You are on page 1of 35

1

ครูมืออาชีพในศตวรรษที่ 21
1.วิชาความรูค้ วามเข้าใจเกี่ยวกับความประพฤติและการปฏิบตั ิของวิชาชีพครู
1.ความหมายและความสาคัญของครู
2 วันครูและพิธีไหว้ครู
3.หน้าที่และความรับผิดชอบของครู
4.คุณธรรมและจรรยาบรรณของครู
5.มาตรฐานวิชาชีพครู
6.องค์กรวิชาชีพครู

ความหมายของครู
ที่มาของคาว่า ครู
คาว่า "ครู" มาจากศัพท์ภาษาสันสกฤต "คุรุ" และภาษาบาลี "ครุ, คุรุ"
ครู หมายถึง ผูส้ งั ่ สอนศิษย์ หรือ ผูถ้ ่ายทอดความรูใ้ ห้แก่ศิษย์ ซึ่งมีผู้
กล่าวว่ามาจากคาว่า ครุ (คะ- รุ ) ที่แปลว่า “หนัก " อันหมายถึง ความ
รับผิดชอบในการอบรมสัง่ สอนของครูน้ัน นับเป็ นภาระ หน้าที่ ที่หนักหนาสาหัส
ไม่น้อยกว่าคนๆ หนึ่ งจะเติบโตเป็ นผูม้ ีวิชาความรู้ และเป็ นคนดีของสังคม ผูเ้ ป็ น
"ครู" จะต้องทุ่มเทแรงกายและแรงใจไม่น้อยไปกว่าพ่อแม่ผู้ ให้กาเนิ ดเลย ซึ่งใน
ชีวิตของคน ๆ หนึ่ ง นอกเหนื อไปจากพ่อแม่ซึ่งเปรียบเสมือน "ครูคนแรก" ของ
เราแล้ว การที่เด็กๆ จะดารงชีพต่อไปได้ในสังคม จาเป็ นอย่างยิง่ ที่จะต้องมี "ครู"
ที่จะประสิทธิ์ประสาทวิชาความรู้ เพื่อปูพื้นฐานไปสู่หนทางทามาหากินในภาย
ภาคหน้าด้วย ดังนั้น "ครู" จึงเป็ นบุคคลสาคัญที่เราทุกคนควรจะได้แสดงความกตัญญูกตเวทิตาต่อท่าน
คาว่า ครู หรือ คุรุ (สันสกฤต: गरु ु ) หรือ กูรู (อังกฤษ: guru) หมายถึง ครู หรือ อาจารย์ ถ้าแยกศัพท์ออกมาแล้ว จะมีสองคา
คือ คาว่า คุ ซึ่งแปลว่า แสงสว่าง (เป็ นผูช้ ี้ ทางแสงสว่าง ) และคาว่า รุ แปลว่า ความมืดมน (เป็ นผูข้ จัดความเขลาที่มืดมน ) ในศาสนา
พราหมณ์ฮินดู มาจากปรัชญาความเชื่อในความสาคัญของการเข้าถึงความรู้ โดยมี คุรุ หรือ อาจารย์เป็ นผูช้ กั นาไปสู่จุดสูงสุด ในประเทศ
อินเดียในปั จจุบนั สาหรับผูท้ ี่นับถือศาสนาฮินดู และซิกข์ คา คุรุ นี้ ยังคงความหมายของความศักดิ์สิทธิ์ เช่น คุรุนานัก คุรุปัทมสัมภวะ คุรุ
นาคารชุน
อนึ่ ง คาว่า คุรุ นี้ มีการทับศัพท์เป็ นภาษาอังกฤษ โดยสะกดว่า "guru" ซึ่งหากทับศัพท์ม าใช้ในภาษาไทย ก็จะต้องเขียน "คุรุ" ซึ่ง
มีศพั ท์นี้อยูแ่ ล้วในภาษาไทย เช่น คุรุสภา, คุรุศึกษา เป็ นต้น (ในภาษาบาลีใช้ "ครุ" เช่น ครุศาสตร์, ครุภณ ั ฑ์) อย่างไรก็ตาม ในปั จจุบนั มี
ความนิ ยมใช้คาว่า คุรุ นี้ ในเชิงการบริหารและการศึกษา หมายถึง ผูเ้ ชี่ยวชาญเฉพาะด้านในสาขานั้น ๆ
คุรุ ในภาษาสันสกฤตนั้นยังใช้หมายถึง พฤหัสบดี ซึ่งเป็ นเทพเจ้าองค์หนึ่ ง ซึ่งตรงกับเทพเจ้าจูปิเตอร์ของชาวโรมันนัน่ เอง ตาม
ความเชื่อในศาสนาฮินดูน้ัน ดาว จูปีเตอร์/คุรุ/พฤหัสบดี ถือว่าเป็ นดาวที่มีอิทธิพลต่อการเรียนรู้ ในภาษาต่างๆ ของอินเดีย คาว่า พฤหัส
ปติวาร(วันพฤหัสบดี) จะเรียกอีกอย่างหนึ่ งว่าว่า คุรวุ าร(วันคุรุ) โดย วาร นั้นหมายถึงวัน คุรุ ในอินเดียในทุกวันนี้ ใช้ในความหมายทัว่ ไป
หมายถึง "ครู"
ในประเทศตะวันตก คุรุ ยังใช้ในความหมายที่กว้างขึ้ นหมายถึง บุคคลที่เผยแพร่ศาสนา หรือ กลุ่มความเชื่อตามปรัชญาต่างๆ
คานี้ ยังใช้ในความหมายเชิงอุปมา หมายถึงบุคคลผูซ้ ึ่งอยูใ่ นสถานะที่เชื่อถือได้ เนื่ องมาจากความรู้ และความชานาญ ที่เป็ นที่ประจักษ์และ
ยอมรับ
2

ความหมายของครู
ครู คือ บุคคลที่มีหน้าที่ หรือมีอาชีพในการสอนนักเรียน เกี่ยวกับ
วิชาความรู้ หลักการคิดการอ่าน รวมถึงการปฏิ บัติและแนวทางในการ
ทางาน โดยวิธีในการสอนจะแตกต่างกันออกไปโดยคานึ งถึงพื้ นฐานความรู้
ความสามารถ และเป้าหมายของนักเรียนแต่ละคน
คาว่า “ครู” มีความหมายลึกซึ้ งกว้างขวางมากนัก แต่ถา้ ดูจากราก
ศัพท์ ภาษาบาลีว่า “ครุ” หรือ ภาษาสันสกฤตว่า “คุรุ” นั้น มีความหมาย
ว่า “ผูส้ งั ่ สอนศิษย์ หรือ ผูค้ วรได้รบั การเคารพ” ได้มีผใู้ ห้ความหมายของคา
ว่า “ครู” ไว้หลายประการ เช่น “ครู” คือ ผูท้ าหน้าที่สอนและให้ความรูแ้ ก่
ศิษย์ เพื่อให้ศิษย์เกิดความรู้ ความก้าวหน้าในสาขาวิชานั้น ๆ
ยนต์ ชุ่มจิต (2541: 29) ได้อธิบายคาว่า “ครู” ดังนี้
1. ครู เป็ นผูน้ าทางศิษย์ไปสู่คุณธรรมชั้นสูง
2. ครู คือ ผูอ้ บรมสัง่ สอนถ่ายทอดวิชาความรูใ้ ห้แก่ศิษย์ เป็ นผูม้ ีความหนักแน่ น ควรแก่การเคารพของลูกศิษย์
3. ครู คือผูป้ ระกอบอาชีพอย่างหนึ่ งที่ทาหน้าที่สอน มักใช้กบั ผูส้ อนในระดับตา่ กว่าวิทยาลัยและมหาวิทยาลัยหรือ
สถาบันอุดมศึกษา
รังสรรค์ แสงสุข อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยรามคาแหง (2550: 38) ได้ให้ความเห็นว่า “ครู” คือ ผู้ ที่ให้ความรูไ้ ม่จากัดทุก
ที่ทุกเมื่อ ครูตอ้ งเต็มไปด้วยความรู้ และรูจ้ กั ขวนขวายหาองค์ความรูใ้ หม่ ๆ สะสมความดี มีบารมีมาก และครูที่ดีจะต้องไม่ปิดบัง ควา มรู้
ควรมีจิตและวิญญาณของความเป็ นครู
ครู คือ ผูเ้ ติมเต็ม การที่ครูจะเป็ นผูเ้ ติมเต็มได้ ครู ควรจะเป็ นผูแ้ สวงหาความรู้ ต้อง วิเคราะห์ วิจยั วิจารณ์ และมาบูรณาการ
ความรูต้ ่าง ๆ เข้าด้วยกันครู คือ ผูท้ ี่มีเมตตา จะต้องสอนเต็มที่โดยไม่มีการขี้ เกียจหรือปิ ดบังไม่ให้ความรู้ เต็มที่ ครูตอ้ งไม่ลาเอียง ไม่
เบียดเบียนศิษย์
ในหนังสือ พจนะ – สารานุกรมไทย เปลื้ อง ณ นคร (2516: 89) ได้ให้ความหมายของคาว่า “ครู” ไว้ดงั นี้
1. ผูม้ ีความหนักแน่ น
2. ผูค้ วรแก่การเคารพของศิษย์
3. ผูส้ งั ่ สอน
คาร์เตอร์ วี กูด๊ (Carter V. Good. 1973: 586) ได้ให้ความหมายของคาว่า “ครู” (teacher) ไว้ดงั นี้ คือ
1. person employed in an official capacity for the purpose of guiding and directing the learning experience of pupils or
students in an educational institution whether public or private
2. person who becomes of rich or unusual experiencing or education or both in given field is able to contribute to the
growth or development of other person who comes to contact with him.
3. person who has completed a professional curriculum in a teacher education institution and whose training has been
officially recognized by the award of an appropriate teaching certificate.
4. person who instructs the other.
จากคา ภาษาอังกฤษข้างบนนั้น จะเห็นได้ว่า ความหมายของคาว่า “ครู” (Teacher) คือ
1. ครู คือ ผูท้ ี่มีความสามารถให้คาแนะนา เพื่อให้เกิดประโยชน์ทางการเรียน สาหรับนักเรียน หรือ นักศึกษาใน
สถาบันการศึกษาต่าง ๆ ทั้งของรัฐและเอกชน
2. ครู คือ ผูท้ ี่มีความรูป้ ระสบการณ์และมีการศึกษามากหรือดีเป็ นพิเศษ หรือมี ทั้งประสบการณ์และการ ศึกษาดีเป็ นพิเศษใน
สาขาใดสาขาหนึ่ งที่สามารถช่วยให้ผอู้ ื่นเกิด ความเจริญก้าวหน้าได้
3. ครู คือ ผูท้ ี่เรียนสาเร็จหลักสูตรวิชาชีพจากสถาบันการฝึ กหัดครู และได้ ใบรับรองทางการสอนด้วย
4. ครู คือ ผูท้ ี่ทาหน้าที่สอนให้ความรูแ้ ก่ศิษย์
นอกจากนี้ คาว่า “ครู” ยังมีความหมายอื่น ๆ ได้อีก เช่น
1. “ครู คือ ปูชนียบุคคล” หมายถึง ครูที่เสียสละ เอาใจใส่เพื่อความเจริญ ของศิษย์ ซึ่งเป็ นบุคคลที่ควรเคารพเทิดทูน
2. “ครู คือ แม่พิมพ์ของชาติ” หมายถึง การเป็ นแบบอย่างที่ดีของลูกศิษย์ที่จะ ปฏิบตั ิตวั ตามอย่างครู
3

3. “ครู คือ ผูแ้ จวเรือจ้าง” หมายถึง อาชีพครูเป็ นอาชีพที่ไม่ก่อให้เกิดความ รา่ รวย ครูตอ้ งมีความพอใจในความเป็ นอยูอ่ ย่าง
สงบเรียบร้อย อย่าหวัน่ ไหวต่อลาภ ยศ ความ สะดวกสบาย
โดยสรุปอาจกล่าวได้ว่า ครู คือ ผูท้ ี่ทาหน้าที่สอนให้ศิษย์เกิดความรู้ และมี คุณธรรม จริยธรรมที่ดี นาประโยชน์ให้แก่สงั คมได้ใน
อนาคต
ความหมายของคาว่า “อาจารย์”
ปั จจุบนั คาว่า “ครู” กับ “อาจารย์ ” มักจะใช้ปะปนหรือควบคู่กนั เสมอ จนบางครั้งดู เหมือนว่า จะมีความหมายเป็ นคาคา
เดียวกัน แต่ในความเป็ นจริงแล้ว รากศัพท์เดิมของ คาว่า “อาจารย์” ไม่เหมือนกับคาว่า “ครู” และเมื่อพิจารณาถึงความหมายดั้งเดิมแล้ว
ยิง่ ไม่ เหมือนกัน
พุทธทาสภิกขุ (๒๕๒๗ : ๙๒) กล่าวว่า คาว่า “ครู”เป็ นคาที่สงู มาก เป็ นผูเ้ ปิ ดประตูทางวิญญาณ แล้วก็
นาให้เกิดทางวิญญาณไปสู่คุณธรรมเบื้ องสูง เป็ นเรื่องทางจิตใจโดยเฉพาะ มิได้หมายถึงเรื่องวัตถุ
ท่านพุทธทาสภิกขุ (2529: 93) ได้จาแนกความหมายของ “อาจารย์” เป็ น 2 แบบ คือ
1. ความหมายดั้งเดิม หมายถึง ผูฝ้ ึ กมารยาท หรือเป็ นผูค้ วบคุมให้อยูใ่ นระเบียบ วินัย เป็ นผูร้ กั ษา
ระเบียบกฎเกณฑ์ต่าง ๆ
2. ความหมายปั จจุบนั หมายถึง ฐานะชั้นสูงหรือชั้นหนึ่ งของผูท้ ี่เป็ นครู
ในหนังสือพจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรมของพระราชวรมุนี (ประยุกต์ ปยุตฺโต)
(2528: 185) อธิบายความหมายของอาจารย์ไว้ดงั นี้
1. ผูป้ ระพฤติการอันเกื้ อกูลแก่ศิษย์
2. ผูท้ ี่ศิษย์พึงประพฤติดว้ ยความเอื้ อเฟื้ อ
3. ผูส้ งั ่ สอนวิชาและอบรมดูแลความประพฤติ

ความหมายของคาว่า “อาจารย์” ตามทัศนะของชาวตะวันตก จะหมายถึง ผูส้ อนในวิทยาลัยและมหาวิทยาลัยที่มีตาแหน่ งตา่ กว่า


ระดับศาสตราจารย์ และเป็ นผูส้ อน ที่ตอ้ งรับผิดชอบต่อการสอนนักศึกษาให้เกิดความก้าวหน้าตามวัตถุประสงค์เฉพาะของการศึกษาที่
กาหนดไว้
เมื่อพิจารณาความหมายของคาว่า “อาจารย์” ตามทัศนะของคนไทยกับทัศนะ ของชาวตะวันตกแล้วจะเห็นได้ว่า อาจารย์ของ
ชาวตะวันตกจะเน้นความสาคัญไปที่การ สอน คือ เป็ นผูม้ ีความเชี่ยวชาญในการสอนเ ฉพาะด้าน และเป็ นผูท้ ี่ทาการสอนใน
สถาบันการศึกษาชั้นสูง แต่ความหมายของคาว่า “อาจารย์ ” ตามทัศนะของคนไทย จะมี ความหมายกว้างกว่า คือ เป็ นทั้งผูส้ อนวิชา
ความรู้ อบรม ดูแลความประพฤติ และเป็ นผูท้ ี่มีฐานะสูงกว่าผูเ้ ป็ นครู
ดังนั้นจึงพอสรุปความหมายของคาว่า “อาจารย์” ได้ว่า “เป็ นผูส้ อน วิชาความรูแ้ ละอบรมความประพฤติของลูกศิษย์ เป็ นผูม้ ี
สถานะภาพสูงกว่า “ครู” และมัก เป็ นผูท้ ี่ทาการสอนในระดับวิทยาลั ย และมหาวิทยาลัย ” ในปั จจุบนั นี้ ผูท้ ี่ทาหน้าที่การสอนไม่ว่าจะมี
คุณวุฒิระดับใด ทาการสอนในระดับไหน จะนิ ยมเรียกว่า “อาจารย์” เหมือนกันหมด ซึ่งมิใช่เรื่องเสียหายอะไร ในทางตรงกันข้าม กลับจะ
เป็ นการยกย่องและให้ความเท่าเทียมกันกับคนที่ประกอบวิชาชีพเดียวกัน ดังนั้ น สิ่งสาคัญที่สุดมิใช่เป็ นคาว่า “ครู” หรือ “อาจารย์” แต่
อยูท่ ี่การทาหน้าที่ของตนให้ สมบูรณ์ที่สุด
ความหมายของคาที่เกี่ยวกับ ครู-อาจารย์
คาที่มีความหมายคล้ายกับ ครู มีหลายคา เช่น
1. อุปัชฌาย์ ท่านพุทธทาสภิกขุ อธิบายความหมายของ “อุปัชฌาย์” ว่า หมายถึง ผูส้ อนวิชาชีพ แต่ในปั จจุบนั นี้ หมายถึง พระ
เถระ ผูใ้ หญ่ ที่ทาหน้าที่เป็ นผูบ้ วชกุลบุตรในพระพุทธศาสนา
2. ทิศาปาโมกข์ หมายถึง อาจารย์ที่มีความรู้ และชื่อเสียงโด่งดัง ในสมัยโบราณ ผูม้ ีอนั จะกินจะต้อง ส่งบุตรหลานของตนไปสู่
สานัก ทิศาปาโมกข์ เพื่อให้เรียนวิชาที่เป็ นอาชีพ หรือ วิชาชั้นสูงในสาขาวิชาต่าง ๆ เพื่อกลับไปรับหน้าที่ทาการงานที่สาคัญ ๆ
3. บุรพาจารย์ หรือบูรพาจารย์ คือ อาจารย์ เบื้ องต้น หมายถึง บิดา มารดา ซึ่งถือว่า เป็ นครูคนแรกของบุตร ธิดา
4. ปรมาจารย์ คือ อาจารย์ผเู้ ป็ นเอกหรือยอดเยีย่ มในทางวิชาใดวิชาหนึ่ ง
5. ปาจารย์ คือ อาจารย์ของอาจารย์
ส่วนคาศัพท์ในภาษาอังกฤษที่มีความหมายคล้ายกับคาว่า ครู หรือ Teacher มีหลายคา คือ
4

1. Teacher หมายถึง ผูท้ ี่ทาหน้าที่ประจาในโรงเรียน หรือ สถาบันการศึกษา ต่าง ๆ ตรงกับคาว่า ครู หรือ ผูส้ อน
2. Instructor หมายถึง ผูท้ ี่ทาหน้าที่เป็ นผูส้ อนโดยเฉพาะในวิทยาลัยหรือ มหาวิทยาลัย ตรงกับคาว่า อาจารย์
3. Professor (ในประเทศอังกฤษ) หมายถึง ตาแหน่ งผูส้ อนที่ถือว่าเป็ น ตาแหน่ งสูงสุดในแต่ละสาขาวิชาในมหาวิทยาลัย
ต่าง ๆ แต่ใน อเมริกาและแคนาดาใช้เป็ นคานาหน้านามสาหรับผูส้ อนใน วิทยาลัยหรือมหาวิทยาลัยต่าง ๆ เช่น ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ใช้คา
ว่า Assistant Professor รองศาสตราจารย์ ใช้คาว่า Associate Professor ศาสตราจารย์ ใช้คาว่า Professor
4. Lecturer หมายถึง บุคคลผูส้ อนในมหาวิทยาลัย หรือวิทยาลัย ตรงกับคาว่า ผูบ้ รรยาย
5. Tutor หมายถึง ผูท้ ี่ทาหน้าที่สอนนักศึกษาเป็ นกลุ่มเล็กๆหรือรายบุคคล โดยทางานเป็ นส่ วนหนึ่ งของผูบ้ รรยาย คล้าย ๆ
กับผูส้ อนเสริมหรือสอนกวดวิชา
6. Sophist เป็ นภาษากรีกโบราณ หมายถึง ปราชญ์ผสู้ อนวิชาต่าง ๆ คล้ายกับคาว่า “ทิศาปาโมกข์”
อาไพ สุจริตกุล (2534 : 47-48) กล่าวว่า คาว่า "ครู" "ปู่ ครู" "ตุ๊ครู" และ "ครูบา" ในสมัยโบราณ
หมายถึง พระสงฆ์ผทู้ าหน้าที่สอนกุลบุตรทุกระดับอายุ ตั้งแต่วยั เด็ก จนถึงวัยรุ่น สอนทั้งด้านอักขรวิธี ทั้ง
ภาษาไทย และภาษาบาลี สอนให้เป็ นคนดีมีวิชาชีพ ตลอดจนความรูท้ างพระพุทธศาสนา แม้เมื่อศิษย์มีอ ายุ
ครบบวชแล้ว ก็ยงั คงศึกษาในวัด หรือสานักนั้น ๆ ต่อไป จนมีความรูค้ วามชานาญ สามารถถ่ายทอดวิชาที่
ได้รบั การสัง่ สอนฝึ กฝนจากครูบาของตนให้แก่ศิษย์รุ่นหลังของสานักต่อไป หรืออาจลาไปแสวงหาความรูค้ วาม
ชานาญต่อจากพระสงฆ์หรือครูบา หรือตุ๊ครู ณ สานักอื่น เมื่อเชี่ยวชาญแล้วก็กลับมาช่วยสอนในสานักเดิมของ
ตน จนเป็ นครูบาสืบทอดต่อไป

ใครคือครู ครูคือใครในวันนี้
ใช่อยูท่ ี่ปริญญามหาศาล
ใช่อยูท่ ี่เรียกว่า ครูอาจารย์
ใช่อยูน่ านสอนนานในโรงเรียน
ครูคือผูน้ าทางความคิด
ให้รถู้ ูกรูผ้ ิด คิดอ่านเขียน
ให้รทู้ ุกข์รยู้ ากรูพ้ ากเพียร
ให้รเู้ ปลี่ยนแปลงสูร้ สู้ ร้างงาน
ครูคือผูย้ กระดับวิญญาณมนุ ษย์
ให้สงู สุดกว่าสัตว์เดรัจฉาน
ครูคือผูส้ งั ่ สมอุดมการณ์
มีดวงมานเพื่อมวลชนใช่ตนเอง
ครูจึงเป็ นนักสร้างผูย้ งิ่ ใหญ่
สร้างคนจริงสร้างคนกล้าสร้างคนเก่ง
สร้างคนให้ได้เป็ นตัวของตัวเอง
ขอมอบเพลงนี้ มาบูชาครู

จากตัวอย่างความหมายของครูขา้ งต้น จะเห็นว่า ครูตอ้ งเป็ นคนที่มีท้งั ความรูแ้ ละความประพฤติที่ดี กอปรด้วยความเมตตา


กรุณาต่อศิษย์ คงไม่เกินความจริงที่จะกล่าวว่า ครูเป็ นบุคคล "ไตรภาคี " คือ มาจากองค์ประกอบสาคัญ 3 ประการ คือ 1) ความรูด้ ี 2)
ความประพฤติดี และ 3) มีคุณธรรม (เมตตากรุณา) หากขาดองค์ประกอบอย่างใดอย่างหนึ่ งจะไม่สามารถเป็ นครูที่ดีได้
องค์ประกอบ 3 ประการนี้ เป็ นหลักความจริงที่น่าพิจารณาอย่างยิง่ สาหรับผูม้ ีหน้าที่เป็ นครู เพราะผูท้ ี่มีองค์ประกอบทั้งสามนี้
และพัฒนาถึงชั้นสูงสุด จะอยูใ่ นฐานะเป็ นยอดครู หรือบร มครู เช่น พระสัมมาสัมพุทธเจ้า ทรงได้รบั การขนานพระนามว่า "บรมครู "
เพราะพระองค์ ทรงมีองค์ประกอบ ๓ ประการนี้ ที่พฒ ั นาถึงชั้นสูงสุดแล้ว คือ ทรงมีพุทธคุณ ๓ ประการ คือ
1. พระปั ญญาคุณ (ความรู)้
2. พระวิสุทธิคุณ (ความบริสุทธิ์, ความประพฤติดี)
3. พระกรุณาคุณ (ความสงสาร,ทนไม่ได้ที่จะไม่ช่วยเหลือคนอื่น)
5

ความหมายของครู ตามรูปแบบ
ความหมายของครูดงั กล่าวข้างต้น เป็ นความหมายตามเนื้ อความหรือเนื้ อแท้ของครู กล่าวคือ ผูท้ ี่เป็ นครูควรมีภาวะดังกล่าวอัน
ได้แก่ ความรู้ ความประพฤติ และคุณธรรม ไม่ว่าครูน้ันจะอยู่ ณ ที่ใด หน่ วยงานไหนก็ตาม
อย่างไรก็ตาม ยังมีความหมายของครูอีกอย่างหนึ่ งที่กาหนดโดยกฎหมาย ให้เป็ นรูปแบบ แบ่งเป็ นชั้นหรือระดับ สูงตา่ แตกต่าง
กัน และอาจเกิดสิ่งที่ เรียกว่าเกียรติ หรือศักดิ์ศรี แทรกซ้อนอยูใ่ นรูปแบบนั้นด้วย ซึ่งบางที
อาจปิ ดกั้นไม่ให้ม องเห็นความ หมายตามเนื้ อแท้ ก็ได้ ความหมายของครูโดยกฎหมายนี้ อาจ
เรียกว่า “ความหมายของ ครูตามรูปแบบ” แต่มนั เป็ นความหมายไม่แน่ นอนตลอดไป อาจมี
การเปลี่ยนไปได้ใน เมื่อใดกฎหมายกาหนดขึ้ นมาใหม่ ก็อาจจะเปลี่ยนไปใหม่ได้ตามรูปแบบ
นั้น ๆ
ความหมายของครูตามรูปแบบนั้นจะเห็นได้จากกฎหมายบางฉบับ เช่น
พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครู พ .ศ. 2523 กาหนดรูปแบบของครูโดยเรียกว่า
“ข้าราชการครู” ซึ่งมี 3 กลุ่ม ได้แก่
1. กลุ่มที่ทาหน้าที่เป็ นผูส้ อนในหน่ วยงานการศึกษา
2. กลุ่มที่มีหน้าที่บริหารและให้การศึกษาในหน่ วยงานทางการศึกษา
3. กลุ่มที่มีหน้าที่เกี่ยวกับให้การศึกษาที่ไม่สงั กัดโรงเรียน วิทยาลัย หรือสถานศึกษา
ที่เรียกชื่ออย่างอื่นของกระทรวงศึกษาธิการ
เฉพาะกลุ่มที่ 1 ซึ่งทาหน้าที่สอนเป็ นหลัก มีการแบ่งตาแหน่ งเป็ นระดับต่าง ๆ ไปจากล่างไปสูง คือ
- ครู 1
- ครู 2
- อาจารย์ 1
- อาจารย์ 2
- อาจารย์ 3
- ผูช้ ่วยศาสตราจารย์
- รองศาสตราจารย์
- ศาสตราจารย์
บางตาแหน่ งก็กาหนดให้มีได้เฉพาะในบางหน่ วยงาน คือตั้งแต่ตาแหน่ งผู้ ช่วย ศาสตราจารย์ถึงศาสตราจารย์ จะมีได้เฉพาะ
หน่ วยงานที่มีการสอนถึงระดับ ปริญญาตรี เท่านั้น
ความหมายของครูตามรูปแบบอาจมีส่วนกระทบในทางลบต่อความหมายของครูตามเนื้ อแท้ก็ได้ และคาว่า “ครู” อาจจะค่อย ๆ
เลือนหายไปจากความสนใจของสังคม โดยอาจ ถูกมองว่าไม่เหมาะสมกับยุคสมัย เช่นที่เรียกว่า “ครู” ก็เรียกว่า “อาจารย์” หรือผู้ช่วย
ศาสตราจารย์ หรือคาอื่น ๆ อาจจะเป็ นใครก็ได้ที่สามารถทาหน้าที่สอนได้ จนที่สุดแม้แต่เครื่องเทคโนโลยีก็อาจเป็ นครูได้ เพราะสามารถ
ทาหน้าที่สอนให้เกิดความรูไ้ ด้ ดังนั้น องค์ประกอบแห่งความเป็ นครูที่กล่าวข้างต้น คือ ความรู้ ความประพฤติและคุณธรรม อาจเหลือ
เฉพาะองค์ประกอบเดียวคือ ความรูเ้ ท่านั้น
ครูในระดับต ่ากว่าอุดมศึกษา
ครูประจาชั้น หมายถึง ครูผดู้ แู ลนักเรียนในห้องเรียนหรือชั้นเรียนหนึ่ ง ๆ เป็ นเวลาหนึ่ งภาคเรียนหรือหนึ่ งปี การศึกษา พร้อมทั้ง
ทาหน้าที่ธุรการประจาห้องเรียน
ในอดีตความสัมพันธ์ของครูประจาชั้นจะเปรียบเสมือนผูป้ กครองคนที่สอง ต้องคอย ดูแลเอาใจใส่ อบรมสัง่ สอน ช่วยแก้ปัญหา
และเชื่อมโยงความสัมพันธ์ระหว่างโรงเรียนกับบ้าน อันเป็ นผลทาให้ครูและโรงเรียนได้รบั ความศรัทธาพร้อมทั้งมีบุญคุณต่อนักเรียนและ
ครอบครัว
ระบบการศึกษาส่วนใหญ่ในโรงเรียนทัว่ โลกมีการนักเรียนออกเป็ นชั้น ๆ เป็ นห้อง ๆ เพื่อความสะดวกต่อการเรียนการสอน และ
การดูแลปกครอง รวมทั้งทากิจกรรมอื่นๆ โดยเรียกว่า "ห้องเรียน" หรือ "ชั้นเรียน" (Classroom) และเรียกเพื่อนร่วมชั้นเรียนเดียวกันว่า
"เพื่อนร่วมชั้น" (Classmates)
6

ครูในระดับอุดมศึกษา
ผูส้ อนในวิทยาลัย มหาวิทยาลัย หรือ ระดับอุดมศึกษา จะมีตาแหน่ ง อาจารย์ โดยอาจารย์ที่ได้รบั ตาแหน่ งทางวิชาการ ได้แก่
อาจารย์ , ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ รองศาสตราจารย์ และศาสตราจารย์ ตามลาดับ การได้รบั ตาแหน่ งทางวิชาการเป็ นไปตามระเบียบ
ข้อบังคับของสานักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา
ตาแหน่งครู คือ บุคคลที่ทาหน้าที่ช่วยสอน สอนทบทวน สอนภาคปฏิบตั ิ แตกต่างจากอาจารย์ที่ สอนภาคบรรยายเรื่องต่าง ๆ
ครูผดู ้ แู ลระบบจัดการโรงเรียน
ครูที่ทาหน้าที่ดแู ลระบบทั้งโรงเรียนจะเรียกว่า ครูใหญ่ ซึ่งคล้ายคลึงกับ คณบดี หรืออธิการบดี ในระดับอุดมศึกษา โดยหน้าที่
ของครูใหญ่มกั จะทาหน้าที่ดแู ลระบบการจัดการของ โรงเรียนมากกว่าการสอนในห้องเรียน ต่อมาเป็ นตาแหน่ งผูบ้ ริหารสถานศึกษา ทา
หน้าที่บริหารสถานศึกษา
ครูในศตวรรษที่ 21
ในยุคศตวรรษที่ 21 นี้ กระบวนการเรียนอาจจะมีการเปลี่ยนแปลงไปมาก
ผูเ้ รียนจะเรียนด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่ทนั สมัยมีความก้าวหน้า และ
สามารถเข้าถึงข้อมูลข่าวสารได้มากและรวดเร็วขึ้ น ปั ญหาที่สื บเนื่ องมาจากจานวน
นักเรียนที่เพิ่มขึ้ นต่อห้องเรียน จนทาให้วิธีการสอนแบบเดิมๆ ไม่มีประสิทธิภาพเพียงพอ
สื่อที่แสดงมีขนาดใหญ่ไม่เพียงพอสาหรับ ผูเ้ รียนที่อยูห่ ลังห้อง ความจดจ่อกับผูส้ อนถูก
เบี่ยงเบนจากพฤติกรรม และสภาพแวดล้อมในชั้นเรียนขนาดใหญ่ ผูเ้ รียนมีการนาเอา
คอมพิวเตอร์พกพาเข้ามาสืบค้นความรูใ้ นชั้นเรียน ผูเ้ รียนถามคาถามเกี่ยวกับเรื่องที่ครู
กาลังสอน หรือนาข้อมูลเหล่านั้นมาพูดคุย โดยที่ครูตอบไม่ได้ หรือไม่เคยรูม้ าก่อน
เมื่อเป็ นเช่นนี้ ครูจึงต้องพร้อมที่จะปรับตัวและพัฒนาตนเองให้ทนั ยุคที่เปลี่ยนไป และต้องไม่ขาดควา มกระตือรือร้นที่จะพัฒนา
ทักษะ และวิทยาการให้ทนั สมัย เพื่อให้เกิดการเรียนรูเ้ ทคนิ ควิธีการเรียนการสอนแบบใหม่ๆ ที่มีประสิทธิภาพ ทาให้ได้เด็กมีคุณลักษณะ
อันพึงประสงค์ตามที่สงั คมไทย และสังคมโลกต้องการ
ในการนี้ กระทรวงศึกษาธิการได้เล็งเห็นความสาคัญของการนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Information and
Communications Technology : ICT) มาใช้ในการศึกษา ซึ่งจะเป็ นเครื่องมือสาคัญและเป็ นประโยชน์ต่อการยกระดับคุณภาพทางการ
ศึกษา ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการเรียนการสอนและการพัฒนาครูได้อย่างรวดเร็ว รวมทั้งยังช่วยแก้ปัญหาการขาดแคลนครู ตลอดจนลด
ความไม่เท่าเทียมทางการศึกษาในโรงเรียนที่ห่างไกลอีกด้วย
ครูในอนาคต
เมื่อหน้าที่และบทบาทของครูผสู้ อนได้เปลี่ยนจากการบรรยายหน้าชั้นเรียนเพียงอย่างเดียวมาเป็ นการกล่าวนาเข้าสู่บทเรียน ทา
หน้าที่เป็ นเพียงผูแ้ นะนา ให้คาปรึกษา และแก้ปัญหาให้แก่ผเู้ รียน จึงเกิดวิธีการสอนที่หลากหลายมากขึ้ น กล่าวคือ มีการนาคอมพิวเตอร์
มาใช้ในการเรียนการสอน โดยผ่านเครือข่าย (Network) เพราะปั จจุบนั ผูเ้ รียนมีความสามารถติดต่อสื่อสาร แ ลกเปลี่ยนความรูค้ วาม
เข้าใจระหว่างผูเ้ รียนและผูส้ อนได้โดยไม่จาเป็ นต้องอยูใ่ นชั้นเรียนเสมอไป รูปแบบการเรียนการสอนจึงเป็ นแบบส่วนบุคคลมากขึ้ น ซึ่ง
รูปแบบนี้ ครูคนเดียวสามารถแนะนา ความรูค้ วามเข้าใจเกี่ยววิชาชีพอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับบทเรียนนั้นๆ ได้ ซึ่งเครือข่ายค อมพิวเตอร์มี
ความสามารถ และเพิ่มประสิทธิภาพในการติดต่อสื่อสารมากยิง่ ขึ้ นตลอดจนมีบทบาทต่อระบบการศึกษาทั้งใน และนอกระบบในการใช้
ทรัพยากรร่วมกันให้เกิดประโยชน์สงู สุด
รศ.ดร.ถนอมพร เลาหจรัสแสง ได้เสนอทักษะที่จาเป็ นสาหรับครูไทยในอนาคต (C-Teacher) ไว้น่าสนใจ 8 ประการคือ
1. Content ครูตอ้ งมีความรูแ้ ละทักษะในเรื่องที่สอนเป็ นอย่างดี หากไม่แม่นในเรื่องที่สอนหรือถ่ายทอดแล้ว ก็ยากที่นักเรียนจะมี
ความรูค้ วามเข้าใจในเนื้ อหานั้น ๆ
2. Computer (ICT) Integration ครูตอ้ งมีทกั ษะในการใช้เทคโนโลยีเข้ามาช่วยในการจัดการเรียนการสอน เนื่ องจากกิจกรรม
การเรียนการสอนที่ใช้เทคโนโลยีจะช่วยกระตุน้ ความสนใจให้กบั นักเรียน และหากออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนอย่างมี
ประสิทธิภาพ จะช่วยส่งเสริมความรูแ้ ละทักษะที่ตอ้ งการได้เป็ นอย่างดี
3. Constructionist ครูผสู้ อนต้องเข้าใจแนวคิดที่ว่า ผูเ้ รียนสามารถสร้างอ งค์ความรูข้ นเองได้
ึ้ จากภายในตัวของผูเ้ รียนเอง โดย
เชื่อมโยงความรูเ้ ดิมที่มีอยูภ่ ายในเข้ากับการได้ลงมือปฏิบตั ิกิจกรรมต่าง ๆ ซึ่งครูสามารถนาแนวคิดนี้ ไปพัฒนาวางแผนการจัดกิจกรรม
การเรียนรูเ้ พื่อให้นักเรียนเกิดความรูแ้ ละทักษะที่ตอ้ งการได้
7

4. Connectivity ครูตอ้ งสามารถจัดกิจกรรมให้เชื่อมโยงระหว่างผูเ้ รียนด้วยกัน ผูเ้ รียนกับครู ครูภายในสถานศึกษาเดียวกันหรือ


ต่างสถานศึกษา ระหว่างสถานศึกษา และสถานศึกษากับชุมชน เพื่อสร้างสภาพแวดล้อมในการเรียนรูท้ ี่เป็ นประสบการณ์ตรงให้กบั
นักเรียน
5. Collaboration ครูมีบทบาทในการจั ดกิจกรรมการเรียนรูใ้ นลักษณะการเรียนรูแ้ บบร่วมมือกันระหว่างนักเรียนกับครู และ
นักเรียนกับนักเรียนด้วยกัน เพื่อฝึ กทักษะการทางานเป็ นทีม การเรียนรูด้ ว้ ยตนเอง และทักษะที่สาคัญอื่น ๆ
6. Communication ครูตอ้ งมีทกั ษะการสื่อสาร ทั้งการบรรยาย การยกตัวอย่าง การเลือกใ ช้สื่อ การนาเสนอสื่อ รวมถึงการจัด
สภาพแวดล้อมให้เอื้ อต่อการเรียนรู้ เพื่อถ่ายทอดความรูใ้ ห้กบั นักเรียนได้อย่างเหมาะสม
7. Creativity ในยุคสมัยหน้าครูตอ้ งออกแบบสร้างสรรค์กิจกรรมการเรียนรู้ จัดสภาพแวดล้อม ให้เอื้ อต่อการเรียนรูด้ ว้ ยตนเอง
ของผูเ้ รียน มากกว่าการเป็ นผูถ้ ่ายทอดความรูโ้ ดยตรงเพียงอย่างเดียว
8. Caring ครูตอ้ งมีมุทิตาจิตต่อนักเรียน ต้องแสดงออกถึงความรัก ความห่วงใยอย่างจริงใจต่อนักเรียน เพื่อให้นักเรียนเกิดความ
เชื่อใจ ส่งผลให้เกิดสภาพการเรียนรูต้ ื่นตัวแบบผ่อนคลาย ซึ่งเป็ นสภาพที่นักเรียนจะเรียนรูไ้ ด้ดีที่สุ ด
ความสาคัญของวิชาชีพครู
ครู อาชีพครู วิชาชีพครู งานที่มีเกียรติและเป็ นงานที่สร้างคนให้กบั สังคม
ครู คือบุคคลที่มีหน้าที่ หรือมีอาชีพในการสอนนักเรียน เกี่ยวกับวิชาความรู้ หลักการคิดการอ่าน รวมถึงการปฏิบตั ิและแนวทาง
ในการทางาน โดยวิธีในการสอนจะแตกต่างกันออกไปโดยคานึ งถึงพื้ นฐานความรู้ ความสามารถและเป้าหมายของนักเรียนแต่ละคน
ปั จจุบนั บุคคลที่จะทาอาชีพนี้ จะต้องได้ใบประกอบวิชาชีพครูดว้ ยคล้ายๆกับหมอ
ความสาคัญของวิชาชีพครู
ทุกอาชีพย่อมมีความสาคัญต่อบุคคลและสังคมด้วยกันทั้งนั้น เป็ นการยากที่ จะบ่งบอกว่า อาชีพใดสาคัญกว่าอาชีพใด แต่ในที่นี้
เราจะพิจารณาเฉพาะอาชีพครูว่ามีความสาคัญต่อสังคมและประเทศชาติเพียงใด จึงขออัญเชิญพระราโชวาทของสมเด็จ พระเทพ
รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรแก่ผสู้ าเร็จ การศึกษาจากวิทยาลัยครู ณ อาคารใหม่สวนอัมพร วันพุธ
ที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2526 ความตอนหนึ่ งว่า
“.....อาชีพครูถือว่าสาคัญอย่างยิง่ เพราะ ครูมีบทบาทสาคัญใน
การพัฒนาประเทศ ให้เจริญมั ่นคง และก่อนที่จะพัฒนาบ้านเมืองให้เจริญ
ได้น้นั จะต้องพัฒนาคน ซึ่งได้แก่ เยาวชนของชาติเสียก่อน เพื่อให้เยาวชน
เติบโตเป็ นผูใ้ หญ่ที่ มีคณ
ุ ค่าสมบูรณ์ทุกด้าน จึงสามารถ ช่วยกันสร้างความ
เจริญให้แก่ชาติตอ่ ไปได้......”
จากพระราโชวาทของสมเด็จพระเทพฯ ตามที่ได้อญ ั เชิญมากล่าวไว้
ข้างต้น เป็ น เครื่องยืนยันให้เห็นถึงความสาคัญของครูที่มีต่อควา มเจริญของ
บุคคล และชาติบา้ นเมือง เป็ นอย่างยิง่ ชาติบา้ นเมืองจะเจริญได้เพราะ
ประชาชนในชาติได้รบั การศึกษาที่ดี และมีครูที่มีคุณภาพ
หน้าที่และความรับผิดชอบของครู
1. สอนศิลปวิทยาให้แก่ศิษย์ ซึ่งถือเป็ นหน้าที่สาคัญสาหรับครู ครูที่ดีตอ้ งทาการสอนอย่างมีประสิทธิภาพ มีการพัฒนาการ
สอนให้สอดคล้ องกับความสามารถและความสนใจของนักเรียน นอกจากนั้นต้องสามารถให้บริการการแนะแนวในด้านการเรียน การ
ครองตน และรักษาสุขภาพอนามัย จัดทาและใช้สื่อการเรียนการสอนอย่างมีประสิทธิภาพรวมทั้งสามารถปรับหลักสูตรการเรียนการสอน
ให้สอดคล้องกับนโยบายการพัฒนาสภาพแวดล้อมของท้องถิ่นและสถานการณ์บา้ นเมืองในปั จจุบนั
2. แนะแนวการศึกษาและอาชีพที่เหมาะสมให้แก่ศิษย์ เพื่อช่วยให้ศิษย์ของตนสามารถเลือกวิชาเรียนได้ตามความเหมาะสม
ทั้งนี้ ครูตอ้ งคานึ งถึงสติปัญญา ความสามารถ และความถนัดของบุคลิกภาพของศิษย์ดว้ ย
3. พัฒนาและส่งเสริมความเจริญก้าวหน้าของศิษย์ โดยการจัดกิจกรรม ซึ่งมีท้งั กิจกรรมการเรียนการสอนในหลักสูตร และ
กิจกรรมการเรียนการสอนนอกหลักสูตร
4. ประเมินผลความเจริญก้าวหน้าของศิษย์ เพื่อจะได้ทราบว่า ศิษย์ได้พฒ ั นาและมีความเจริญก้าวหน้ามากน้อยเพียงใดแล้ว
การประเมินผลความเจริญก้าวหน้าของศิษย์ควรทาอย่างสมา่ เสมอ
8

5. อบรมคุณธรรม จริยธรรม ความมีระเบียบวินยั และค่านิยมที่ดีงามให้แก่ศิษย์ เพื่อศิษย์จะได้เป็ นผูใ้ หญ่ที่ดีของสังคมใน


วันหน้า
6. ปฏิบตั ิตามกฎระเบียบของหน่วยงานและสถานศึกษา ปฏิบตั ิตามพระราชบัญญัติครูและจรรยาบรร ณครู เพื่อเป็ น
แบบอย่างที่ดีแก่ศิษย์
7. ตรงต่อเวลา โดยการเข้าสอนและเลือกสอนตามเวลา ทางานสาเร็จครบถ้วนตามเวลาและรักษาเวลาที่นัดหมาย
8. ปฏิบตั ิงาน ทางานในหน้าที่ ที่ได้รบั มอบหมายอย่างมีประสิทธิภาพ
9. ส่งเสริมและพัฒนาความรูค้ วามสามารถของคน โดยการศึกษาค้นคว้าหาความรูเ้ พิ่มเติมอยูเ่ สมอครูไทยในสมัยกรุงสุโขทัย
ถึงกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้นคือพระภิกษุ สมัยนั้นภาระหน้าที่ของพระภิกษุ ที่เป็ นครู คือ ต้องบิณฑบาตมาเลี้ ยงดูศิษย์อบรมศิษย์ในทาง
ศาสนา นอกจากนั้นครูจะสอนเขียนอ่านหนังสือไทย และบาลี กิจกรรมในแต่ละวันจะแสดงให้ทราบถึงหน้าที่ของพระที่เป็ นครู คือ ในช่วง
เช้าหลังจากที่ท่านฉันข้าวเสร็จ มีการเรียนเขียนอ่าน ต่อหนังสือ ท่องบ่น ตอนก่อนเพล เด็กก็จะต้องเตรียมการให้พระฉันเพลหลังอาหาร
กลางวันเด็กก็ฝึกหัดเขียน อ่าน ท่องบ่น พระก็จาวัด พอถึงเวลาบ่าย 1 โมง หรือ 2 โมงพระก็ตื่นนอนมาตรวจให้ และสอบดูผเู้ ขียนอ่านไป
ตอนเช้าว่าถูกต้องเพียงใด คนที่แม่นยาก็ได้เรียนต่อ ช่วยกันสร้างความเจริญให้แก่ชาติต่อไปได้....” จากพระราโชวาทของสมเด็จพระเทพฯ
ตามที่ได้อญ ั เชิญมากล่าวไว้ขา้ งต้น เป็ นเครื่องยืนยันให้เห็นถึงความสาคัญของครูที่มีต่อความเจริญของบุคคล และชาติบา้ นเมืองเป็ นอย่าง
ยิง่ ชาติบา้ นเมืองจะเจริญได้เพราะประชาชนในชาติได้รบั การศึกษาที่ดี และมีครูที่มีคุณภาพ
สรุป อาชีพทุกอาชีพย่อมมีความสาคัญต่อบุคคลและสังคมด้วยกันทั้งสิ้ น ยากที่จะกล่าวอ้างว่าอาชีพใดมีความสาคัญกว่ากัน แต่
ถ้าเรามาพิจารณาเฉพาะวิชาชีพครูให้ลึกซึ้ งแล้วจะเห็นว่า ผูเ้ ป็ นครูน้ันต้องรับภาระหน้าที่ต่อสังคมและชาติบา้ นเมือง หากผูเ้ ป็ นครูปฏิบั ติ
ภาระที่ตนเองได้รบั บกพร่อง ผลกระทบก็จะตกไปถึงความเสื่อมของสังคมและชาติบา้ นเมืองความสาคัญของวิชาชีพครูน้ันถือได้ว่ามี
ความสาคัญต่อประเทศชาติบา้ นเมืองต่อคนในสังคม

วันครูและพิธีไหว้ครู

“"ผูท้ ่ีเป็ นครูอาจารย์นนั้ ใช่ว่าจะมีแต่ ความรูใ้ นทางวิชาการ และในทางการสอนเท่านัน้ ก็หาไม่ จะต้อง รูจ้ กั อบรมเด็กทัง้
ในด้าน ศี ลธรรมจรรยาและวัฒนธรรม รวมทัง้ ให้มีความสานึก รับผิดชอบในหน้าที่ดว้ ย... "
พระบรมราโชวาท ในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรของวิทยาลัยวิชาการศึกษา15 ธันวาคม 2503
"...ครูท่ีแท้จริงนัน้ ต้องเป็ นผูท้ าแต่ความดี คือต้องหมั่นขยันและ อุตสาหะพากเพียร ต้องเอื้อเฟื้ อเผื่อแผ่และเสียสละ ต้อง
หนักแน่นอดทน และอดกลัน้ สารวมระวังความประพฤติปฏิบตั ิของตน ให้อยู่ในระเบียบ แบบแผนที่ดีงาม รวมทัง้ ต้องซื่อสัตย์
รักษาความจริงใจวางใจเป็ นกลาง ไม่ปล่ อยไปตามอานาจอคติ..."
พระราชดารัส พระราชทานแก่ครูอาวุโส 28 ตุลาคม 2523
"...ครูจะต้องตัง้ ใจในความดีอยู่ตลอดเวลา แม้จะเหน็ดเหนื่อย เท่าไรก็จะต้องอดทนเพื่อพิสูจน์ว่าครูน้ ีเป็ นที่ เคารพ
สักการะได้ แต่ถา้ ครู ไม่ตงั้ ตัวในศี ลธรรมถ้าครูไม่ทาตัวเป็ นผูใ้ หญ่เด็กจะเคารพได้อย่างไร..."
พระบรมราโชวาท พระราชทานแก่คณะครูโรงเรียนราษฎร์ทวั ่ ราชอาณาจักร ณ ศาลาผกาภิรมย์ 8 พฤษภาคม 2513
"...ครูนนั้ จะต้องให้ความรูแ้ ก่เด็ก ๆ ด้วยความเมตตา ด้วย ความหวังดี คือ ด้วยความเมตตาต่อผูท้ ่ีเป็ น ลูกศิ ษย์ และ
ด้วยความหวังดี ต่อส่วนรวม เพราะถ้าส่วนรวมประกอบด้วยบุคคล ที่มีความรูด้ ี ส่วนรวมก็ไปรอด..."
9

พระบรมราโชวาท พระราชทานแก่คณะอาจารย์และนักเรียนโรงเรียนวังไ กลกังวล ณ พระราชวังไกลกังวล หัวหิน 27


พฤษภาคม 2513
จากกระแสพระราชดารัสข้างต้น เห็นได้ว่า ครูนับเป็ นปูชนี ย
บุคคลที่มีความสาคัญในการให้การศึกษาเรียนรู้ ทั้งในด้านวิชาการ และ
ประสบการณ์ ตลอดจนเป็ นผูม้ ีความเสียสละ ดูแลเอาใจใส่ สัง่ สอนอบรม
ให้เด็กได้พบกับแสงสว่าง แห่งปั ญญา อันจะเป็ นหนทางในการประกอบ
อาชีพเลี้ ยงดูตนเอง รวมทั้งการนาพาสังคมประเทศชาติกา้ วไปสู่ความ
เจริญรุ่งเรือง
ด้วยความเห็นสาคัญของครูดงั กล่าว รัฐบาล จึง ได้กาหนดให้มี
“วันครู ” ขึ้ น ในวันที่ 16 มกราคมของทุกปี เพื่อแสดงความกตัญญู
กตเวที และให้ครูเป็ นผูไ้ ด้รบั การยกย่องเชิดชูในสังคม

ประวัติความเป็ นของวันครู
เริ่มจากปี พ.ศ. 2499 จอมพล ป.พิบลู สงคราม นายกรัฐมนตรีในสมัยนั้น ซึ่งดารงตาแหน่ งประธานกรรมการอานวยการคุ รุสภา
กิตติมศักดิ์ ได้กล่าวปราศั ยต่อที่ประชุมทัว่ ประเทศ ถึงความคิดที่จะกาหนดให้มีวนั ครู และเป็ นการสอดคล้องกับความคิดเห็นของครู
โดยทัว่ ไป
"ที่ อยากเสนอในตอนนี้ ก็คือว่า เนื่ องจากผูเ้ ป็ นครูมีบญ
ุ คุณ เป็ นผูใ้ ห้แสงสว่างในชีวติ ของเราทัง้ หลาย ข้าพเจ้าคิดว่าวันครูควรมี
สักวันหนึ่ งสาหรับให้บรรดาลูกศิษย์ทงั้ หลายได้แสดงความเคารพ สักการะต่อบรรดาครูผมู้ ีพระคุณทัง้ หลาย เพราะเหตุวา่ สาหรับคนทัว่ ไป
ถ้าถึงวันตรุษ วันสงกรานต์ เราก็นาเอาอัฐิของผูม้ ีพระคุณบังเกิดเกล้ามาทาบุญ ทาทาน คน ที่ สองรองลงไปก็คือ ครูผเู้ สียสละ ทัง้ หลาย
ข้าพเจ้าคิดว่าในโอกาสนี้ จะขอฝากที่ ประชุมไว้ดว้ ย ลองปรึกษาหารือกันในหลักการ ทุกคนคงจะไม่ขดั ข้อง"
จากแนวความคิดนี้ ประกอบกับความเห็นของครูที่แสดงออกทางสื่อมวลชน และอื่น ๆ ที่ลว้ นเรียกร้องให้มีวนั ครู เพื่อให้เป็ นวัน
แห่งการราลึกถึงความสาคัญของครูในฐานะที่เป็ นผูเ้ สียสละ ประกอบคุณงามความดี เพื่อประโยชน์ของชาติและประชาชนเป็ นอันมาก ใน
ปี เดียวกันที่ประชุมคุรุสภาสามัญประจาปี จึงได้พิจารณาเรื่องนี้ และมีมติเห็นควรให้มีวนั ครูเพื่อเสนอคณะกรรมการอานวยการต่อไป โดย
ได้เสนอหลักการว่า
เพื่อจะได้ประกอบพิธีระลึกถึงคุณบูรพาจารย์
ส่งเสริมสามัคคีธรรมระหว่างครู
เพื่อส่งเสริม ความเข้าใจอันดีระหว่างครูกบั ประชาชน
ในที่สุดคณะรัฐมนตรีได้มีมติเมื่อวันที่ 21 พฤศจิกายน 2499 ให้วนั ที่ 16 มกราคมของทุกปี เป็ น "วันครู " โดยถือเอาวันที่
ประกาศพระราชบัญญัติครูในราชกิจจานุ เบกษา เมื่อวันที่ 16 มกราคม พ.ศ. 2488 เป็ นวันครู และให้กระทรวงศึกษาธิการสัง่ การให้
นักเรียนและครูหยุดในวันดังกล่าวได้
วันครูได้จดั ให้มีขนครั
ึ้ ้งแรกเมื่อ 16 มกราคม พ.ศ. 2500 สืบเนื่ องมาจากการประกาศพระราชบัญญัติครูในราชกิจจานุ เบกษา
เมื่อ พ.ศ. 2488 ซึ่งระบุให้มีสภาในกระทรวงศึกษาธิการเรียกว่า คุรุสภา เป็ นนิ ติ บุคคล ให้ครูทุกคนเป็ นสมาชิกคุรุสภา โดยมีหน้าที่ใน
เรื่องของสถาบันวิชาชีพครู ในขณะเดียวกันก็ทาหน้าที่ให้ความเห็นเรื่องนโยบายการศึกษา และวิชาการศึกษาทัว่ ไปแก่
กระทรวงศึกษาธิการ ควบคุม จรรยา และวินัยของครู รักษาผลประโยชน์ ส่งเสริมฐานะของครู จัดสวัสดิการให้ครู และครอบครัว ได้รบั
ความช่วยเหลือตามสมควร ส่งเสริมความรูแ้ ละความสามัคคีของครู
พิธีไหว้ครู เป็ นพิธีกรรมที่เป็ นประเพณี ของไทยที่นิยมปฏิบตั ิมาแต่สมัยโบราณ แสดงถึงความระลึกถึงบุญคุณของ ครู การไหว้ครู
เป็ นการแสดงตนว่าขอเป็ นศิษย์ของท่านโดยตรง
การไหว้ครูมีใช้ในหลายกิจกรรม เช่น การไหว้ครูในโรงเรียน พิธี กรรมของโรงเรียนใน วันครู การไหว้ครูมวย เป็ นการไหว้ครูดว้ ย
ลีลาของศิลปะมวยไทย เช่นเดียวกับกระบี่กระบอง การไหว้ครู ก่อนการแสดงศิลปะดนตรี เช่น หนังตะลุง และการไหว้ครูในงานประพันธ์
เรียกว่า บทไหว้ครู หรือ อาเศียรวาท (อาเศียรพาท ก็ว่า) เป็ นการกล่าวระลึกถึงบุญคุณครู และขอความเป็ นมงคล
10

พิธีไหว้ครูในโรงเรียน
โดยปรกติสถานศึกษามักจัดพิธีไหว้ครูขนในวั
ึ้ นพฤหัสบดีวนั ใดวันหนึ่ งในราวเดือนพฤษภาคมหรือเดือนมิถุนายน
ความหมายของดอกไม้ตา่ ง ๆ ที่นิยมใช้ในการไหว้ครู
ดอกมะเขือ เป็ นดอกที่โน้มตา่ ลงมาเสมอ ไม่ได้เป็ นดอกที่ชูขนึ้ คนโบราณจึงกาหนดให้เป็ นดอกไม้
สาหรับไหว้ครู ไม่ว่าจะเป็ นครูดนตรี ครูมวย ครูสอนหนังสือ ก็ให้ใช้ดอกมะเขือนี้ เพื่อศิษย์จะได้อ่อนน้อมถ่อมตน
พร้อมที่จะเรียนวิชาความรูต้ ่าง ๆ นอกจากนี้ มะเขือยังมีเมล็ดมาก ไปงอกงามได้ง่ายในทุกที่ เช่นเดียวกับ หญ้า
แพรก
หญ้าแพรก เป็ นหญ้าที่เจริญงอกงาม แพร่กระจายพันธ์ ไปได้อย่างรวดเร็วมาก หญ้าแพรกดอกมะเขือจึง
มีความหมายซ่อนเร้นอยู่ คนโบราณจึงถือเอาเป็ นเคล็ดว่า ถ้าใช้หญ้าแพรกดอกมะเขือไหว้ครูแล้ว สติปัญญาของ
เด็กจะเจริญงอกงามเหมือนหญ้าแพรกและ ดอกมะเขือนัน่ เอง
ข้าวตอก เนื่ องจากข้าวตอกเกิดจากข้าวเปลือกที่ควั ่ ด้วยไฟอ่อนๆ ให้รอ้ นเสมอ กันจนถึงจุดหนึ่ งที่ เนื้ อ
ข้างในขยายออก จนดันเปลือกให้แยกออกจากกัน ได้ขา้ วสีขาวที่ขยายเม็ดออกบาน สามารถนาไ ปประกอบ
พิธีกรรมหรือทาขนมต่าง ๆ ได้ ข้าวตอกจึงเป็ นสัญลักษณ์ของความมีระเบียบวินัย หากใครสามารถทาตาม
กฎระเบียบ เอาชนะความซุกซนและความเกียจคร้านของตัวเองได้ ก็จะเหมือนข้าวตอกสีขาวที่ถูกคัว่ ออกจาก
ข้าวเปลือก
ดอกเข็ม เพราะดอกเข็มนั้นมีปลายแหลม สติปัญญาจะได้แหลมคมเหมือนดอกเข็ม และก็อาจเป็ นได้ว่า
เกสรดอกเข็มมีรสหวาน การใช้ดอกเข็มไหว้ครู วิชาความรูจ้ ะให้ประโยชน์กบั ชีวิต ทาให้ชีวิตมีความสดชื่นเหมือน
รสหวานของดอกเข็ม
หน้าที่และความรับผิดชอบของครู
ความหมายของ หน้าที่ ความรับผิดชอบ และ หน้าที่และความรับผิดชอบของครู
Collins cobuild Dictionary English Language (1987 : 442, 1574)
ความหมายของหน้าที่ (Duty) ว่า หน้าที่คือ ภารกิจที่ตอ้ งกระทา เพราะว่า หน้าที่น้ันเป็ นส่วนหนึ่ งของงานตามตาแหน่ งที่ได้รบั
มอบหมายหรือคาดหวังในสังคม
ความรับผิดชอบ (Responsibility) เป็ นภาวะผูกพันที่มีในแต่ละบุคคลอันเนื่ องมาจากงานหรือตาแหน่ งหน้าที่
อาจสรุปความหมายของ หน้าที่ ความรับผิดชอบ และ หน้าที่และความรับผิดชอบของครูได้ดงั นี้
หน้าที่ หมายถึง กิจที่ตอ้ งกระทาหรือกิจที่พึงกระทา อาจจะเป็ นการกระทาตามกฎหมาย จริยธรรม สามัญสานึ ก หรือข้อตกลง
ใดๆก็ได้
ความรับผิดชอบ หมายถึง ภาระหรือความผูกพันต่อผลที่เกิดจากการปฏิบตั ิหน้าที่หรือการกระทาต่างๆ ไม่ว่าจะเป็ นผลดีหรือ
ผลเสียหายก็ตาม ความรับผิดชอบเป็ นความผูกพันที่ทาให้บุคคลพยายามปฏิบตั ิหน้าที่ของตนให้สาเร็จ ทั้งยังเป็ นความผูกพันที่ทาให้
บุคคลไม่ประพฤติผิดต่อกฎเกณฑ์หรือระเบียบใดๆ อีกด้วย ความรับผิดชอบนั้นแสดงให้เห็นในลักษณะของการปฏิบตั ิหน้าที่อย่างเสมอ ไม่
หลีกเลี่ยงและปฏิบตั ิภารกิจทันเวลาที่กาหนด
หน้าที่ความรับผิดชอบของครู หมายถึง กิจที่ครูตอ้ งกระทาให้ได้ผลดีโดยสมา่ เสมอการกระทาของครูเพื่อให้ผลดีได้น้ันต้อง
อาศัยพื้ นฐานของกฎระเบียบ แบบธรรมเนี ยม จริยธรรม จรรยาบรรณและคุณธรรมเป็ นปั จจัยสาคัญด้วย
อาจกล่าวได้ว่าความรับผิดชอบในหน้าที่ของครูเป็ นพฤติกรรมที่พึงประสงค์ของครูที่สงั คมคาดหวังเป็ นภารกิจที่สงั คมมอบหมาย
ให้ผปู้ ระกอบวิชาชีพครูกระทา และเป็ นพันธกิจผูเ้ ป็ นครูมอบให้กบั สังคม
หน้าที่ของครูในแง่คณ ุ ลักษณะที่ประสงค์น้ัน รัญจวน อินทรกาแหง (2529:27) สรุปไว้ดงั นี้
1. ครูเป็ นผูท้ ี่สามารถให้ทางแห่งความรอดแก่ศิษย์ ความรอดมีอยูส่ องทาง คือ ทางรอดทางกายและทางรอดทางใจ
2. ครูตอ้ งสามารถดารงความเป็ นครูอยูไ่ ด้ทุกอิริยาบถ
3. ครูตอ้ งสามารถเป็ นตัวอย่างตามกาสอนแก่ศิษย์ สอนอย่างไรทาอย่างนั้น
การพิจารณาหน้าที่และความรับผิดชอบในเชิงของกฎระเบียบข้อบังคับที่ค่อนข้างเป็ นลายลักษณ์อกั ษรหรือบทบัญญัติต่างๆ เป็ น
ลักษณะที่ค่อนข้างบังคับว่าครูตอ้ งกระทากิจเหล่านั้น ส่วนการพิจารณาหน้าที่และความรับผิดชอบของครูในอีกด้านหนึ่ งนั้นก็เป็ นการ
พิจารณาหน้าที่ของครูในเชิงคุณลักษณะที่พึงประสงค์ที่เป็ นไปตามแบบธรรมเนี ยมปฏิบตั ิมีลกั ษณะเป็ นวัฒนธรรมและจารีตประเพณี
11

ลักษณะของหน้าที่และความรับผิดชอบของครู
หน้าที่ความรับผิดชอบของครูมี 2 ลักษณะดังนี้
1. หน้าที่และความรับผิดชอบของครูในเชิงระเบียบปฏิบตั ิหรือกฎหมายกาหนด
หน้าที่ความรับผิดชอบของครูในเชิงระเบียบปฏิบั ติอาจพิจารณาได้จากระเบียบปฏิบตั ิทางราชการต่างๆ ที่กาหนดขึ้ นและได้
ประกาศใช้โดยหน่ วยงานของราชการของรัฐ เช่น ระเบียบคุรุสภาว่าด้วย จรรยาบรรณครู พ .ศ. 2539 ประกาศจรรยาบรรณครูของ
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ หรือระเบียบคุรุสภาว่าด้วยวินัยและการรักษาวินัยต่ างๆ
หน้าที่และความรับผิดชอบของครูในเชิงระเบียบปฏิบตั ิต่อบุคคลต่างๆ ที่ผปู้ ระกอบวิชาชีพครูตอ้ งสัมพันธ์ดว้ ยนั้น อาจแบ่งเป็ น 3
กลุ่มคือ หน้าที่ความรับผิดชอบของครูต่อศิษย์ ต่อสถาบันวิชาชีพครูอนั ได้แก่ เพื่อนครูและสถานศึกษา และหน้าที่ความรับผิดชอบของครู
ต่อสังคมอันได้แก่ ผูป้ กครองนักเรียนและชุมชน หน้าที่ความรับผิดชอบของครูในเชิงระเบียบปฏิบตั ิหรือกฎหมายกาหนดมีดงั นี้
1.1 หน้าที่และความรับผิดชอบของครูตอ่ ศิษย์เป็ นหน้าที่ความรับผิดชอบที่สาคัญเป็ นอันดับแรก อาจสรุปหน้าที่ของครูต่อ
ศิษย์ได้ดงั นี้
1.1.1 ตั้งใจสัง่ สอนศิษย์และปฏิบตั ิหน้าที่ให้เกิดผลดีดว้ ยความเอาใจใส่
1.1.2 อุทิศเวลาของตนให้แก่ศิษย์ จะละทิ้ งหรือทอดทิ้ งหน้าที่การงานมิได้
1.1.3 ถ่ายทอดวิชาความรูโ้ ดยไม่บิดเบือนและปิ ดบังอาพราง ไม่นาหรือยอมให้นาผลงานทางวิชาการของตนไปใช้ในทางทุจริต
หรือเป็ นภัยต่อศิษย์
1.1.4 สุภาพเรียบร้อย ประพฤติตนเป็ นแบบอย่างที่ดีแก่ศิษย์
1.1.5 รักษาความลับของศิษย์
1.1.6 ครูตอ้ งรักและเมตตาศิษย์โดยให้ความเอาใจใส่ช่วยเหลือส่งเสริมให้กาลังใจในการศึกษาเล่าเรียนแก่ศิษย์โดยเสมอหน้า
1.1.7 ครูตอ้ งอบรม สัง่ สอน ฝึ กฝน สร้างเสริมความรู้ ทักษะและนิ สยั ที่ถูกต้องดี งามให้เกิดแก่ศิษย์อย่างเต็มความสามารถ ด้วย
ความบริสุทธิ์ใจ
1.1.8 ครูตอ้ งประพฤติ ปฏิบตั ิเป็ นแบบอย่างที่ดีแก่ศิษย์ท้งั ทางกาย วาจาและจิตใจ
1.1.9 ครูตอ้ งไม่กระทาตนเป็ นปฏิปักษ์ต่อความเจริญทางกาย สติปัญญา จิตใจ อารมณ์และสังคมของศิษย์
1.1.10 ครูตอ้ งไม่แสวงหาประโยชน์อนั เป็ นอามิสสินจ้างจากศิษย์ในการปฏิบตั ิหน้าที่ตามปกติ และไม่ใช้ให้ศิษย์กระทาการใดๆ
อันเป็ นการหาประโยชน์ให้แก่ตนโดยมิชอบ
1.2 หน้าที่และความรับผิดชอบของครูตอ่ สถาบันวิชาชีพครูอนั ได้แก่ ตนเองเพื่อนครูและสถานศึกษา
ในการประกอบวิชาชีพครู โดยทัว่ ไปจะเป็ นการทางานเป็ นทีมในสถานศึกษาที่
จัดตั้งขึ้ น ฉะนั้นหน้าที่และความรับผิดชอบของครูจะต้องมีต่อตนเอง และเพื่อนร่วมงาน
ทั้งในระดับผูบ้ งั คับบัญชา และบุคลากรอื่นๆ ในสถานศึกษา ซึ่งอาจจะแยกแยะได้ดงั นี้
1.2.1 ครูพึงช่วยเหลือเกื้ อกูลครูดว้ ยกันในทางสร้างสรรค์ เช่น การแนะนาแหล่ง
วิทยาการให้กนั แลกเปลี่ยนประสบการณ์ทางวิชาชีพซึ่งกันและกัน
1.2.2 รักษาความสามัคคีระหว่างครู และช่วยเหลือซึ่งกันและกันในหน้าที่การ
งาน ไม่แบ่งพรรคแบ่งพวกคิดทาลายกลัน่ แกล้งซึ่งกันและกัน เต็มใจช่วยเหลือเมื่อเพื่อน
ครูขอความช่วยเหลือ เช่น เป็ นวิทยากรให้แก่กนั ช่วยงานเวรหรืองานพิเศษซึ่งกันและกัน
1.2.3 ไม่แอบอ้างหรือนาผลงานทางวิชาการของเพื่อนครูมาเป็ นของตนทั้งยังต้องช่วยเหลือให้เพื่อนครูอื่นๆ ได้สร้างสรรค์งาน
วิชาการอย่างเต็มความสามารถด้วย
1.2.4 ประพฤติตนด้วยความสุภาพ อ่อนน้อมถ่อมตน และให้เกียรติซึ่งกันและกันไม่ว่าจะสังกัดหน่ วยงานใด
1.2.5 ปฏิบตั ิตามระเบียบ และแบบธรรมเนี ยมอันดีงามของสถานศึกษา ปฏิบตั ิตามคาสัง่ ของผูบ้ งั คับบัญชาซึ่งสัง่ โดยชอบด้วย
กฎหมาย และระเบียบแบบแผนของสถานศึกษา
1.2.6 รักษาชื่อเสียงของตนไม่ให้ขนชื ึ้ ่อว่าประพฤติชวั ่ ไม่กระทาการใดๆ อันอาจทาให้เสื่อมเสียเกียรติศกั ดิ์และชื่อเสียงของครู
1.2.7 ประพฤติตนอยูใ่ นความซื่อสัตย์สุจริต และปฏิบตั ิหน้าที่ดว้ ยความเที่ยงธรรม ไม่แสวงหาประโยชน์สาหรับตนเองหรือผูอ้ ื่น
โดยมิชอบ
1.2.8 ครูยอ่ มพัฒนาตนเองทั้งในด้านวิชาชีพ บุคลิกภาพ และวิสยั ทัศน์ให้ทนั ต่อการพัฒ นาทางวิชาการ เศรษฐกิจ สังคม และ
การเมืองอยูเ่ สมอ
12

1.2.9 ครูยอ่ มรักและศรัทธาในวิชาชีพครูและเป็ นสมาชิกที่ดีขององค์กรวิชาชีพ


1.3 หน้าที่และความรับผิดชอบของครูตอ่ สังคมอันได้แก่ ผูป้ กครองนักเรียนและชุมชน
หน้าที่ความรับผิดชอบของครูน้ันย่อมอยูท่ ี่ศิษย์เป็ นเป้าหมายสาคัญ แต่การสร้างเสริมศิษย์น้ันยังมีปัจจัยที่เกี่ยวอย่างอื่นด้วยคือ
ผูป้ กครองนักเรียนและชุมชน ครูจึงต้องมีหน้าที่และรับผิดชอบต่อสถาบันทั้งสองนั้นด้วยซึ่งอาจแยกแยะ ได้ดงั นี้
1.3.1 ครูตอ้ งเลื่อมใสการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยเ์ ป็ นประมุขด้วยความบริ สุทธิ์ใจ
1.3.2 ครูตอ้ งยึดมัน่ ในศาสนาที่ตนนับถือและไม่ดหู มิ่นศาสนาอื่น
1.3.3 ครูตอ้ งให้ความร่วมมือกับผูป้ กครองในการอบรมสัง่ สอนศิษย์อย่างใกล้ชิดตลอดจนการร่วมแก้ปัญหาของศิษย์ทุกๆ ด้าน
ทั้งด้านการศึกษาเล่าเรียน ความประพฤติ สุขภาพพลานามัย ปั ญหาทางจิตใจ ฯลฯ
1.3.4 ครูตอ้ งให้คาปรึกษาหารือและแนะนาผูป้ กครองในการอบรมเลี้ ยงดูเด็กในปกครองอย่างใกล้ชิด ตลอดจนแนะแนว
การศึกษาต่อและการเลือกอาชีพของศิษย์
1.3.5 ครูตอ้ งรายงานข้อมูลต่างๆ ของศิษย์ให้ผปู้ กครองทราบสมา่ เสมอและถูกต้องไม่บิดเบือน
1.3.6 ครูพึงให้ความช่วยเหลือเกื้ อกูลผูป้ กครองและชุมชนในทางสร้างสรรค์ตามความเหมาะสม
1.3.7 ครูพึงประพฤติเป็ นผูน้ าในการอนุ รกั ษ์สภาพแวดล้อมและศิลปวัฒนธรรมของชุมชน
1.3.8 ครูพึงร่วมพัฒนาชุมชนทุกๆ ด้าน ช่วยให้ขอ้ มูลข่าวสารและความรูใ้ หม่ๆ ในการดาเนิ นชีวิตแก่สมาชิกทุกคนในชุมชน
2. หน้าที่และความรับผิดชอบของครูในเชิงจารีตและแบบธรรมเนียม
หน้าที่และความรับผิดชอบของครูในเชิงจารีตและแบบธรรมเนี ยมนี้ เป็ น
หน้าที่ที่สงั คมคาดหวังให้ครูปฏิบตั ิ เป็ นสานึ กที่สืบทอดกันมาในสังคมไทย ดังจะศึกษา
ได้จาก ความเป็ นครูสถิตในหทัยราช ซึ่งเป็ นผลงานการศึกษาค้นคว้าของ เรืองวิทย์
ลิมปนาท (2538 : 23-38) ในบทที่ว่าด้วย แนวพระราชดาริดา้ นการศึกษาและความ
เป็ นครู ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ภูมิพลอดุลยเดช จะเห็นได้ว่าพระบรม
ราโชวาทในวาระและในโอกาสต่างๆนั้น พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ทรงตรัสถึง
บทบ าทหน้าที่ของครูในเชิงจารีตและแบบธรรมเนี ยมสอดแทรกไว้ดว้ ยเสมอๆ
ตัวอย่างเช่น พระบรมราโชวาทแก่คณะครู นักเรียนโรงเรียนไกลกังวล เมื่อวันที่ 7 มิถุนายน 2521 ตอนหนึ่ งว่า
“...สาหรับครูน้นั ก็จะต้องทาตัวให้เป็ นที่รกั เป็ นที่เคารพ เป็ นที่เชื่อถือของนักเรียนเหมือนกัน ข้อแรก ต้องฝึ กฝนตนเอง
ให้แตกฉานและแม่นยาชานาญทั้งในวิชาความรูแ้ ละวิธีสอน เพื่อสามารถสอนวิชาทั้งปวงได้โดยถูกต้อง กระจ่างชัดและครบถ้วน
สมบู รณ์ อีกข้อหนึ่ง ต้องทาตัวให้ดี คือ ต้องมีและต้องแสดงความเมตตากรุณา ความซื่อสัตย์สุจริต ความสุภาพ ความเข้มแข็ง
และอดทนให้ปรากฏชัดเจนเคยชินเป็ นปรกติวิสยั เด็กๆ จะได้เห็นได้เข้าใจในคุณค่าของความรูใ้ นความดี และในตัวครูเองอย่าง
ซาบซึ้ งและยึดถือเอาเป็ นแบบอย่าง ภารกิจของครู คือ การให้การศึกษาก็จะได้บรรลุตามที่มุ่งหวังกันอยู…่ ”
นอกจากพิจารณาจากพระบรมราโชวาทต่างๆแล้ว อาจพิจารณาหน้าที่ และความรับผิดชอบของครูในเชิงจารีตและแบบธรรม
เนี ยมได้จากคาสอนในหมวดธรรมเรื่อง การอนุ เคราะห์ศิษย์5 ประการ ซึ่งวงการครูไทยยึดเป็ นแบบปฏิบตั ิสืบต่อกันมาช้านานดังนี้
2.1 แนะนาสั ่งสอนดี ครูยอ่ มมีหน้าที่ในการแนะนาสัง่ สอนวิทยาการต่างๆ โดยต้องรับผิดชอบด้วยการสัง่ สอนดี ได้แก่ สอนให้
ชัดเจนไม่คลุมเครือ สอนได้ชดั เจนหรือให้เป็ นรูปธรรม สอนให้เกิดความกระตือรือร้นที่จะเล่าเรียนโดยมีกาลังใจและมัน่ ใจที่จะเรียนและ
สอนให้สนุ กให้ศิษย์เรียนได้อย่างไม่เบื่อหน่ ายหรือสรุปสั้นๆว่า ว่า ชี้ ให้ชดั ชวนปฏิบตั ิลงมือ กระตือรือร้นมั ่นใจ แจ่มใสสนุก
2.2 ให้การศึกษาเล่าเรียนดี ครูตอ้ งเป็ นผูจ้ ดั สถานการณ์ เพื่อให้ศิษย์ได้ศึกษาเล่าเรียนได้ดี ได้แก่ การจัดสภาพแวดล้อมที่
ส่งเสริมการเรียนรู้ การจัดกิจกรรมเพื่อเสริมสร้างประสบการ ณ์ดา้ นต่างๆ ให้ศิษย์ ตลอดจนการใช้สื่อการเรียนการสอนที่ช่วยให้ศิษย์
ศึกษาเล่าเรียนได้ดี
2.3 บอกศิลปะให้สิ้นเชิงไม่ปิดบังอาพราง ครูตอ้ งรับผิดชอบในศิลปะวิทยาการที่ตนสอน ต้องสอนในสิ่งที่ถูกต้อง มีความ
บริสุทธิ์ใจในการอบรมสัง่ สอนไม่บิดเบือนวิชาการ
2.4 ยกย่องให้ปร ากฏในหมู่เพื่อน ครูตอ้ งช่วยเร้าหรือเสริมกาลังใจให้แก่ศิษย์ในการศึกษาเล่าเรียน ศิษย์แต่ละคนย่อมมี
ความสามารถและความถนัดในบางด้าน ครูตอ้ งช่วยส่งเสริมความสามารถพิเศษนั้นให้โดดเด่นยิง่ ขึ้ น ครูตอ้ งไม่ทาลายความภาคภูมิใจใน
ตนเองของศิษย์
13

2.5 ป้องกันภัยในทิศทั้งหลาย ครูมีหน้าที่ป้องกันศิษย์โดยการแนะนาสัง่ สอนให้รจู้ กั คุณและโทษทางสิ่งต่างๆ ในชีวิต ป้องกัน


ศิษย์ไม่ให้ตกไปในทางอุบายทุกอย่าง ซึ่งอาจทาได้ท้งั การประพฤติตนเป็ นแบบอย่าง ไม่ชกั จูงไปในทางเสื่อม คอยดูและให้ห่างไกลจากภัย
ทั้งหลาย
หน้าที่และความรับผิดชอบที่พึงประสงค์ของครู
อาจวิเคราะห์หน้าที่ของครูจากระเบียบปฏิบตั ิราชการ การศึกษาสัมมนา และการวิจยั เกี่ยวกับหน้าที่และความรับผิดชอบของครู
ตามลักษณะงานครู หน้าที่ความรับผิดชอบของครุจากงานวิจยั ต่างๆ ดังเช่น เฉลียว บุรีภกั ดีและคณะ (2520 : 235-240) วิจยั เรื่อง
ลักษณะของครูที่ดีและสรุปได้ว่า ครูที่ดีจะต้องมีหน้าที่และความรับผิดชอบ ดังต่อไปนี้
1. หมัน่ อบรมเด็กอยูเ่ สมอ
2. ตั้งใจสอน รักการสอน
3. จัดการปกครองให้เป็ นที่เรียบร้อย
4. เตรียมการสอน และทาการบันทึกการสอน
5. หมัน่ วัดผลและติดตามผลการเรียน
6. รับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รบั มอบหมาย
7. ช่วยให้คาแนะนาแก่เด็กด้วยความเต็มใจ
8. สอนให้เด็กเป็ นประชาธิปไตย
9. ทาบัญชีรายชื่อ และสมุดประจาชั้น
10. ดูแลบารุงรักษาห้องเรียนและอาคารสถานที่
11. เกี่ยวกับการสอน การอบรม การวัดผล
12. เกี่ยวกับธรุการและระเบียบวินัย
13. ค้นคว้าเพิ่มเติมและหาความรูใ้ หม่ๆ มาสอน
14. สอนให้เด็กเป็ นคนดี
15. หมัน่ หาความรูแ้ ละวิธีการหาความรู้
16. เป็ นตัวอย่างแก่เด็ก
17. จัดการแนะแนวที่ดีแก่เด็ก
18. ช่วยงานสารบรรณและธุรการโรงเรียน
19. เอาใจใส่เด็ก
20. บริการโรงเรียน
21. เป็ นครูประจาชั้น
22. ทาระเบียบและสมุดรายงานนักเรียน
23. มีมนุ ษย์สมั พันธ์ที่ดี
24. ร่วมกิจกรรมชุมชน
25. สอนให้เข้าใจแจ่มแจ้ง
26. เอาใจใส่และพยายามเข้าใจปั ญหาและความต้องการของเด็ก
27. ช่วยประชาสัมพันธ์กิจการของโรงเรียนได้ดี
จากหน้าที่และความรับผิดชอบของครูดงั กล่าวแล้วนัน่ อาจสรุปเป็ นข้อสาคัญ โดยเทียบกับพยัญชนะ จากคาว่า TEACHERS ซึ่งใน
ที่นี่ สรุปได้ดงั นี้
T = Teaching and Training การสัง่ สอนและการฝึ กฝนวิทยาการ
E = Ethics Instruction การอบรมคุณธรรมและจริยธรรม
A = Action Research การวิจยั และการศึกษาค้นคว้า
C = Cultural Heritage การถ่ายทอดวัฒนธรรม
H = Human Relationship การสร้างมนุ ษย์สมั พันธ์
E = Extra Jobs การปฏิบตั ิงานที่พิเศษต่างๆ
14

R = Reporting and Counseling การรายงานผลนักเรียนและการแนะแนว


S = Student Activities การจัดกิจกรรมนักเรียน

หน้าที่ในการสั ่งสอนและฝึ กฝนวิทยาการ (Teaching and Training) ภารกิจประการแรกสุดและสาคัญที่สุดของผูป้ ระกอบ


วิชาชีพครูคือการสัง่ สอนวิชาความรูแ้ ละการฝึ กฝนวิทยาการให้กบั ศิษย์ ไม่ว่าหลักสูตรหรือปรัชญาการศึกษาจะเปลี่ยนแปลงไปอย่างไรผู้
เป็ นครูก็จะต้องมีหน้าที่และความรับผิดชอบในการจัดการศึกษาเล่าเรียน คุณภาพที่เด่นที่สุดของครูก็คือการสอน ครูที่สอนดีคือครูที่รวู้ ิธี
ฝึ กฝนศิษย์ให้มีความรูค้ วามเข้าใจวิชาที่เรียน การสอนของครูในยุคโลกาภิวตั น์
รุง่ แก้วแดง (2541 : 140-146) เสนอกระบวนการสอนไว้ 10 ขัน้ ตอน ดังนี้
1. ศึกษารวบรวมข้อมูลของผูเ้ รียนเป็ นรายบุคคล ครูตอ้ งศึกษาวิเคราะห์วิจยั เพื่อ
ทาความรูจ้ กั กับผูเ้ รียนเป็ นรายบุคคล ดูพฒ
ั นาการของเด็ก ดูขอ้ มูลภูมิหลังพื้ นความรู้
ความสามารถทางการเรียน และความต้องการของผูเ้ รียน
2. วิเคราะห์เพื่อค้นหาศักยภาพของผูเ้ รียน โดยใช้จิตวิทยาการเรียนรูห้ รือเทคนิ ค
พหุปัญญา (Multiple Intelligence) เพื่อดูว่าผูเ้ รียนมีศกั ยภาพทางปั ญญาด้านไหนมากน้อย
เท่าใด ครูก็จะสามารถช่วยเหลือแนะนาเพื่อจัดการศึกษาให้สอดคล้องกับศักยภาพและ
ความสามารถของผูเ้ รียนได้ การวิเคราะห์เช่นนี้ ครูจะสามารถช่วยทั้งผูเ้ รียนที่มีสติปัญญาสูง
โดยส่วนรวม หรือมีความพิ การเบื้ องต้น ด้านใดด้านหนึ่ งก็สามารถที่จะพัฒนาไปได้เต็มตาม
ศักยภาพ
3. ร่วมกับผูเ้ รียนในการสร้างวิสยั ทัศน์ ครูกระตุน้ ความต้องการของผูเ้ รียนได้โดยการช่วยเด็กสร้างวิสยั ทัศน์หรือความฝันที่จะ
ไปให้ไกลที่สุด เพื่อที่จะสร้างพลังและแรงจูงใจ
4. ร่วมวางแผนการเรียน การเรียนเป็ นสิทธิความรับผิดชอบของผูเ้ รียน หน้าที่ของครูก็คือเป็ นผูร้ ่วมวางแผน เป็ นผูใ้ ห้
คาแนะนาในฐานะผูม้ ีความรูแ้ ละความเชี่ยวชาญมีประสบการณ์มากกว่า แต่การวางแผนการเรียนจริงๆ นั้นต้องเป็ นเรื่องของผูเ้ รียน เพื่อ
ปลูกฝังให้เด็กรูจ้ กั การเรียนรูต้ ลอดชีวิตด้วย
5. แนะนาช่วยเหลือเรื่องการเรียน เป็ นขัน้ ตอนที่จะเข้ามาทดแทนขัน้ ตอนการสอนเดิม คือแทนที่ครูจะบอกเนื้ อหาให้แบบเดิม
ครูก็เพียงแต่แนะนาเนื้ อหาบางส่วนและวิธีการเรียนให้ผเู้ รียน
6. สรรหาและสนับสนุนสื่ออุปกรณ์ ครูเป็ นผูส้ นับสนุ นสรรหาสื่อและอุปกรณ์ต่างๆ จัดหาเทคโนโลยี ทางการศึกษาที่ใช้
ประกอบการเรียน เพื่อให้ผเู้ รียนสามารถเรียนด้วยตนเองได้
7. ให้ผเู ้ รียนสร้างความรูเ้ อง เป็ นขัน้ ตอนที่สาคัญที่สุดคือ ผูเ้ รียนสร้างความรูด้ ว้ ยตนเอง ขัน้ ตอนนี้ อาจเป็ นเรื่องยากและเรื่อง
ใหม่สาหรับครู เพราะครูที่คุน้ อยูก่ บั การสอนแบบเดิมจะไม่อดทนที่ จะปล่อยให้ผเู้ รียนเรียนรูด้ ว้ ยตนเอง และจะหันกลับไปใช้วิธีบอกให้จา
อย่างเดิม
8. เสริมพลังและสร้างกาลังใจ หน้าที่ของครูอีกอย่างหนึ่ งก็คือ ต้องเสริม พลังแก่ผเู้ รียน อธิบายหรือแนะนาเพื่อให้ ผูเ้ รียนมี
ความตั้งใจที่จะเรียนต่อไป ครูตอ้ งใช้ทุกวิธีที่จะกระตุน้ เพื่อสร้างความสนใจให้เรียนต่อไปได้
9. ร่วมการประเมินผล หน้าที่ของครูในขัน้ ประเมินผลคือ จะไม่วดั ผลฝ่ ายเดียวแบบเดิม แต่ให้คาแนะนาเรื่องการวัดและ
ประเมินผล โดยให้ผเู้ รียนเป็ นผูป้ ระเมินผลการเรียนด้วยตนเอง เพื่อดูว่าสามารถเรียนได้สอดคล้องกับเป้าหมายที่ต้งั ไว้ในแผนมาก น้อย
เพียงใด ถ้าผูเ้ รียนยังไม่บรรลุผลตามที่วางไว้ก็จาเป็ นที่จะต้องกลับไปวางแผนและแก้ไขใหม่
10. เก็บรวบรวมข้อมูล ข้อมูลที่ได้จากการประเมินผลจะเป็ นข้อมูลย้อนกลับ เพื่อให้ผเู้ รียนนาไปใช้ในการปรับปรุงแก้ไขการ
เรียนต่อไป
ระบบการเรียนการสอนอย่างนี้ ใช้มากในต่างประเ ทศที่ได้ปฏิวตั ิให้ครูทาหน้าที่ผอู้ านวยความสะดวก และประสบความสาเร็จ
มาแล้ว ในวงการแพทย์ก็ใช้วิธีนี้ คือเป็ นระบบให้คนไข้ดแู ลตัวเองและพบว่าคนไข้ดแู ลตัวเองได้ดีกว่าที่แพทย์ทาให้ เพราะชีวิตเป็ นของ
คนไข้แพทย์เป็ นเพียงผูใ้ ห้คาแนะนาเรื่องการรักษา
ครูที่สอนตามกระบวนการดังกล่าวมานี้ จะมีภาพลักษณ์ที่เปลี่ยนไปจากเดิมอย่างหน้ามือเป็ นหลังมือ ภาพที่ครูยนื อยูห่ น้าชั้นใช้
เพียงชอล์กกับกระดานและบอกให้เด็กท่องจา จะกลายเป็ นอดีตไปอย่างสิ้ นเชิง ครูยุคใหม่จะมีบทบาทเป็ น “ผูอ้ านวยความสะดวก ”
(Facilitator) ผูใ้ ห้คาแนะนาและเสริมพลังแก่นักเรียน เพื่อให้ผเู้ รียนได้เรียนรูด้ ว้ ยตนเอง
15

การสอนเป็ นศาสตร์ที่มีกฎเกณฑ์ลาดับและระบบ ศาสตร์แห่งการสอนเป็ นวิทยาการที่ศึกษาเล่าเรียนและฝึ กฝนให้แกร่งกล้าได้


สาหรับ ศิลปะแห่งการสอนของครูไทย นั้น พระเทพวิสุทธิ (พุทธทาสภิกขุ 2529 :139-143) อธิบายไว้ในหัวข้อเรื่อง
องค์ประกอบเกี่ยวกับการสอน ดังนี้
1. สอนเท่าที่ควรสอน การสอนเพื่อบรรลุวตั ถุประสงค์ตามหลักสูตรนั้น ครูสามารถกาหนดเนื้ อหาสาระได้มากมาย ฉะนั้นใน
การสอนแต่ละครั้งครูตอ้ งกาหนดเนื้ อหาให้เหมาะสมกับวัย ความสนใจ ระยะเวลาในการสอนดังที่พระพุทธเจ้าเคยตรัสว่า “สิ่งที่ตถาคต
ตรัสรู้ เท่ากับใบไม้ท้งั ป่ า เอามาสอนพวกเธอนี้ เท่ากับใบไม้กามือเดียว” ตามนัยแห่งความหมายก็คือ ให้เรียนเท่าที่ควรเรียน นัน่ เอง
2. สอนอย่างชัดเจน ครูจะสอนเรื่องอะไร ก็ตอ้ งสอนอย่างชัดเจน บอกให้หมดว่าสิ่งนัน่ คืออะไร สิ่งนั้นเป็ นอย่างไร เปรียบเทียบ
ได้กบั สิ่งใด มีกี่อย่าง กี่ประเภท กี่ลกั ษณะ ไม่สอนให้ออกนอกเรื่อง
3. สอนอย่างมีเหตุผลอยูใ่ นตัว หมายความว่าคาสอนนั้นมีเหตุผลชัดเจน มีหลักเกณฑ์ มีคาอธิบายให้พอใจ
4. สอนชนะน้ าใจผูเ้ รียน หมายความว่า ต้องสอนให้ผเู้ รียนหมดปั ญหาหมดข้อสงสัย มีคาอธิบายที่ทาให้หมดแง่ที่จะคัดค้า น
หรือโต้เถียง ผูเ้ รียนยอมรับ หรือยอมปฏิบตั ิตามครู
5. สอนให้เกิดความร่าเริง หมายความว่าทั้งผูส้ อนและผูเ้ รียน สนุ กสนานในการศึกษาเล่าเรียน ไม่หงอยเหงาหรือไม่ใช่ทนฟั ง
ทนจา ทนท่อง ต้องสอนให้เกิดความพอใจ
6. สอนให้ผฟ ู ้ ั งเกิดความกล้าในการที่จะปฏิบตั ิตาม การสอนให้ เกิดความกล้า ยิง่ เรียนยิง่ กล้าอยากที่จะปฏิบตั ิตาม การเปิ ด
โอกาสให้ผเู้ รียนปฏิบตั ิจะส่งเสริมให้เกิดความรูส้ ึกได้ดว้ ยตนเอง
หน้าที่อบรมคุณธรรมและจริยธรรม (Ethics Instruction) ภารกิจ
สาคัญอีกประการที่สงั คมคาดหวังไว้ก็คือการอบรมจริยธรรมให้แก่ศิษย์ จริยธรรม
เป็ นสิ่ งที่ทาให้มนุ ษย์มีพฤติกรรมต่างจากสัตว์ ครูเป็ นผูอ้ บรมกติกาสังคม
กฎเกณฑ์ของสังคม ตลอดจนกิริยามารยาทที่สงั คมพึงประสงค์ให้ศิษย์ โดยทัว่ ไป
การอบรมจริยธรรมนั้นมีหลักการสาคัญคือ ครูตอ้ งสัง่ สอนสิ่งที่ควรกระทา สิ่งที่
ควรปฏิบตั ิให้ก่อน ให้เข้าใจวิธีการกระทาสิ่งต่างๆ ที่ ถูกที่ควร แล้วให้ศิษย์ได้
ปฏิบตั ิได้ฝึกฝนจนได้รบั รูผ้ ลจากการปฏิบตั ิดีตามนั้น ให้มีประสบการณ์ตรงว่าการ
ประพฤติดีน้ันทาให้มีความสุขได้
หน้าที่วิจยั และศึกษาค้นคว้า (Action Research) เพื่อบรรลุวตั ถุประสงค์ในการพัฒนาตัวศิษย์ ครูจึงมีหน้าที่ตอ้ งแสวงหา
คาตอบในสภาพการทางการศึกษาทุกๆ ด้านของนักเรียน ครูจึงต้องศึกษาค้นคว้าและวิจยั งานทุกด้านที่เกี่ยวกับห้องเรียน โรงเรียนและ
ตัวนักเรียนตลอดจนการแสวงหาความรูอ้ ย่างเป็ นระบบ และพัฒนาตนเองอยูเ่ สมอโดยการลงมือกระทา
หน้าที่ในการถ่ายทอดวัฒนธรรม (Cultural Heritage) สังคมคาดหวัง ใ ห้ครูเป็ นผูถ้ ่ายทอดวัฒนธรรมของสังคมให้กบั เยาวชน
ซึ่งเป็ นสมาชิกใหม่ของสังคมต่อจากพ่อแม่และครอบครัว หน้าที่ในการถ่ายทอดมรดกของสังคมนี้ ครอบคลุมทั้งการอนุ รกั ษ์วฒ ั นธรรมที่ดี
การส่งเสริมวัฒนธรรมที่ดี และ การพัฒนาวัฒนธรรม เช่น การสัมมาคารวะ ความมีน้ าใจเอื้ อเฟื้ อเผื่อแผ่ การใช้ภาษา กิริยามารยาททาง
สังคม ฯลฯ นอกจากนี้ ยังรวมถึงการรณรงค์สร้างสรรค์วฒ ั นธรรมที่ดีแก่สงั คม เช่น วัฒนธรรมทางการเมือง วัฒนธรรมทางการจราจร
การมีวินัยต่างๆ หน้าที่ในการถ่ายทอดวัฒนธรรมนี้ เป็ นงานสร้างสังคมหรือสร้างชาติของครูนัน่ เอง เกี่ยวข้องสัมพันธ์ กับบุคคลในสังคม
มากมายตั้งแต่นักเรียน ผูป้ กครอง เพื่อนครู ผูบ้ งั คับบัญชา บุคลากรในหน่ วยงาน บุคลากรในชุมชน และเจ้าหน้าที่ของรัฐในหน่ วยงาน
อื่นๆ ที่ตอ้ งเกี่ยวข้องด้วย ครูตอ้ งสร้างความสัมพันธ์อนั ดีกบั กลุ่มบุคคลดังกล่าวแต่ละกลุ่มเพื่อประโยชน์ของนักเรียนและสถานศึ กษา
หน้าที่การปฏิบตั ิงานพิเศษต่างๆ ขององค์กร (Extra Jobs) หน้าที่ของครูที่นอกเหนื อจากการสอน การอบรมและพัฒนาลูก
ศิษย์แล้ว ครูจานวนมากต้องมีงานบ างอย่างที่ผบู้ งั คับบัญชามอบหมาย เป็ นงานสนับสนุ นการศึกษา เช่น งานธุรการโรงเรียน งาน
บรรณารักษ์ งานปกครอง งานอาหารกลางวัน งานตามระเบียบราชการ การตรวจเวรยาม การทางานนอกสถานที่ ฯลฯ ซึ่งงานต่างๆ
เหล่านี้ บางลักษณะงานก็จาเป็ นต้องใช้ความสามารถพิเศษบางประการของครู ครูจึงจาเป็ นต้องศึกษา ฝึ กฝน ความ สามารถพิเศษ
บางอย่างไว้ดว้ ย เช่น งานคอมพิวเตอร์ ดนตรี ศิลปะ
หน้าที่ในการรายงานผลนักเรียนและการแนะแนว (Reporting and Counseling) ครูตอ้ งรายงานผลการพัฒนาของศิษย์ทุกๆ
ด้านต่อผูป้ กครองและผูบ้ งั คับบัญชาอย่างสมา่ เสมอครูตอ้ งมีความรูค้ วามเข้าใจและความสามารถในการวัด ผลและประเมินผลทั้งสามารถ
รายงานผลได้อย่างถูกต้องทั้งทางด้านการศึกษาเล่าเรียน ความประพฤติ สุขภาพอนามัย และลักษณะนิ สยั ของนักเรียน นอกจาก
การรายงานผลซึ่งเป็ นระเบียบปฏิบตั ิแล้ว ครูยงั ต้องเป็ นผูช้ ่วยร่วมแก้ไขและป้องกันไม่ให้ศิษย์ลม้ เหลวในการศึกษาและพัฒนาการด้าน
16

ต่างๆ โดยการเป็ นผูท้ ี่คอยให้คาแนะนาช่วยเหลือทั้งกับตัวศิษย์และผูป้ กครองด้วย ทั้งการรายงานผลและแนะแนวต้องทาสมา่ เสมอและ


ตรงเวลา
หน้าที่จดั กิจกรรมนักเรียน (Student Activities) ครูตอ้ งมีความรูค้ วามเข้าใจเกี่ยวกับพัฒนาการต่างๆ ของศิษย์ การจะพัฒนา
ให้ศิษย์มีประสบกา รณ์ที่เหมาะสมนั้น ครูตอ้ งเป็ นผูจ้ ดั สภาพการณ์หรือกิจกรรมให้เหมาะสมนัน่ เอง กิจกรรมนักเรียนที่ครูตอ้ งการจัดมี
ตั้งแต่กิจกรรมในชั้นเรียนที่เกี่ยวกับการเรียนการสอน กิจกรรมเสริมหลักสูตรเพื่อให้ศิษย์มีโอกาสนาสิ่งที่เรียนในห้องเรียนไปใช้ แล ะ
กิจกรรมนอกหลักสูตรเพื่อให้นักเรียนมีประสบการณ์ โลกทัศน์และวิสยั ทัศน์ที่กว้างขวางซึ่งจะช่วยให้อยูใ่ นสังคมได้อย่างมีความสาเร็จใน
ชีวิต
สรุปหน้าที่และความรับผิดชอบของครู
หน้าที่และความรับผิดชอบของครูมีหลายด้าน แต่กาหนดภารกิจเป็ นลักษณะงานได้ 8 ด้าน คือ
1. งานสัง่ สอนและฝึ กฝนวิทยาการ
2. งานอบรมคุณธรรมและจริยธรรม
3. งานวิจยั และศึกษาค้นคว้า
4. งานถ่ายทอดวัฒนธรรม
5. งานมนุ ษยสัมพันธ์
6. งานหน้าที่ปฏิบตั ิงานพิเศษต่างๆ
7. งานรายงานผลนักเรียนและการแนะแนว
8. งานกิจกรรมนักเรียน
คุณธรรมและจรรยาบรรณของครู
ความนา
วิชาชีพครูได้รบั การยกย่องและจัดเป็ นวิชาชีพชั้นสูงที่มีความจาเป็ นต่อสังคม เป็ นอาชีพที่ช่วยสร้างสรรค์จรรโลงสังคมให้ไปใน
ทิศทางที่ปรารถนา ฉะนั้นกลุ่มผูป้ ระกอบวิชาชีพครูจึงต้องมีความรับผิดชอบต่อสังคมในระดับสูงเช่นกัน ยิง่ สังคมยกย่องเคารพและ
ไว้วางใจผูป้ ระกอบวิชาชีพครูมากเท่าใด ผูป้ ระกอบวิชาชีพครูก็ตอ้ งประพฤติปฏิบตั ิตนให้เหมาะสมกับความเคารพเชื่อถือไว้วางใจเพียงนั้น
การกาหนดจรรณยาบรรณครูหรือจรรณยาวิชาชีพครูจึงเป็ นมาตรการหนึ่ งที่ใช้ควบคุมความประพฤติปฏิบตั ิตนของผูป้ ระกอบวิชาชีพครู
อาจกล่าวได้ว่าเป็ นการประกันคุณภาพของครูให้กบั สังคมประการหนึ่ งด้วย เป็ นการยืนยันกับสังคมว่าในวงการครูน้ันจะควบคุมสอดส่อง
ดูแลความประพฤติของกลุ่มครูดว้ ยกันตลอกเวลา มีการลงโทษทางกฎหมายและทางสังคม
การควบคุมความประพฤติหรือการปฏิบตั ิตนของครูน้ัน วิธีการที่ดีที่สุดคือการสร้างจิตสานึ กหรือการควบคุมทาง จิตใจ ครูมีจรรยาบรรณ
ย่อมมีคุณธรรมสูง คุณธรรมเป็ นมาตราวัดมาตรฐานความเป็ นครูของผูป้ ระกอบวิชาชีพครูที่สาคัญยิง่ ครูที่มีคุธรรมย่อมเป้นครูที่มี
จรรยาบรรณที่ดีนัน่ เอง
ความหมายของคุณธรรม จริยธรรม เละจรรยาบรรณ
คาว่าคุณธรรมและจริยธรรมนั้นเป็ นคาที่มีความหมายใกล้เคี ยงกัน ทั้งใน
วงการศึกษา สังคมวิทยา ปรัชญา และศาสนาทัว่ ๆไป อย่างไรก็ดีความหมายของ
คุณธรรมนั้นมักจะใช้ในลักษณะที่ครอบคลุมความหมายของจริยธรรมด้วยทั้งใน
ศัพท์ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ กล่าวคือจริยธรรมเป็ นการแสดงออกให้ผอู้ ื่นเห็น
คุณธรรมที่อยูภ่ ายในจิตใจของแต่ละบุคคลนัน่ เอง
ความหมายของคุณธรรม
คุณธรรม ตามรูปศัพท์แปลว่า สภาพของคุณงามความดี ซึ่ง พระปิ ฎก
(ป.อ.ปยุโต 2538 : 34) อธิบายความหมายไว้ว่า คุณธรรมคือ ธรรมที่เป็ นคุณ
ความดีงาม สภาพที่เกื้ อกูล
พระเทพวิสุทธิเมธี (พุทธทาสภิกขุ 2529 : 90) อธิบายไว้ว่าคุณธรรมหมายถึงคุณสมบัติฝ่ายดี เป็ นที่ต้งั หรือเป็ นประโยชน์แก่
สันติภาพหรือสันติสุข คุณธรรมเป็ นส่วนที่ตอ้ งอบรมโดยเฉพาะ หรือให้เกิดขึ้ นอย่างเหมาะสมกับที่ตอ้ งการ
17

คุณธรรม (Ethics) ตามแนวคิดในวงการการศึกษาตะวันตกนั้นมีลกั ษณะเป็ นสหวิทยาการ (Interdisciplines) คือเป็ นแนวคิด


ทั้งในลักษณะวิชาปรัชญา จิตวิทยา สังคมวิทยาและการศึกษาแนวความคิดของนักวิชาการตะวันตกค่อนข้างหลากหลายและมีพนที ื้ ่ของ
ศาสตร์การศึกษาที่แตกต่างกันค่อนข้างชัดเจน
ซามูเอล สตัมพ์ (Samul E.Stumpf 1977 : 3) อธิบายความหมายของคุณธรรมในเชิงวิชาปรัชญาว่า คุณธรรมเป็ นการ
ประพฤติปฏิบตั ิเกี่ยวข้องกับสิ่งที่เรียกว่าถูกหรือผิด ดีหรือเลว พึงประสงค์หรือไม่พึงประสงค์ มีคุณค่าหรือไร้ค่า นอกจากนี้ คุณธรร มยัง
เกี่ยวข้องกับความรับผิดชอบ หน้าที่ พฤติกรรมที่ยอมรับนับถือต่างๆของแต่ละบุคคลอีกด้วย อย่างไรก็ดี สตัมพ์อธิบายว่า ในเ รื่องทฤษฏี
คุณธรรมของลัทธิปรัชญานั้น จะไม่ใช้ตอบคาถามว่าคุณธรรมใดดีกว่า หรือถูกต้องกว่า
เบอร์ตนั พอร์ตเตอร์ (Burton F.Porter 1980 : 233) ชี้ แจงว่าคุณธรรมเป็ นปั จจัยการดารงชีวิตของบุคคลในสังคม คนส่วน
ใหญ่ดารงชีวิตในสังคมนั้นไม่ใช่แต่การมีชีวิตอยูเ่ พียงเท่านั้น แต่ตอ้ งประเมินและเลือกวิถีชีวิตที่แต่ละคนคิดว่าน่ าจะดีกว่าหรือควรดีกว่า
ปั จจัยในการเลือกนั้นย่อมเกี่ยวข้องกับระบบคุณธรรมทั้งระบบคุณธรรมของสังคมและส่วนบุคคล คุณธรรมของสังคมย่อมส่งผลกระทบต่อ
บุคคลด้วย อย่างไรก็ดีคุณธรรมของคนในสังคมหนึ่ งไม่จาเป็ นว่าจะต้องดีหรื อเป็ นสิ่งที่ถูกต้องในอีกสังคมหนึ่ งก็ได้
จากความหมายดังกล่าวนั้น อาจจะกล่าวได้ว่าคุณธรรมของครูคือ สภาพที่เกื้ อกุลครู
พระเทพวิสุทธิเมธี (พุทธธาตุภิกขุ 2529 : 91) อธิบายว่า คุณธรรม
ของครูคือสภาพของครูที่สมบูรณ์ดว้ ยสิทธิและหน้าที่ของครูนัน่ เอง
ความหมายของจริยธรรม
จริย แปลว่า กิริยา ความประพฤติ การปฏิบตั ิ ฉะนั้น จริยธรรม จึง
หมายถึงแนวทางการปฏิบตั ิสาหรับมนุ ษย์เพื่อให้บรรลุถึงสภาพชีวิตที่พึง
ประสงค์
พระเทพวิสุทธิเมธี (พุทธทาสภิกขุ 2529 : 215 ) อธิบายว่า
จริยธรรมหมายถึง ตัวของกฎที่ตอ้ งปฏิบตั ิ ส่วน จริยศาสตร์ คือเหตุผลสาหรับ
ใช้อธิบายกฎที่ตอ้ ปฏิบตั ิ มีลกั ษณ้เป็ นปรัชญา และเมื่อรวมทั้งสองส่วนเข้า
ด้วยกันจะเรียกว่า จริยศึกษา
พจนานุกรม Collin Coluild (1987 : 937) อธิบายว่าจริยธรรมมีความหมาย 2 นัยคือ
1. โดยนัยที่เป็ นภาวะทางจิตใจ (Idea) นั้น จริยธรรม แปลว่า ความคิดที่ว่าบางพฤติกรรมเป็ นสิ่งที่ถูกต้องและควรทาและเป็ น
ที่ยอมรับและบางพฤติกกรมเป็ นสิ่งที่ผิดหรือเลว ทั้งนี้ เป็ นไปได้โดยความคิดเห็นของแต่ละบุคคลและโดยความคิดเห็นของสังคม
นอกจากนี้ จริยธรรมยังเป็ นคุณภาพหรือสถานะในการดาเนิ นชีวิตอยูอ่ ย่างถูกต้อง
2. จริยธรรมเป็ นระบบของลักษณะการและคุณค่าที่เกี่ยวพันกับพฤติกรรมของคนส่วนใหญ่ ซึ่งโดยทัว่ ไปแล้วเป็ นทียอมรับ
ของสังคมหรือเฉพาะกลุ่มคน
จริยธรรม แปลว่า สิ่งที่เป็ นข้อประพฤติปฏิบตั ิ หรือกฎที่ควรปฏิบตั ิในทางที่ดี ที่ควรกระทาเพื่อให้เกิดสิ่งที่ดีหรือมีสนั ติสุขใน
สังคม ในการเทศนาสัง่ สอนของพระสงฆ์ในศาสนาพุธนั้นมีสองแบบคือเทศนาธรรม หมายถึงการบอกหรือการอธิบายข้อความต่างๆ ว่า
คืออะไร เป็ นอย่างไร มีประโยชน์หรือเป้าประสงค์อย่างไร ส่วนเทศนาจริยะ คือ การอบรมและการอธิบายสิ่งที่พึงกระทาหรือบอกถึงพฤติ
ปฏิบตั ิในทางที่ดี
ดวงเดือน พันธุมนาวิน (2524 : 3) อธิบายว่า จริยธรรม (Morality) หมายถึงลักษณะทางสังคมหลายลักษณะของมนุ ษย์
และมีขอบเขตรวมถึงพฤติกรรมทางสังคมลักษณะต่างๆ ด้วยลักษณะและพฤติกรรมที่เกี่ยวข้องกับจริยธรรม จะมีคุณสมบัติสองประเภท
คือ เป็ นลักษณะที่สงั คมต้องการกับลักษณะสังคมไม่ตอ้ งการ ให้มีอยูใ่ นตัวสมา ชิกของสังคมนั้นๆ พฤติกรรมที่สงั คมนิ ยมชมชอบ ให้การ
สนับสนุ น และผูก้ ระทาส่วนมากเกิดความพอใจว่าการกระทะนั้นเป็ นสิ่งที่ถูกต้องเหมาะสม ส่วนอีกพฤติกรรมที่สงั คมไม่นิยมหรือไม่ตอง
การให้สมาชิกมีอยูเ่ ป็ นการกระทาที่สงั คมลงโทษหรือพยายามจัดและผูก้ ระทาพฤติกรรมนั้นรูส้ ึกว่ าเป็ นสิ่งที่ไม่ถูกต้องและสมควร
ลักษณะเชิงจริยธรรมของมนุษย์น้ัน จาแนกได้หลายลักษณะ ได้แก่ ความรูเ้ ชิงจริยธรรม ทัศนคติเชิงจริยธรรม การใช้เหตุผล
เชิงจริยธรรม และพฤติกรรมเชิงจริยธรรมต่างๆ เป็ นต้น
ความรูเ้ ชิงจริยธรรม หมายความว่า ในสังคมของตนนั้นถือว่าการกระทาชนิ ดใดดีควรทา และการกระทาชนิ ดใดควรงดเว้น
ลักษณะพฤติกรรมประเภทใดเหมาะสมหรือไม่เหมาะสมเพียงใด ปริมาณความรูเ้ ชิงจริยธรรมหรือความรูเ้ กี่ยวกับค่านิ ยมทางสังคมนี้
ขึ้ นอยูก่ บั อายุ ระดับการศึกษาและพัฒนาการทางสติปัญญาของแต่ละบุคคลด้วย ความรูเ้ กี่ยวกับกฎเกณฑ์ทางสังคมและศาสนาส่วนใหญ่
18

ทัศนคติเชิงจริยธรรม คือ ความรูส้ ึกของบุคคลเกี่ยวกับลักษณะหรือพฤติกรรมเชิงจริยธรรมต่างๆ ว่าชอบหรือไม่ชอบลักษณะ


นั้นๆเพียงใด ทัศนคติเชิงจริยธรรมของบุคคลส่วนมากจะสอดคล้องกับค่านิ ยมในสังคมนั้น แต่บุคคลบางคนในสถานการณ์ปกติอาจมี
ทัศนคติแตกต่างไปจากค่านิ ยมของแต่ละบุคคล
เหตุผลเชิงจริยธรรม หมายถึงการที่บุคคลใช้เหตุผลในการเลือกที่จะกระทา หรือเลือกที่จะไม่กระทาพฤติกรรมอย่างใดอย่าง
หนึ่ ง เหตุผลที่จะกล่าวถึงนี้ จะแสดงให้เห็นเหตุจงู ใจหรือแรงจูงใจที่อยูเ่ บื้ องหลังการกระทาต่างๆของบุคคล
พฤติกรรมเชิงจริยธรรม หมายความถึงการที่บุคคลแสดงพฤติกรรมที่สงั คมนิ ยมชมชอบหรืองดเว้นการแสดงพฤติกรรมที่ฝ่าฝื น
กฎเกณฑ์หรือค่านิ ยมในสังคมนั้น ตัวอย่างพฤติกรรมเชิงจริยธรรมเช่น การให้ทาน การเสียสละเพื่อส่วนรวม และการช่วยเหลือผูต้ กทุกข์
ได้ยาก การโกงสิ่งของเงินทอง การลักขโมย การกล่าวเท็จเป็ นต้น พฤติกรรมจริยธรรมเป็ นพฤติกรรมที่สงั คมให้ความสาคัญมากกว่าด้าน
อื่นๆ ทั้งนี้ เพราะการกระทาในทางที่ดีและเลวของบุคคลนั้น ส่งผลกระทบโดยตรงต่อความผาสุกและความวุ่นวายของส่วนรวม
คุณธรรมกับจริยธรรมเป็ นเรื่องเดียวเกี่ยวพันกัน อาจกล่าวได้ว่า คุณธรรมเป็ นธรรมฝ่ ายดีที่อยู่ ภายในจิตใจของบุคคล การ
แสดงออกของคุณธรรมให้ประจักษ์น้ันเรียกว่าจริยธรรมนัน่ เอง
ส่วนคาว่า จริยศาสตร์ คือเหตุผลที่อธิบายสาหรับข้อหรือกฎที่ตอ้ งปฏิบตั ิเป็ นหลักเกณฑ์ทางวิชาปรัชญาที่เกี่ยวกับส่วนที่เรียกว่า
จริยธรรม
ความหมายของจรรยาบรรณ (Moral Codes)
เฟรด เฟลดแมน (Fred Feldman 1978 : 67) กล่าวว่าจรรยาบรรณคือ
กลุ่มของกฎกติกาที่สมบูรณ์ที่ครอบคลุมแนวประพฤติปฏิบตั ิ ในทุกๆสภาวการณ์
จรรยาบรรณ ตามรูปศัพท์น้ันคือ จรรยา กับ บรรณ คาว่า จริยา มี
ความหมายเช่นเดียวกับคาว่า จริย ซึ่งหมายถึง กริยาซึ่งควรปฏิบตั ิ สิ่งที่พึงปฏิบตั ิ
หรือว่าสิ่งที่ตอ้ งปฏิบตั ิ ในวงการวิชาชีพต่างๆ นั้นนิ ยมใช้คาว่า จรรยา ซึ่งแปลว่า
กิริยาที่ควรปฏิบตั ิในหมู่คณะ ส่วนคาว่า บรรณ แปลว่าหนังสือ เมื่อรวมคาขึ้ นใหม่
ว่า จรรยาบรรณ จึงหมายถึงความประพฤติที่ผปู้ ระกอบวิชาชีพต่างๆ กาหนดขึ้ น
เพื่อรักษาชื่อเสียงเกียรติคุณของวิชาชีพนั้นๆ โดยบัญญัติไว้เป็ นลายลักษณ์อกั ษร
จรรยาบรรณ จึงเป็ นกฎเกณฑ์ที่ตอ้ งปฏิบตั ิโดยกาหนดไว้เป็ นหนังสือที่ชดั เจน สาหรับเป็ นกติกาของหมู่คณะในวงการเดียวกัน
เป็ นกฎที่ทุกคนต้องปฏิบตั ิตาม หากฝ่ าฝื นก็จะถูกรังเกียจหรือต่อต้าน อันเป็ นการลงโทษท างสังคม สาหรับวิชาชีช้นั สูงหลายสาขาอาชีพ
มักมีกฎหมายรองรับด้วย ฉะนั้นเมื่อผูป้ ระกอบวิชาชีพคนใดผิดจรรยาบรรณ จึงถูกลงโทษตามกฎหมายด้วย
อาจสรุป ความเกี่ยวพันระหว่างคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณ ได้ว่า คุณธรรมเป็ นหลักเกณฑ์ฝ่ายดีที่เป็ นสานึ กที่
เกิดขึ้ นในจิตใจมนุ ษย์ ที่ได้รบั การอบรมสัง่ สอนแล้ว ส่วนจริยธรรมเป็ นกฎของการประพฤติปฏิบตั ิที่ถูกต้อง ที่ควรเป็ นที่ยอมรับ ส่วน
จรรยาบรรณนั้นเป็ นข้อกติกาเพื่อกาหนดให้เพื่อนสมาชิกในกลุ่มต้องประพฤติในสภาวการณ์ต่างๆนัน่ เอง
จรรยาบรรณวิชาชีพในอดีตกาล
พัฒนาการของจรรยาบรรณวิชาชีพนั้นมีมาตั้งแต่สงั คมมนุ ษย์ต้งั แต่อดีตกาลแล้ว ยิง่ อาชีพที่ตอ้ งใช้วิชาความรูท้ ี่เฉพาะเจาะจงใน
การประกอบการ ในอดีตนั้นมักจะถ่ายทอดกันทางสายเลือดเป็ นการถ่ายทอดให้กบั ทายาทหรือผูส้ ืบสกุล เช่น วิชาชีพปุโรหิต วิชาชีพ
แพทย์ วิชาชีพช่างบางแขนง เป็ นต้น
ตามความหมายที่ว่าจรรยาบรรณ คือกฎหรือข้อบังคับที่ควรปฏิบตั ิในหมู่คณะนั้น จรรยาบรรณอาชีพมีการกาหนดและใช้กนั ใน
หมู่ผปู้ ระกอบวิชาชีพเดียวกันมาตั้งแต่อดีตกาล ดังจะเห็นได้จากเรื่องราวชีวิตของหมอชีวกโกมารภัจจ์ ที่อุทิศตนรักษาผูป้ ่ วยไม่ว่าเศ รษฐี
หรือยาจก แม้เมื่อรักษาโรคของพระเจ้าพิมพิสารผูเ้ ป็ นพระเจ้าแผ่นดินจนหาย เมื่อทรงพระราชทานค่าตอบแทนจานวนมาก หมอชีวกกลับ
กราบทูลว่าตนรักษาโดยถือว่าเป็ นการปฏิบตั ิหน้าที่เท่านั้น (พระธรรมปิ ฏก 2538 : 57) ส่วนหลักฐานที่เป็ นลายลักษณ์อกั ษรนั้น มี
หลักฐานเก่าแก่ที่เรียกว่าคาสาบานของฮิปโปเครติสซึ่งเป็ นหลักฐานที่เก่าแก่ที่สุดที่หลงเหลืออยู่
จรรยาบรรณวิชาชีพในปั จจุบนั
การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและระบบเศรษฐกิจของมนุ ษย์จากยุคเกษตรกรรมมาสู่ยุคอุตสาหกรรมนั้น มีผลต่อวิถีชีวิตของมนุ ษย์
อย่างมาก การจัดระบบระเบียบทางสังคมถูกกระทบและค่อยๆเปลี่ยนแปลงไป วงการอาชีพต่างๆ มีการปรับตัว ปรั บกิจกรรม และวิธี
ประกอบการ โดยเฉพาะอาชีพหลายอาชีพที่มีผลต่อความสงบสุข สันติสุขและความก้าวหน้าของสังคม จาเป็ นจะต้องมีการจัดการควบคุม
ตลอดจนการประกันมาตรฐานการให้บริการแก่สงั คม นักปรัชญาได้เสนอทฤษฏีเกี่ยวกับคุณค่าและคุณธรรมสังคม เสนอแนวคิดเรื่อง
19

จริยธรรมในการ ประกอบอาชีพขึ้ นในลักษณะกลุ่มความคิดต่างๆ ซึ่งผูป้ ระกอบวิชาชีพหลายสาขาต่างก็รบั ไปดาเนิ นการในลักษณะการ


จัดตั้งองค์กรวิชาชีพหรือสถาบันวิชาชีพขึ้ น แล้วจึงตรากติกาเป็ นข้อประพฤติปฏิบตั ิตนของสมาชิกผูป้ ระกอบวิชาชีพเดียวกัน และได้ใช้
ข้อกาหนดต่างๆเหล่านั้นกากับดูแลการประพฤติตลอดจนมาตรฐานการประกอบวิชาชีพของมวลสมาชิก
สังคมปั จจุบนั มีการเรียกร้องให้ผปู้ ระกอบวิชาชีพชั้นสูงต่างๆ คานึ งถึงจรรยาบรรณวิชาชีพค่อนข้างมากขึ้ น อาจจะเป็ นไปได้ว่า
จริยธรรมในการดาเนิ นชีวิตของมนุ ษย์ยุคนี้ เบี่ยงเบนไปจากหลักการหรือระบบคุณธรรมที่เคยยึดถือกัน มา ผลกระทบจากการไม่เคร่งครัด
ต่อจรรยาบรรณวิชาชีพ ไม่ว่าจะเป็ นวิชาชีพแพทย์ นักการเมือง นักเมือง นักการเงินการธนาคาร วิศวกร หรือแม้แต่ครู ทาให้เกิดความ
เสื่อมเสียและทาให้สงั คมไม่เป็ นสุขทั้งสิ้ น
ความเป็ นมาของจรรยาบรรณครูไทย
จรรยาบรรณครู หมายถึง ข้อกาหนดเกี่ยวกับความประพฤติหรือการปฏิบตั ิตนของผูป้ ระกอบวิชาชีพครู เพื่อรักษาและส่งเสริม
เกียรติคุณชื่อเสียงและฐานะของความเป็ นครู
จรรยาบรรณของครูไทยนั้นได้มีการพระราชบัญญัติเป็ นลายลักษณ์อกั ษรและมีกฎหมายรับรองเป็ นครั้งแรกเมื่อ พ .ศ. 2506
โดยอาศัยอานาจบังคับของ พ.ร.บ ครู พ.ศ.2488 ที่กาหนดให้ครุสภาเป็ นสถาบันผูอ้ อกระเบียบบังคับได้ เรียกว่าระเบียบประเพณีของครู
ว่าด้วยจรรยาบรรณครู 10 ข้อ ระเบียบทั้งสองฉบับนี้ มีผลบังคับตามกฎหมายแต่การแยกระเบียบเป็ นจรรยามารยาทกับวินัยทาให้ยงุ่ ยาก
ในการใช้บงั คับ สับสนทั้งผูใ้ ช้และผูป้ ฏิบตั ิ ภายหลังคุรุสภาจึงได้ปรับปรุงยุบรวมระเบียบทั้งสองฉบับ แล้วกาหนดขึ้ นใหม่เมื่อ พ .ศ.2526
เรียกว่าระบบคุรุสภา ว่าด้วยจรรยามารยาทและวินัยตามระเบียบปะเพณีของครู พ.ศ. 2526 จนปี พ.ศ.2539 คุรุสภาได้ปรับปรุงข้อบังคับ
เกี่ยวกับจรรยาบรรณของครูขึ้นใหม่ในอีกครั้งโดยตัดข้อความที่มีลกั ษณะเป็ นวินัยออกไป เหลือเพียงบทบัญญัติที่มีลกั ษณะที่เป็ นจริยธรรม
หรือจรรยาบรรณละมีเพียง 9 ข้อ เรียกว่าระเบียบคุรุสภาว่าด้วยจรรยาบรรณครู พ.ศ. 2539
จรรยาบรรณครูไทยในปั จจุบนั
คณะกรรมการอานวยการคุรุสภาประกาศใช้ระเบียบคุรุสภ าว่าด้วย
จรรยาบรรณครู พ .ศ. 2539 ขึ้ นเพื่อใช้แทนระเบียบคุรุสภาว่า ด้วยจรรยา
มารยาทและระเบียบประเพณีของครูฉบับเดิม และประกาศใช้ ณ วันที่ 7
พฤษภาคม พ.ศ. 2539 มีท้งั หมด 9 ข้อดังนี้
1. ครูตอ้ งรักและเมตตาศิษย์ โดยให้ความเอาใจใส่ช่วยเหลือส่งเสริม
ให้กาลังใจในการศึกษา เล่าเรียนแก่ศิษย์โดยเสมอหน้า
2. ครูตอ้ งอบรม สัง่ สอน ฝึ กฝน สร้างเสริมความรู้ ทักษะและนิ สยั ที่
ถูกต้องดีงามให้เกิดแก่ศิษย์อย่างเต็มความสามารถ ด้วยความบริสุทธิ์ใจ
3. ครูตอ้ งประพฤติ ปฏิบตั ิตนเป็ นแบบอย่างที่ดีแก่ศิษย์ท้งั กาย วาจา
และจิตใจ
4. ครูตอ้ งไม่กระทาตนเป็ นปฏิปักษ์ต่อความเจริญทางการ สติปัญญา จิตใจ อารมณ์และสังคมของศิษย์
5. ครูตอ้ งไม่แสวงหาประโยชน์อนั เป็ นอามิสสินจ้างจากศิษย์ในการปฏิบตั ิหน้าที่ตามปกติ และไม่ใช้ศิษย์กระทาการใดๆ อันเป็ น
การหาประโยชน์ให้แก่ตนโดยมิชอบ
6. ครูยอ่ มพัฒนาตนเองในด้านวิชาชีพ ด้านบุคลิกภาพ และวิสยั ทัศน์ให้ทนั ต่อการพัฒนาทางวิทยาการ เศรษฐกิจ สังคม
การเมืองอยูเ่ สมอ
7. ครูยอ่ มรักและศรัทธาในวิชาชีพครูและเป็ นสมาชิกที่ดีขององค์กรวิชาชีพครู
8. ครูพึงช่วยเหลือเกื้ อกูลครูและชุมชนในทางสร้างสรรค์
9. ครูพึงประพฤติ ปฏิบตั ิ เป็ นผูน้ าในการอนุ รกั ษ์ และพัฒนาภูมปั ญญาและวัฒนธรรมไทย
จรรยาบรรณทั้ง 9 ข้อของคุรุสภานั้น อาจจาแนกเป็ น 3 กลุ่ม ข้อ 1-5 เป็ นบทบัญญัติที่ค่อนข้างเข้มงวด เป็ นจรรยาบรรณส่วนที่
มุ่งกาหนดข้อปฏิบตั ิของครูต่อศิษย์โดยตรงเป็ น หน้าที่และความรับผิ ดชอบของครูต่อศิษย์ ต่อวิชาชีพและสังคม เป็ นคุณลักษณะของครูที่
สังคมประสงค์นัน่ เอง ส่วนข้อ 6 และข้อ 7 เป็ นจรรยาบรรณครูที่เกี่ยวกับการประพฤติปฏิบตั ิตนเพื่อพัฒนาตนเองให้เหมาะกับวิชาชีพ ให้
เหมาะสมกับวิชาชีพครู ส่วนข้อที่ 8 และ 9 เป็ นจรรยาบรรณที่ครูพึงปฏิบตั ิต่อ สภาพแวดล้อมอันได้แก่ เพื่อนครู ชุมชน และท้องถิ่น ที่ครู
ดารงตนอยูร่ ่วมกัน
อย่างไรก็ดีบทบัญญัติจรรยาบรรณทั้ง 9 ข้อนี้ บังคับใช้ตามพระราชบัญญัติครู พ .ศ. 2488 มีผลกับครูซึ่งเป็ นสมาชิกของคุรุสภา
เท่านั้น กล่าวคือ ตามมาตรา 24 ของ พ.ร.บ. ครูพ.ศ.2488 กาหนดให้มีครูเ พียง 4 กลุ่มเท่านั้นได้แก่ (1) ข้าราชการครู คือข้าราชการ
20

สังกัดกระทรวงศึกษาธิการซึ่งบรรจุและแต่งตั้ง พ.ร.บ. ข้าราชการครู พ.ศ. 2533 (2) พนักงานครูเทศบาลคือพนักงานเทศบาลต่างๆ ทั้ง


ประเทศเฉพาะพนักงานผูด้ ารงตาแหน่ งผูส้ อนในสถานศึกษาของเทศบาล (3) ข้าราชครูกรุงเทพม หานคร คือข้าราชการครู
กรุงเทพมหานครที่สงั กัดสถานศึกษาของกรุงเทพมหานคร และ (4) ผูส้ อนในโรงเรียนเอกชนซึ่งอยูใ่ นการกากับดูแลของ
กระทรวงศึกษาธิการโดยต้องได้รบั เงินเดือนประจา ผูป้ ระกอบวิชาชีพครูในสังกัดอื่นๆ ยังมีอีกมากมาย ได้แก่ ผูส้ อนในมหาวิทยาลัยต่างๆ
ผูส้ อนในสถานศึกษาสังกัดกระทรวงกลาโหม ผูส้ อนในสังกัดของกระทรวงสาธารณะสุขตลอดจนผูส้ อนในสถานศึกษาในสังกัดกระทรวง
อื่นๆ หรือรัฐวิสาหกิจอีกด้วย ฉะนั้นการกาหนดจรรยาบรรณครูสาหรับผูป้ ระกอบวิชาชีพครูอย่างเป็ นกิจจะลักษณะที่ครอบคลุมที่
ครอบคลุมทั้งวงการครูจึงยังไม่มีองค์กรหรือสถาบันใดจัดขึ้ น สานักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติจึงจัดสัมมนาเรื่องจรรยาบรรณ
สาหรับผูป้ ระกอบวิชาชีพครูขนเมื ึ้ ่อปี พ .ศ. 2523 และสรุปเป็ นรายงานโดยแยกเป็ นประเด็นเป็ น 3 หมวดคือ หมวดที่ 1 ว่าด้วย
อุดมการณ์ของครู หมวดที่ 2 ว่าด้วยเอกลักษณ์ของครูและหมวดที่ 3 ว่าด้วยมาตรฐานการปฏิบตั ิตนของครู
จรรยาบรรณครูของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติสรุปผลการศึกษาเกี่ยวกับจรรยาบรรณครูในหมวดที่ 3 ว่าด้วยมาตรฐานการปฏิบตั ิ
ตนของครูน้ัน กาหนดว่าบทบัญญัติในหมวดนี้ เป็ นสิ่งที่ครูตอ้ งถือปฏิบตั ิมี 12 ข้อได้แก่
1.ต้องรักษาความสามัคคี ชื่อเสียงของหมู่คณะ และสถานศึกษาที่สงั กัดอยู่
2.ต้องไม่ลบหลู่ดหู มิ่นศาสนา
3.ต้องรักษาชื่อเสียงมิให้ขนชื ึ้ ่อว่าประพฤติชวั ่
4.ไม่ละทิ้ งการสอน อุทิศเวลาให้แก่ศิษย์ และตั้งใจปฏิบตั ิหน้าที่ดว้ ยความเสียสละ
5.ต้องรักษาความลับของศิษย์ เพื่อนร่วมงาน สถานศึกษา
6.ต้องถือปฏิบตั ิตามแบบธรรมเนี ยมที่ดีของสถานศึกษา
7.ต้องประพฤติและปฏิบตั ิหน้าที่ดว้ ยความซื่อสัตย์ สุจริตและเที่ยงธรรมโดยไม่เห็นแก่ประโยชน์โดยมิชอบ
8.ต้องไม่ปิดบังอาพราง หรือบิดเบือนเนื้ อหาทางวิชาการ
9.ต้องไม่ดหู มิ่นเหยียดหยามเพื่อนร่วมงาน และบุคคลใดๆ เชื่อฟั ง และไม่กระด้างกระเดื่องต่อผูบ้ งั คับบัญชา ซึ่งสั ่ งการในหน้าที่
การงานโดยชอบด้วยกฎหมายและระเบียบแบบแผนของสถานศึกษา
10.ต้องไม่เบียดบังใช้แรงงานหรือนาผลงานของศิษย์ไปเพื่อประโยชน์ส่วนตัว
11.ต้องไม่นา หรือยอมให้นาผลงานทางวิชาการของตนไปใช้ในทางทุจริตหรือเป็ นภัยต่อมนุ ษยชาติ
12.ต้องไม่นาผลงานของผูอ้ ื่นมาแอบอ้างเป็ นผลงานของตน
จรรยาบรรณครูของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติไม่มีกฎหมายรองรับอย่างเป็ นทางการ จึงยังไม่เป็ นที่สิ้นสุดใน
การนาไปใช้ในวงการครูทวั ่ ไป
จรรยาบรรณครูไทยในปั จจุบนั
คณะกรรมการอานวยคุรุสภาว่า ด้วยจรรยามรรยาทและวินัยตามระเบียบประเพณีของครูฉบับเดิม และได้ประกาศ ณ วันที่ 7
พฤษภาคม พ.ศ.2539 มีท้งั หมด 9 ข้อดังนี้
1.ครูตอ้ งรักและเมตตาศิษย์ โดยให้ความเอาใจใส่ช่วยเหลือส่งเสริมให้กาลังใจในการศึกษา เล่าเรียนแก่ศิษย์โดยเสมอหน้า
2.ครูตอ้ งอบรมสัง่ สอน ฝึ กฝน สร้างเสริมความรู้ ทักษะและนิ สยั ที่ถูกต้องดีงามให้เกิดแก่ศิษย์อย่างเต็มความสามารถ ด้วยความ
บริสุทธิ์ใจ
3. ครูตอ้ งประพฤติ ปฏิบตั ิตนอย่างเป็ นแบบอย่างที่ดีแก่ศิษย์ท้งั กาย วาจา และจิตใจ
4.ครูตอ้ งไม่ทาตนเป็ นปฏิปักษ์ต่อความเจริทางกาย สติปัญญา จิตใจ อารมณ์ และสังคมของศิษย์
5.ครูตอ้ งไม่แสวงหาผลประโยชน์อนั เป็ นอามิสสินจ้างจากศิษย์ในการปฏิบตั ิหน้าที่ตามปกติ และไม่ใช้ศิษย์กระทาการใดๆอัน
เป็ นการหาผลประโยชน์ให้แก่ตนโดยมิชอบ
6.ครูยอ่ มพัฒนาตนเองทั้งในด้านวิชาชีพ ด้านบุคลิกภาพ และวิสยั ทัศน์ให้ทนั ต่อกา รพัฒนาทางวิทยาการ เศรษฐกิจ สังคมและ
การเมืองอยูเ่ สมอ
7.ครูยอ่ มรักและศรัทธาในวิชาชีพครูและเป็ นสมาชิกที่ดีขององค์กรวิชาชีพครู
8.ครูพึงช่วยเหลือเกื้ อกูลครูและชุมชุนในทางสร้างสรรค์
9.ครูพึงปฏิบตั ิ เป็ นผูน้ าในทางอนุ รกั ษ์ และพัฒนาภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทย
21

จรรยาบรรณทั้ง 9 ข้อของคุรุสภานั้น อาจจาแนกเป็ น 3 กลุ่ม คือข้อ 1-5 เป็ นบทบัญญัติที่ค่อนข้างเข้มงวด เป็ นจรรยาบรรณ
ส่วนที่มุ่งกาหนดข้อปฏิบตั ิของครูต่อศิษย์โดยตรง เป็ นหน้าที่และความรับผิดชอบของครูต่อศิษย์ ต่อวิชาชีพ และต่อสังคม เป็ นคุณลักษณะ
ของครูที่สงั คมประสงค์นัน่ เอง ส่วนข้อ 6 และข้อ 7 เป็ นจรรยาบรรณครูเกี่ยวกับการประพฤติปฏิบตั ิตนเพื่อพัฒนาตนเองให้เหมาะกับ
วิชาชีพครู ส่วนข้อ 8และ9 เป็ นจรรยาบรรณที่ครูพึงปฏิบตั ิต่อสภาพแวดล้อมอันได้แก่ เพื่อนครู ชุมชน และท้องถิ่นที่ครูดารงอยูร่ ่วมด้วย
อย่างไรก็ดีบทบัญญัติจรรยาบรรณครูท้งั 9 ข้อนี้ บังคับใช้ใช้ตามพระราชบัญญัติครู พ .ศ.2488 มีผลเฉพาะกับครูซึ่งเป็ นสมาชิก
ของคุรุสภาเท่านั้น กล่าวคือ ตามมาตรา 24 ของ พ.ร.บ.ครู พ.ศ.2488 กาหนดให้มีครูเพียง 4 กลุ่มเท่านั้นได้แก่
(1)ข้าราชการครู คือข้าราชการสังกัดกระทรวงศึกษาธิการซึ่งบรรจุและแต่งตั้ง พ.ร.บ.ข้าราชการครู พ.ศ.2533
(2) พนักงานครูเทศบาล คือพนักงานเทศบาลต่างๆ ทัง่ ประเทศเฉพาะพนักงานผูด้ ารงตาแหน่ งผูส้ อนในสถานศึกษาของ
เทศบาล
(3) ข้าราชการครูกรุงเทพมหานคร คือราชการกรุงเทพมหานครที่สงั กัดสถานศึกษาของกรุงเทพมหานคร
และ (4) ผูส้ อนในโรงเรียนเอกชนซึ่งอยูใ่ นกากับดูแลของกระทรวงศึกษาธิการโดยต้องได้รบั เงินเดือนประจา
ผูป้ ระกอบวิชาชีพครูในสังกัดอื่นๆ ยังมีอีกมากมายได้แก่ ผูส้ อนในมหาวิทยาลัยต่างๆ ผูส้ อนในสถานศึกษาในสังกัดกระทรวง
อื่นๆ หรือรัฐวิสาหกิจอีกด้วย ฉะนั้นการกาหนดจรรยาบรรณครูสาหรับผูป้ ระกอบวิชาชีพครูอย่างเป็ นกิจ ลักษณะที่ครอบคลุมทั้งวงการครู
ยังไม่มีองค์กรใดหรือสถาบันใดจัดทาขึ้ น สานักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติจึงจัดสัมมนาเรื่องจรรยาบรรณสาหรับผูป้ ระกอบ
วิชาชีพครูขนเมื ึ้ ่อปี พ.ศ.2523 และสรุปเป็ นรายงานโดยแยกประเด็นเป็ น 3 หมวดคือ หมวดที่ 1 ว่าด้วยอุดมการณ์ของครู หมวดที่ 2 ว่า
ด้วยเอกลักษณ์ของครู และหมวดที่3 ว่าด้วยมาตรฐานการปฏิบตั ิตนของครู
คุณธรรมและจรรยาบรรณที่พึงประสงค์ของครูคืออะไร
คุณธรรม ซึ่งหมายถึง คุณสมบัติที่เป้นความดี ความถูกต้อง ซึ่งมีอยู่
ภายในใจของบุคคลช่วยให้พร้อมที่จะทาพฤ ติกรรมต่างๆ อันเป็ นประโยชน์ต่อ
ตนเองและผูอ้ ื่น
คุณธรรม เป็ นหลักที่มนุ ษย์ถือเป็ นแนวทางที่ถูกต้องในการดาเนิ นชีวิต
เป็ นหลักแห่งความประพฤติปฏิบตั ิและความรูค้ วามคิดที่ดีงามนัน่ เอง
คุณธรรมของครู หมายถึง คุณสมบัติที่เป็ นความดี ความถูกต้อง
เหมาะสมซึ่งมีอยูภ่ ายในจิตใ จของผูเ้ ป็ นครูและเป็ นแรงผลักดันให้ผปู้ ระกอบ
วิชาชีพครูกระทาหน้าที่ของครูได้อย่างสมบูรณ์
ทัศนคติเชิงจริยธรรม คือ ความรูส้ ึกของบุคคลเกี่ยวกับลักษณะหรือพฤติกรรมเชิงจริยธรรมต่างๆ ว่าชอบหรือไม่ชอบลักษณะ
นั้นๆเพียงใด ทัศนคติเชิงจริยธรรมของบุคคลส่วนมากจะสอดคล้องกับ ค่านิ ยมในสังคมนั้น แต่บุคคลบางคนในสถานการณ์ปกติอาจมี
ทัศนคติแตกต่างไปจากค่านิ ยมของแต่ละบุคคล
เหตุผลเชิงจริยธรรม หมายถึงการที่บุคคลใช้เหตุผลในการเลือกที่จะกระทา หรือเลือกที่จะไม่กระทาพฤติกรรมอย่างใดอย่าง
หนึ่ ง เหตุผลที่จะกล่าวถึงนี้ จะแสดงให้เห็นเหตุจงู ใจหรือแรงจูงใจที่อยูเ่ บื้ องหลังการกระทาต่างๆของบุคคล
พฤติกรรมเชิงจริยธรรม หมายความถึงการที่บุคคลแสดงพฤติกรรมที่สงั คมนิ ยมชมชอบหรืองดเว้นการแสดงพฤติกรรมที่ฝ่าฝื น
กฎเกณฑ์หรือค่านิ ยมในสังคมนั้น ตัวอย่างพฤติกรรมเชิงจริยธรรมเช่น การให้ทาน การเสียสละเพื่อส่วนรวม และการช่วยเหลือผูต้ กทุกข์
ได้ยาก การโกงสิ่งของเงินทอง การลักขโมย การกล่าวเท็ จเป็ นต้น พฤติกรรมจริยธรรมเป็ นพฤติกรรมที่สงั คมให้ความสาคัญมากกว่าด้าน
อื่นๆ ทั้งนี้ เพราะการกระทาในทางที่ดีและเลวของบุคคลนั้น ส่งผลกระทบโดยตรงต่อความผาสุกและความวุ่นวายของส่วนรวม
คุณธรรมกับจริยธรรม เป็ นเรื่องเดียวเกี่ยวพันกัน อาจกล่าวได้ว่า คุณธรรมเป็ นธรรมฝ่ า ยดีที่อยูภ่ ายในจิตใจของบุคคล การ
แสดงออกของคุณธรรมให้ประจักษ์น้ันเรียกว่าจริยธรรมนัน่ เอง
ส่วนคาว่า จริยศาสตร์ คือ เหตุผลที่อธิบายสาหรับข้อหรือกฎที่ตอ้ งปฏิบตั ิเป็ นหลักเกณฑ์ทางวิชาปรัชญาที่เกี่ยวกับส่วนที่
เรียกว่าจริยธรรม
ความสาคัญของคุณธรรมในการประกอบวิชาชีพครู
ไพพรรณ เกียรติโชคชัย (2526 :141-142) สรุปความสาคัญของคุณธรรมต่อผูป้ ระกอบวิชาชีพครูไว้ 4 ด้านดังนี้ คือ
1.ด้านตัวครู คุณธรรมมีบทบาทต่อผูป้ ฏิบตั ิดงั นี้
1.1 ทาให้ครูมีความเจริญก้าวหน้าและมีความมัน่ คงในงานอาชีพ
22

1.2 ได้รบั คายกย่องสรรเสริญจากบุคคลทัว่ ไป เป็ นที่เคารพเชื่อฟั งของศิษย์


1.3 มีชีวิตอยูใ่ นสังคมอย่างมีความสุข ไร้ภยั อันตรายใดๆ เพราะแวดล้อมด้วยความรักนับถือจากศิษย์และประชาชนทัว่ ไป
1.4 ครอบครัวมีความอบอุ่นมัน่ คง ฐานะทางเศรษฐกิจไม่ฝืดเคือง
2.ด้านสถาบันวิชาชีพครู คุณธรรมมีบทบาทดังนี้
2.1 ทาให้ชื่อเสียงของคณะครูเป็ นที่ศรัทธาเลื่อมใสของประชาชน
2.2 งานวิชาชีพครูมีความเจริญก้าวหน้า เพราะครูอาจารย์ทางานเต็มกาลังความสามารถ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์สิ่งที่เป็ น
ประโยชน์ใหม่ๆ
2.3 สถานศึกษาได้รบั การพัฒนาอย่างเต็มที่ เพราะได้รบั ความช่วยเหลือจากประชาชนเต็มที่
3.ด้านสังคมและชุมชน คุณธรรมมีบทบาทดังนี้
3.1 สมาชิกของสังคมเป็ นคนดีมีคุณธรรมสูง รูจ้ กั สิทธิและหน้าที่อย่างถูกต้อง
3.2 สังคมมีสนั ติสุข เพราะสมาชิกของสังคมได้รบั การสัง่ สอนจากผูม้ ีคุณธรรม
3.3 สังคมได้รบั การพัฒนาให้เจริญก้าวหน้าในทุกๆด้านเพราะสมาชิกมีคุณธรรม
4.ด้านความมัน่ คงของชาติ คุณธรรมมีบทบาทต่อความมัน่ คงของชาติดงั นี้
4.1 สถาบันชาติ ศาสน์ กษัตริย์ มีความมัน่ คง เพราะประชาชนมีความรักความเข้าใจและเห็นความสาคัญอย่างแท้จริง
4.2 ขนบธรรมเนี ยมประเพณีและวัฒนธรรมของชาติ มีความมัน่ คงถาวร เพราะครูอาจารย์ได้อบรมสัง่ สอนศิษย์ให้มีความรู้
ความเข้าใจ และปฏิบตั ิได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
คุณธรรมสาหรับผูป้ ระกอบวิชาชีพครู
เนื่ องจาก ครูจะต้องทาหน้าที่เป็ นผูน้ าสังคม ดังนั้นคุณธรรมจึงนับเป็ นสิ่งสาคัญยิง่ ในการที่ครูจะต้องยึดถือปฏิบตั ิอย่างจริงจัง อัน
จะเป็ นแม่แบบในการดาเนิ นชีวิตให้แก่สมาชิกในสังคมคมได้ หลักคุณธรรมที่สาคัญที่ผปู้ ระกอบอาชีพครูจะยึดถือปฏิบตั ิอย่างจริงจัง
คุณธรรมของครูตามข้อเสนอของคุรุสภา
คุรุสภาได้จดั ประชุมสัมมนาวิชาชีพครู ครั้งที่ 6 เมื่อวันที่ 27-28
เมษายน พ .ศ.2532 ได้ผลสรุปว่าบุคคลผู้ ประกอบวิชาชีพครูควรมีลกั ษณะ
พื้ นฐาน 4 ประการคือ รอบรู้ สอนดี มีคุณธรรมจรรยาบรรณ และมุ่งมัน่ พัฒนา
(สานักงานเลขาธิการคุรุสภา 2534)
ในเฉพาะส่วนที่เป็ นข้อคุณธรรมจรรยาบรรณนั้นมีขอ้ คุณธรรมที่คุรุ
สภาได้เสนอไว้ 9 ข้อ โดยแต่ละข้อได้ระบุพฤติกรรมของครู ทังพฤติกรรมหลัก
และพฤติกรรมบ่งชี้ แสดงการมีคุณธรรมดังกล่าวด้วย สาระสาคัญมีดงั ต่อไปนี้
1.มีความเมตตากรุณา พฤติกรรมหลักคือ มีความเอื้ อเฟื้ อเผื่อแผ่
ช่วยเหลือเพื่อนร่วมงานและสังคม มีความสนใจและห่วงใยเรื่องการเรียน และ
ความประพฤติของนักเรียน ส่วนพฤติกรรมบ่งชี้ คือ ไม่นิ่งดูดายและเต็มใจช่วยเหลือผูอ้ ื่นตามกาลังความสามารถ ให้ความรักความเอาใจ
ใส่ช่วยเหลือดูแลเด็กให้ได้รบั ความสุขและพ้นทุกข์ เป็ นกันเองกับนักเรียน เพื่อให้นักเรียนมีความรูส้ ึกเปิ ดเผยไว้วางใจและเป็ นที่พึ่ งของ
นักเรียนได้
2.มีความยุติธรรม พฤติกรรมหลักคือ มีความเป็ นธรรมต่อนักเรียน และมีความเป็ นกลาง ส่วนพฤติกรรมบ่งชี้ คือ เอาใจใส่ต่อ
นักเรียนทุกคนอย่างเสมอภาคและไม่ลาเอียง ตัดสินปั ญหาของนักเรียนด้วยความเป็ นธรรม ยินดีช่วยเหลือนักเรียน ผูร้ ่วมงานและบริหาร
โดยไม่เลือกที่รกั มักที่ชงั
3.มีความรับผิดชอบ พฤติกรรมหลักคือ มุ่ งมัน่ ในผลงาน ใช้เวลาอย่างมีคุณค่าและปฏิบตั ิหน้าที่ครบถ้วน ส่วนพฤติกรรมบ่งชี้
คือ มีวิธีการที่จะปฏิบตั ิงานให้บรรลุวตั ถุประสงค์ วางแผนการใช้เวลาให้เหมาะสมและปฏิบตั ิงานได้ทนั เวลาใช้เวลาคุม้ ค่าและมี
ประสิทธิภาพ มีความรอบคอบระมัดระวังในการปฏิบตั ิหน้าที่ทุกด้าน ปฏิบตั ิภารกิจทุกด้านได้ครบตามความสามารถ และประเมินผลการ
ปฏิบตั ิงานได้อย่างเหมาะสม
4.มีวินยั พฤติกรรมหลักคือ มีวินัยในตนเอง และปฏิบตั ิตามกฎระเบียบ ส่วนพฤติกรรมบ่งชี้ คือ ควบคุมตนเองให้ปฏิบตั ิตนอย่าง
ถูกต้องตามทานองครองธรรม มีวิธีทางานที่เป็ นแบบอย่างที่ดีต่อผูอ้ ื่ น ปฏิบตั ิตามกฎระเบียบของหน่ วยงานสถานศึกษา ปฏิบตั ิหน้าที่
อย่างเป็ นขัน้ ตอน
23

5.มีความขยัน พฤติกรรมหลักคือ มีความตั้งใจและมีความพยายาม ส่วนพฤติกรรมบ่งชี้ คือ กระตือรือร้นและปฏิบตั ิงานอย่าง


เต็มความสามารถอย่างสมา่ เสมอ ไม่ทอ้ ถอยต่ออุปสรรคในการทางาน และมีความพยายามที่จะสอนเด็กให้บรรลุจุดมุ่งหมาย
6.มีความอดทน พฤติกรรมหลักคือ อดทนเมื่อเกิดอุปสรรค มีความสามารถในการควบคุมอารมณ์ ส่วนพฤติกรรมบ่งชี้ คือ
ปฏิบตั ิงานเต็มที่ไม่ทิ้งขว้างกลางคัน ไม่โกรธง่าย และสามารถควบคุมอารมณ์ตนเองได้อย่างเหมาะสม และอดทนอดกลั้นต่อคาวิจารณ์
7.มีความประหยัด พฤติกรรมหลักคือ รูจ้ กั ประหยัดและออม และใช้ของให้คุม้ ค่า ส่วนพฤติกรรมบ่งชี้ คือ ช่วยรักษาและใช้ของ
ส่วนรวมอย่างประหยัดเกินฐานะของตน รูจ้ กั เก็บออมทรัพย์ เพื่อความมัน่ คงของฐานะ และรูจ้ กั เก็บรักษาของอย่างถูกวิธี
8.มีความรักและศรัทธาในอาชีพครู พฤติกรร มหลักคือ เห็นความสาคัญของอาชีพครู และรักษาชื่อเสียงวิชาชีพครู ส่วน
พฤติกรรมบ่งชี้ คือ สนับสนุ นการดาเนิ นงานขององค์กร วิชาชีพครู เข้าร่วมกิจกรรมวิชาชีพครู ร่วมมือและส่งเสริมให้มีการพัฒนา
มาตรฐานวิชาชีพครู ตั้งใจปฏิบตั ิหน้าที่ให้เกิดผลดีและเกิดผลประโยชน์ต่อส่วนร วมเป็ นสาคัญ รักษาความสามัคคี และช่วยเหลือซึ่งกัน
และกันในหน้าที่การงานปกป้องและสร้างความเข้าใจอันดีต่อสังคมเกี่ยวกับวิชาชีพครู
9.มีความเป็ นประชาธิปไตยในการปฏิบตั ิงานและการดารงชีวิต พฤติกรรมหลักคือ รับฟั งความคิดเห็นของผูอ้ ื่นอย่างมี
เหตุผล ส่วนพฤติกรรมบ่งชี้ คือ เปิ ดโอกาสให้ผอู้ ื่นได้แสดงความคิดเห็น รับฟั งความคิดเห็นของข้อโต้แย้งของผูอ้ ื่น ยอมรับและปฏิบตั ิตาม
ความคิดที่มีเหตุผล โดยคิดถึงประโยชน์ส่วนรวมเป็ นหลักและใช้หลักการและเหตุผลในการตัดสินใจและแก้ไขปั ญหา
หลักคุณธรรมจรรยาบรรณของคุรุสภาทั้ง 9 ประการนี้ คุรุสภาพยายามทาให้เป็ นรูปธรรมเชิงพฤติกรรมและเผยแพร่ให้สมาชิกคุรุ
สภาทราบ ซึ่งโดยเนื้ อแท้แล้วก็เป็ นส่วนหนึ่ งของคุณธรรมตามหลักศาสนาต่างๆดังกล่าวนัน่ เอง
คุณธรรมที่พึงประสงค์ของครูไทย
คุณธรรมที่พึงประสงค์ของครูไทยนั้น อาจยึดหลักปฏิบตั ิธรรมที่สาคัญของ
ศาสนาที่ตนนับถือก็ได้ อย่างไรก็ดีสาหรับคุณธรรมของครูไทยในแนวทางพุทธศาสนา
นั้น ครูแต่ละคนควรศึกษาและปฏิบตั ิตามคาสอนเรื่องทางสายกลางที่เรียกว่า
มัชฌิมาปฏิปทา ซึ่งแปลว่าทางสายกลางแห่งข้อปฏิบตั ิฝึกฝนใจในทางที่ชอบ คา
ว่าทางสายกลางนั้น หมายถึงการดาเนิ นทางใจหรือข้อปฏิบตั ิบาเพ็ญทางใจที่ทาให้พน้
จากกิเลศอันเป็ นข้าศึกทางสายกลางดังกล่าวก็คือ อริยมรรค อันมีองค์ 8 นัน่ เอง
คุณธรรมข้อนี้ ถือว่า เป็ นธรรมขัน้ สูงในศาสนาพุทธอันได้แก่
1.สัมมาทิฏฐิ การเห็นชอบ หมายถึง การเห็นด้วยใจด้วย ปั ญญา เห็นถูกเห็น
ผิดตลอดจนการเห็นในฝ่ ายดีท้งั หลายที่เรียกว่า การเห็นชอบตามทานองครองธรรม
พระธรรมโกศาจารย์ (พุทธทาสภิกขุ 2539 : 30) กล่าวว่า สัมมาทิฏฐิเป็ นรุ่งอรุณ
แห่งทางพ้นทุกข์ หรืออาจพูดว่า การเห็นชอบเป็ นแสงสว่างส่องทางให้พน้ ทุกข์ ครู
ทั้งหลายหากมีสมั มาทิฏฐิและถือปฏิบตั ิเป็ นอย่างดียอ่ มเป็ นครูที่มีความเป็ นครู กล่าวคือผูน้ ้ันจะเป็ นครูที่เข้าใจอาชีพครูอย่างถูกต้อง เห็น
อุดมการณ์ของความเป็ นครู ทาให้เลือกปฏิบตั ิอย่างถูกต้องว่าเป็ นคนรับจ้างสอนหนังสือหรือเป็ นครูจริยบุคคลนัน่ เอง
2.สัมมาสังกัปปะ การดาริชอบ หมายถึงการ คิดอย่างฉล าด รอบคอบรูจ้ กั ไตร่ตรองเป็ นผู้ มีวิธีคิด รูจ้ กั ใช้คว ามคิดในทางที่
ถูกต้องดีงาม คิดใน ทางสร้างสรรค์และเป็ นประโยชน์ท้งั ต่อตนเอง ต่อศิษย์ และต่อสังคม ครูผมู้ ีความคิดไม่เบียดเบียน ไม่มุ่งร้าย ไม่
อาฆาตแค้น ย่อมเป็ นครูที่มีความสมบูรณ์ในการปฏิบตั ิหน้าที่ครู
3.สัมมาวาจา การพูดจาชอบ หมายถึงการไม่พดู จาส่อเสียด ไม่เพ้อเจ้อ ไม่พดู คาหยาบ และไม่พดู ปดพูดเท็จ ครูตอ้ งใช้คาพูดกับ
ลูกศิษย์อยูต่ ลอดเวลาทั้งในห้องเรียนและนอกเวลาเรียน การพูดและวิธีพดู ของครูมีผลต่อความรู้ ความรูส้ ึก และจิตใจของศิษย์อยูเ่ สมอ
ครูพดู ด้วยความจริงใจ อ่อนโยน ไพเราะ ย่อมทาให้ศิษย์มีความเคารพและรักนับถือ
4.สัมมากัมมันตะ การทาการงานชอบ หมายถึงการกระทากิจการงานต่างๆด้วยความเต็มใจและตั้งใจอย่างเต็มความสามารถ
เพื่อให้เกิดผลดีต่อบุคคลที่เกี่ยวข้องทั้งหลาย การกระทาการใดๆด้วยความมุ่งมัน่ อดทน ขยันขันแข็ง ซื่ อสัตย์ และรอบคอบ ครูผมู้ ี
คุณธรรมข้อนี้ ย่อมเป็ นครูผกู้ ล่าวเผชิญกับกิจการงานทั้งปวง
5.สัมมาอาชีวะ การเลี้ ยงชีวิตชอบ หมายถึงทาอาชีพสุจริตและไม่ผิดกฎหมายทั้งหลาย ธรรมข้อนี้ สาหรับครูน้ันหมายรวมถึง
ความพยายามเลี้ ยงชีพตนเองและครอบครัวโดยวิธีการที่ถูกต้องชอบธรรม ไม่เบียดเบียนเวลาในการสอนหรือเวลาตามหน้าที่ครู ตลอดจน
การใช้เวลาว่างเพื่อเลี้ ยงดูตนเองโดยแบ่งเวลาเป็ นเวลาสาหรับการศึกษาค้นคว้าหาความรูเ้ พื่อใช้สอนศิษย์ การใช้เวลาว่างเพื่อพักผ่อนและ
สุขภาพ
24

6.สัมมาวายะมะ การเพียรชอบ หมายถึงการมุ่งมัน่ พยายามในทางฝ่ ายดีท้งั หลาย ค รูควรมีความเพียร คือครูผพู้ ยายามศึกษา


ความรูอ้ ยูเ่ สมอ มีมานะพยายามสร้างความก้าวหน้าในชีวิตและหน้าที่การงานตามทานองครองธรรม มีความสมา่ เสมอในการปฏิบตั ิ
หน้าที่การงาน
7.สัมมาสติ การระลึกชอบ หมายถึงการพิจารณาไตร่ตรองสภาพสิ่งแวดล้อมในทางที่ถูก การไตร่ตรองว่าสิ่งนั้ นคืออะไร เป็ น
อย่างไร เพื่ออะไร และโดยวิธีใด ย่อมทาให้จิตใจผูไ้ ตร่ตรองสงบและเป็ นสุข ทั้งสติปัญญาก็จะเฉียบแหลมรอบคอบในการผจญปั ญหาใดๆ
ครูผรู้ ะลึกชอบย่อมเป็ นครูผมู้ ีสติ ไม่เสียสติและอยูใ่ นทานองครองธรรมไม่ออกนอกลู่นอกทาง
8.สัมมาสมาธิ ความตั้งใจมัน่ ชอบ หมายถึงการตั้งอยูใ่ นความสงบไม่วอกแวกโลเลไม่ปล่อยให้กิเลสทั้งหลายมาหลอกล่อให้หลง
ผิด ครูผมู้ ีความตั้งใจมัน่ ชอบย่อมเป็ นครูผปู้ ระสบความสาเร็จในการดาเนิ นอาชีพครู เพราะจะเป็ นครูที่ไม่มีจิตใจฝักใฝ่ ในทางอื่นที่มิ ใช่ทาง
แห่งวิชาชีพของตนไม่พยายามหาเลี้ ยงชีพโดยวิธีอื่นๆ ไม่คิด ไม่เห็น ไม่นอกลู่นอกทางของความเป็ นครู
อริยมรรคนี้ จาแนกได้เป็ น 3 กลุ่มคือ สัมมาทิ ฏฐิ กบั สัมมาสังกัปปะเป็ นเรื่องของปั ญญาหรือความสว่าง กล่าวคือ ผูม้ ีความสว่าง
หรือมีปัญญานั้น ย่อมเห็น ย่อมรู้ และย่อมคิดในทางที่ถูก ในทางที่ดี ในทางกลับกันผูค้ ิดดี ผูเ้ ห็นดีตาม ทานองครองธรรมย่อมเป็ นผูม้ ี
ปั ญญา
ส่วนสัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ และสัมมาอาชีวะ เป็ นกลุ่มธรรมเกี่ยวกับการรักษาศีลหรือความสะอาด ผูม้ ีศีลธรรมเหล่านี้ ย่อม
ห่างจากความสับสน วุ่นวาย ทะเลาะเบาะแว้งแข่งขัน ชิงดีชิงเด่นทั้งหลาย
ส่วนสัมมาวายามะ สัมมาสติและสัมมาสมาธิ เป็ นธรรมที่เกี่ยวกับสมาธิหรือความสงบ ไม่วอกแวกโลเล หรือลู่ไหลไปในทางที่
เสื่อมทั้งหลาย
สรุปเนื้ อหา คุณธรรมและจรรยาบรรณของครู
คุณธรรมของครูเป็ นคุณลักษณะหรือองค์ประกอบส่วนสาคัญที่สุดในความเป็ นครูของผูป้ ระกอบวิชาชีพครู เพราะเป็ นสิ่งที่เกื้ อกูล
ให้ครูปฏิบตั ิหน้าที่ครูได้อย่างสมบูรณ์ ทาให้เป็ นที่เคารพนบนอบของ
สังคม ส่วนจรรยาบรรณครูน้ันเป็ นกฎกติกาที่กาหนดให้ผทู้ ี่อยูใ่ นวงการ
วิชาชีพครูประพฤติปฏิบตั ิตนเพื่อให้สงั คมยอมรับ และยังเป็ นการควบคุม
ให้ผปู้ ระกอบวิชาชีพใช้วิชาชีพเพื่อเอื้ อเฟื้ อประโยชน์ต่อสังคมให้มากที่สุด
นัน่ เอง ทั้งคุณธรรมและจรรยาบรรณเป็ นคุณลักษณะที่สาคัญที่สุดของครู
อันเป็ นสิ่งที่ทาให้ครูปฏิบตั ิหน้าที่ครูเพื่อหน้าที่ได้สมบูรณ์ มีความ
รับผิดชอบต่อศิษย์ ต่อตนเอง ต่อวิชาชี และต่อสังคม
จรรยาบรรณวิชาชีพครู คือ กฎแห่งความประพฤติ สาหรับ
สมาชิกวิชาชีพครู ซึ่งองค์กรวิชาชีพครูเป็ นผูก้ าหนด และสมาชิกในวิชาชีพ
ทุกคนต้องถือปฏิบตั ิโดยเคร่งครัด หากมีการละเมิดจะมีการลงโทษ
ความสาคัญ
จรรยาบรรณวิชาชีพครู มีความสาคัญต่อวิชาชีพครูเช่นเดียวกับที่จรรยาบรรณวิชาชีพ มีความสาคัญต่อวิชาชีพอื่น ๆ ซึ่งสรุปได้ ๓
ประการ คือ
1.ปกป้องการปฏิบตั ิงานของสมาชิกในวิชาชีพ
2.รักษามาตรฐานวิชาชีพ
3.พัฒนาวิชาชีพ
ลักษณะของจรรยาบรรณวิชาชีพครู จรรยาบรรณวิชาชีพครู จะต้องมีลกั ษณะ ๔ ประการ คือ
1.เป็ นคามัน่ สัญญาหรือพันธะผูกพันต่อผูเ้ รียน
2.เป็ นคามัน่ สัญญาหรือพันธะผูกพันต่อสังคม
3.เป็ นคามัน่ สัญญาหรือพันธะผูกพันต่อวิชาชีพ
4.เป็ นคามัน่ สัญญาหรือพันธะผูกพันต่อสถานปฏิบตั ิงาน
คุณธรรมของครูเป็ นคุณลักษณะหรือองค์ประกอบ
ส่วนสาคัญที่สุดในความเป็ นครูของผูป้ ระกอบวิชาชีพครู เพราะเป็ นสิ่งที่เกื้ อกูลให้ครูปฏิบตั ิหน้าที่ครูได้อย่างสมบูรณ์ ทาให้เป็ นที่
เคารพนบนอบของสังคม ส่วนจรรยาบรรณครูน้ันเป็ นกฎกติกาที่กาหนดให้ผทู้ ี่อยูใ่ นวงการวิชาชีพครูประพฤติปฏิบตั ิตนเพื่อให้สงั คม
ยอมรับ และยังเป็ นการควบคุมให้ผปู้ ระกอบวิชาชีพใช้วิชาชีพเพื่อเอื้ อเฟื้ อประโยชน์ต่อสังคมให้มากที่สุดนัน่ เอง ทั้งคุณธรรมและ
25

จรรยาบรรณเป็ นคุณลักษณะที่สาคัญที่สุดของครู อันเป็ นสิ่งที่ทาให้ครูปฏิบตั ิหน้าที่ครูเพื่อหน้าที่ได้สมบูรณ์ มีความรับผิดชอบต่อศิษย์ ต่อ


ตนเอง ต่อวิชาชีพ และต่อสังคม
จรรยาบรรณวิชาชีพครู
ตามเกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพของคุรุสภา ปี พ .ศ. 2550 ข้อบังคับว่าด้วยแบบแผนพฤติกรรมตามจรรยาบรรณของวิชาชีพ พ .ศ.
2550 ได้ให้ความหมาย จรรยาบรรณวิชาชีพ ว่า หมายถึง มาตรฐานการปฏิบตั ิตน
ตามข้อบังคับคุรุสภาว่าด้วยมาตรฐานวิชาชีพและจรรยาบรรณของวิชาชีพ พ .ศ.2548
ซึ่งแบบแผนพฤติกรรมตามจรรยาบรรณของวิชาชีพครูแบ่งออกเป็ น 5 ส่วน คือ
ส่วนที่ 1 จรรยาบรรณต่อตนเอง
ส่วนที่ 2 จรรยาบรรณต่อวิชาชีพ
ส่วนที่ 3 จรรยาบรรณต่อผูร้ บั บริการ
ส่วนที่ 4 จรรยาบรรณต่อผูร้ ่วมประกอบวิชาชีพ
ส่วนที่ 5 จรรยาบรรณต่อสังคม
ส่วนที่ 1 จรรยาบรรณต่อตนเอง ครูตอ้ งมีวินัยในตนเอง พัฒนาตนเองด้าน
วิชาชีพ บุคลิกภาพและวิสยั ทัศน์ให้ทนั ต่อการพัฒนาทางวิทยาการ เศรษฐกิจ สังคมและการเมืองอยูเ่ สมอโดยต้องประพฤติและละเว้นการ
ประพฤติตามแบบแผนพฤติกรรม ดังตัวอย่างต่อไปนี้
1. พฤติกรรมที่พึงประสงค์
1.1 ประพฤติตนเหมาะสมกับสถานภาพและเป็ นแบบอย่างที่ดี
1.2 ประพฤติตนเป็ นแบบอย่างที่ดีในการดาเนิ นชีวิตตามประเพณีและวัฒนธรรมไทย
1.3 ปฏิบตั ิงานตามหน้าที่ที่ได้รบั มอบหมายให้สาเร็จอย่างมีคุณภาพตามเป้าหมายที่กาหนด
1.4 ศึกษา หาความรู้ วางแผนพัฒนาตนเอง พัฒนางานและสะสมผลงานอย่างสมา่ เสมอ
1.5 ค้นคว้า แสวงหา และนาเทคนิ คด้ านวิชาชีพที่พฒ ั นาและก้าวหน้าเป็ นที่ยอมรับมาใช้แก่ศิษย์และผูร้ บั บริการให้เกิดผล
สัมฤทธิ์ที่พึงประสงค์
2. พฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์
2.1 เกี่ยวข้องกับอบายมุขหรือเสพสิ่งเสพติดจนขาดสติหรือแสดงกิริยาไม่สุภาพเป็ นที่น่ารังเกียจในสังคม
2.2 ประพฤติผิดทางชูส้ าวหรือมีพฤติกรรมล่วงละเมิดทางเพศ
2.3 ขาดความรับผิดชอบ ความกระตือรือร้น ความเอาใจใส่จนเกิดความเสียหายในการปฏิบตั ิงานตามหน้าที่
2.4 ไม่รบั รูห้ รือไม่แสวงหาความรูใ้ หม่ๆ ในการจัดการเรียนรู้ และการปฏิบตั ิหน้าที่
2.5 ขัดขวางการพัฒนาองค์การจนเกิดความเสียหาย
ส่วนที่ 2 จรรยาบรรณต่อวิชาชีพ ครูตอ้ งรัก ศรัทธา ซื่อสัตย์สุจริต รับผิดชอบต่อวิชาชีพ และเป็ นสมาชิกที่ดีขององค์กรวิชาชีพ
โดยต้องประพฤติและละเว้นการประพฤติตามแบบแผนพฤติกรรม ดังตัวอย่างต่อไปนี้
1. พฤติกรรมที่พึงประสงค์
1.1 แสดงความชื่นชมและศรัทธาในคุณค่าของวิชาชีพ
1.2 รักษาชื่อเสียงและปกป้องศักดิ์ศรีแห่งวิชาชีพ
1.3 ยกย่องและเชิดชูเกียรติผมู้ ีผลงานในวิชาชีพให้สาธารณชนรับรู้
1.4 อุทิศตนเพื่อความก้าวหน้าของวิชาชีพ
1.5 ปฏิบตั ิหน้าที่ดว้ ยความรับผิดชอบ ซื่อสัตย์สุจริตตามกฎ ระเบียบและแบบแผนของทางราชการ
1.6 เลือกใช้หลักวิชาที่ถูกต้อง สร้างสรรค์เทคนิ ค วิธีการใหม่ๆ เพื่อพัฒนาวิชาชีพ
1.7 ใช้องค์ความรูห้ ลากหลายในการปฏิบตั ิหน้าที่ และแลกเปลี่ยนเรียนรูก้ บั สมาชิกในองค์การ
1.8 เข้าร่วมกิจกรรมของวิชาชีพหรือองค์กรวิชาชีพอย่างสร้างสรรค์
2. พฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์
2.1 ไม่แสดงความภาคภูมิใจในการประกอบวิชาชีพ
2.2 ดูหมิ่น เหยียดหยาม ให้รา้ ยผูร้ ่วมประกอบวิชาชีพ ศาสตร์ในวิชาชีพหรือองค์กรวิชาชีพ
2.3 ประกอบการงานอื่นที่ไม่เหมาะสมกับการเป็ นผูป้ ระกอบวิชาชีพทางการศึกษา
26

2.4 ไม่ซื่อสัตย์สุจริต ไม่รบั ผิดชอบ หรือปฏิบตั ิตามกฎ ระเบียบหรือ แบบแผนของทางราชการจนก่อให้เกิดความเสียหาย


2.5 คัดลอกหรือนาผลงานของผูอ้ ื่นมาเป็ นของตน
2.6 ใช้หลักวิชาการที่ไม่ถูกต้องในการปฏิบตั ิวิชาชีพ ส่งผลให้ศิษย์หรือผูร้ บั บริการเกิดความเสียหาย
2.7 ใช้ความรูท้ างวิชาการ วิชาชีพ หรืออาศัยองค์กรวิชาชีพแสวงหาประโยชน์เพื่อตนเองหรือผูอ้ ื่นโดยมิชอบ
ส่วนที่ 3 จรรยาบรรณต่อผูร้ บั บริการ ครู ผูป้ ระกอบวิชาชีพต้อง มีดงั ต่อไปนี้
1. ต้องรัก เมตตา เอาใจใส่ ช่วยเหลือ ส่งเสริม ให้กาลังใจแก่ศิษย์ และผูร้ บั บริการ ตามบทบาทหน้าที่โดยเสมอหน้า
2. ต้องส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้ ทักษะ และนิ สยั ที่ถูกต้องดีงามแก่ศิษย์และผูร้ บั บริการตามบทบาทหน้าที่อย่างเต็ม
ความสามารถ ด้วยความบริสุทธิ์ใจ
3. ต้องประพฤติปฏิบตั ิตนเป็ นแบบอย่างที่ดี ทั้งทางกาย วาจาและจิตใจ
4. ต้องไม่กระทาตนเป็ นปฏิปักษ์ต่อความเจริญทางกาย สติปัญญา จิตใจ อารมณ์ และสังคมของศิษย์ และผูร้ บั บริการ
5. ต้องให้บริการด้วยความจริงใจและเสมอภาคโดยไม่เรียกรับหรือยอมรับผลประโยชน์จากการใช้ตาแหน่ งหน้าที่โดยมิชอบ
ทั้งนี้ ต้องประพฤติและละเว้นการประพฤติตามแบบแผนพฤติกรรม ดังตัวอย่างต่อไปนี้ พฤติกรรมที่พึงประสงค์
1.
1.1 ให้คาปรึกษาหรือช่วยเหลือศิษย์และผูร้ บั บริการด้วยความเมตตากรุณาอย่างเต็มกาลังความสามารถและเสมอภาค
1.2 สนับสนุ นการดาเนิ นงานเพื่อปกป้องสิทธิเด็ก เยาวชน และผูด้ อ้ ยโอกาส
1.3 ตั้งใจ เสียสละ และอุทิศตนในการปฏิบตั ิหน้าที่เพื่ อให้ศิษย์และผูร้ บั บริการได้รบั การพัฒนาตามความสามารถ ความถนัด
และความสนใจของแต่ละบุคคล
1.4 ส่งเสริมให้ศิษย์และผูร้ บั บริการสามารถแสวงหาความรูไ้ ด้ดว้ ยตนเองจากสื่ออุปกรณ์ และแหล่งเรียนรูอ้ ย่างหลากหลาย
1.5 ให้ศิษย์และผูร้ บั บริการมีส่วนร่วมวางแผนการเรียนรู้ และเลือกวิธีการปฏิบตั ิที่เหมาะสมกับตนเอง
1.6 เสริมสร้างความภาคภูมิใจให้แก่ศิษย์และผูร้ บั บริการด้วยการรับฟั งความคิดเห็น ยกย่อง ชมเชย และให้กาลังใจอย่าง
กัลยาณมิตร
2. พฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์
2.1 ลงโทษศิษย์อย่างไม่เหมาะสม
2.2 ไม่ใส่ใจหรือไม่รบั รูป้ ั ญหาของศิ ษย์หรือผูร้ บั บริการจนเกิดผล
เสียหายต่อศิษย์หรือผูร้ บั บริการ
2.3 ดูหมิ่นเหยียดหยามศิษย์หรือผูร้ บั บริการ
2.4 เปิ ดเผยความลับของศิษย์หรือผูร้ บั บริการ เป็ นผลให้ได้รบั ความ
อับอายหรือเสื่อมเสียชื่อเสียง
2.5 จูงใจ โน้มน้าว ยุยงส่งเสริมให้ศิษย์หรือผูร้ บั บริการปฏิ บัติขดั ต่อ
ศีลธรรมหรือกฎระเบียบ
2.6 ชักชวน ใช้ จ้าง วานศิษย์หรือผูร้ บั บริการให้จดั ซื้ อ จัดหาสิ่งเสพ
ติดหรือเข้าไปเกี่ยวข้องกับอบายมุข
2.7 เรียกร้องผลตอบแทนต่อศิษย์หรือผูร้ บั บริการในงานตามหน้าที่
ที่ตอ้ งให้บริการ
ส่วนที่ 4 จรรยาบรรณต่อผูร้ ว่ มประกอบวิชาชีพ ครูพึงช่วยเหลือเกื้ อกูลซึ่งกันและกันอย่างสร้างสรรค์ โดยยึดมัน่ ในระบบ
คุณธรรมสร้างความสามัคคีในหมู่คณะ โดยพึงประพฤติและละเว้นการประพฤติตามแบบแผนพฤติกรรม ดังตัวอย่างต่อไปนี้
1. พฤติกรรมที่พึงประสงค์
1.1 เสียสละ เอื้ ออาทร และให้ความช่วยเหลือผูร้ ่วมประกอบอาชีพ
1.2 มีความรัก ความสามัคคี และร่วมใจกันผลึกกาลังในการพัฒนาการศึกษา
2. พฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์
2.1 ปิ ดบังข้อมูลข่าวสารในการปฏิบตั ิงานจนทาให้เกิดความเสียหายต่องานหรือผูร้ ่วมประกอบวิชาชีพ
2.2 ปฏิเสธความรับผิดชอบ โดยตาหนิ ให้รา้ ยผูอ้ ื่นในความบกพร่องที่เกิดขึ้ น
2.3 สร้างกลุ่มอิทธิพลภายในองค์การหรือกลัน่ แกล้งผูร้ ่วมประกอบวิชาชีพให้เกิดความเสียหาย
27

2.4 เจตนาให้ขอ้ มูลเท็จทาให้เกิดความเข้าใจผิดหรือเกิดความเสียหายต่อผูร้ ่วมประกอบวิชาชีพ


2.5 วิพากษ์ วิจารณ์ผรู้ ่วมประกอบวิชาชีพในเรื่องที่ก่อให้เกิดความเสียหายหรือแตกความสามัคคี
ส่วนที่ 5 จรรยาบรรณต่อสังคม ครูพึงประพฤติปฏิบตั ิตนเป็ นผู้ นาในการอนุ รกั ษ์และพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม ศาสนา
ศิลปวัฒนธรรม ภูมิปัญญา สิ่งแวดล้อม รักษาผลประโยชน์ส่วนรวม และยึดมัน่ ในการปกครองระบอบประชาธิปไตยอั นมีพระมหากษัตริย์
ทรงเป็ นประมุข โดยพึงประพฤติและละเว้นการประพฤติตามแบบแผนพฤติกรรม ดังตัวอย่างต่อไปนี้
1. พฤติกรรมที่พึงประสงค์
1.1 ยึดมัน่ สนับสนุ น และส่งเสริมการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยท์ รงเป็ นประมุข
1.2 นาภูมิปัญญาท้องถิ่นและศิลปวัฒนธรรมมาเป็ นปั จจัยในการจัดการศึกษาให้เป็ นประโยชน์ต่อส่วนรวม
1.3 จัดกิจกรรมส่งเสริมให้ศิษย์เกิดการเรียนรูแ้ ละสามารถดาเนิ นชีวิตตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง
1.4 เป็ นผูน้ าในการวางแผนและการดาเนิ นการเพื่ออนุ รักษ์สิ่งแวดล้อม พัฒนาเศรษฐกิจ ภูมิปัญญาท้องถิ่น และ
ศิลปวัฒนธรรม
2. พฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์
2.1 ไม่ให้ความร่วมมือหรือสนับสนุ นกิจกรรมของชุมชนที่จดั เพื่อประโยชน์ต่อการศึกษาทั้งทางตรงและทางอ้อม
2.2 ไม่แสดงความเป็ นผูน้ าในการอนุ รกั ษ์หรือพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม ศาสนา ศิลปวัฒนธรรม ภูมิปัญญาและสิ่งแวดล้อม
2.3 ไม่ประพฤติตนเป็ นแบบอย่างที่ดีในการอนุ รกั ษ์หรือพัฒนาสิ่งแวดล้อม
2.4 ปฏิบตั ิตนเป็ นปฏิปักษ์ต่อวัฒนธรรมอันดีงามของชุมชนหรือสังคม
มาตรฐานวิชาชีพครู
มาตรฐานวิชาชีพครู เป็ นข้อกาหนดเกี่ยวกับคุณลักษณะและคุณภาพที่พึง
ประสงค์ที่ตอ้ งการให้เกิดขึ้ นในการประกอบวิชาชีพครูตามพระราชบัญญัติ
สภาครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2546 กาหนดมาตรฐานวิชาชีพ
ครูไว้ 3 มาตรฐาน คือ
1. มาตรฐานความรูแ้ ละประสบการณ์วิชาชีพ
2. มาตรฐานการปฏิบตั ิงาน
3. มาตรฐานการปฏิบตั ิตน
การกาหนดระดับคุณภาพของมาตรฐานในการประกอบวิ ชาชีพ
ให้เป็ นไปตามข้อบังคับของคุรุสภา ทั้งนี้ ต้องจัดให้มีการประเมินระดับ
คุณภาพของผูร้ บั ใบอนุ ญาตอย่างต่อเนื่ อง เพื่อดารงไว้ซึ่งความรู้
ความสามารถ และความชานาญการตามระดับคุณภาพของมาตรฐานใน
การประกอบวิชาชีพตามหลักเกณฑ์และวิธีการของคุรุสภากาหนด
1. มาตรฐานควา มรูแ้ ละประสบการณ์วิชาชีพ หมายความว่า ข้อกาหนดเกี่ยวกับความรูแ้ ละประสบการณ์ในการจัดการ
เรียนรู้ หรือการจัดการศึกษา ซึ่งผูต้ อ้ งการประกอบวิชาชีพทางการศึกษาต้องมีเพียงพอที่สามารถนาไปใช้ในการประกอบวิชาชีพได้
ประกอบด้วย
1.1 มาตรฐานความรู ้ มีคุณวุฒิไม่ตา่ กว่าปริญญาตรีทางการศึกษา หรือเทียบเท่า หรือคุณวุฒิอื่นที่คุรุสภารับรอง โดยมีความรู้
ดังต่อไปนี้
1) ความเป็ นครู
2) ปรัชญาการศึกษา
3) ภาษาและวัฒนธรรม
4) จิตวิทยาสาหรับครู
5) หลักสูตร
6) การจัดการเรียนรูแ้ ละการจัดการชั้นเรียน
7) การวิจยั เพื่อพัฒนาการเรียนรู้
8) นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
28

9) การวัดและการประเมินผลการเรียนรู้
10) การประกันคุณภาพการศึกษา
11) คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณ
1.2 มาตรฐานประสบการณ์วิชาชีพ
ผ่านการปฏิบตั ิการสอนในสถานศึกษา ตามหลักสูตรปริญญาทางก ารศึกษาเป็ นเวลาไม่น้อยกว่า 1 ปี และผ่านเกณฑ์การ
ประเมินปฏิบตั ิการสอนตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่คณะกรรมการคุรุสภากาหนด ดังต่อไปนี้
1) การฝึ กปฏิบตั ิวิชาชีพระหว่างเรียน
2) การปฏิบตั ิการสอนในสถานศึกษาในสาขาวิชาเฉพาะ
สาระความรูแ้ ละสมรรถนะของครูตามมาตรฐานความรู ้
1. ความเป็ นครู
สาระความรู ้
1) ความสาคัญของวิชาชีพครู บทบาท หน้าที่ ภาระงานของครู
2) พัฒนาการของวิชาชีพครู
3) คุณลักษณะของครูที่ดี
4) การสร้างทัศนคติที่ดีต่อวิชาชีพครู
5) การเสริมสร้างศักยภาพและสมรรถภาพความเป็ นครู
6) การเป็ นบุคคลแห่งการเรียนรูแ้ ละ การเป็ นผูน้ าทางวิชาการ
7) เกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพครู
8) จรรยาบรรณของวิชาชีพครู
9) กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการศึกษา
สมรรถนะ
1) รัก เมตตา และปรารถนาดีต่อผูเ้ รียน
2) อดทนและรับผิดชอบ
3) เป็ นบุคคลแห่งการเรียนรูแ้ ละ เป็ นผูน้ าทางวิชาการ
4) มีวิสยั ทัศน์
5) ศรัทธาในวิชาชีพครู
6) ปฏิบตั ิตามจรรยาบรรณของวิชาชีพครู
2. ปรัชญาการศึกษา
3. ภาษาและวัฒนธรรม
สาระความรู ้
1) ภาษาไทยสาหรับครู
2) ภาษาอังกฤษหรือภาษาต่างประเทศอื่นๆ สาหรับครู
สมรรถนะ
1) สามารถใช้ทกั ษะในการฟั ง การพูด การอ่าน การเขียนภาษาไทย เพื่อการสื่อความหมายได้อย่างถูกต้อง
2) สามารถใช้ ทักษะในการฟั ง การพูด การอ่าน การเขียนภาษาอังกฤษหรือภาษาต่างประเทศอื่ นๆ เพื่อการสื่อความหมายได้อย่าง
ถูกต้อง
4. จิตวิทยาสาหรับครู
สาระความรู ้
1) จิตวิทยาพื้ นฐานที่เกี่ยวข้องกับพัฒนาการมนุ ษย์
2) จิตวิทยาการศึกษา
3) จิตวิทยาการแนะแนวและให้คาปรึกษา
29

สมรรถนะ
1) เข้าใจธรรมชาติของผูเ้ รียน
2) สามารถช่วยเหลือผูเ้ รียนให้เรียนรูแ้ ละพัฒนาได้ตามศักยภาพของตน
3) สามารถให้คาแนะนาช่วยเหลือผูเ้ รียนให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขนึ้
4) สามารถส่งเสริมความถนัดและความสนใจของผูเ้ รียน
5. หลักสูตร
สาระความรู ้
1) ปรัชญา แนวคิดทฤษฎีการศึกษา
2) ประวัติความเป็ นมาและระบบการจัดการศึกษาไทย
3) วิสยั ทัศน์และแผนพัฒนาการศึกษาไทย
4) ทฤษฎีหลักสูตร
5) การพัฒนาหลักสูตร
6) มาตรฐานและมาตรฐานช่วงชั้นของหลักสูตร
7) การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา
8) ปั ญหาและแนวโน้มในการพัฒนาหลักสูตร
สมรรถนะ
1) สามารถวิเคราะห์หลักสูตร
2) สามารถปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรได้อย่างหลากหลาย
3) สามารถประเมินหลักสูตรได้ท้งั ก่อนและหลังการใช้หลักสูตร
4) สามารถจัดทาหลักสูตร
6. การจัดการเรียนรูแ้ ละการจัดการชั้นเรียน
สาระความรู ้
1) ทฤษฎีการเรียนรูแ้ ละการสอน
2) รูปแบบการเรียนรูแ้ ละการพัฒนารูปแบบการเรียนการสอน
3) การออกแบบและการจัดประสบการณ์การเรียนรู้
4) การบูรณาการเนื้ อหาในกลุ่มสาระการเรียนรู้
5) การบูรณาการการเรียนรูแ้ บบเรียนรวม
6) เทคนิ คและวิทยาการจัดการเรียนรู้
7) การใช้และการผลิตสื่อและการพัฒนานวัตกรรมในการเรียนรู้
8) การจัดการเรียนรูแ้ บบยึดผูเ้ รียนเป็ นสาคัญ
9) การประเมินผลการเรียนรู้
10) ทฤษฎีและหลักการบริหารจัดการ
11) ภาวะผูน้ าทางการศึกษา
12) การคิดอย่างเป็ นระบบ
13) การเรียนรูว้ ฒ
ั นธรรมองค์กร
14) มนุ ษยสัมพันธ์ในองค์กร
15) การติดต่อสื่อสารในองค์กร
16) การบริหารจัดการชั้นเรียน
17) การทางานเป็ นทีม
18) การจัดทาโครงงานทางวิชาการ
19) การจัดโครงการฝึ กอาชีพ
20) การจัดโครงการและกิจกรรมเพื่อพัฒนา
21) การจัดระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการ
30

22) การศึกษาเพื่อพัฒนาชุมชน
23) การทางานเป็ นทีม
24) การจัดทาโครงงานทางวิชาการ
สมรรถนะ
1) สามารถนาประมวลรายวิชามาจัดทาแผนการเรียนรูร้ ายภาคและตลอดภาค
2) สามารถออกแบบการเรียนรูท้ ี่เหมาะสมกับวัยของผูเ้ รียน
3) สามารถเลือกใช้พฒ ั นาและสร้างสื่ออุปกรณ์ที่ส่งเสริมการเรียนรูข้ องผูเ้ รียน
4) สามารถจัดกิจกรรมที่ส่งเสริมการเรียนรูข้ องผูเ้ รียนและจาแนกระดับการเรียนรูข้ องผูเ้ รียนจากการประเมินผล
5) มีภาวะผูน้ า
6) สามารถบริหารจัดการในชั้นเรียน
7) สามารถสื่อสารได้อย่างมีคุณภาพ
8) สามารถในการประสานประโยชน์
9) สามารถนานวัตกรรมใหม่ๆ มาใช้ในการบริหารจัดการ
7. การวิจยั เพื่อพัฒนาการเรียนรู ้
สาระความรู ้
1) ทฤษฎีการวิจยั
2) รูปแบบการวิจยั
3) การออกแบบการวิจยั
4) กระบวนการวิจยั
5) สถิติเพื่อการวิจยั
6) การวิจยั ในชั้นเรียน
7) การฝึ กปฏิบตั ิการวิจยั
8) การนาเสนอผลงานวิจยั
9) การค้นคว้าศึกษางานวิจยั ในการพัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู้
10) การใช้กระบวนการวิจยั ในการแก้ปัญหา
11) การเสนอโครงการเพื่อทาวิจยั
สมรรถนะ
1) สามารถนาผลการวิจยั ไปใช้ในการจัดการเรียนการสอน
2) สามารถทาวิจยั เพื่อพัฒนาการเรียนการสอนและพัฒนาผูเ้ รียน
8. นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
สาระความรู ้
1) แนวคิด ทฤษฎี เทคโนโลยีและนวัตกรรมการศึกษาที่ส่งเสริมการพัฒนา คุณภาพการเรียนรู้
2) เทคโนโลยีและสารสนเทศ
3) การวิเคราะห์ปัญหาที่เกิดจากการใช้นวัตกรรมเทคโนโลยีและสารสนเทศ
4) แหล่งการเรียนรูแ้ ละเครือข่ายการเรียนรู้
5) การออกแบบ การสร้าง การนาไปใช้ การประเมินและการปรับปรุงนวัตกรรม
สมรรถนะ
1) สามารถเลือกใช้ออกแบบ สร้างและปรับปรุงนวัตกรรมเพื่อให้ผเู้ รียนเกิดการเรียนรูท้ ี่ดี
2) สามารถพัฒนาเทคโนโลยีและสารสนเทศเพื่อให้ผเู้ รียนเกิดการเรียนรูท้ ี่ดี
3) สามารถแสวงหาแหล่งเรียนรูท้ ี่หลากหลายเพื่อส่งเสริมการเรียนรูข้ องผูเ้ รียน
9. การวัดและประเมินผลการเรียนรู ้
สาระความรู ้
1) หลักการและเทคนิ คการวัดและประเมินผลทางการศึกษา
31

2) การสร้างและการใช้เครื่องมือวัดผลและประเมินผลการศึกษา
3) การประเมินตามสภาพจริง
4) การประเมินจากแฟ้มสะสมงาน
5) การประเมินภาคปฏิบตั ิ
6) การประเมินผลแบบย่อยและแบบรวม
สมรรถนะ
1) สามารถวัดและประเมินผลได้ตามสภาพความเป็ นจริง
2) สามารถนาผลการประเมินไปใช้ในการปรับปรุงการจัดการเรียนรูแ้ ละหลักสูตร
10. การประกันคุณภาพการศึกษา
11. คุณธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณ
สาระการฝึ กทักษะและสมรรถนะของครูตามมาตรฐานประสบการณ์วิชาชีพ
1. การฝึ กปฏิบตั ิวิชาชีพระหว่างเรียน
สาระการฝึ กทักษะ
1) การบูรณาการความรูท้ ้งั หมดมาใช้ในการฝึ กประสบการณ์วิชาชีพในสถานศึกษา
2) ฝึ กปฏิบตั ิการวางแผนการศึกษาผูเ้ รียน โดยการสังเกต สัมภาษณ์รวบรวมข้อมูลและนาเสนอผลการศึกษา
3) มีส่วนร่วมกับสถานศึกษาในการพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตร รวมทั้ง การนาหลักสูตรไปใช้
4) ฝึ กการจัดทาแผนการเรียนรูร้ ่วมกับสถานศึกษา
5) ฝึ กปฏิบตั ิการดาเนิ นการจัดกิจกรรมเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้ โดยเข้าไป มีส่วนร่วมในสถานศึกษา
6) การจัดทาโครงงานทางวิชาการ
สมรรถนะ
1) สามารถศึกษาและแยกแยะผูเ้ รียนได้ตามความแตกต่างของผูเ้ รียน
2) สามารถจัดทาแผนการเรียนรู้
3) สามารถฝึ กปฏิบตั ิการสอน ตั้งแต่การจัดทาแผนการสอน ปฏิบตั ิการสอน ประเมินผลและปรับปรุง
4) สามารถจัดทาโครงงานทางวิชาการ
2. การปฏิบตั ิการสอนในสถานศึกษาในสาขาวิชาเฉพาะ
สาระการฝึ กทักษะ
1) การบูรณาการความรูท้ ้งั หมดมาใช้ในการปฏิบตั ิการสอนในสถานศึกษา
2) การจัดทาแผนการจัดการเรียนรูท้ ี่ยดึ ผูเ้ รียนเป็ นสาคัญ
3) การจัดกระบวนการเรียนรู้
4) การเลือกใช้การผลิตสื่อและนวัตกรรมที่สอดคล้องกับการจัดการเรียนรู้
5) การใช้เทคนิ คและยุทธวิธีในการจัดการเรียนรู้
6) การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
7) การทาวิจยั ในชั้นเรียนเพื่อพัฒนาผูเ้ รียน
8) การนาผลการประเมินมาพัฒนาการจัดการเรียนรูแ้ ละพัฒนาคุณภาพผูเ้ รียน
9) การบันทึกและรายงานผลการจัดการเรียนรู้
10) การสัมมนาทางการศึกษา
สมรรถนะ
1) สามารถจัดการเรียนรูใ้ นสาขาวิชาเฉพาะ
2) สามารถประเมิน ปรับปรุง และพัฒนาการจัดการเรียนรูใ้ ห้เหมาะสมกับศักยภาพของผูเ้ รียน
3) สามารถทาวิจยั ในชั้นเรียนเพื่อพัฒนาผูเ้ รียน
4) สามารถจัดทารายงานผลการจัดการเรียนรูแ้ ละการพัฒนาผูเ้ รียน
32

2. มาตรฐานการปฏิบตั ิงาน หมายความว่า ข้อกาหนดเกี่ยวกับคุณลักษณะหรือการ


แสดงพฤติกรรมการปฏิบตั ิงานและการพัฒนางาน ซึ่งผูป้ ระกอบวิชาชีพทางการศึกษาต้อง
ปฏิบตั ิตามเพื่อให้เกิดผลตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายการเรียนรูห้ รือการจัดการศึกษา
รวมทั้งต้องฝึ กฝนให้มีทกั ษะหรือความชานาญสูงขึ้ นอย่างต่อเนื่ องประกอบด้วย
มาตรฐานที่ 1 ปฏิบตั ิกิจกรรมทางวิชาการเพื่อพัฒนาวิชาชีพครูให้กา้ วหน้าอยู่
เสมอ
การปฏิบตั ิกิจกรรมทางวิชาการเพื่อพัฒนาวิชาชีพครูให้กา้ วหน้าอยูเ่ สมอ หมายถึง
การศึกษาค้นคว้าเพื่อพัฒนาตนเอง การเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ และการเข้าร่วมกิจกรรม
ทางวิชาการที่องค์การ หรือหน่ วยงานหรือสมาคมจัดขึ้ น เช่น การประชุม อบรม การสั มมนา
และการประชุมวิชาการเป็ นต้น ทั้งนี้ ต้องมีผลงานหรือรายงานที่ปรากฏชัดเจน
มาตรฐานที่ 2 ตัดสินใจปฏิบตั ิกิจกรรมต่างๆ โดยคานึงถึงผลที่จะเกิดแก่ผเู ้ รียน
การตัดสินใจปฏิบตั ิกิจกรรมต่างๆ โดยคานึ งถึงผลที่จะเกิ ดแก่ผเู้ รียน หมายถึง การเลือกอย่างชาญฉลาดด้วยความรักและหวังดี
ต่อผูเ้ รียน ดังนั้น ในการเลือกกิจกรรมการเรียนรูแ้ ละกิจกรรมอื่นๆ ครูตอ้ งคานึ งถึงประโยชน์ที่จะเกิดแก่ผเู้ รียนเป็ นหลัก
มาตรฐานที่ 3 มุ่งมั ่นพัฒนาผูเ้ รียนให้เติบโตเต็มตามศักยภาพ
การมุ่งมัน่ พัฒนาผูเ้ รียนให้เติบโตเต็มตามศักยภาพ หมายถึง การใช้ความพยายามอย่างเต็มความสามารถของครูที่จะให้ผเู้ รียน
เกิดการเรียนรูใ้ ห้มากที่สุดตามความถนัด ความสนใจ ความต้องการ โดยวิเคราะห์วินิจฉัยปั ญหาความต้องการที่แท้จริงของผูเ้ รียน
ปรับเปลี่ยนวิธีการสอนที่จะให้ได้ผลดีกว่าเดิม รวมทั้งการส่งเสริมพัฒนาการด้านต่างๆ ตามศักยภาพของผูเ้ รียนแต่ละคนอย่างเป็ นระบบ
มาตรฐานที่ 4 พัฒนาแผนการสอนให้สามารถปฏิบตั ิได้จริงในชั้นเรียน
การพัฒนาแผนการสอนให้สามารถปฏิบตั ิได้จริงในชั้นเรียน หมายถึง การเลือกใช้ ปรับปรุง หรือสร้างแผนการสอน บันทึกการ
สอน หรือเตรียมการสอนในลักษณะอื่นๆ ที่สามารถนาไปใช้จดั กิจกรรมการเรียนการสอนให้ผเู้ รียนบรรลุวตั ถุประสงค์ของการเรียนรู้
มาตรฐานที่ 5 พัฒนาสื่อการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพอยูเ่ สมอ
การพัฒนาสื่อการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพอยูเ่ สมอ หมายถึง การประดิษฐ์ คิดค้น ผลิต เลือกใช้ ปรับปรุงเครื่องมือ
อุปกรณ์ เอกสารสิ่งพิมพ์ เทคนิ ควิธีการต่างๆ เพื่อให้ผเู้ รียนบรรลุจุดประสงค์ของการเรียนรู้
มาตรฐานที่ 6 จัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้ผเู ้ รียนรูจ้ กั คิดวิเคราะห์ คิดสร้างสรรค์ โดยเน้นผลถาวรที่เกิดแก่ผเู ้ รียน
การจัดกิจกรรมการเรียนการส อนให้ผเู้ รียนรูจ้ กั คิดวิ เคราะห์ คิดสร้างสรรค์ โดยเน้น ผลถาวรที่เกิดแก่ผเู้ รียน หมายถึง การ
จัดการเรียนการสอนที่มุ่งเน้นให้ผเู้ รียนประสบผลสาเร็จในการแสวงหาความรู้ ตามสภาพความแตกต่างของบุคคลด้วยการปฏิบตั ิจริง และ
สรุปความรูท้ ้งั หลายได้ดว้ ยตนเองก่อให้เกิดค่านิ ยมและนิ สยั ในการปฏิบตั ิจนเป็ นบุคลิกภาพถาวรติดตัวผูเ้ รียนตลอดไป
มาตรฐานที่ 7 รายงานผลการพัฒนาคุณภาพของผูเ้ รียนได้อย่างมีระบบ
การรายงานผลการพัฒนาคุณภาพของผูเ้ รียนได้ อย่างมีระบบ หมายถึง การรายงานผล การพัฒนาผูเ้ รียนที่เกิดจากการ
ปฏิบตั ิการเรียนการสอนให้ครอบคลุมสาเหตุ ปั จจัย และการดาเนิ นงานที่เกี่ยวข้อง โดยครูนาเสนอรายงานการปฏิบตั ิในรายละเอียด ดังนี้
1) ปั ญหาความต้องการของผูเ้ รียนที่ตอ้ งได้รบั การพัฒนา และเป้าหมายของการพัฒนาผูเ้ รียน
2) เทคนิ ค วิธีการ หรือนวัตกรรมการเรียนการสอนที่นามาใช้เพื่อการพัฒนาคุณภาพของผูเ้ รียน และขัน้ ตอนวิธีการใช้เทคนิ ค
วิธีการหรือนวัตกรรมนั้นๆ
3) ผลการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามวิธีการที่กาหนด ที่เกิดกับผูเ้ รียน
4) ข้อเสนอแนะแนวทางใหม่ๆ ในการปรับปรุงและพัฒนาผูเ้ รียนให้ได้ผลดียงิ่ ขึ้ น
มาตรฐานที่ 8 ปฏิบตั ิตนเป็ นแบบอย่างที่ดีแก่ผเู ้ รียน
การปฏิบตั ิตนเป็ นแบบอย่างที่ดีแก่ผเู้ รียน หมายถึง การแสดงออกการประพฤติและปฏิบตั ิในด้านบุคลิกภาพทัว่ ไป การแต่งกาย
กิริยา วาจา และจริยธรรมที่เหมาะสมกับความเป็ นครูอย่างสมา่ เสมอ ที่ทาให้ผเู้ รียนเลื่อมใสศรัท ธา และถือเป็ นแบบอย่าง
มาตรฐานที่ 9 ร่วมมือกับผูอ้ ื่นในสถานศึกษาอย่างสร้างสรรค์
การร่วมมือกับผูอ้ ื่นในสถานศึกษาอย่างสร้างสรรค์ หมายถึง การตระหนักถึงความสาคัญ รับฟั งความคิดเห็น ยอมรับในความรู้
ความสามารถ ให้ควา มร่วมมือในการปฏิบตั ิกิจกรรมต่าง ๆ ของเพื่อนร่วมงา นด้วยความเต็มใจ เพื่อให้บรรลุเป้าหมายของสถานศึกษา
และร่วมรับผลที่เกิดขึ้ นจากการกระทานั้น
33

มาตรฐานที่ 10 ร่วมมือกับผูอ้ ื่นในชุมชนอย่างสร้างสรรค์


การร่วมมือกับผูอ้ ื่นในชุมชนอย่างสร้างสรรค์ หมายถึง การตระหนักถึงความสาคัญ รับฟั งความคิดเห็น ยอมรับในความรู้
ความสามารถ ของบุคคลอื่นในชุมชน และร่วมมือปฏิบตั ิงานเพื่อพัฒนางานของสถานศึกษา ให้ชุมชนและสถานศึกษามีการยอมรับซึ่งกัน
และกัน และปฏิบตั ิงานร่วมกันด้วยความเต็มใจ
มาตรฐานที่ 11 แสวงหาและใช้ขอ้ มูลข่าวสารในการพัฒนา
การแสวงหาและใช้ขอ้ มูลข่าวสารในการพัฒนา หมายถึง การค้นหา สังเกต จดจา และรวบรวมข้อมูลข่าวสารตามสถานการณ์
ของสังคมทุกด้าน โดยเฉพาะสารสนเทศเกี่ยวกับวิชาชีพครู สามารถวิเคราะห์ วิจารณ์อย่างมีเหตุผล และใช้ขอ้ มูลประกอบการแก้ปัญหา
พัฒนาตนเอง พัฒนางาน และพัฒนาสังคมได้อย่างเหมาะสม
มาตรฐานที่ 12 สร้างโอกาสให้ผเู ้ รียนได้เรียนรูใ้ นทุกสถานการณ์
การสร้างโอกาสให้ผเู้ รียนได้เรียนรูใ้ นทุกสถานการณ์ หมายถึง การสร้าง
กิจกรรมการเรียนรูโ้ ดยการนาเอาปั ญหาหรือความจาเป็ นในการพัฒนาต่าง ๆ ที่
เกิดขึ้ นในการเรียนและการจัดกิจกรรม อื่นๆ ในโรงเรียนมากาหนดเป็ นกิจกรรมการ
เรียนรู้ เพื่อนาไปสู่ก ารพัฒนาของผูเ้ รียนที่ถาวร เป็ นแนวทางในการแก้ปัญหาของครู
อีกแบบหนึ่ งที่จะนาเอาวิกฤติต่าง ๆ มาเป็ นโอกาส ในการพัฒนาครูจาเป็ นต้องมองมุม
ต่างๆ ของปั ญหาแล้วผันมุมของปั ญหาไปในทางการพัฒนา กาหนดเป็ นกิจกรรมใน
การพัฒนาของผูเ้ รียน ครูจึงต้อง เป็ นผูม้ องมุมบวกในสถานการณ์ต่ างๆ ได้ กล้าที่จะ
เผชิญกับปั ญหาต่าง ๆ มีสติในการแก้ปัญหา มิได้ตอบสนองปั ญหาต่าง ๆ ด้วยอารมณ์
หรือแง่มุมแบบตรงตัว ครูสามารถมองหักมุมในทุกๆ โอกาส มองเห็นแนวทางที่นาสู่ผลก้าวหน้าของผูเ้ รียน
3. มาตรฐานการปฏิบตั ิตนหรือจรรยาบรรณวิชาชีพ หมายความว่า จรรยาบรรณของวิชาชี พที่กาหนดขึ้ นเป็ นแบบแผนใน
การประพฤติตน ซึ่งผูป้ ระกอบวิชาชีพทางการศึกษาต้องปฏิบตั ิตาม เพื่อรักษาและส่งเสริมเกียรติคุณชื่อเสียง และฐานะของผูป้ ระกอบ
วิชาชีพทางการศึกษาให้เป็ นที่เชื่อถือศรัทธาแก่ผรู้ บั บริการและสังคม อันจะนามาซึ่งเกียรติและศักดิ์ศรีแห่งวิชาชีพประกอบด้วย
จรรยาบรรณต่อตนเอง
1. ผูป้ ระกอบวิชาชีพทางการศึกษา ต้องมีวินัยในตนเอง พัฒนาตนเองด้านวิชาชีพ บุคลิกภาพและวิสยั ทัศน์ให้ทนั ต่อการพัฒนา
ทางวิทยาการ เศรษฐกิจ สังคมและการเมืองอยูเ่ สมอ
จรรยาบรรณต่อวิชาชีพ
2. ผูป้ ระกอบวิชาชีพทางการศึกษา ต้องรัก ศรัทธา ซื่อสัตย์สุจริต รับผิดชอบต่อวิชาชีพ และเป็ นสมาชิกที่ดีขององค์กรวิชาชีพ
จรรยาบรรณต่อผูร้ บั บริการ
3. ผูป้ ระกอบวิชาชีพทางการศึกษา ต้องรัก เมตตา เอาใจใส่ ช่วยเหลือ ส่งเสริม ให้กาลังใจแก่ศิษย์ และผูร้ บั บริการ ตามบทบาท
หน้าที่โดยเสมอหน้า
4. ผูป้ ระกอบวิชาชีพทางการ ศึกษา ต้องส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้ ทักษะ และนิ สยั ที่ถูกต้องดีงามแก่ศิษย์และผูร้ บั บริการตาม
บทบาทหน้าที่อย่างเต็มความสามารถ ด้วยความบริสุทธิ์ใจ
5. ผูป้ ระกอบวิชาชีพทางการศึกษา ต้องประพฤติปฏิบตั ิตนเป็ นแบบอย่างที่ดี ทั้งทางกาย วาจาและจิตใจ
6. ผูป้ ระกอบวิชาชีพ ทางการศึกษา ต้องไม่ กระทาตนเป็ นปฏิปักษ์ต่อความเจริญ ทางกาย สติปัญญา จิตใจ อารมณ์ และสังคม
ของศิษย์ และผูร้ บั บริการ
7. ผูป้ ระกอบวิชาชีพทางการศึกษา ต้องให้บริการด้วยความจริงใจและเสมอภาคโดยไม่เรียกรับหรือยอมรับผลประโยชน์จากการ
ใช้ตาแหน่ งหน้าที่โดยมิชอบ
จรรยาบรรณต่อผูร้ ว่ มประกอบวิชาชีพ
8. ผูป้ ระกอบวิชาชีพทางการศึกษา พึงช่วยเหลือเกื้ อกูลซึ่งกันและกันอย่างสร้างสรรค์ โดยยึดมัน่ ในระบบคุณธรรมสร้างความ
สามัคคีในหมู่คณะ
จรรยาบรรณต่อสังคม
9. ผูป้ ระกอบวิชาชีพทางการศึกษา พึงประพฤติปฏิบตั ิตนเป็ นผูน้ าในการอนุ รกั ษ์และพัฒนาเศรษฐกิ จ สังคม ศาสนา
ศิลปวัฒนธรรม ภูมิปัญญา สิ่งแวดล้อม รักษาผลประโยชน์ส่วนรวม และยึดมัน่ ในการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์
ทรงเป็ นประมุข
34

องค์กรวิชาชีพครู
คุรุสภา หมายถึง สภาของครูนี่ คือการแปลตามศัพท์ที่ปรากฏ ในปั จจุบนั เมื่อกล่าวถึง คุรุสภา
เราจะเรียกว่า "สภาครูและบุคลากรทางการศึกษา"
คุรุสภา เป็ นสภาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาไทย มีหน้าที่หลักในการกาหนด
มาตรฐานวิชาชีพ ออกและเพิกถอน ใบอนุ ญาต กากับ ดูแลการปฏิบตั ิตามมาตรฐานวิชาชีพและ
จรรยาบรรณวิชาชีพ รวมทั้งการพัฒนาวิชาชีพ กาหนดนโยบายและแผนพัฒนาวิชาชีพ ประสานส่งเสริม
การศึกษาและการวิจยั เกี่ยวกับการประกอบวิชาชีพ
เมื่อปี พ.ศ. 2488 รัฐบาลของนาย ควง อภัยวงศ์ โดยนาย ทวี บุณยเกตุ รัฐมนตรีว่าการ
กระทรวงศึกษาธิการ ได้เล็งเห็นถึงปั ญหาวิกฤติในวิชาชีพครู เนื่ องจากคนดี คนเก่ง ไม่อยากเรียนครู
และครูเก่ง ครูดีจานวนไม่น้อยไปประกอบอาชีพอื่น จึงได้ มีการตราพระราชบัญญัติครู พ .ศ. 2488 ขึ้ นมาเพื่อแก้ปัญหาวิกฤติวิชาชีพครู
โดยให้มีสภาในกระทรวงศึกษาธิการ มีฐานะเป็ นนิ ติบุคคล เรียกว่า "คุรุสภา" ให้มีอานาจหน้าที่ในการเสนอความเห็นเรื่องนโยบาย
การศึกษา และวิชาการศึกษาทัว่ ไป ควบคุมจรรยาและวินัยของครู รักษาผลประโยชน์ และส่งเสริมฐานะครู และครอบครัวให้ได้รบั ความ
ช่วยเหลือตามสมควร ส่งเสริมความรูแ้ ละความสามัคคีของครู ตลอดจนทาหน้าที่แทน ก.พ. ในเรื่องการบริหารงานบุคคล โดยกาหนดให้
ครูทุกคนต้องเป็ นสมาชิกคุรุสภา
ต่อมาในปี พ .ศ. 2546 รัฐบาลของพันตารวจโท ทักษิณ ชินวัตร ซึ่งมีนาย ปองพล อดิเรกสาร เป็ นรัฐมนตรีว่าการ
กระทรวงศึกษาธิการ ได้ตราพระราชบัญญัติสภาครูและบุคลากรทางการศึกษา พ .ศ. 2546 ปรับปรุงคุรุสภาเป็ นสภาครูและบุคลากร
ทางการศึกษา โดยใช้ชื่อเรียกเหมือนเดิมว่า คุรุสภา
สานักงานเลขาธิการคุรุสภา เป็ นหน่ วยงานในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ และเป็ นหน่ วยดาเนิ นงานของคุรุสภา หรือสภาครู
และบุคลากรทางการศึกษา มีหน้าที่ในการกาหนดมาตรฐานวิชาชีพ ออกและเพิกถอนใบอนุ ญาต กากับ ดูแลการปฏิบตั ิตามมาตรฐาน
วิชาชีพและจรรยาบรรณวิชาชีพ รวมทั้งการพัฒนาวิชาชีพ กาหนดนโยบายและแผนพัฒนาวิชาชีพ ประสานส่งเสริมการศึกษาและการวิจยั
เกี่ยวกับการประกอบวิชาชีพ และภารกิจอื่นตามที่คุรุสภามอบหมาย โดยมีเลขาธิการคุรุสภา เป็ นผูบ้ งั คับบัญชา มีสานักงานตั้งอยูท่ ี่
128/1 ถนนนครราชสีมา เขตดุสิต กรุงเทพ 10300
พระราชบัญญัติสภาครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2546 กาหนดให้มีคณะกรรมการคณะหนึ่ ง เรียกว่า คณะกรรมการ
คุรุสภา ประกอบด้วย
 ประธานกรรมการ ซึ่งคณะรัฐมนตรีแต่งตั้งจากผูท ้ รงคุณวุฒิที่มีความรู้ ความเชี่ยวชาญ และประสบการณ์สงู ด้าน
การศึกษา มนุ ษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ หรือกฎหมาย
 กรรมการโดยตาแหน่ ง ประกอบด้วย ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ เลขาธิการสภาการศึกษา เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขัน ้
พื้ นฐาน เลขาธิการคณะกรรมการอุดมศึกษา เลขาธิการคณะกรรมการอาชีวศึกษา เลขาธิการคณะกรรมการข้าราชการครูและ
บุคลากรทางการศึกษา ผูอ้ านวยการสานักบริหารคณะกรรมการส่งเสริ มการศึกษาเอกชน และหัวหน้าสานักงานคณะกรรมการ
มาตรฐานการบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น
 กรรมการผูท ้ รงคุณวุฒิจานวนเจ็ดคน ซึ่งคณะรัฐมนตรีแต่งตั้งจากผูท้ ี่มีความรู้ ความเชี่ยวชาญ และประสบการณ์สงู ด้านการ
บริหารการศึกษา การอาชีวศึกษา การศึกษาพิเศษ มนุ ษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และกฎหมายด้านละ
หนึ่ งคน ซึ่งในจานวนนี้ ต้องเป็ นผูท้ ี่เป็ นหรือเคยเป็ นครู ผูบ้ ริหารสถานศึกษา หรือผูบ้ ริหารการศึกษา ไม่น้อยกว่าสามคน
 กรรมการซึ่งได้รบ ั การแต่งตั้งจากผูด้ ารงตาแหน่ งคณบดีคณะครุศาสตร์หรือศึกษาศาสตร์ หรือการศึกษา ซึ่งเลือกกั นเองจาก
สถาบันอุดมศึกษาของรัฐจานวนสามคน และจากสถาบันอุดมศึกษาเอกชนจานวนหนึ่ งคน
 กรรมการจากผูป ้ ระกอบวิชาชีพทางการศึกษา ซึ่งเลือกตั้งมาจากผูป้ ระกอบวิชาชีพทางการศึกษาที่ดารงตาแหน่ งครู ผูบ้ ริหาร
สถานศึกษา ผูบ้ ริหารการศึกษา และบุคลากรทางการศึกษาอื่น และมาจากสังกั ดเขตพื้ นที่การศึกษา สถาบันอาชีวศึกษา
สถานศึกษาเอกชน และองค์ปกครองส่วนท้องถิ่น ตามสัดส่วนจานวนผูป้ ระกอบวิชาชีพทางการศึกษา ให้เลขาธิการคุรุสภาเป็ น
เลขานุ การ หลักเกณฑ์และวิธีการสรรหาประธานกรรมการ กรรมการผูท้ รงคุณวุฒิ หลักเกณฑ์และวิธีการเลือกผูแ้ ทน
สถาบันอุดมศึกษา และหลักเกณฑ์และวิธีการเลือกตั้งผูป้ ระกอบวิชาชีพทางการศึกษาให้เป็ นไปตามข้อบังคับของคุรุสภา
35

ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพทางการศึกษา
เป็ นหลักฐานการอนุ ญาตให้ผปู้ ระกอบวิชาชีพควบคุมตามมาตรา 43 แห่งพระราชบัญญัติสภาครูและบุคลากรทางการศึกษา
พ.ศ. 2546[1] เป็ นผูม้ ีสิทธิ์ในการประกอบวิชาชีพ ซึ่งได้แก่ ครู ผูบ้ ริหารสถานศึกษา
ผูบ้ ริหารการศึกษา และบุคลากรทางการศึกษาอื่น ซึ่งหน่ วยงานที่มีหน้าที่ในการ
ออกใบอนุ ญาตฯ คือ คุรุสภา
ประเภทของใบอนุญาตประกอบวิชาชีพทางการศึกษา
 ใบอนุ ญาตประกอบวิชาชีพครู
 ใบอนุ ญาตประกอบวิชาชีพผูบ้ ริหารสถานศึกษา
 ใบอนุ ญาตประกอบวิชาชีพผูบ้ ริหารการศึกษา
 ใบอนุ ญาตประกอบวิชาชีพบุคลากรทางการศึกษาอื่น
ผูม้ ีสิทธิขึ้นทะเบียนใบอนุญาตประกอบวิชาชีพทางการศึกษา
ครู
 ครูซึ่งเป็ นสมาชิก คุรุสภา ตามพระราชบัญญัติครู พุทธศักราช 2488 อยูแ ่ ล้วก่อนวันที่ 12 มิถุนายน พ.ศ. 2546 ได้แก่
ข้าราชการครู ตามพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครู พ.ศ. 2523 พนักงานครูเทศบาล ข้าราช การกรุงเทพมหานคร ซึ่งดารง
ตาแหน่ งประจาในสถานศึกษาของกรุงเทพฯ
 ผูท ้ าการสอนในสถานศึกษาที่อยูใ่ นความควบคุมของ กระทรวงศึกษาธิการ และได้รบั เงินเดือนประจาครูซึ่งเป็ นสมาชิกคุรุสภา
ตามพระราชบัญญัติครู พุทธศักราช 2488 อยูแ่ ล้วก่อน วันที่ 12 มิถุนายน พ.ศ. 2546 ซึ่งต่อมาลาออกหรือเกษียณอายุราชการ
หรือพ้นจากหน้าที่ครู
 ผูท ้ ี่ประกอบวิชาชีพครู ซึ่งบรรจุและแต่งตั้งตั้งแต่วนั ที่พระราชบัญญัติสภาครูและ บุคลากรทางการศึกษา พ .ศ. 2546 ใช้บงั คับ
หรือวันที่ 12 มิถุนายน พ.ศ. 2546 และมีวุฒิปริญญาทางการศึกษา หรือปริญญาอื่นที่ ก .ค. กาหนดให้เป็ นคุณวุฒิที่ใช้ในการ
บรรจุและแต่งตั้งเป็ นข้าราชการครูก่อนวันที่พระราชบัญญัติสภาครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2546 ใช้บงั คับ
 ครูอต ั ราจ้าง ตามสัญญาจ้างที่มีวุฒิทางการศึกษา หรือปริญญาอื่นที่ ก .ค.กาหนดให้เป็ นคุณวุฒิที่ใช้ในการบรรจุและแต่งตั้งเป็ น
ข้าราชการครู ก่อนวันที่พระราชบัญญัติสภาครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2546 ใช้บงั คับ
 ผูป ้ ระสงค์จะประกอบวิชาชีพครู ได้แก่ ผูท้ ี่ยงั ไม่ได้ประกอบวิชาชีพครูที่มีความประสงค์จะประกอบวิชาชีพครู และมีวุฒิปริญญาทาง
การศึกษา หรือปริญญาอื่นที่ ก .ค. กาหนดให้เป็ นคุณวุฒิที่ใช้ในการบรรจุและแต่งตั้งเป็ นข้าราชการ ครูก่อนวันที่พระราชบัญญัติ
สภาครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2546 ใช้บงั คับ
ผูบ้ ริหารสถานศึกษา
 ผูป ้ ระกอบวิชาชีพผูบ้ ริหารสถานศึกษา ได้แก่ ผูท้ ี่ดารงตาแหน่ งเป็ น ผูบ้ ริหารสถานศึกษา และรองผูบ้ ริหารสถานศึกษา หรือผูช้ ่วย
ผูบ้ ริหารการศึกษา เช่น ครูใหญ่ ผูช้ ่วยครูใหญ่ อาจารย์ใหญ่ ผูช้ ่วยอาจารย์ใหญ่ ผูอ้ านวยการ รองผูอ้ านวยการ หรือผูช้ ่วย
ผูอ้ านวยการสถานศึกษา เป็ นต้น
ผูบ้ ริหารการศึกษา
 ผูป ้ ระกอบวิชาชีพผูบ้ ริหารการศึกษา ได้แก่ ผูท้ ี่ดารงตาแหน่ งเป็ นผูท้ าหน้าที่เกี่ยวกับการให้การศึกษาที่ไม่สงั กัดโรงเรียน วิทยาลั ย
หรือสถานศึกษาที่เรียกชื่ออย่างอื่นของกระทรวงศึกษาธิการในระดับเขตพื้ นที่การศึกษา
บุคลากรทางการศึกษาอื่น
 ผูป ้ ระกอบวิชาชีพบุคลากรทางการศึกษาอื่น ตามที่กาหนดในกฎกระทรวง

You might also like