างกาย เช่น

ย์พ
ในปาก คอ ลิ้น ทรวงอก ปอด ในท้อง กระเพาะอาหาร ตับ ม้าม ล�ำไส้เล็ก ล�ำไส้ใหญ่ กระเพาะปัสสาวะ

พท
ทวารหนัก และอวัยวะภายนอก เช่น แขน ขา หน้าแข้ง สันหลัง สีข้าง และตามผิวหนัง

ะแ
ซางแต่ละชนิดจะมีอาการแตกต่างกัน ตั้งแต่อาการเล็กน้อย เช่น เป็นไข้ ตัวร้อน กระหายน�้ำ ไอ

แล
กินข้าวกินนมไม่ได้ ปวดท้อง ท้องเสีย อาเจียน ท้องผูก จนถึงอาการรุนแรง เช่น ถ่ายเป็นมูก เป็นเลือด

ไทย
เป็นหนอง ตัวเหลือง ตาเหลือง ปัสสาวะเหลือง ตับโต ม้ามโต เป็นต้น
แต่ซางที่ขึ้นตามอวัยวะต่างๆ จะมีอาการเหมือนกัน เช่น ผน
ย์แ
ซางขึ้นคอ ท�ำให้ เจ็บคอ ไอ อาเจียน ปากแห้ง คอแห้ง กินข้าวกินนมมิได้
พท

ซางขึ้นกระเพาะ ท�ำให้ เบื่ออาหาร อาเจียน


รแ

ซางขึ้นล�ำไส้อ่อน ท�ำให้ ถ่ายอุจจาระสีเขียวดังใบไม้


ากา

ซางขึ้นล�ำไส้แก่ ท�ำให้ ถ่ายอุจจาระสีเหมือนน�้ำส่าเหล้า


ซางขึ้นในท้อง ท�ำให้ ท้องเสีย ปวดท้อง ท้องขึ้น
ัญญ

ซางขึ้นหัวเหน่า ท�ำให้ เป็นบิด ปวดมวน ขัดอุจจาระ


ูมิป

ซางขึ้นกระเพาะปัสสาวะ ท�ำให้ ขัดปัสสาวะ



ริม

ซางขึ้นตับ ท�ำให้ ถ่ายเป็นมูก เป็นเลือด เป็นหนอง ตัวเหลือง ตาเหลือง ตับโต ม้ามโต


่งเส

ซางขึ้นตา ท�ำให้ ตาแฉะ ตาฟาง ตาเป็นเกล็ดกระดี่ ตาบอด


ะส

ซางขึ้นหู ท�ำให้ หูเน่า (มีหนอง)


ซางขึ้นปาก ท�ำให้ ปากแดง


องแ


คร

การวิเคราะห์เพื่อวางแผนการรักษา
งคุ้ม

โรคซางนั้นอาการค่อยๆด�ำเนินไป จากอาการน้อยจนถึงอาการหนัก จากพระคัมภีร์ที่กล่าวไว้ว่า


“ ลักษณะซาง(บางชนิด)ถึงร้ายก็จริง แต่ว่า(เม็ด)ซางนั้นขึ้นทีละยอด ถ้าแพทย์ประกอบยาที่ถูกกับ
กอ

โรคซางนั้นก็จะหายไป” ถ้าแพทย์ให้การรักษาที่ถูกต้อง และรักษาในระยะเริ่มแรกซึ่งอาการยังน้อยอยู่


ก็สามารถหายได้ ไม่ทำ� ให้โรคลุกลามรุนแรงขึน้ แต่ถา้ แพทย์วางยาไม่ถกู ต้องกับโรคและอาการแล้ว หรือรักษา
ในระยะที่โรคลุกลามรุนแรง ก็เป็นการยากที่จะรักษาให้หายได้

239
ดังนั้นจึงต้องพิจารณา
๑. ระยะเวลาที่เกิดโรค เช่น ถ้าเพิ่งเริ่มเป็น จะรักษาได้ง่ายกว่าเป็นเรื้อรัง
๒. ความรุนแรงของโรค เช่น ถ่ายเป็นน�้ำคาวปลา ถ่ายเป็นมูก เป็นเลือด เป็นหนอง
ตัวเหลือง ตาเหลือง ตับโต ม้ามโต
ถ้ามีอาการเรื้อรังและรุนแรง ควรส่งต่อให้แพทย์ผู้มีความเชี่ยวชาญท�ำการรักษา
อาการที่ไม่รุนแรงที่สามารถรักษาได้ คือ เป็นไข้ ตัวร้อน (ไม่เกิน ๓๙° c) ไอ เบื่ออาหาร

ไทย
ปวดท้อง ท้องเสีย อาเจียน ท้องผูก เป็นเม็ดในปากในคอที่ลิ้น เป็นผื่นขึ้นตามผิวหนัง
หลักในการรักษา

้าน
ื้นบ
๑. ยาที่ใช้ในเด็ก โดยทั่วไปไม่ควรใช้ต�ำรับยาที่มีรสร้อนจัด หรือต�ำรับยาที่มีรสเย็นจัด

ย์พ
๒. ควรใช้ต�ำรับยาที่มีรสสุขุม ปานกลาง

พท
๓. ไม่ควรใช้กระสายยาที่มีฤทธิ์แรง
๔. ควรใช้กระสายยาให้เหมาะกับอาการของเด็ก

ะแ
แล
๒. หละ ละออง (กลุ่มโรคในปากในคอเด็ก)

ไทย
โรคหละและละออง เกิดกับเด็กทารก ตั้งแต่แรกเกิด จนถึงอายุ ๕ - ๖ ขวบ เกิดเฉพาะ
ในปากในคอเด็ก ผน
หละ ลักษณะเป็นเม็ดโตขนาดเท่าหัวสิว มีสีตา่ งๆ เช่น สีแดง สีเหลือง สีเขียว สีด�ำ เป็นต้น
ย์แ
พท

เกิดขึน้ ทีโ่ คนขากรรไกรซ้ายหรือขวา มีอาการ ท้องเสีย บางชนิดมีอาการชัก บางชนิดมีอาการเป็นอัมพาต


ละออง ลักษณะเป็นเม็ดเล็กๆ สีแดง สีม่วง หรือเป็นจุดขาวๆ หรือเป็นเมือกใสหนาๆ ที่ลิ้น กระพุ้งแก้ม
รแ
ากา

เพดานปาก มีอาการ ท้องเสีย ไข้สูง ชัก บางคนมีอาการชัก โดยไม่มีไข้


๓. ลมซาง
ัญญ

โรคลม ที่เกิดขึ้นในเด็กตั้งแต่อยู่ในครรภ์มารดาจนถึง ๕ – ๖ ขวบ มีอาการต่างๆ เช่น


ูมิป

ปวดท้อง ท้องขึ้น ท้องเสีย บางชนิดมีอาการชัก ตาเหลือก หลังแข็ง หน้าเขียว



ริม

๔. ตานขโมย
่งเส

เกิดในเด็กอายุตั้งแต่ ๕ - ๑๒ ขวบ เกิดจากการกินอาหารอันท�ำให้เกิดพยาธิในร่างกาย


ะส

มีอาการ เช่น ท้องเสีย อุจจาระมีกลิ่นเหม็นคาวจัด บางครั้งถ่ายเป็นมูกเลือด บางครั้งอุจจาระสีขาวซีด


ถ้าเป็นเรื้อรัง ท�ำให้เด็กซูบซีด ผอม


องแ

ต�ำรับยาแผนไทยแห่งชาติในกลุ่มโรคเด็กนี้ ได้คัดเลือกต�ำรับยาที่มีศักยภาพและพิจารณา
คร

จ�ำแนกประเภทของกลุ่มโรค /อาการต่างๆ ตามที่ได้อธิบายไว้ขา้ งต้นรวมทั้งสิ้น ๓๗ ต�ำรับ ดังนี้


งคุ้ม


๑. กลุ่มยาแก้ซาง หละ ละออง
กอ

รสประธานของยา เย็น - สุขุมเย็น


ตัวยาที่จำ� เป็นต้องมี
๑. ตัวยารสสุขุม เช่น โกฐ เทียน ขอนดอก ชะลูด กะล�ำพัก กฤษณา สมุลแว้ง เป็นต้น
๒. ตัวยาที่มีฤทธิ์เย็น ดับพิษร้อน ถอนพิษไข้ เช่น ลูกขี้กาแดง เนระพูสี มหาสะด�ำ พิษนาศน์
จันทน์ทั้งสอง เป็นต้น
240
๓. ตัวยารสร้อนและกระจายลม เช่น หอมแดง พริกไทย กระเทียม ขิงแห้ง ผักแพวแดง สะค้าน
กานพลู ดอกจันทน์ ผลจันทน์ เปราะหอม เป็นต้น
๔. ตัวยาที่มีฤทธิ์ระบาย เช่น ตรีผลา ชุมเห็ดไทย เกลือสินเธาว์ โกศน�้ำเต้า เป็นต้น
๕. ตัวยาที่มีฤทธิ์ฝาด (กรณีที่มีอาการท้องเสีย) เช่น ลูกเบญกานี สีเสียดเทศ เป็นต้น
๖. ตัวยาที่มีฤทธิ์แก้ลิ้นเป็นฝ้า หละ ละออง เช่น น�้ำประสานทอง ลูกเบญกานี เป็นต้น
ต�ำรับยาในกลุ่มยาแก้ซาง หละ ละออง ที่คัดเลือกเป็นต�ำรับยาแผนไทยแห่งชาติ

ไทย
๑. ยาแก้ซางขุมซางดอกหมาก
๒. ยาสุมกระหม่อมเด็ก สูตร ๑

้าน
ื้นบ
๓. ยาสุมกระหม่อมเด็ก สูตร ๒

ย์พ
๒. กลุ่มยาแก้ลมซาง (ท้องเสีย ท้องขึ้น)

พท
รสประธานของยา ร้อน - สุขุมร้อน
ตัวยาที่จำ� เป็นต้องมี

ะแ
แล
๑. ตัวยารสร้อนและกระจายลม เช่น พริกไทย ขิง ดีปลี กระเทียม มหาหิงคุ์ ว่านน�้ำ ใบหนาด

ไทย
ไพล เจตพังคี ขมิ้นอ้อย ข่า คนทีสอ หอมแดง ผลจันทน์ เปราะหอม กะเพราทั้งสอง กะพังโหม เป็นต้น
๒. ตัวยาที่มีฤทธิ์ระบาย เช่น เกลือ ฝักราชพฤกษ์ มะขามเปียก ยาด�ำ โกฐน�้ำเต้า เป็นต้น
ผน
ต�ำรับยากลุ่มยาแก้ลมซาง ที่คัดเลือกเป็นต�ำรับยาแผนไทยแห่งชาติ
ย์แ
พท

๑. ยาแก้เด็กท้องขึ้น
๒. ยาธาตุเด็ก
รแ
ากา

๓. ยาส�ำหรับเด็ก
๓. กลุ่มยาแก้ตานขโมย (ถ่ายพยาธิ ระบาย ช่วยให้เจริญอาหาร)
ัญญ

รสประธานของยา ร้อน - สุขุมร้อน


ูมิป

ตัวยาที่จำ� เป็นต้องมี

ริม

๑. ตัวยารสร้อนและกระจายลม เช่น ขิง ดีปลี ว่านน�้ำ ใบหนาด ไพล ขมิ้นอ้อย ข่า การบูร
่งเส

ผิวมะกรูด หอมแดง แห้วหมู ผักเสี้ยนผี ลูกจันทน์ ดอกจันทน์ โหรพา ลูกผักชี กระชาย เจตพังคี เป็นต้น
ะส

๒. ตัวยาที่มีฤทธิ์ระบาย เช่น สมอไทย สมอเทศ สมอพิเภก ฝักราชพฤกษ์ ยาด�ำ รากตองแตก


ใบมะขามแขก เป็นต้น
องแ

ต�ำรับยากลุ่มยาแก้ตานขโมย ที่คัดเลือกเป็นต�ำรับยาแผนไทยแห่งชาติ
คร

๑. ยาแก้ดากเด็ก
งคุ้ม
กอ

241
กลุ่มโรคลม

กลุ่มอาการโรคที่เกิดจากสภาวะติดขัดของตรีสมุฏฐาน ปิตตะ วาตะ เสมหะ ในกองธาตุ สภาวะ
ติดขัดดังกล่าว ท�ำให้เกิดพิษขึ้นมากระท�ำโทษ และแสดงอาการวิปริต แปรปรวนไปต่าง ๆ ออกมา เช่น
เส้นอัษฏากาศ หากมีสภาพ เส้นตีบ ขัดข้อง ติดขัด เกิดเม็ดหรืออุดตันขึ้นในเส้น ถูกความร้อนความเย็น
เกินประมาณ ท�ำให้เลือดเดินไม่สะดวก เกิดพิษขึ้น พิษกลับเข้าไปท�ำให้หัวใจพิการ เป็นโรคร้ายแรงต่างๆ

ไทย
เช่ น ลม ๖ ประการ ลมชิ ว หาสดมภ์ ลมมหาสดมภ์ ลมทั ก ขิ ณ โรธ ลมตะนิ ย าวิ โรธ กาฬสิ ง คลี

้าน
ลมนางงุ้ม และลมนกนางแอ่น เป็นต้น เส้นสุมนา หากมีสภาพ เส้นตีบ ขัดข้อง ติดขัดหรือมีเม็ดขึ้นในเส้น

ื้นบ
หรืออาจถูกเส้น อิทาหรือเส้นปิงคลาเบียดหรือทับ ท�ำให้เลือดเดินไม่สะดวก จึงเกิดพิการขึ้น เกิดพิษ

ย์พ
พิษนั้นกลับเข้าท�ำให้หัวใจพิการ ท�ำให้เกิด โรคร้ายแรงต่างๆ เช่น ลม ๖ ประการ คือ ลมราทยักษ์

พท
ลมกุมภัณฑยักษ์ ลมบาดทะจิต ลมพุทธยักษ์ ลมอัคมุขี และลมอินธนู (ดูรายละเอียดในคัมภีร์ชวดาร)

ะแ
เมื่อแก้หายแล้ว บางครั้งกลายเป็นอัมพาต เป็นต้น

แล
พิษที่กระท�ำโทษ มี ๒ สภาวะคือ ๑. สภาวะไหว ๒. สภาวะตึง

ไทย
โรคลมบางครั้งเรียกว่า เกิดลม หรือ ลม เฉย ๆ ก็เรียก และมักเรียกร่วมกับเลือด เรียกว่า เลือดลม
ธรรมชาติของลม ที่เป็นปกติ เป็นหนึ่งในกองธาตุ ๔ ที่เราสงเคราะห์เรียกว่า “ธาตุลม” หรือ วาโยธาตุ หรือ
ผน
ย์แ
วาโยรูป เป็นรูปปรมัตถ์ ซึ่งมีลักษณะไหวหรือเคร่งตึง มีลักขณาทิจตุกะ ดังนี้
พท

๑. มีความเคร่งตึงเป็นลักษณะ
รแ

๒. มีการไหวเป็นกิจ
ากา

๓. มีการเคลื่อนย้ายเป็นผล
๔. มีธาตุทั้ง ๓ ที่เหลือเป็นเหตุใกล้
ัญญ

ธรรมชาติที่ทรงภาวการณ์เคร่งตึงก็ดี การไหวก็ดีทีมีอยู่ในกายนั้น เรียกว่า วาโยธาตุ


ูมิป

ธาตุลมภายใน หมายถึง ธาตุลมอันเป็นส่วนประกอบของร่างกายที่มีวิญญาณ ซึ่งมีอยู่ ๖ อย่าง ได้แก่



ริม

๑. ลมที่พัดขึ้นเบื้องบน เช่น การเรอ การหาว การไอ การจาม เป็นต้น


่งเส

๒. ลมที่พัดลงสู่เบื้องต�่ำ เช่น การผายลม การเบ่ง (ลมเบ่ง) เป็นต้น


ะส

๓. ลมที่อยู่ในช่องท้อง ท�ำให้ปวดท้อง เสียดท้อง เป็นต้น


๔. ลมที่อยู่ในล�ำไส้ เช่น ท้องลั่น ท้องร้อง เป็นต้น


องแ

๕. ลมที่พัดอยู่ทั่วร่างกาย ท�ำให้ไหวร่างกายได้
คร

๖. ลมหายใจเข้า ออก
งคุ้ม

โรคลม มีมูลแห่งเหตุที่ส�ำคัญมาจาก อาหาร อารมณ์ การกินอาหารผิดเวลา มักเกิดขึ้นในทวัต


กอ

ติงสาการ หรือ อาการ ๓๒ เช่น เกิดในเนื้อ ในหนัง ในเส้น ในเอ็น ในกระดูก ในเลือด ในหัวใจ
เป็นต้น
โรคลม เกิดขึ้นอย่างเฉียบพลัน หรือเรื้อรังก็ได้ เมื่อเกิดขึ้นแล้วมักมีอาการที่รุนแรง การรักษา
ค่อนข้างล�ำบาก พลาดพลั้งอาจถึงแก่ชีวิตได้

242
โรคลม อาการที่แสดงออกที่ไม่รุนแรงเป็นอาการทั่ว ๆ ไป เช่น อาการจุกเสียด แน่นเฟ้อ
ปวดท้อง ปวดเมื่อย สวิงสวาย วิงเวียนศีรษะ ใจสั่น นอนไม่หลับ ความดันโลหิตสูง ฯ ลฯ ไปจนถึงอาการ
ทีร่ นุ แรง เช่น หน้ามืด เป็นลมนอนแน่นงิ่ ลมพิษ ชักมือก�ำเท้างอ ลิน้ กระด้างคางแข็ง ละเมอเพ้อพก อัมพฤกษ์
อัมพาต ฯ ลฯ เป็นต้น
การพิจารณารักษาโรคลม ต้องพิจารณาว่าเกิดที่ใด ในอาการ ๓๒ ประการ ตามคัมภีร์ชวดาล
แนะน�ำไว้ดังนี้ เช่น โรคลมนั้นเกิดได้ ในเส้น ในเนื้อ ในโลหิต ในกระดูก ในผิวหนัง ในหัวใจ เป็นต้น

ไทย
พึงพิจารณาลมนั้นก่อน แล้วจึงพิจารณายาที่จะซาบไปในที่นั้น ให้ควรแก่โรค เช่น ถ้าโรคลมบังเกิดขึ้น
ในเส้น ควรนวดและยาประคบ กินยาแก้ลมในเส้น จึงหาย ถ้าโรคลมจ�ำพวกใดบังเกิดในโลหิต ให้ปล่อย

้าน
ื้นบ
หมอน้อยกอกศีรษะ กินยาในทางลมโลหิต จึงหาย ถ้าโรคลมจ�ำพวกใดบังเกิดในผิวหนัง ชอบทายา และ

ย์พ
รมยา และกอกลม กินยาในทางลม และรักษาผิวหนังให้บริบูรณ์ จึงหาย ต�ำรับยาที่ใช้มักเป็น ต�ำรับยาหอม

พท
ต�ำรับยาลม ควบคู่กับต�ำรับยาถ่าย ต�ำรับยาระบาย
กลุ่มเครื่องยาแก้โรคลม

ะแ
แล
๑. กลุ่มเครื่อ งยารสร้อ น ขิ ง พริ กไทย ปลี พริ กหอม หั ส คุ ณไทย หั ส คุ ณเทศ มหาหิ งคุ ์

ไทย
ว่านน�้ำ มะกรูด กะเพรา เปลือกต้นมะรุม เปลือกอบเชยเทศ เปลือกกุ่มทั้ง ๒ เถาสะค้าน หัวแห้วหมู
ลูกจันทน์ ดอกจันทน์ กระวาน กานพลู ลูกผักชีล้อม ลูกผักชีลา เทพทาโร เจตพังคี ข่า
ผน
๒. กลุ่มเครื่องยารสสุขุม กลุ่มโกฏ กลุ่มเทียน กะล�ำพัก จันทน์ชะมด สมุลแว้ง รากแฝกหอม
ย์แ
พท

ชะลูด ขอนดอก ก�ำยาน จันทน์เทศ


๓. กลุม่ เครือ่ งยารสเย็น พิมเสน ชะมดเชียง ชะมดเช็ด มะลิ ดอกบุนนาค ดอกสารภี ขอนดอก
รแ
ากา

ล�ำเจียก ล�ำดวน ดอกกระทิง แก่นจันทนา


๔. กลุ่มเครื่องยาที่มีฤทธิ์ระบาย ตองแตก สลัดได ยาด�ำ รงทอง สมอไทย สลอด
ัญญ
ูมิป

ต�ำรับยาโรคลม ที่คัดเลือกเป็นต�ำรับยาแผนไทยแห่งชาติ

๑. ยากษัยเส้น
ริม

๒. ยาแก้ก�ำเดาให้ตามัวมืด
่งเส

๓. ยาแก้ลม สูตร ๑
ะส

๔. ยาแก้ลม สูตร ๒

องแ

๕. ยาแก้ลมกล่อน แลลมพุทยักษ์ ราทยักษ์


๖. ยาแก้ลมกล่อนให้จุก
คร

๗. ยาแก้ลมทุนะยักษวาโย
งคุ้ม

๘. ยาแก้ลมปัตคาด
กอ

๙. ยาแก้ลมพาหุรวาโย
๑๐. ยาแก้ลมมหาสดมภ์
๑๑. ยาแก้ลมมหาสดมภ์ และลมอัมพาต
๑๒. ยาแก้ลมสรรพวาระจักรโมละ
๑๓. ยาแก้ลมสันดาน สูตร ๑

243
๑๔. ยาแก้ลมสันดาน สูตร ๒
๑๕. ยาแก้ลมเสียงแห้ง
๑๖. ยาแก้ลมออกตามหูและตา
๑๗. ยาแก้ลมอัมพฤกษ์
๑๘. ยาแก้ลมอัมพฤกษ์ อัมพาต สูตร ๑
๑๙. ยาแก้ลมอัมพฤกษ์ อัมพาต สูตร ๒
๒๐. ยาแก้สารพัดลม

ไทย
๒๑. ยาแก้เส้นปัตคาด

้าน
๒๒. ยาแก้อัคนีจร

ื้นบ
๒๓. ยาจิตรวาโย

ย์พ
๒๔. ยาชุมนุมวาโย

พท
๒๕. ยาทิภาวุธ
๒๖. ยานารายณ์พังค่าย

ะแ
๒๗. ยาน�้ำมันสิทธิโยคี

แล
๒๘. ยาเบญจขันธ์

ไทย
๒๙. ยาประคบ ผน
๓๐. ยาประคบคลายเส้น
ย์แ
๓๑. ยาประสะพริกไทย
พท

๓๒. ยาประสะสมอ
รแ

๓๓. ยาปัตคาดใหญ่
ากา

๓๔. ยาผสมโคคลาน
๓๕. ยาผสมเถาวัลย์เปรียง
ัญญ

๓๖. ยาผักเป็ดแดง
ูมิป

๓๗. ยาพระเป็นเจ้ามงกุฎลม

๓๘. ยาพระแสงจักร
ริม

๓๙. ยาพัดในล�ำไส้
่งเส

๔๐. ยามหาก�ำลัง
ะส

๔๑. ยามหาไชยวาตะ

องแ

๔๒. ยาลมอันให้เย็นไปทั้งตัว
๔๓. ยาลุลม
คร

๔๔. ยาวาตาธิจร
งคุ้ม

๔๕. ยาวิรุณนาภี
กอ

๔๖. ยาสหัศธารา
๔๗. ยาสุมลมเจ็บสูง
๔๘. ยาหทัยวาตาธิคุณ
๔๙. ยาหอมเบญโกฏ
๕๐. ยาอินทจร

244
กลุ่มอาการระบบทางเดินหายใจ
กลุม่ อาการระบบทางเดินหายใจ เป็นกลุม่ อาการของโรคทีไ่ ม่ปรากฏในพระคัมภีรแ์ พทย์แผนโบราณ
เช่น โรคไข้หวัดน้อย ไข้หวัดใหญ่ มีรายละเอียดอยู่ในพระคัมภีร์ตักกศิลา
โรคระบบทางเดินหายใจ เป็นอาการของโรคทีม่ คี วามสัมพันธ์กบั โรคทีม่ อี ยูใ่ นพระคัมภีรบ์ างคัมภีร์
เช่น พระคัมภีร์สมุฏฐานวินิจฉัย ที่กล่าวถึง อาโปธาตุสมุฏฐาน ศอเสมหะ น�้ำเสลดในคอ พิการ ให้ไอ เจ็บคอ
คอแห้ง เป็นหืด เขโฬ น�้ำลายที่อยู่ในปาก พิการ ให้เจ็บคอ เป็นเม็ดในคอและที่โคนลิ้น สังฆานิกา (น�้ำมูก)
เป็นน�้ำใสออกทางจมูก พิการ ให้ปวดในสมอง ตามัว น�้ำมูกไหล เป็นต้น

ไทย
กลุ่มอาการระบบทางเดินหายใจนั้น พบได้ในหลายๆ โรค ของพระคัมภีร์แพทย์แผนโบราณ

้าน
มูลเหตุของโรค ที่ท�ำให้เกิดโรคภัยไข้เจ็บจากพระคัมภีร์เวชศึกษา และพระคัมภีร์ธาตุวิวรณ์ เช่น ฤดูที่

ื้นบ
แปรเปลี่ยนไป อาหารให้โทษ อากาศร้อนและเย็น อดนอน อดน�้ำ กินอิ่มจนเกินควร ท�ำงานเกินก�ำลัง

ย์พ
ในพระคัมภีร์ธาตุวิภังค์กล่าวถึงความไม่สมดุลของธาตุ มีผลให้เกิดความเจ็บป่วย

พท
การพิจารณาคัดเลือกต�ำรับยาแผนไทยแห่งชาติ ในกลุ่มอาการระบบทางเดินหายใจ ได้คัดเลือก

ะแ
ตามข้อบ่งใช้ และสรรพคุณที่สามารถบรรเทาอาการไอ เจ็บคอ คอแห้ง ขับเสมหะ น�้ำลายเหนียว อาการหวัด
หรือแพ้อากาศ ที่ไม่มีอาการไข้ร่วมด้วย จ�ำนวน ๓ ต�ำรับ ดังนี้

แล
ไทย
๑) กลุ่มยาบรรเทาอาการไอ ขับเสมหะ
ตัวยาที่จ�ำเป็นต้องมี คือ ผน
๑.๑) ตัวยาที่มีสรรพคุณแก้ไอ เช่น เนื้อผลมะขามป้อม ผลมะแว้งต้น ผลมะแว้งเครือ
ย์แ
๑.๒) ตัวยาที่มีสรรพคุณขับเสมหะ เช่น ใบกะเพรา เนื้อผลสมอพิเภก เทียนขาว
พท

๑.๓) ตัวยาที่ท�ำให้ชุ่มคอ เช่น รากชะเอมเทศ ใบมะกล�่ำเครือ (แก้เจ็บคอ กระตุ้นน�้ำลาย)


รแ

๑.๔) น�้ำกระสายยา เช่น น�้ำมะขามเปียก น�้ำมะนาว น�้ำส้มซ่า


ากา

ต�ำรับยาบรรเทาอาการไอ ขับเสมหะ ที่คัดเลือกเป็นต�ำรับยาแผนไทยแห่งชาติ


๑. ยาแก้คอแห้งกระหายน�้ำ
ัญญ

๒. ยาแก้ไอ
ูมิป

๓. ยาแก้ไอขับเสมหะ สูตร ๑

๔. ยาแก้ไอขับเสมหะ สูตร ๒
ริม

๕. ยาแก้ไอคอแหบแห้ง
่งเส

๖. ยาแก้ไอผสมกานพลู
ะส

๗. ยาแก้ไอผสมมะนาวดอง

๘. ยาแก้ไอพื้นบ้านอีสาน
องแ

๙. ยาตรีผลา
๑๐. ยาประสะน�้ำมะนาว
คร

๑๑ . ยาเสมหะพินาศ
งคุ้ม

๒) กลุ่มยาบรรเทาอาการหวัดหรือแพ้อากาศ (ซึ่งไม่มีอาการไข้ร่วมด้วย)
กอ

ตัวยาที่จ�ำเป็นต้องมี คือ
๒.๑) ตัวยาที่มีรสร้อน เช่น พริกไทยด�ำ หัสคุณเทศ ดอกกานพลู เหง้าขิง รากเจตมูลเพลิงแดง
๒.๒) ตัวยาทีม่ รี สสุขมุ เช่น เหงือกปลาหมอ (ทัง้ ต้น) โกฐสอ โกฐเขมา เทียนด�ำ เทียนแดง
ต�ำรับยาบรรเทาอาการหวัดหรือแพ้อากาศ ที่คัดเลือกเป็นต�ำรับยาแผนไทยแห่งชาติ
๑. ยาแก้ไข้เพื่อเสมหะ
๒. ยาแก้หืด
๓. ยาฝนแสนห่าสิงคาทิจร
245
กลุ่มไข้
เมื่อเจ็บป่วยร่างกายมักแสดงอาการที่ผิดปกติต่าง ๆ ออกมา อาการที่ผิดปกติอย่างหนึ่งนั้น
คืออุณหภูมิร่างกายสูงขึ้น อาการผิดปกตินี้ เรียกว่า ไข้ หรือ เป็นไข้ เจ็บไข้ จับไข้ มีไข้ ได้ไข้
ไข้ เป็นสัญญาณที่บอกว่าร่างกายก�ำลังเกิดโรค อาการที่พบ มักมีอาการตัวร้อน ปวดศีรษะ
บางครัง้ มีนำ�้ มูก และอาจมีรอยโรคตามผิวกาย เช่น ออกเม็ด ออกผืน่ เป็นจ�ำ้ เลือด บางครัง้ มีอาการความรูส้ กึ

ไทย
อารมณ์ เช่น ไม่สบายตัว เชื่อมมัว เชื่อมมึน คลั่งเพ้อ ระส�่ำระสาย เรียกได้ว่าเป็นไปต่าง ๆ นานา

้าน
แล้วแต่พิษของไข้จะกระท�ำโทษถึง

ื้นบ
ไข้ เป็นสภาวะที่แสดงออกหรือสื่อให้รู้ว่า ร่างกายมีสภาวะผิดปกติ หรือสื่อให้รู้ว่าโรคร้ายก�ำลัง

ย์พ
เข้าจูโ่ จม ไข้กล่าวตามหลักเวชกรรมไทยได้วา ่ เป็นสภาวะของการขาดความสมดุลของ สมุฏฐาน ปิตตะ วาตะ

พท
เสมหะ ในกองธาตุทงั้ ๔ อาการทีแ่ สดงออกคือ ความผิดปกติของสภาวะร้อน เย็น ความผิดปกติของชีพจร

ะแ
ความผิดปกติของกองธาตุทั้ง ๔

แล
ไข้มีชื่อเรียกและประเภทต่าง ๆ มากมาย เช่น ไข้หวัด ไข้หวัดน้อย ไข้หวัดใหญ่ ไข้สามฤดู

ไทย
ไข้ก�ำเดา ไข้พิษ ไข้กาฬ
มีการแบ่งประเภทลักษณะไข้ทเี่ กิดตามก�ำลังของตรีสมุฏฐาน ปิตตะ วาตะ เสมหะ ได้แก่ ไข้เอกโทษ
ผน
ย์แ
ไข้ทุวันโทษ ไข้ตรีโทษ ไข้สันนิบาต
พท

ไข้มีการเรียกชื่อตามระยะเวลา จ�ำนวนวันที่มีไข้ เช่น ไข้ตติยะชวร ไข้ดรุณชวร ไข้มัธยมชวร


รแ

ไข้โบราณชวร ไข้ส�ำประชวร (ไข้เรื้อรังที่แสดงความผิดปกติของสีดวงตา) เป็นต้น


ากา

ไข้เป็นสภาวะทีว่ นิ จิ ฉัยยาก และรักษายาก หากหมอประมาทไข้ น�ำไปสูก่ ารรักษาทีผ่ ดิ พลาด คนไข้


อาจเสียชีวิตได้
ัญญ

การรักษาไข้มีขั้นตอนวิธีการเริ่มตั้งแต่ การแก้ไข้ การกระทุ้งพิษไข้ การแปรไข้ ท้ายสุดคือการ


ูมิป

ครอบไข้

ริม

การรักษาไข้มกั มีขอ้ ห้ามต่าง ๆ มากมาย เช่น ห้ามมิให้วางยารสเผ็ด รสร้อน รสเปรีย้ ว มิให้ประคบ


่งเส

ห้ามนวด มิให้ปล่อยปลิง ห้ามเอาโลหิตออก ไม่ให้ถูกน�้ำมัน ห้ามสุรา ห้ามดื่มน�้ำร้อน อาบน�้ำร้อน


ะส

ห้ามกินส้ม ห้ามกินกะทิ น�้ำมัน เป็นต้น



องแ

กลุ่มเครื่องยาบรรเทาอาการไข้
บอระเพ็ ด กระดอม ชิ ง ช้ า ชาลี รากชิ ง ชี่ รากเท้ า ยายม่ อ ม รากคนทา รากมะเดื่ อ ชุ ม พร
คร
งคุ้ม

รากย่ า นาง ลู ก ใต้ ใ บ รากปลาไหลเผื อ ก รากเหมื อ ดคน จั น ทน์ แ ดง รากมะกรู ด รากมะนาวหวาน


รากมะปรางหวาน จันทน์แดง จันทน์ขาว โกฐสอ มะลิ พิกุล สารภี เนระพูสี มหาสด�ำ พญามือเหล็ก
กอ

ก้างปลาทั้ง ๒ ระงับพิษ โกฐจุฬาลัมพา กอมขม ใบระงับ ราชดัด

246
ต�ำรับยาอาการไข้ ที่คัดเลือกเป็นต�ำรับยาแผนไทยแห่งชาติ
๑. ยาแก้ไข้ สูตร ๑
๒. ยาแก้ไข้ สูตร ๒
๓. ยาแก้ไข้ตา่ ง ๆ
๔. ยาแก้ไข้ทับระดูและระดูทับไข้
๕. ยาแก้ไข้สันนิบาต

ไทย
๖. ยาเขียวเบญจขันธ์
๗. ยาเขียวพิกุลทอง

้าน
ื้นบ
๘. ยาจันทน์สามโลก

ย์พ
๙. ยาตัดก�ำลังไข้

พท
๑๐. ยาถ่ายไข้พิษพิษไข้กาฬ
๑๑. ยาทิพดารา

ะแ
แล
๑๒. ยานารายณ์ประสิทธิ์

ไทย
๑๓. ยาบ�ำรุงธาตุหลังฟื้นไข้
๑๔. ยาปะโตลาทิคุณ ผน
๑๕. ยาแปรไข้
ย์แ
รแ พท
ากา
ัญญ
ภ ูมิป
ริม
่งเส
ล ะส
องแ
คร
งคุ้ม
กอ

247
กลุ่มโรคริดสีดวง
โรคริดสีดวงเป็นกลุ่มโรคหนึ่งที่เกืดจากสมุฎฐานวาตะติดขัด หรือเดินไม่สะดวก จึงเกิดลมที่
เรียกว่าลมริดสีดวงบังเกิดขึ้น ซึ่งสามารถเกิดได้ในส่วนต่างๆของร่างกาย และมักจะเกิดขึ้นในแนวแกนกลาง
ล�ำตัว โดยได้มีการอธิบายลักษณะของหฤศโรคหรือโรคริดสีดวง ไว้ในจารึกต�ำรายาวัดพระเชตุพนวิมล
มังคลาราม โดยแบ่งออกเป็น ๑๘ จ�ำพวก ตามต�ำแหน่งที่เกิดคือ ปาลติญาณะโรค(เกิดในสมอง) วิตานะโรค

ไทย
(เกิดในนัยน์ตา) ฆานะโรค(เกิดในจมูก) พริณะโรค(เกิดในปากและลิ้น) โรหินีโรค(เกิดในล�ำคอ) วิชิกามะโรค

้าน
(เกิดในดวงจิต) อุระปัศโรค(เกิดในทรวงอกและสีข้างทั้งสอง) อันตะริศโรค(เกิดในล�ำไส้ใหญ่) อันตคุณโรค

ื้นบ
(เกิดในล�ำไส้น้อย) ตาระสกะโรค(เกิดในหัวเหน่า) อัคนีโชตโรค(เกิดในทางเดินปัสสาวะ) วาตะสุตะโรค

ย์พ
(เกิดในสันหลัง) อุระวัณณโรค(เกิดในทรวงอก) สักเคระโรค(เกิดในทวารหนัก) สุวชิ กิ า(เกิดทีข่ อบทวารหนัก)

พท
สกะถานะโรค(เกิดที่ริมทวารหนักข้างใน) บานทะโรค(เกิดตามขอบทวารหนัก) สุกระโรค(เกิดในทวารหนัก)

ะแ
ซึง่ ตัวยาหลักทีค่ วรเป็นตัวยาทีม่ ฤี ทธิใ์ นการระบายของเสียทีค่ งั่ ข้างและประกอบด้วยตัวยาทีม่ รี สฝาดเล็กน้อย

แล
เพือ่ สมานแผลบริเวาณทีเ่ ป็นริดสีดวงจนท�ำให้โลหิตออกได้ และ ตัวยารสร้อนขับลมทีค่ งั่ ค้างในเส้นให้ระบาย

ไทย
ออกมา

ผน
ต�ำรับยาอาการริดสีดวงทวาร ที่คัดเลือกเป็นต�ำรับยาแผนไทยแห่งชาติ
ย์แ
๑. ยาผสมเพชรสังฆาต
รแ พท
ากา
ัญญ
ภ ูมิป
ริม
่งเส
ละส
องแ
คร
งคุ้ม
กอ

248
กลุ่มโรคกษัย
เป็นกลุ่มโรคที่เกิดจาก ความผิดปกติของตรีโทษ(ปิตตะ วาตะ เสมหะ) ท�ำให้เกิดพิษสะสมเรื้อรัง
มาเป็นเวลานาน ส่งผลให้เกิดความเสือ่ มของร่างกาย โดยแสดงออกออกมาตามอวัยวะและอาการต่างๆ โดยที่
กษัยบางชนิดสิน้ สุดเมือ่ สิน้ ชีวติ อายุ แต่ในบางชนิดจะกลายเป็นมาน พระคัมภีรก์ ระษัยได้แบ่งประเภทกระษัย
ไว้ ๒ กลุ่มใหญ่ๆตามสาเหตุของการเกิดโรค คือ กระษัยที่เกิดแต่กองสมุฎฐาน ๘ จ�ำพวก (กษัยกล่อนดิน

ไทย
กษัยกล่อนน�้ำ กษัยกล่อนลม กษัยกล่อนไฟ กษัยกล่อนเถา กษัยน�้ำ กษัยลม และกษัยเพลิง) และกษัยที่เกิด

้าน
จากอุปปาติกะโรค ๑๘ จ�ำพวก (กษัยล้น กษัยราก กษัยเหล็ก กษัยปู กษัยจุก กษัยปลาหมอ กษัยปลาไหล

ื้นบ
กษัยปลาดุก กษัยปลวก กษัยลิ้นกระบือ กษัยเต่า กษัยดาน กษัยท้น กษัยเสียด กษัยเพลิง กษัยน�้ำ

ย์พ
กษัยเชือก กษัยลม)

พท
โดยผู้ที่เป็นโรคกษัยจะมีลักษณะอาการเช่น ร่างกายซูบผอมจากการเจ็วป่วยด้วยโรคเรื้องรัง

ะแ
โลหิตจาง ผิวเนื้อซีด ไม่มีแรง มือเท้าชา เป็นต้น ซึ่งในการพิจารณาคัดเลือกต�ำรับยาแผนไทยแห่งชาติ

แล
ในกลุ่มโรคกษัย ควรจะมีตัวยาหลักเป็นตัวยาระบายเพื่อระบาย ขับ ถ่าย ของเสียหรือพิษที่คั่งค้างให้ออกมา

ไทย
มีตัวยาประกอบเป็นยาปรับธาตุ เพื่อฟืนฟูธาตุให้กลับมาเป็นปกติ และกลุ่มยาที่แก้อาการตามอาการที่ปรากฎ
หรือแสดงออกมา ผน
ย์แ
ต�ำรับยาโรคกษัย ที่คัดเลือกเป็นต�ำรับยาแผนไทยแห่งชาติ
พท

๑. ยาแก้กษัยกล่อน สูตร ๑
รแ

๒. ยาแก้กษัยกล่อน สูตร ๒
ากา

๓. ยาแก้กษัยดาน
๔. ยาแก้กษัยเพื่อเตโชธาตุ
ัญญ

๕. ยาดาวดึงษา
ูมิป

๖. ยาต้มแก้กษัยเส้น

ริม

๗. ยาถ่ายลมถ่ายเสมหะในโรคกษัย สูตร ๑
่งเส

๘. ยาถ่ายลมถ่ายเสมหะในโรคกษัย สูตร ๒
ะส

๙. ยาถ่ายลมถ่ายเสมหะในโรคกษัย สูตร ๓

๑๐. ยาธรณีสัณฑะฆาต
องแ

๑๑. ยาน�้ำมันสนั่นไตรภพ
คร

๑๒. ยาอายุวัฒนะ
งคุ้ม
กอ

249
กลุ่มโรคผิวหนัง
โรคหรืออาการที่แสดงลักษณะขึ้นในผิวเนื้อหรือบนผิวหนัง ซึ่งพระคัมภีร์วิถีกุฏิโรคได้ระบุไว้ว่า
เป็นกลุ่มของโรคที่เกิดจากกิมิชาติ โดยถ้าเกิดในกระดูก สมมติว่าเป็นกุฏฐัง จะเป็นอติสัยโรค ซึ่งเป็นโรคที่
รักษาไม่หาย ถ้าเกิดในชิ้นเนื้อ สมมติว่าเป็นโรคเรื้อน เป็นอสาทยะโรค ซึ่งเป็นโรคที่รักษายาก ซึ่งสาเหตุที่
ท�ำให้เกิดโรคอันมาจากพิษของตรีโทษ นั้นมีอยู่ด้วยกัน ๗ ประการ คือ บังเกิดแต่กองปถวีธาตุ อาโปธาตุ
วาโยธาตุ เตโชธาตุ บังเกิดแต่ชาติสัมพันธ์ตระกูล บังเกิดด้วยสามัคคีรส และบังเกิดด้วยเป็นอุปปาติกะ

ไทย
โรคเรื้อนที่บังเกิดขึ้นนั้นแบ่งตามลักษณะอาการดังนี้
๑. เรื้อนกวาง เกิดตามข้อมือข้อเท้า และก�ำด้นต้นคอ ท�ำให้เป็นน�้ำเหลืองไหลลามออกไป

้าน
๒. เรื้อนมูลนก ผุดเป็นแว่นวงตามผิวหนัง สีขาวนุงๆ ขอบนูนบ้างเล็กบ้าง คล้ายกลาก นานเข้า

ื้นบ
จะลามทั้งตัว

ย์พ
๓. เรื้อนวิมาลา เกิดที่หูและก�ำด้นต้อคอ ให้คันและเปื่อยพุงพอง คล้ายมะเร็งไร ยิ่งเกายิ่งคัน

พท
๔. เรื้อนหูด ผุดเป็นตุ่มเท่าเมล็ดพริกไทย ผลถั่วด�ำ ตะขบไทย มะนาว มะกรูด เต็มทั่วตัว

ะแ
เป็นพยาธิกามโรค รักษาไม่หาย

แล
๕. เรื้อนเกล็ดปลา เกิดที่หน้าก่อน แล้วลามจากต้นคอลงมาถึงทรวงอก และลามทั่วตัว

ไทย
๖. เรื้อนบอน ผุดเป็นรูปรุ มองไม่ชัด เห็นเพียงขาวๆแดงๆในเนื้อร�ำไร
๗. เรื้อนหิด ลามขึ้นทั้งตัว ดุจคนเป็นกลาก ผน
ย์แ
๘. เรื้อนดอกหมาก ผุดเป็นขาวๆคล้ายดอกหมาก เมื่อเหงืออกจะท�ำให้คัน เกาจนน�ำ้ เหลืองซึม
พท

จึงจะหายคัน
๙. เรื้อนมะไฟ ขึ้นเป็นเกล็ดแดง ขอบขาว ใหญ่เท่าผลมะไฟ ท�ำให้ร้อนดุจไฟ ให้พองขึ้นมา
รแ

และยังมีลักษณะของโรคผิวหนังที่แสดงออกมาจากสาเหตุจากโรคอื่นๆ
ากา

ซึ่งในการพิจารณาคัดเลือกต�ำรับยาแผนไทยแห่งชาติ ในกลุ่มโรคผิวหนังมีทั้งการใช้รูปแบบยาใช้
ัญญ

ภายนอก ควรใช้ยาทีม่ ลี กั ษณะเป็นยาน�ำ้ มันมีสว่ นประกอบหลักของสมุนไพรรสเมาเบือ่ ทีม่ สี รรพคุณแก้พยาธิ


ูมิป

ผื่นคัน ฆ่าเชื้อภายนอก สมุนไพรรสฝาดมีสรรพคุณสมานแผล รวมถึงตัวยาที่เป็นธาตุวัตถุที่มีสรรพคุณ


แก้โรคทางผิวหนัง และรูปแบบยาใช้ภายใน ควรมียาหลักเป็นยาทีม่ สี รรพคุณแก้โลหิตน�้ำเหลืองเสีย เพือ่ ช�ำระ


ริม

โลหิตน�้ำเหลืองในร่างกายให้บริบูรณ์ ร่วมกับการใช้ยาภายนอก
่งเส
ะส

ต�ำรับยาโรคผิวหนัง ที่คัดเลือกเป็นต�ำรับยาแผนไทยแห่งชาติ

๑. ยาแก้กลากพรรนัย
องแ

๒. ยาแก้กลากเหล็ก
คร

๓. ยาแก้พยาธิโรคเรื้อน
งคุ้ม

๔. ยาทาแก้เรื้อนกวาง
กอ

๕. ยาทาแก้เรื้อนขี้นก
๖. ยาทาแก้เรื้อนวิลา
๗. ยาทาแก้โรคผิวหนัง
๘. ยาทาพระเส้น
๙. ยาน�้ำมันช�ำระแผล
๑๐. ยาน�้ำมันมหาจักร
๑๒. ยาน�้ำมันสมานแผล
250
กอ
งคุ้ม
คร
องแ
ละส
่งเส
ริม
ภูมิป
ัญญ
ากา
รแ พท
ย์แ
ผน
ไทย
แล
ะแ
พท
ย์พ
ื้นบ
้าน

251
ไทย
กอ

252
งคุ้ม
คร
องแ
ละส
่งเส
ริม
ภูมิป
ัญญ
ากา
รแ พท
ย์แ
ผน
ไทย
แล
ะแ
พท
ย์พ
ื้นบ
้าน
ไทย
คณะกรรมการคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย
(ด�ำรงต�ำแหน่งตามวาระระหว่างวันที่ ๒๙ ธันวาคม ๒๕๖๑ - ๒๘ ธันวาคม ๒๕๖๓)

ประธานกรรมการ
ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
อธิบดีกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
อธิบดีกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์

ไทย
อธิบดีกรมการแพทย์

้าน
อธิบดีกรมทรัพย์สินทางปัญญา

ื้นบ
เลขาธิการคณะกรรมการอาหารและยา

ย์พ
เลขาธิการสำ�นักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

พท
อธิบดีกรมวิชาการเกษตร

ะแ
อธิบดีกรมป่าไม้

แล
อธิบดีกรมปศุสัตว์

ไทย
ผู้อำ�นวยการสำ�นักสถานพยาบาลและการประกอบโรคศิลปะ
นายภูมิพัฒน์ เวชพฤกษ์ษ ผน
กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ กลุ่มผู้ประกอบโรคศิลปะ สาขาการแพทย์แผนไทย
ย์แ
นางลัดดาวัลย์ ครูปัญญามาตย์
พท

กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ กลุ่มผู้ประกอบโรคศิลปะ สาขาการแพทย์แผนไทยประยุกต์


รแ

นายแต่ง กุสาวดี
ากา

กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ กลุ่มหมอพื้นบ้านภาคเหนือ
ัญญ

นายบริบูรณ์ ธัชแก้วกรพินธุ์
กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ กลุ่มหมอพื้นบ้านภาคกลาง
ูมิป

นายนิคม เบ้าทอง

ริม

กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ กลุ่มหมอพื้นบ้านภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
่งเส

นายณรงค์ สามพิมพ์
ะส

กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ กลุ่มหมอพื้นบ้านภาคใต้

นายกร พงษ์เถื่อน
องแ

กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ กลุ่มองค์การเอกชนพัฒนาด้านการแพทย์แผนไทย
คร

นายพิเชษฐ เวชวิฐาน
งคุ้ม

กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ กลุ่มนักวิชาการ
นายประจวบ จันทร์เพ็ญ
กอ

กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ กลุ่มผู้ผลิตหรือจำ�หน่ายยาแผนไทย
นายณัฐ โฆษิวากาญจน์
กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ กลุ่มผู้ปลูกหรือแปรรูปสมุนไพร

253
กอ

254
งคุ้ม
คร
องแ
ละส
่งเส
ริม
ภูมิป
ัญญ
ากา
รแ พท
ย์แ
ผน
ไทย
แล
ะแ
พท
ย์พ
ื้นบ
้าน
ไทย
กอ
งคุ้ม
คร
องแ
ละส
่งเส
ริม
ภูมิป
ัญญ
ากา
รแ พท
ย์แ
ผน
ไทย
แล
ะแ
พท
ย์พ
ื้นบ
้าน

255
ไทย
กอ

256
งคุ้ม
คร
องแ
ละส
่งเส
ริม
ภูมิป
ัญญ
ากา
รแ พท
ย์แ
ผน
ไทย
แล
ะแ
พท
ย์พ
ื้นบ
้าน
ไทย
กอ
งคุ้ม
คร
องแ
ละส
่งเส
ริม
ภูมิป
ัญญ
ากา
รแ พท
ย์แ
ผน
ไทย
แล
ะแ
พท
ย์พ
ื้นบ
้าน

257
ไทย
กอ

258
งคุ้ม
คร
องแ
ละส
่งเส
ริม
ภูมิป
ัญญ
ากา
รแ พท
ย์แ
ผน
ไทย
แล
ะแ
พท
ย์พ
ื้นบ
้าน
ไทย
กอ
งคุ้ม
คร
องแ
ละส
่งเส
ริม
ภูมิป
ัญญ
ากา
รแ พท
ย์แ
ผน
ไทย
แล
ะแ
พท
ย์พ
ื้นบ
้าน

259
ไทย
กอ

260
งคุ้ม
คร
องแ
ละส
่งเส
ริม
ภูมิป
ัญญ
ากา
รแ พท
ย์แ
ผน
ไทย
แล
ะแ
พท
ย์พ
ื้นบ
้าน
ไทย
กอ
งคุ้ม
คร
องแ
ละส
่งเส
ริม
ภูมิป
ัญญ
ากา
รแ พท
ย์แ
ผน
ไทย
แล
ะแ
พท
ย์พ
ื้นบ
้าน

261
ไทย
กอ

262
งคุ้ม
คร
องแ
ละส
่งเส
ริม
ภูมิป
ัญญ
ากา
รแ พท
ย์แ
ผน
ไทย
แล
ะแ
พท
ย์พ
ื้นบ
้าน
ไทย
กอ
งคุ้ม
คร
องแ
ละส
่งเส
ริม
ภูมิป
ัญญ
ากา
รแ พท
ย์แ
ผน
ไทย
แล
ะแ
พท
ย์พ
ื้นบ
้าน

263
ไทย
กอ

264
งคุ้ม
คร
องแ
ละส
่งเส
ริม
ภูมิป
ัญญ
ากา
รแ พท
ย์แ
ผน
ไทย
แล
ะแ
พท
ย์พ
ื้นบ
้าน
ไทย
กอ
งคุ้ม
คร
องแ
ละส
่งเส
ริม
ภูมิป
ัญญ
ากา
รแ พท
ย์แ
ผน
ไทย
แล
ะแ
พท
ย์พ
ื้นบ
้าน

265
ไทย
กอ

266
งคุ้ม
คร
องแ
ละส
่งเส
ริม
ภูมิป
ัญญ
ากา
รแ พท
ย์แ
ผน
ไทย
แล
ะแ
พท
ย์พ
ื้นบ
้าน
ไทย
กอ
งคุ้ม
คร
องแ
ละส
่งเส
ริม
ภูมิป
ัญญ
ากา
รแ พท
ย์แ
ผน
ไทย
แล
ะแ
พท
ย์พ
ื้นบ
้าน

267
ไทย
ดัชนีโรคและอาการ
กลากพรรนัย ๕ ๙๗ ๒๓๑ ๒๕๑
กลากเหล็ก 5 7 231 251
กษัยเส้น 3 83 84 85 109 231 243 250
กษัยเหล็ก 120 231 250
ไข้จับสั่น 111 112 143 144 231
ไข้เชื่อมซึม 17 231

ไทย
ไข้ประดง 105 231 233
ไข้ป่า 165 231

้าน
ไข้พิษไข้กาฬ 89 105 111 112 232 247

ื้นบ
ไข้เพื่อเสมหะ 22 232 246

ย์พ
ไข้รากสาด 105 111 112 232

พท
ไข้สันนิบาต 24 25 105 111 112 113 114 232 235 247 248
ไข้เหือด 105 232

ะแ
เชื่อมมัว 22 67 77 231 232 247

แล
ซางขุม 27 232 241

ไทย
ท้องมาน 179 232
ประดง ผน 105 231 233
ย์แ
ปัตคาด 41 47 62 63 65 140 148 163 164 233 235 243 244
พรรดึก 33 136 137 141 148 233
พท

มองคร่อ 74 179 233


รแ

ริดสีดวง 147 179 233 249


ากา

เรื้อนกวาง 95 99 233
ัญญ

ลมกระษัยกล่อน 141 179 233


ลมกล่อน 36 38 137 163 164 234 243
ูมิป

ลมกองหยาบ 166 234


ลมชัก 33 151 152 234


ริม

ลมทุนะยักษวาโย 39 234 243


่งเส

ลมปะกัง 171 234


ะส

ลมพาหุรวาโย 43 44 234 243


ลมพุทธยักษ์ 234 242


องแ

ลมมหาสดมภ์ 45 46 234 242 243


คร

ลมราทยักษ์ 158 234 242


งคุ้ม

ลมสรรพวาระจักรโมละ 47 235 243


ลมสันดาน 49 51 235 243 244
กอ

ลมสิตมัควาโย 123 124 235


ลมออกหู 54 235
ลมอัมพฤกษ์ 55 57 59 60 136 137 235 244
ลมอัมพาต 39 45 46 103 157 158 234 235 243
สมุฏฐานวาตะ 22 87 235
สันนิบาต 24 25 150 173 235 247 248
268
ดัชนีสมุนไพร
กรวยป่า 97, 99, 101
กระจับ 156
กระชาย 3, 43, 47, 62, 79, 84, 103, 119, 147, 163
กระดอม 16, 18, 24, 59, 125, 138, 143
กระดังงา 173
กระดาดขาว 11, 35, 108

ไทย
กระดาดแดง 11, 35, 108
กระเทียม 11, 14, 24, 36, 38, 41, 43, 51, 55, 57, 59, 62, 69,

้าน
71, 79, 103, 123, 132, 155, 161, 163

ื้นบ
กระเทียมทอก 5
กระเบา 101

ย์พ
กระเบียน 101

พท
กระพังโหม 24

ะแ
กระล�ำพัก (สลัดได) 107

แล
กระล�ำพัก (ตาตุ่ม) 157
กระวาน 3, 11, 28, 33, 36, 49, 59, 69, 79, 108, 119, 123,

ไทย
134, 136, 157, 163, 173, 175
กรุงเขมา ผน 54, 79, 175, 179
กฤษณา 107, 157
ย์แ
กลอย 11, 108, 136, 140
พท

กะทือ 3, 43, 62, 79, 150,163


รแ

กะเพรา 28, 119, 123, 151


ากา

กะเพราแดง 74
กะเม็ง 147
ัญญ

กัญชา 9, 119, 140


ก้างปลาขาว 18
ูมิป

ก้างปลาแดง 18

กานพลู 3, 11, 33, 49, 60, 69, 72, 73, 74, 79, 82, 90,
ริม

92, 108, 115, 119, 123, 134, 141, 157, 171, 175
่งเส

การบูร 3, 11, 36, 39, 41, 43, 47, 49, 55, 57, 59, 82, 90,
ะส

108, 117, 119, 128, 140, 148, 157, 161, 165, 168,

173
องแ

ก�ำแพงเจ็ดชั้น 31
ก�ำมะถันเหลือง 7
คร

ก�ำยาน 24,121, 171


งคุ้ม

ก�ำลังวัวเถลิง 3
กอ

กุ่มน�้ำ 55, 57, 97, 151, 163


กุ่มบก 55, 57, 97, 151, 163
เก๊กฮวย 72
เกล็ดสะระแหน่ 73, 74
เกลือ 53, 57, 119
เกลือกะตัง 157
เกลือฝ่อ 126
269
เกลือพิก 126
เกลือเม็ด 128
เกลือวิก 126
เกลือสมุทรี 126, 130
เกลือสินเธาว์ 36, 45, 46, 55, 59, 74, 79, 126, 136, 155, 157
แกแล 18
โกฐกระดูก 107, 108, 140, 173
โกฐกักกรา 82, 90, 166
โกฐก้านพร้าว 166

ไทย
โกฐเขมา 82, 88, 90, 92, 108, 126, 136, 166, 175

้าน
โกฐจุฬาลัมพา 9, 24, 74, 92, 126, 140, 175

ื้นบ
โกฐเชียง 24, 88, 92, 107, 126, 173, 175
โกฐน�้ำเต้า 3, 13, 108, 140, 147

ย์พ
โกฐพุงปลา 9, 60, 166

พท
โกฐสอ 9, 24, 49, 60, 65, 79, 82, 88, 90, 92, 111, 113, 126, 140,157, 175
โกฐหัวบัว 20, 24, 88, 92, 107, 111, 126, 136, 140, 173, 175

ะแ
ขนุน 18

แล
ขมิ้นชัน 128

ไทย
ขมิ้นอ้อย 16, 30, 43, 55, 57, 59, 62, 74, 89, 94, 101, 125,
ผน 163, 168, 169
ขอนดอก 88, 107
ย์แ
ขอบชะนางขาว 97, 99, 101, 115, 121
พท

ขอบชะนางแดง 97, 99, 101, 115, 121


ข่อย 178
รแ

ขัดมอญ 24
ากา

ขันทศกร 94
ัญญ

ข่า 24, 38, 41, 43, 46, 47, 55, 57, 62, 79, 89, 103, 123,
150, 151, 163
ูมิป

ข่าตาแดง 168

ข้าวเย็นใต้ 7, 21
ริม

ข้าวเย็นเหนือ 7, 21, 28, 31


่งเส

ข้าวสาร 156
ข่าหลวง 97, 151
ะส

ขิง 3, 13, 24, 38, 41, 53, 62, 64, 74, 79, 92, 110, 113,

องแ

125, 141, 148, 150, 153, 160, 161, 163, 171, 179
ขิงแห้ง 11, 36, 43, 49, 51, 65, 66, 71, 94, 108, 123, 126,
คร

132, 134, 136, 138, 153, 155, 157, 173


งคุ้ม

ขี้กาแดง 24
ขี้เหล็ก 7, 16, 24, 92, 103, 121, 126, 163
กอ

ขี้อ้ายนา 121
เข้าค่า 79
ไข่แลน 31
คนทา 16, 18, 105, 111, 143
คนทีสอ 41, 62, 79
ครอบตลับ 18

270
คล้า 18
คัดเค้า 119
ค�ำไทย 175
คูน 89
ไคร้เครือ 105
ไคร้หางนาค 24
จวง 22
จันทร์ขาว 16, 18, 20, 24, 77, 88, 105, 111, 138, 143, 175
จันทน์ชะมด

ไทย
105, 111
จันทน์แดง 16, 18, 20, 24, 27, 77, 88, 105, 111, 143, 175

้าน
จันทน์เทศ 77, 78, 111

ื้นบ
จันทนา 77, 105, 111
จิงจ้อ 82, 90, 166

ย์พ
จิงจ้อแดง 136

พท
จิงจ้อเหลี่ยม 33
จิงจ้อใหญ่

ะแ
157
จุกโรหินี 22

แล
จุณขี้เหล็ก 5

ไทย
จุนสี 115
เจตพังคี ผน 13, 175
เจตมูลเพลิง 59, 126, 140
ย์แ
เจตมูลเพลิงแดง 3, 5, 9, 11, 41, 49, 55, 57, 59, 64, 82, 90, 94, 108, 110,
พท

113, 123, 125, 136, 153, 155, 157, 165, 179


เจตมูลเพลิงขาว
รแ

123
แจง 84
ากา

ชองระอา 105, 111


ัญญ

ชะพลู 3, 49, 51, 60, 61, 65, 74, 78, 79, 110, 113, 125, 126, 136,
153, 155, 179
ูมิป

ช้าพลู 3, 49, 51, 60, 61, 65, 74, 78, 79, 110, 113, 125, 126, 136,

153, 155, 179


ริม

ชะมดเช็ด 173
่งเส

ชะลูด 88, 107, 175


ชะเอมเทศ 3, 9, 53, 67, 69, 72, 73, 74, 107, 108, 140, 156, 175
ะส

ชะเอมไทย 21, 66, 71, 73, 74, 175



องแ

ช้าหมอง 31
ชิงช้าชาลี 76, 123
คร

ชิงชี่ 16, 18, 105, 111, 143, 151


งคุ้ม

ชุมเห็ด 24
ชุมเห็ดเทศ 7, 28
กอ

เชือกเขาหนัง 31
ดอกจันทน์ 3, 11, 24, 26, 39, 55, 57, 69, 90, 108, 115, 119, 123, 134,
141, 151, 165, 173, 175
ดองดึง 9, 14, 49, 79, 94, 108, 140, 153, 157
ดินประสิว 15, 89, 132, 169
ดินประสิวขาว 15, 132, 169
ดินหมาร่า 169
271
ดีงูต้น 28
ดีปลี 3, 9, 13, 18, 22, 28, 33, 36, 38, 41, 43, 47, 49, 53, 54, 59, 66,
67, 69, 74, 78, 79, 82, 90, 92, 94, 110, 117, 125, 126, 132,
134, 136, 141, 148, 153, 155, 157, 160, 161, 163, 165, 173,
175, 179
ดีหมีต้น 101
ดูกใส 146
ดูกหิน 146
โด่ไม่รู้ล้ม 145

ไทย
ตองแตก 33, 59, 82, 103
ตะโกนา 84, 178

้าน
ตะเคียน 121

ื้นบ
ตะไคร้ 128

ย์พ
ตะไคร้หอม 61, 103
ตานหม่อน 101

พท
ตาล 18

ะแ
ตาลโตนด 53

แล
ต�ำลึง 76

ไทย
ต�ำลึงตัวผู้ 170
เตยหอม ผน 76
เต่าเกียด 35, 163
ย์แ
ถั่วพู 156
เถาคันแดง 115
พท

เถาวัลย์แดง 121
รแ

เถาวัลย์เปรียง 3, 16, 146


ากา

เถาวัลย์เหล็ก 7
ทนดี 90, 92, 94, 113, 165
ัญญ

ทองเครือ 123
ูมิป

ทองพันชั่ง 5, 20, 76, 145


ทองหลางน�้ำ 170

ริม

ทองหลางใบมน 55, 57, 121, 123, 163


ทิ้งถ่อน 178
่งเส

เทียนขาว 14, 24, 33, 43, 79, 82, 88, 90, 92, 107, 108, 117, 119, 121,
ะส

123, 126, 141, 151, 153, 166, 175


เทียนข้าวเปลือก 14, 24, 33, 80, 88, 92, 117, 126, 151, 153, 175
องแ

เทียนด�ำ 11, 13, 24, 33, 43, 80, 82, 88, 90, 92, 108, 113, 117, 119, 121,
123, 126, 130, 141, 151, 153, 157, 166, 175
คร

เทียนแดง 14, 25, 33, 80, 82, 88, 90, 92, 117, 121, 126, 151, 153, 165,
งคุ้ม

175
กอ

เทียนตาตั๊กแตน 14, 25, 33, 80, 82, 88, 90, 92, 117, 126, 151, 153, 165, 175
เทียนเยาวพาณี 65, 121
เทียนสัตตบุษย์ 166
น�้ำตาลกรวด 72, 156
น�้ำตาลทราย 26
น�้ำตาลทรายแดง 74

272
น�้ำเต้า 77, 121
น�้ำประสานทอง 80, 175
น�้ำผึ้ง 74
น�้ำมันงา 95, 99, 115, 117, 119, 121, 123
เนระพูสี 26
บ๊วย 72, 73
บอระเพ็ด 16, 22, 25, 28, 54, 60, 76, 123, 125, 138, 143, 174, 175,
178, 179
บัวเกราะ 156

ไทย
บัวขม 156
บัวเผื่อน 156

้าน
บัวหลวง 3, 16, 77, 88, 125, 143, 156

ื้นบ
บุก 11, 108

ย์พ
บุกรอ 136, 140
4, 77, 113, 143, 156, 175

พท
บุนนาค
เบญกานี 27, 168

ะแ
เบี้ยจั่น 38

แล
ใบกระวาน 49, 156

ไทย
ใบเงิน 20
ใบทอง ผน 20
ประค�ำไก่/มะค�ำไก่ 62
ย์แ
ปลาไหลเผือก 105, 111
159
พท

ปีบ
ปูนขาว 163
รแ

เปราะหอม 22, 76, 80, 107, 161, 176


ากา

เปล้าน้อย 51, 80, 113, 153


เปล้าใหญ่ 80, 113
ัญญ

ผักกระโฉม 20, 75, 76


ูมิป

ผักคราด 35, 45, 46


ผักเป็ดแดง 148

ริม

ผักแพวแดง 9, 11, 54, 65, 108, 134


ผักเสี้ยนไทย 35, 62
่งเส

ผักเสี้ยนผี 28, 35, 55, 57, 62, 119, 123, 171


ะส

ไผ่ป่า 31, 89, 121


ไผ่สีสุก 35, 62
องแ

ฝาง/ฝางเสน 18, 105, 111


คร

ฝ้ายแดง 75
แฝกหอม 138
งคุ้ม

พญามือเหล็ก 7
กอ

พรมมิ 45, 46, 66, 75


พริกเทศ 163
พริกไทย 3, 9, 11, 13, 25, 38, 39, 43, 47, 49, 51, 57, 59, 62, 66, 69,
78, 79, 82, 90, 92, 94, 103, 113, 119, 132, 155, 159, 161,
163, 172, 174, 176, 178, 179
พริกไทยด�ำ 41, 134
พริกไทยล่อน 3, 36, 55, 64, 74, 108, 140, 148, 157, 165

273
พริกล่อน 153
พริกหอม 113
พริกหาง 107
พลับพลึง 130
พลูแก 30, 97
พิกุล 4, 76, 77, 88, 125, 143
พิมเสน 72, 168, 173
พิมเสนต้น/ 20, 47, 75, 76, 77
ใบพิมเสน 43, 54, 78, 179

ไทย
พิลังกาสา 121
พุงดอ 169, 170

้าน
พุทรา 147

ื้นบ
เพชรสังฆาต 3, 145

ย์พ
โพคาน ๓
ไพล 3, 15, 41, 43, 47, 55, 57, 62, 80, 128, 130, 146,

พท
153, 163

ะแ
ฟักข้าว 76, 170

แล
มดยอบ 123

ไทย
มวกแดง 88
มหาหิงคุ์ 9, 13, 14, 30, 35, 36, 39, 41, 59, 62, 65, 80, 82,
ผน
/หิงคุ์ยางโพ 103, 108, 113, 136, 140, 148, 151, 157, 163, 166
ย์แ
มะกรูด 15, 35, 41, 43, 47, 57, 62, 80, 111, 117, 128, 151,
161, 163, 172
พท

มะกล�ำ่ เครือ 27, 53, 69


รแ

มะกล�ำ่ ต้น 53, 67, 69


ากา

มะกา 89
มะเกลือ 101
ัญญ

มะขาม 5, 15, 26, 53, 89, 103, 128, 130


ูมิป

มะขามป้อม 14, 16, 67, 72, 73, 74, 80, 86, 92, 94, 108, 138,
140, 153

ริม

มะเขือขื่น 67, 69
มะค�ำไก่/ประค�ำไก่ 84, 103
่งเส

มะค�ำดีควาย 138, 170


ะส

มะงั่ว 57

มะเดื่ออุทุมพร 16, 18, 105, 111, 121, 143


องแ

มะตูม 22, 33, 47, 54, 113, 125, 138, 145, 161, 179
มะนาว 47, 53, 57, 72, 73, 80, 111, 132
คร

มะปรางหวาน 111
งคุ้ม

มะพร้าวไฟ 31, 101


กอ

มะเฟือง 30, 76, 89, 121


มะยม 76, 89
มะระ 77, 121
มะรุม 47, 151, 157, 163
มะลิ 4, 143
มะแว้งเครือ 18, 67, 69, 72, 73
มะแว้งต้น 18, 22, 67

274
มะหาด 25
ม้ากระทืบโรง 3
เมล็ดพรรณผักกาด 35, 150, 172
แมงลัก 46, 66, 119, 123
แมงลักคา 45
โมกหลวง 179
ไม้เท้ายายม่อม 16, 18, 77, 105, 111, 143
ยั้ง 7, 31
ยาด�ำ 9, 39, 59, 62, 80, 82, 89, 90, 103, 108, 140, 157,

ไทย
163
ย่านาง 16, 18, 25, 76, 77, 88, 105, 111, 121, 143

้าน
ยาสูบ 101

ื้นบ
ยี่สุ่น 156

ย์พ
รงทอง 108, 140
ระงับ, ระงับพิษ 143

พท
ระย่อม 105

ะแ
รักขาว 99

แล
รางแดง 84

ไทย
ราชพฤกษ์ 138
เร่ว ผน 108
โรกขาว 31, 151
ย์แ
โรกแดง 31, 151
ลูกจันทน์ 3, 11, 25, 26, 33, 39, 55, 57, 69, 90, 108, 115, 119, 123, 134 136,
พท

141, 151, 165, 174, 176


รแ

ลูกชีล้อม 78, 113, 138


ากา

ลูกผักชี 136, 150, 172


เล็บครุฑ 76
ัญญ

เลี่ยน 101, 103


ูมิป

ส้มกุ้งใหญ่ 92, 132


ส้มกุ้งน้อย 69, 92, 132

ริม

ส้มจีน 72
ส้มซ่า 35, 36, 47, 59, 82, 90, 91, 92, 93, 134, 148, 157, 158, 160, 172
่งเส

ส้มป่อย 69, 89, 128, 132


ะส

สมอดีง ู 126

สมอทะเล 126
องแ

สมอเทศ 126, 148, 157, 176, 179


สมอไทย 13, 14, 16, 25, 33, 67, 74, 80, 82, 84, 86, 90, 92, 94, 108, 126,
คร

136, 140, 148, 153, 165, 172, 174, 176


งคุ้ม

สมอพิเภก 14 16 25 67 72 80 86 92 94 126 138 148 153 176


กอ

สมี 169
สมุลแว้ง 11, 80, 140, 153, 173, 176
สลอด 54, 79, 179
สะแกแสง 101
สะค้าน 3, 9, 49, 61, 64, 78, 80, 110, 113, 125, 126, 138, 140, 153, 155,
161, 179

275
สะเดา 18, 22 41 43 59 78 80 143 174
สะเดาดิน 22
สัก 25
สักขี 176
สันพร้ามอญ 75, 168
สารภี 4, 77, 143
สารส้ม 45, 46, 74, 80, 115, 132, 153
สีเสียดเทศ 27, 121

ไทย
เสนียด 138
แสมทะเล 9, 18, 38, 92

้าน
แสมสาร 3, 18, 28, 38

ื้นบ
หญ้าคา 25, 143

ย์พ
หญ้าใต้ใบ 21
หญ้าไทร 119, 123

พท
หญ้าปากควาย 16, 89, 143

ะแ
หญ้าฝรั่น 105, 156, 173

แล
หญ้าแพรก 16, 89, 143

ไทย
หญ้าหนวดแมว 31, 123
หนอนตายหยาก 7
หนาด
ผน 41, 157, 161, 172
ย์แ
หมากผู้ 20
หมากเมีย 20
พท

หวายขม 143
รแ

หวายลิง 143
ากา

หอม 15, 30, 35, 51, 62, 69, 71, 103


หอมแดง 43, 47, 119
ัญญ

หอยขม 134, 159


หอยแครง 38, 134, 163
ูมิป

หัสคุณเทศ 61, 80, 82, 90, 157, 165


หัสคุณไทย 153
ริม

เห็ดมูลโค 95
่งเส

เห็ดร่างแห 95
ะส

เหมือดคน 105, 111, 143


แห้วหมู 18, 25, 43, 54, 60, 64, 77, 78, 84, 88, 125, 138, 178, 179
องแ

โหระพา 110, 157


โหราท้าวสุนัข 141
คร

อบเชย 72, 88, 130, 176


งคุ้ม

อบเชยไทย 49
อบเชยญวน 73
กอ

อบเชยเทศ 3, 107, 171


อังกาบ 20
อุตพิด 136, 141
เอื้องเพ็ดม้า 97

276

You might also like