You are on page 1of 166

ทักษะในวิชาชีพวิศวกรรม

ที่ปรึกษาคณะทํางาน นายวิศาล เชาวชเู วชช

ประธานคณะทํางาน นายเอกสิทธิ์ ลิ้มสุวรรณ

คณะทํางาน นายมงคล เดชนครินทร


นายแมน อมรสิทธิ์
นายวิศว จักรไพศาล
นายสายันต ศิริมนตรี
2

บทที่ 1
บทนํา
การพัฒนาองคความรูเขาสูวิชาชีพวิศวกรรมมีความสําคัญอยางยิ่งที่จะตองมีพื้นฐาน
ทางวิ ท ยาศาสตร อ ย า งพอเพี ย ง โดยเฉพาะในด านคณิ ต ศาสตร ฟ สิ ก ส และเคมี เพื่ อ สรา ง
รากฐานที่มั่นคงตอพื้นฐานทางวิศวกรรมศาสตร ซึ่งพื้นฐานทางวิทยาศาสตรและพื้นฐานทาง
วิศวกรรมศาสตรจะเปนโครงสรางหลักใหมีการเพิ่มพูนความรูการศึกษาในวิศวกรรมหลักเฉพาะ
ทําไดอยางกวางขวางดวยฐานรากที่มั่นคงเพื่อการสริมยอดไดดวยศักยภาพที่สูงยิ่งขึ้น ทั้งในเชิง
การวิเคราะห การสั งเคราะห เพื่ อให เกิดการพั ฒ นาไดทั้ งดานวิท ยาการ และทางเทคโนโลยี
ที่สามารถนํ าเสนอเพื่อเปนแผนหรือนโยบายและเปนแนวทางการดําเนินงานสูการปฏิบัติใน
ระดั บ ต าง ๆ ไดอย างละเอียดและลึกซึ้ งด วยมาตรฐานคุณ ภาพที่ สูง และให เกิดศั ก ยภาพใน
การแขงขันไดในระดับสากล ทั้งนี้พึงจะตองพิจารณาตามขั้นตอนและขบวนการทางวิศวกรรม
อันประกอบดวยการศึกษาโครงการ การกําหนดนโยบาย แผนการทําโครงการ การออกแบบ
การผลิต การกอสรางหรือการอํานวยการติดตั้ง การควบคุมการกอสราง การควบคุมคุณภาพ
การปฏิบัติงาน การกํากับดูแล และการบํารุงรักษา รวมถึงการซอมแซมปรับปรุงแกไข
ทักษะทางวิศวกรรมที่วิศวกรทุกสาขาควรจะตองสรางเสริมใหเกิดขึ้นกับตนติดตัวไป
โดยอัตโนมัติจนถือเปนเอกลักษณ บุคลิกภาพของวิศวกรทุก ๆ คน คือ
• ทักษะการสื่อทางวิศวกรรม (Communication Skill)
• ทักษะการคํานวณ (Computation Skill)
• ทักษะพื้นฐานทางวิศวกรรม (Basic Engineering Skill)
• ทักษะการบริหาร (Management Skill)
• ทักษะการบริการทางวิศวกรรม (Engineering Services Skill)
การสรางทักษะในวิศ วกรทุ กคนมิอาจทําไดในค่ําคืน แตจะตองคอยเปนคอยไปดวย
การสรางสมทีละเล็กทีละนอย ทั้งในขบวนการการเรียนการสอนทั้งภาคทฤษฎีในหองเรียน และ
ภาคปฏิ บั ติ ในห อ งปฏิ บั ติ ก าร หรื อ ในหน ว ยงานที่ ป ฏิ บั ติ ห รื อ ประกอบวิ ช าชี พ ที่ สั ม ผั ส กั บ
สถานการณจริง จนเกิดความเคยชิน และเกิดวิศวกรรมสํานึกขึ้นในตัววิศวกรเอง จนกลายเปน
ทักษะที่ติดตัว ติดใจติดแนวคิดแนวปฏิบัติไปตลอดการเปนวิศวกร อีกนัยหนึ่งอาจกลาวไดวา
เปนการสรางเสริมบุคลิกภาพทางวิชาชีพวิศวกรรมโดยอัตโนมัติ
อยางไรก็ตามทักษะทางวิศวกรรมที่พยายามรวบรวมไวในเอกสารชุดนี้เปนเพียงเฉพาะ
ทักษะที่วิศวกรทุกคนควรจะตองมีเปนพื้นฐานเบื้องตนในการประกอบวิชาชีพวิศวกรรม แตเมื่อ
วิศวกรไดกาวเขาสูการประกอบวิชาชีพในสาขาวิศวกรรมเฉพาะทางแลว เชน วิศวกรรมโยธา
วิ ศ วกรรมไฟฟ า วิ ศ วกรรมเครื่อ งกล วิ ศ วกรรมอุ ต สาหการ วิ ศ วกรรมเหมื อ งแร วิ ศ วกรรม
สิ่ งแวดล อ ม วิ ศ วกรรมเคมี หรือ วิ ศ วกรรมอื่น ๆ ยั งมี ค วามจําเป น ที่ จะต อ งมี ทั ก ษะในสาขา
วิศวกรรมเฉพาะทางเหลานั้นเพิ่มเติมเขาไปอีกใหเกิดความรูความชํานาญทั้งจากความรูทาง
3

วิช าการที่ ศึกษาเลาเรียน หรือที่ ฝ กอบรมแลวและยังจะตองรวมถึ งความรูความชํ านาญจาก


ประสบการณที่ตองคอยเก็บสะสมและสรางเสริมไวอยางตอเนื่องในระหวางการประกอบวิชาชีพ
จนสามารถประกอบวิชาชีพไดโดยอิสระในระดับสามัญวิศวกร หรืออาจเพิ่มมากขึ้นจนเปนผูมี
ความรูความชํานาญพิเศษในการใหคําปรึกษาทางวิศวกรรมไดในระดับวุฒิวิศวกร
อยางไรก็ตามในเอกสารชุดนี้จะรวบรวมเพียงเฉพาะหัวขอหลักที่วิศวกรทุกคนควรจะ
พึ ง มี ซึ่ ง เชื่ อ แน ว า สถาบั น การศึ ก ษาแต ล ะที่ จ ะต อ งมี เนื้ อ หาสาระและวิ ท ยาการที่ ส ามารถ
สอดแทรกในวิชาการตาง ๆ ไดอยางละเอียดตามศักยภาพของสถาบันการศึกษาและคณาจารย
ที่สอนอยูแลว ซึ่งคาดวาการเตรียมความพรอมในการประกอบวิชาชีพวิศวกรรมนั้นหากวิศวกร
รู สึ ก ว า ทั ก ษะทางวิ ศ วกรรมที่ ท า นสร า งสมอยู ใ นตนเป น ปกติ วิ สั ย ปฏิ บั ติ อ ยู แ ล ว จนเป น
บุคลิกภาพเฉพาะตนอยูแลว เอกสารชุดนี้อาจถือเปนสวนของการทบทวนวามีความพรอมใน
การประกอบอาชีพ ได มากน อยเพี ย งใด แตหากทั ก ษะเหลานี้ ยังไมเกิ ดแกตัววิศ วกรเองแลว
เอกสารชุดนี้มิอาจจะชวยเหลือไดมากนัก ซึ่งวิศวกรเองอาจจะตองไปทบทวนเอกสารบรรยาย
หรือรายงานภาคปฏิบัติเดิมที่เคยเลาเรียนมาและคอย ๆ สรางเสริมไปเรื่อย ๆ ซึ่งคาดวาอาจจะ
ตองใชเวลาตามควร แตการสรางเสริมและเพิ่มพูนจะทําไดยากหากสภาพการณและบรรยากาศ
ไมเอื้ออํานวย ซึ่งในขบวนการเรียนการสอน และการปฏิบัติงานนาจะถือเปนพื้นฐานในการเสริม
สรางทักษะไดอยางดีเยี่ยม
4

บทที่ 2
ทักษะการสื่อทางวิศวกรรม
วิศวกรมีความจําเปนอยางยิ่งที่ตองมีการสื่อสารในการแปลงทฤษฎีเชิงตัวเลข
เปนรายการคํานวณและจากรายการคํานวณ ไปสูการทําแบบทางวิศวกรรม เพื่อการกอ
สรางหรือการประกอบติดตั้ง รวมไปถึงการใช ปฏิบัติงาน ดูแลบํารุงรักษา หรือการซอม
แซม แก ไข นอกจากนั้ น ในกระบวนการทางวิ ศ วกรรมยั ง มี ค วามจํ า เป น ที่ จ ะต อ งมี
การบั น ทึ ก การทํ ารายงาน การนํ า เสนอชี้ แ จงรวมไปถึ งการประชาสั ม พั น ธ หรื อ สื่ อ
โฆษณาที่เกี่ยวของกัน เพื่อใหงานวิศวกรรม สามารถสื่อไดในทุกระดับ ทั้งระดับจัดทํา
นโยบายและแผน ระดับการดําเนินงาน ในการออกแบบ กอสราง หรือติดตั้ง การตรวจ
สอบควบคุมงาน รวมไปถึงการปฏิบัติการ การดูแล บํารุงรักษา และการซอมแซมแกไข
เปนตน
2.1 การเขียนแบบทางวิศวกรรม
การเขียนแบบทางวิศวกรรมมีความสําคัญมากในการสื่อสารทางวิศวกรรมเพื่อใหงาน
สํ า เร็ จ ลุ ล ว งได เป น ไปตามเจตนารมณ ข องผู อ อกแบบ วิ ศ วกรจํ า เป น ต อ งเรี ย นรู ทั ก ษะใน
การเขียนแบบ ไดแก
• การเขียนตัวอักษร ทั้งอักษรไทย อังกฤษ และตัวเลข การเขียนเสนชนิดตาง ๆ
เชน เสนตรง เสนโคง วงกลม และวงรี ตลอดจนการใหน้ําหนักของเสน ตัวอยาง
ดังกลาว จะแสดงในรูปที่ 2.1–2.5 การเขียนตัวเลขและตัวอักษรตามมาตรฐานสากล
จะเขี ย นด ว ยตั ว อั ก ษรแบบกอทิ ค (Gothic) ส ว นมาตรฐานของประเทศไทยทั้ ง
สําหรับตัวอักษรไทยและอักษรอังกฤษจะเปนไปตาม มอก.210-2520 มาตราสวน
ของตัวอักษรจะบอกเปนอัตราสวนของความสูง ตอความกวางของตัวอักษร สวน
มุมเอียงของตัวอักษรในกรณี ที่เปนตัวเอียงจะบอกเปนองศา
• ภาพฉาย 2 หรื อ 3 มิ ติ การเขี ย นภาพมองจากมุ ม ต าง ๆ นิ ย มมากที่ สุ ด จะเป น
ภาพฉายแบบ 2 มิติ ซึ่งเรียกวา Orthographic projection ดังแสดงในรูปที่ 2.6 ซึ่ง
ใชกันอยางแพรหลาย ในการทําแบบทางวิศวกรรมแสดงถึงมิติ สวนกวาง สวนบาง
สวนมิติความหนา ความลึกหรือความสูง อาจจะตองดูจากรูปตัดหรือภาพฉายในมิติ
ที่ตั้งฉากกัน ในกรณีที่ตองการสื่อใหเห็นภาพชัดเจนงายตอความเขาใจ วิศวกรตอง
ฝกทั กษะการมองและเขียนภาพแบบ 3 มิติ เรียกวา pictorial projection ซึ่ งเป น
ภาพที่แสดงใหเห็นถึงสวนกวาง สวนยาว และสวนสูง การฉายภาพ 3 มิติแบงออก
ได เป น 3 ป ระเภ ท ห ลั ก ได แก แบ บ Axonometric แบ บ Oblique และแบ บ
Perspective ที่วิศวกรคุนเคย ไดแกการฉายภาพ Axonometric แบบ Isometric ซึ่ง
5

ทุกมิติจะเปนมาตราสวนเดียวกันดังแสดงในรูปที่ 2.7 การประยุกตใชงานการเขียน


แบบภาพฉาย สามมิติ งานระบบทอในอาคาร

รูปที่ 2.1 ตัวอักษรชนิดหัวเหลี่ยม

รูปที่ 2.2 ตัวอักษรชนิดหัวกลม


6

รูปที่ 2.3ลักษณะอักษรพิมพใหญ

รูปที่ 2.4 ลักษณะอักษรพิมพเล็ก


7

รูปที่ 2.5 ชนิดของเสนและน้ําหนักของเสน


8

รูปที่ 2.6 การมองภาพฉายหลักและตําแหนงของภาพในระนาบสองมิติ

รูปที่ 2.7 ตัวอยางการเขียนแบบภาพฉาย 3 มิติ ของระบบทอในอาคาร


• แผนที่และแผนผัง การอานและเขียนแผนที่มีความสําคัญสําหรับวิศวกรทุกสาขา
แผนที่สามารถบอกขอมูลสําคัญของพื้นที่ไดทั้งพิกัดทางราบ (X,Y) และทางดิ่ง ทั้ง
นี้การใหขอมูลทางดิ่งจะใชเทคนิคของเสนชั้นความสูง (Contour line) เสนดังกลาว
9

ในทางทฤษฎี ถื อ วาทุ ก จุ ด บนเส น ชั้ น ความสู งเดี ย วกั น จะมี พิ กั ด ความสู งเท ากั น
ดั งแสดง ในรู ป ที 2.8 แผนที่ มี ห ลายชนิ ด เช น แผนที่ ภู มิ ศ าสตร (Geographic
map) แผนที่อุทกวิทยา(Hydrographic map) แผนที่ทหาร ( Military map) แผนที่
ภูมิประเทศ (Topographic map) เปนตน ซึ่งจะมีประโยชนและเปนหัวใจอันสําคัญ
ยิ่งในการวางแผน วางโครงการที่นําไปสูการศึกษาความเปนไปไดของโครงการ ไม
เพี ยงเฉพาะการศึกษาทางเทคนิค แตรวมไปถึงการศึกษาเชิงเศรษฐศาสตรและ
อื่ น ๆ อาจรวมถึ งผลกระทบต อ ความปลอดภั ย สิ่ งแวดล อ ม และผลกระทบต อ
สาธารณะใน รูป แบบตาง ๆ ในรูป ที่ 2.9 จะแสดงตั วอย างของแผนที่ ภ าพถ าย
ดาวเที ย มหรือภาพถ ายทางอากาศในงานวิศ วกรรม ใช ว างผั งหรือวางแนวจาก
แผนที่ใหลงตัวแลวจะสามารถทําแผนผังอยางละเอียดดวยการสํารวจและตรวจสอบ
ขอมูลทางเทคนิคตาง ๆ ซึ่งจะประกอบดวยผังบริเวณหรือแผนผังอาคาร เปนตน
การเขี ย นแบบเป น การสื่ อ สารทางวิ ศ วกรรมที่ สํ า คั ญ อย า งยิ่ งในหมู วิ ศ วกรและผู ที่
เกี่ ย วของ เพื่ อใช ทํ าแบบรางวางแผนโครงการ ทํ าแบบก อสราง คิ ดราคา และประมาณการ
ใชประมูลการกอสราง ใชทํางานกอสราง และรวมไปถึงการวางแผนดูแลบํารุงรักษาและอํานวย
การใช ตัวอยางการสื่อสารดวยแบบในงานวิศวกรรมโยธา วิศวกรรมเครื่องกล วิศวกรรมไฟฟา
และวิศวกรรมสุขาภิบาล ไดแสดงในรูปที่ 2.10-2.13
• ภาพสเกตช การสื่อสารดวยภาพสเกตซเปนที่รูจักกันตั้งแตยุคกอนประวัติศาสตร
เพื่อประโยชนในการสื่อสารของมนุษยชาติ ภาพสเกตซในงานทางวิศวกรรมใชเปน
บันทึกรายละเอียดจากสํารวจพื้นที่ การตรวจงาน หรือจากการทํารายละเอียดจาก
การคํ า นวณออกแบบที่ ทํ า ให ส ามารถเข า ใจรู ป แบบของงานโดยสั ง เขปก อ น
การเขียนแบบรายละเอียดทางวิศวกรรมตอไป การสเกตชภาพอาจทําไดทั้ง 2 มิติ
และ 3 มิติเชนเดียวกันกับการเขียนแบบทุกประการ วิศวกรจําเปนตองฝกทักษะ
ดังกลาวเพื่อการสื่อสารเบื้องตนที่เขาใจกันไดดีซึ่งมีประโยชนมากในขั้นตอนของ
การออกแบบเบื้ องต น (Preliminary Design) การบั น ทึ กเพื่ อการทํ ารายงานหรือ
การสั่งงานโดยเฉพาะที่หนางานผานบันทึกความจํา เปนตน
10

รูปที่ 2.8 เสนชั้นความสูง (Contour Line) และตัวอยางการประยุกตใช

รูปที่ 2.9 แผนที่ภูมิประเทศในงานวิศวกรรม


11

รูปที่ 2.10 ตัวอยางแบบโครงสรางคอนกรีตเสริมเหล็กของงานวิศวกรรมโยธา

รูปที่ 2.11 ตัวอยางงานเขียนแบบระบบไฟฟา


12

รูปที่ 2.12 ตัวอยางงานเขียนแบบระบบเครื่องกลในโรงงานอุตสาหกรรม

รูปที่ 2.13 ตัวอยางงานเขียนแบบระบบสุขาภิบาลในการบําบัดน้ําเสีย


13

รูปที่ 2.14 ภาพสเกตซทางวิศวกรร ม

• การเขียนแบบดวยคอมพิวเตอร วิศวกรในปจจุบันจําเปนตองรูวิธีการออก
แบบ และเขียนแบบ โดยใชคอมพิวเตอรชวย ซึ่งเรียกรวมกันวา Computer
Aided Design (CAD) ในการเขี ย นแบบโดยใช ค อมพิ ว เตอร ช ว ยจะทํ า ให
การเขียนแบบสามารถทําไดอยางรวดเร็วขึ้น สามารถบันทึกแบบเดิมไวได
และสามารถแกไขแบบเดิมไดสะดวกรวดเร็ว นอกจากนี้ยังสามารถแสดง
ภาพเปน 2 มิติ 3 มิติ หรือจะหมุนภาพดูสวนตาง ๆ ได และดวยเทคโนโลยีที่
รุดหนาในปจจุบันไดมีการเชื่อมตอระหวางคอมพิวเตอรและเครื่องจักรกล
ใหสามารถทํางานไดตาม คําสั่งผานคอมพิวเตอร และสามารถผลิตชิ้นงาน
ตามที่ แ สดงไว บ นจอคอมพิ ว เตอร ไ ด เช น การใช ซ อฟต แ วร ค วบคุ ม
ก ารทํ างาน ของเค รื่ อ งจั ก รก ล ป ระเภ ท CNC (Computer Numerically
Controlled) ซอฟต แ วร ที่ ช ว ยในการเขี ย นแบบทางวิ ศ วกรรมที่ รู จั ก กั น
แพรห ลายในป จจุบั น เชน Auto CAD ซึ่งทํ าให การเขีย นแบบเป น ไปอยาง
สะดวกรวดเร็ว การเขียนเสนตรง เสนโคง วงกลม วงรี สามารถทําไดโดย
14

เลือกรายการผานจอมอนิเตอร นอกจากนี้ ยังสามารถคัดลอกรูปเดิมตามที่


ต อ งการเพื่ อ การแก ไ ขให เ ป น งานชิ้ น ใหม ที่ มี ลั ก ษณะคล า ยกั น แต มี
รายละเอียดที่ตางกันเพียงเล็กนอย ทําใหประหยัดเวลาในการเขียนแบบได
อย างมาก นอกจากนี้การสงงานยังสามารถสงดวยระบบอิเลคทรอนิคให
พิมพ ลงกระดาษไขโดยใช Plotter ที่สามารถลดการพิ มพ เขียวลดปริมาณ
การสงแบบพิมพ เขียวและลดปริมาณการเก็บรักษาแบบกอสรางได อยาง
มาก รูปที่ 2.15 แสดงการประยุกตใชงานซอฟตแวร Auto CAD ในการเขียน
แบบทางวิศวกรรม

ก. การขยายสองเทาเทียบกับจุด Base point

ข. การยายแกนและหมุนภาพ
รูปที่ 2.15 ตัวอยางงานเขียนแบบโดยใช Auto CAD

2.2 กราฟ แผนภูมิ และตาราง


การสื่อสารทางวิศวกรรมนอกเหนือจากแบบทางวิศวกรรมแลว ยังมีความจําเปนที่ตอง
แสดงเปนรูปในลักษณะอื่นที่นิยมแพรหลายและสําคัญไมยิ่งหยอนกวาแบบทางวิศวกรรมอยาง
ในลักษณะของกราฟเชิงเสน แผนภูมิที่เปนภาพ และตารางของกลุมตัวเลข เปนตน
• กราฟในงานทางดานวิศวกรรมสวนมากจะเปนการศึกษาปรากฎการณที่เกิดจาก
การเปลี่ยนแปลงของตัวแปรหนึ่งเทียบกับอีกตัวแปรหนึ่ง เชน การศึกษาการยืดตัว
ของเหล็กในการทดสอบกําลังดึง เปนตน การสื่อสารที่เขาใจกันทางวิศวกรรมดวย
15

AMPLIFIER POWER OUTPUT REQUIRED TO


COVER VARIOUS DISTANCES AS COMPARED TO
THE SURROUNDING NOISE LEVEL

ก. ตัวอยางกราฟเชิงเสนในการแสดงผลการทดสอบ

ข. การแสดงขอมูลบนกราฟสเกลธรรมดาและกราฟกึ่งล็อก ค. การแสดงขอมูลบนกราฟล็อก

การแสดงผลในรูปของกราฟจะใชกันอยางแพรหลาย กราฟที่ ใชกันมีหลายแบบ


อาจเป น กราฟแบบเส น ตรง (Linear) เส น โค ง (Parabola) เส น โค ง (Hyperbola)
และเสนโคง (Exponential) การเขียนกราฟอาจทําไดทั้งบนสเกลธรรมดาเชิงเสน
(Rectilinear) สเกลกึ่งล็อก (Semilog-scale) หรือ สเกลล็อก-ล็อก (log-log scale)
ดังรูปที่ 2.16
รูปที่ 2.16 การแสดงขอมูลบนกราฟ
• แผนภู มิ การแสดงผลทางวิ ศ วกรรมอาจพิ จ ารณาใช รู ป ของแผนภู มิ สื่ อ ทาง
วิศวกรรมงายขึ้นและเห็นภาพรวมได การแสดงผลในรูปของแผนภูมิยังเลือกได
หลายแบบ เชน แผนภูมิแทง แผนภูมิวงกลม แผนภูมิภาพ เปนตน แผนภูมิบาง
ประเภทอาจออกแบบใหผูที่เกี่ยวของกับงานวิศวกรรม เชน ผูใชหรือผูปฏิบัติงาน
ซึ่งไมจําเปนตองเปนวิศวกรหรือชางเทคนิคเขาใจได ในทางกลับกันบางประเภทจะ
ออกแบบเพียงเฉพาะชางเทคนิคหรือวิศวกรเทานั้น ดังนั้นแผนภูมิจึงอาจแยกเปน
2 ระดับ คือ แผนภูมิทางเทคนิคและแผนภูมิเพื่อการโฆษณาประชาสัมพันธดึงดูด
ความสนใจตอบุคคลทั่วไป ชนิดของแผนภูมิอาจจะแจกแจงได เชน แผนภูมิแบบ
โพลาร (Polar charts) การนํ าเสนอขอมูล เชิ งปริมาณตามแนวรัศมี 360 องศา
แผนภูมิสามแกน (Trilinear charts) แสดง 3 ตัวแปรในแผนภูมิเดียว แผนภูมิ
แทง (Bar charts) เปนแผนภูมิแสดงปริมาณในแนวดิ่งหรือแนวนอนงายตอการ
เขาใจของผูคนทั่วไป หากมีหลาย ขอมูลอาจแสดงดวยแผนภูมิที่ประกอบดวย
หลายแทงโดยแตละแทงจะมีความสูงแปรตามคาของตัวแปรหรือขอมูลนั้น ๆ แผน
ภูมิวงกลม (Pie charts) นําเสนอแบบเดียวกับแผนภูมิแทงแตแผนภูมิวงกลมจะ
งายตอการสรางและดึงดูดความสนใจตอบุคคลทั่วไป แผนภูมิแบบชั้น (Strata
charts) ใช แ สดงข อ มู ล เป น ภาพในลั ก ษณะทั บ ซ อ นกั น (Super impose) ของ
16

ตัวแปร แผนภูมิปริมาตร (Volume Charts) ใชแสดงผลขอมูลใน 3 มิติ ในแกน


x y และ z ที่ ส ามารถคํ า นวณปริ ม าตรด ว ย computer graphic (ดั ง แสดงในรู ป
ที่ 2.17)
60.00%

50.00%

40.00%

30.00%

20.00%

10.00%

0.00%
Miscellaneous Blasting Powder Permissibles Dynamite Nitroglycerine

ก. Polar Chart ค. กราฟแผนภูมิแทง


Nitroglycerine Miscellaneous
1.60% 17.80%

Blasting Powder
Dynamite 14.00%
52.30%
Permissibles
14.30%

ข. กราฟแผนภูมิวงกลม ง. แผนภูมิปริมาตร

รูปที่ 2.17 แผนภูมิแสดงผลทางวิศวกรรม


• ตาราง มีความสําคัญไมยิ่งหยอนไปกวากราฟหรือแผนภูมิที่ใชสื่อในงานวิศวกรรม
ในการแสดงผลการทดลองใหรูถึงคาดวยปริมาณ ความสําคัญเปนดรรชนี รวมถึง
ความสัมพันธในรูปแบบตาง ๆ ที่สามารถแปลงไปเปนกราฟหรือแปลงเปนแผนภูมิ
เพื่อใหเกิดความเขาใจและรับรูไดเร็วขึ้น แตในขณะเดียวกันในการจดบันทึกและ
รายงานเชิงตัวเลข การจัดเปนตารางจะงายตอการเก็บขอมูล บันทึกและเสนอผล
เป นเบื้ องตนได การสื่อสารดวยตารางเปนวิธีการนําเสนอขอมู ลอีกแบบหนึ่งใน
การทํ า รายงานทางเทคนิ ค หรื อ รายงานทางวิ ศ วกรรม ที่ ช ว ยให ผู อ า นเข า ใจ
ความหมายที่ ผู รายงานต องการสื่ อออกไป ตารางจะแสดงขอ มู ล ในรูป ของแถว
(Row) และสดมภ (Column) เพื่ อ เสนอและแปลความหมายของข อ มู ล การจั ด
ตารางควรจัดตําแหนงที่ใกลกับขอความที่อางถึงในตารางดังกลาวใหมากที่สุด ใน
กรณีที่ตารางยาวเกินไปอาจจัดวางตารางในภาคผนวก
17

อนึ่งนอกจากแผนภูมิที่ใชแสดงขอมูลทางเทคนิคหรือทางวิศวกรรมแลวยังมีแผนภูมิที่ใช
ในการบริหารจัดการหรือการปฏิบัติงานทางวิศวกรรมที่แยกเปน แผนภูมิแจงประเภทและแผน
ภูมิแสดงขั้นตอนของงาน (Classification charts และ Flow charts) แผนภู มิทั้ง 2 ประเภทมี
หลักการคลายกันแตใชอธิบายงานตางกัน แผนภูมิแจงประเภทใชแจกแจงหนวยงานหลัก หนวย
งานรองขององคกร และแสดงความสัมพันธระหวางหนวยงานนั้น ๆ ดังแสดงในรูปที่ 2.18 เปน
ตัวอยาง แผนภูมิองคกรการบริหารหนวยงานกอสราง สวนแผนภูมิแสดงกระบวนการและขั้น
ตอนการทํางานดังแสดงในรูปที่ 2.19 เปนตัวอยางในกระบวนการทางวิศวกรรมเคมี

รูปที่ 2.18 แผนภูมิองคกร

รูปที่ 2.19 Flow chart


18

2.3 รายงานทางเทคนิคและการปฏิบัติงาน
ในการดําเนินงานทางวิศวกรรมที่เกี่ยวกับการสํารวจ การทดสอบ ในการทดลองและ
การปฏิ บั ติ ง าน จํ า เป น อย า งยิ่ งที่ ต อ งจั ด ทํ า รายงานเพื่ อ นํ า เสนอต อ วิ ศ วกรด ว ยกั น หรือ ต อ
ผูเกี่ยวของทั้งในองคกรเดียวกัน หรือตางองคกรแตมีความเชื่อมโยงกันดังนั้นการนําเสนอขอมูล
ดานเทคนิคดวยรายงานจึงจําเปนตองกระชับ ตรงประเด็น และสามารถสื่อความหมายไดอยาง
ชัดเจน โดยทั่วไปแลวในการเขียนรายงานทางเทคนิคนั้น มักจะมีรูปแบบการนําเสนอแบงเปน
หัวขอตาง ๆ เรียงลําดับดังนี้
1. บทนํา (Introduction) ในสวนนี้เปนการแสดงใหเห็นถึงสิ่งที่ผูเขียนทําการศึกษา
แนวเหตุผล และความจําเปนในการศึกษา ปญหาอาจจะตองรวมถึงผลการศึกษาที่
เคยมีการศึกษามากอนแลว(ถามี) ตลอดจนขอมูลตาง ๆ ที่ปูพื้นฐานใหผูอานเขาใจ
ถึงปญหาและแนวทางการแกปญ หาดวยวัตถุประสงคและเปาหมายการนําเสนอ
รายละเอียดของรายงานตอไป
2. เครื่องมื อหรืออุ ป กรณ (Equipment) สวนนี้ จะบรรยายถึงเครื่องมื อหรืออุป กรณ
ตลอดจนเทคนิคในการใชอุปกรณตาง ๆ ในการศึกษาความสําคัญในสวนนี้อาจจะ
ตองเนนหนักถึงหลักการทํางานของเครื่องมือ ความละเอียดและความนาเชื่อถือของ
การทดสอบการตรวจวัดหรือการขยายผลตอไป
3. การทดสอบ (Tests) บรรยายถึงการทดสอบและวิธีการทดลองตามขั้นตอน ซึ่งจะทํา
ให ผูอานสามารถเข าใจถึ งวิ ธีการทดสอบรวมทั้ งข อมู ลที่ จะไดจากการทดสอบที่
สอดรับกับมาตรฐาน(ถามี) ในกรณีที่เครื่องมือหรืออุปกรณที่ใชไมยุงยากนัก อาจ
รวมหัวขอ 2 และ 3 เปนหัวขอเดียวกันได
4. ผลการศึกษา (Results) ผลการศึกษาที่ไดจากการทดลองหรือทดสอบมักแสดงใน
รูปของตารางหรือกราฟ การอธิบายความจะมีเพียงสั้น ๆ ถึงผลที่ไดจากการศึกษา
การวิเคราะหและวิจารณยังไมมีในขั้นตอน แตจะตองพยายามยอยขอมูลใหละเอียด
และแปลงผลให อยูในรุป แบบที่ นําเสนอใหเขาใจไดดีที่สุดที่นํ าไปสูการวิเคราะห
สังเคราะหไดแมนยําขึ้น
5. วิเคราะหและวิจารณผลงาน (Analyses & Discussion) การวิเคราะหเชิงตัวเลขและ
กราฟจากผลการศึ ก ษาด ว ยการเปรี ย บเที ย บทางเทคนิ ค และมาตรฐานต า ง ๆ
การสรางแบบจําลองหรือการทดสอบแบบจําลองอาจมีความจําเปนในการเปรียบ
เทียบในเชิงทฤษฎีประกอบ ซึ่งจะนํามาถึงการวิพากษวิจารณและนําไปสูการสรุปได
อยางละเอียด ถี่ถวน
6. สรุป (Conclusion) เสนอขอสรุปจากการศึกษาหรือที่ไดจากการวิเคราะหวินิจฉัย
แลว และจะตองสื่อใหเห็นแนวทางการแกปญหาที่สอดรับและสนองอบวัตถุประสงค
และเปาหมายของการศึกษานั้น ๆ
19

• รายงานทางวิชาการ
รายงานทางวิชาการเปนที่รูจักและเคยชินกันในกลุมวิศวกรที่ผานกระบวนการเรียน
การสอนจากสถาบั น การศึ ก ษามาแล ว ทุ ก คน ซึ่ งลํ าดั บ ขั้ น ตอนการนํ าเสนอย อ มสอดรับ กั บ
แนวคิด แนวเหตุผลที่นําไปสูการศึกษาและทดสอบจึงไดผลมาวิเคราะหวิจารณสูการสรุปผลเพื่อ
การประยุกตหรือการแกปญหาตอไป
ขั้นตอนการเขียนรายงานทางวิชาการ อาจเรียงลําดับได ดังนี้
1. บทคัดยอ (Summary)
2. บทนํา (Introduction)
3. อุปกรณและวิธีการทดลอง (Equipment Tests & Results)
4. วิเคราะห / วิจารณผล (Analyses / Discussion)
5. สรุปผล (Conclusion)
6. ตาราง แผนภาพ และรูปภาพ (Tables, Charts & Figures)
• รายงานการทดสอบ
การทดสอบเปนงานที่วิศวกรมิอาจหลีกเลี่ยงไดในการปฏิบัติงานทางวิศวกรรม
ทั้งในการศึกษาเบื้องตนระหวางการกอสราง/ติดตั้ง รวมไปถึงในระหวางการใชงานบํารุง
รักษา ทั้งนี้เพื่อเปนการตรวจสอบคุณภาพ ความนาเชื่อถือของผลิตภัณฑ และเพื่อยืนยัน
สมรรถนะการใชงาน ตัวอยางเชน การกอสรางจะตองมีการตรวจสอบวัสดุ ตรวจสอบ
การกอสรางหรือติดตั้ง รวมไปถึงการทดสอบหรือตรวจสอบเพื่อยืนยันสมรรถนะเมื่อใช
งานไปที่ จ ะต อ งยื น ยั น ด ว ยดรรชนี ห รื อ ตั ว เลขของตั ว แปรที่ มี นั ย สํ า คั ญ ต อ ระบบ
การทํางาน เมื่อ มีการทดสอบวิศวกรตองรายงานขอเท็จจริงที่ไดจากการทดสอบนั้นเพื่อ
เปนขอมูลอางอิง เพื่อการตรวจรับงาน และเพื่อเก็บรักษาเปนขอมูลในการบํารุงรักษา
ตอไป โดยทั่วไปรายงานการทดสอบจะประกอบดวย
1. บทนํา กลาวถึงปญหาหรือสาเหตุที่ตองทดสอบ
2. วัตถุประสงคเปาหมายและขอบขายของการทดสอบ
3. การทดสอบ เสนอกรรมวิธี มาตรฐานการทดสอบ และกระบวนการทดสอบ
4. ผลการทดสอบ นําเสนอขอมูลโดย แผนผัง รูปภาพ กราฟ และ แผนภูมิ
5. สรุปผลการทดสอบ เสนอขอมูลเชิงตัวเลขเปนขอมูลประกอบการตัดสินใจ
ตอไป
• รายงานการประชุมหนวยงาน
ในงานทางวิศวกรรมจะตองเกี่ยวของกับบุคคลหรือตัวแทนหลายฝายที่ตองสื่อ
ถึงกันและจะตองกอใหเกิดปฏิสัมพันธสูการดําเนินงานที่มีประสิทธิผลที่ตองรวมมือจาก
ทุกการประชุมหนวยงานเพื่อหาขอยุติในวิธีการและขั้นตอนใหไดงานที่มีคุณภาพโดย
รวมกันแกปญหาในการดําเนินงาน ดังนั้นจึงตองมีการบันทึกและรายงานการประชุม
20

เพื่อใชเปนหลักฐานอางอิงตอไป อีกทั้งจะตองมีการรับรองรายงานการประชุมทุกครั้ง
เพื่อยืนยันความถูกตอง โดยทั่วไปรายงานการประชุมหนวยงานจะประกอบดวยสวน
สําคัญ คือ
1. หัวขอการประชุม
2. ผูเขารวมประชุม
3. วัน เวลา สถานที่
4. วาระการประชุม
- รับรองรายงานการประชุมครั้งที่ผานมา
- เรื่องสืบเนื่องจากการประชุมครั้งที่ผานมา
- รายงานความกาวหนาของงาน
- ปญหาอุปสรรคและแนวทางแกไข
การประชุมหนวยงานจะขึ้นอยูกับลักษณะงานที่ดําเนินการ แตโดยทั่วไปควรจะมีอยาง
นอยเดือนละ 1 ครั้งเพื่อนําไปสูการจดบันทึกและทํารายงานประจําเดือนของหนวยงาน
• รายงานการปฏิบัติงาน/หรือการกอสราง
ในการทํางานทุกชนิดตองมีการบันทึกเปนลายลักษณอักษรเพื่อใชเปนหลักฐาน
อางอิงในภายหลัง เชนการสั่งงานหรือแกไขงาน การขออนุมัติตามขั้น เปนตน การราย
งานผลปฏิบัติงานอาจแยกเปนรายงานประจําวัน ประจําสัปดาห และประจําเดือน ราย
งานอาจอยูในรูปของบันทึก (Memo) ตาราง (chart) หรือรูปเลมก็ได ตัวอยางรายงาน
ประจําวันและประจําสัปดาหในการควบคุมงานกอสรางอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก ราย
งานประจําเดือนอาจเสนอเปนรูปเลมเนื้อหาโดยทั่วไปควรประกอบดวย
1. บทนํา
2. เนื้อหาสาระของโครงการ - รายการดําเนินงานที่สําคัญ
3. ความกาวหนาของโครงการ
4. สรุปการเบิกจายเงินโครงการ
5. รายละเอียดการดําเนินงาน - ปญหาอุปสรรคและแนวทางแกไข
6. แผนการดําเนินงาน - รายการที่สําคัญ, เสนทางวิกฤติ/อนุวิกฤติ
2.4 บันทึกชวยจํา
ในการปฏิ บั ติ งานทางวิ ศ วกรรม การสื่ อ สารส ว นใหญ จ ะเป น แบบก อ สรา ง รายการ
ประกอบแบบ และรายงานทางเทคนิค แตการทําบันทึกชวยจํา (Memorandum) ถือเปนสื่ออีก
อยางหนึ่งที่มีความสําคัญมากที่เชื่อมโยงระหวางเทคนิคและการบริหารงานทางวิศวกรรมใน
โครงการ ไม วาจะเป น สาขาหรือหน วยงานใดจะตองแจงเพื่ อทราบหรือสั่งการให ป ฏิ บั ติ งาน
ดําเนินการตาง ๆ ในการสื่อสารกันทางวิศวกรรมก็ตองมีการเขียนบันทึกเปนหลักฐาน
เพื่อใหผูเกี่ยวของรับทราบหรือสั่งการใหปฏิบัติ ซึ่งผูรับเหมากอสรางทําบันทึกเพื่อขออนุมัติเท
21

คอนกรีตตอผูควบคุมงานเพื่อจะไดทําการตรวจสอบการทํางานใหเปนไปตามแบบและถูกตอง
ตามหลักวิชาทางวิศวกรรมเปนตน
บั น ทึ ก ความจํ า จะมี ป ระโยชน อ ย างมากในกรณี ที่ มี ป ญ หาในโครงการแล ว จะต อ งมี
การยอนรอยหาควาจริงในเรื่องรองสิทธิหรือเรียกคาชดเชยที่ผูทําและผูรับจะตองสื่อใหอยูใน
กรอบของสัญญาหรือมาตรฐานความประพฤติวชิ าชีพวิศวกรรม

รูปที่ 2.20 ตัวอยางรายงานประจําวัน

รูปที่ 2.21 ตัวอยางรายงานประจําเดือน


22

2.5 บันทึกผลปฏิบัติงาน
การบันทึกผลปฏิบัติงาน (Log Book) มีความสําคัญอยางยิ่งตอการพัฒนาการประกอบ
วิ ช าชี พ ให เพิ่ ม ความรู วิ ช าการ และเพิ่ ม ความรู ค วามชํ านาญ ให เกิ ด ทั ก ษะในวิ ช าชี พ ส ว น
การประกอบวิชาชีพของการเสริมสรางประสบการณดวยประสิทธิภาพ คุณภาพ และทักษะใน
วิ ช าชี พ อั น จะนํ าไป สู ก ารพั ฒ น าวิ ช าชี พ ได อ ย า งต อเนื่ อง (Continuing Professional
Development, CPD) การบันทึกผลงานและเหตุการณที่เกิดขึ้นในหนวยงานในแตละวัน แตละ
เหตุการณจะมีประโยชนมากในการชวยจําและกระตุนเตือนใหทํางานใดอยางมีประสิทธิภาพ แต
ที่ เป น ประโยชน สู งสุ ด ของวิ ศ วกรเองเพราะการบั น ทึ ก ต าง ๆ เป น กระบวนการเรีย นรูท าง
วิศวกรรมจากเหตุการณจริง การบันทึกที่เปนระบบและกระบวนการดานการรับรู (Perception)
อยางหนึ่ง ซึ่งอาจเรียนรูไดตามอัตภาพหรือพื้นฐานเดิมที่มีจากความรูการศึกษา และทักษะใน
ความรูความชํานาญ ที่สรางสมไว แตเมื่อการบันทึกประสบการณใน Log Book นี้จะตองไดรับ
การตรวจสอบและตรวจ รับรองเมื่อกิจกรรมหรืองานนั้น ๆ แลวเสร็จจากวิศวกรผูมีความรูความ
ชํานาญในระดับสามัญวิศวกร วุฒิวิศวกร หรือผูมีความชํานาญการพิเศษที่ทํางานมาดวยกัน
อยางตอเนื่อง รูปที่ 2.26 แสดงถึง การบันทึก การเขียนภาพประกอบ และการรับรองโดยวิศวกร
อาวุโสที่เปนพี่เลี้ยงการประกอบวิชาชีพ หากการรับรูยังนอยหรือผิดหลักการวิศวกรผูอาวุโสพึง
จะตองปรับความเขาใจ ปรับขบวนการฝกฝน ฝกอบรม และการถายโอนความรูไดอยางละเอียด
ถี่ถวน และสอดคลองตามมาตรฐานการประกอบวิชาชีที่ยอมรับกันในวงวิชาชีพสูการพัฒนาตน
เองใหเกิดคุณภาพ และมีทักษะเพิ่มพูนมากขึ้นจนเกิดความรูความชํานาญในการประกอบวิชา
ชีพตอไป อนึ่ง ในการเลื่อนระดับการประกอบวิชาชีพจากภาคีวิศวกรเปนสามัญวิศวกร หรือ
จากสามัญวิศวกรเปนวุฒิวิศวกร ผลงานที่บันทึกไวจะเปนประโยชนอยางมากในการกรอกราย
ละเอียดสรุปผลงานที่เคยผานมา รวมถึง การพัฒนาการประกอบวิชาชีพที่เกิดขึ้นจากการทํางาน
แตละชิ้น แตละโครงการที่สามารถถายโอนใหวิศวกรในตางลักษณะการปฏิบัติงานหรือตางสาขา
วิศวกรรมควบคุมที่สามารถยกระดับและศักยภาพการประกอบวิชาชีพวิศวกรรมไดอยางดียิ่ง
23

รูปที่ 2.22 ตัวอยางการเขียนบันทึกชวยจํา

รูปที่ 2.23 การเขียนบันทึกผลการปฏิบัติงาน


24

หนังสืออางอิง
1. ธีระชัย เจาสกุล ,เขียนแบบเทคนิค1, สมาคมสงเสริมเทคโนโลยี(ไทย-ญี่ปุน), 2542
2. ธีระยุทธ สุวรรณประทีป,สันติ ลักษิตานนท, เขียนแบบวิศวกรรมเบื้องตน,วิทยพัฒน,2543
3. Thomas E. French,Chales J Vierck,Robert J Foster, Engineering Drawing and
Graphic Technology,McGraw-Hill,1986
4. George C. Beakley, H.W. Leach, Engineering an Introduction to a Creative
Profession,Macmillan,1972
5. Rufus P.Turner, Technical Report Writing ,Rinehart Press,1971
6. อรุณ ชั ย เสรี,เกล็ ด ความรูเกี่ ย วกั บ การควบคุ ม งานก อ สรางอาคารคอนกรีต เสริ ม เหล็ ก ,
วิศวกรรมสถานแหงประเทศไทย,
25

บทที่ 3
ทักษะการคํานวณ
การพัฒนาทักษะการคํานวณทางวิศวกรรมจะตองใชพื้นฐานทางคณิตศาสตรเขามาชวย
แกป ญ หาทางวิศวกรรม ซึ่ งจะเห็ นไดชัดเจนวาความรูทางคณิ ตศาสตรจะเปนพื้ นฐานขั้นตน
ที่วิศวกรตองรูตองเขาใจอยางลึกซึ้งทางทฤษฎีในางลึกที่จะตองเขาใจถึงเทคนิคและการนํามา
ประยุกตใชกับงานทางวิศวกรรมได จากปญหาดังกลาวจึงไดรวบรวมความรูทางคณิตศาสตร
ที่จําเปนกับวิศวกรโดยสังเขป เพื่อเปนการทบทวนพื้นความรูเบื้องตนที่สามารถนําไปอธิบาย
พฤติ ก รรมทางฟ สิ ก ต ที่ ใช ป ระยุ ก ต สู ก ารประกอบวิ ช าชี พ ต อ ไป ซึ่ ง สามารถแบ ง ออกเป น
4 หมวดหลัก
• ความรู พี ช คณิ ต (Algebra) ตรี โกณ (Trigonometry) และเรขาคณิ ต (Geometry)
เช น การแยกตั ว ประกอบ การกระจาย เลขยกกํ า ลั ง ตรี โ กณ ฟ ง ชั่ น ลายเส น
รูปลักษณ พื้นที่ ปริมาตร เปนตน
• แคลคูลัส (Calculus) เนนการประยุกตทางคณิตศาสตรในการแกปญหาตาง ๆ เชน
การหาปริ ม าตร การหาค า สู ง สุ ด และต่ํ า สุ ด ความชั น ความเร็ ว ความเร ง
การแกสมการเชิงอนุพันธ เปนตน
• วิ ธี ก ารเชิ ง ตั ว เลข (Numerical method) เป น ขบวนการเชิ ง เลขคณิ ต อย า งง า ย
ประกอบด ว ยการบวก ลบ คู ณ หาร เป น หลั ก โดยมี เหตุ ผ ลตามเชิ งตรรกวิ ท ยา
รวมดวย อาจรวมถึงการประมาณการ การคาดคะเน และการคํานวณอยางงาย
• การใชคอมพิวเตอรและเครื่องคํานวณ (Tools) ชวยในการคํานวณทางวิศวกรรม
อาจจะเชื่อมโยงทั้งในระบบแข็ง (Hardware) เกี่ยวกับเครื่องมือและอุปกรณตาง ๆ
และในระบบออน (Software) เกี่ยวกับการทําโปรแกรม วิธีการใชใหเกิดประสิทธิผล
3.1 ความรูพีชคณิต ตรีโกณ และเรขาคณิต
ความรูทางดานคณิ ตศาสตรเบื้องตนในระดับมัธยมปลายที่จําเปนเพื่อเปนพื้นฐานใน
การคํ านวณทางวิ ศ วกรรมสามารถแบ งออกได เป น 3 ส ว นหลั ก คื อ พี ช คณิ ต ตรี โกณ และ
เรขาคณิต
ก. การแยกตัวประกอบและการกระจาย
• การแยกตัวประกอบ
ab + ac = a(b + c) -----------(3.1)
a(x + y) + b(x+ y) = (a + b) (x + y) -----------(3.2)
x2 - y2 = (x - y) (x + y) -----------(3.3)
x3 - y 3 = (x - y) (x2 + xy + y2) -----------(3.4)
x3 + y 3 = (x + y) (x2 - xy + y2) -----------(3.5)
26

• การกระจาย
(x+ y)2 = x2 + 2xy + y2 -----------(3.6)
2 2 2
(x - y) = x - 2xy + y -----------(3.7)
3 3 2 2 3
(x + y) = x + 3x y + 3xy + y -----------(3.8)
3
(x - y) = x3 - 3x2y + 3xy2 - y3 -----------(3.9)
• การแยกตัวประกอบแบบพิเศษ
xn - y n = (x - y) (xn-1 + xn-2y + xn-3y2 + ... + yn-1)--(3.10)
xn + y n = (x + y) (xn-1 - xn-2y + xn-3y2 + ... + yn-1)--(3.11)
ถา n เปนเลขคู xn + yn ไมสามารถแยกเปน real factor ได
ข. การยกกําลังและลอกการิทึม
• กฎของเลขยกกําลัง
กําหนดให p,q เปนจํานวนจริง และ m,n เปนเลขจํานวนเต็มบวก
a * aq
p
= ap+q ---------(3.12)
p q p-q
a /a = a ---------(3.13)
pq pq
(a ) = a ---------(3.14)
a0 = 1 ,a≠0 ---------(3.15)
p pr pr pr
(a b ) = ab ---------(3.16)
-p p
a = 1/a ---------(3.17)
p p p
(ab) = ab ---------(3.18)
• ลอการิทึม
ถา ap = N เมื่อ a ≠ 0 หรือ 1 แลว P = logaN
loga( MN ) = logaM + logaN ---------(3.19)
loga( M/N ) = logaM – logaN ---------(3.20)
p
logaM = P logaM ---------(3.21)
loga1 = 0 ---------(3.22)
logaa = 1 ---------(3.23)
loga( 1/M ) = -logaM ---------(3.24)
logaN = logbN/logba ---------(3.25)
ค. พื้นที่ และ ปริมาตร
กําหนดให A = พื้นที่ , P = เสนรอบรูป , V = ปริมาตร
B = พื้นที่ผิวโคง , S = พื้นที่ผิวโคงรวม
• สี่เหลี่ยมมุมฉาก ( ดูรูป 3.1 ก )
27

A = ab ---------(3.26)
P = 2a + 2b ---------(3.27)
• สี่เหลี่ยมดานขนาน ( ดูรูป 3.1 ข )
A = absin θ ---------(3.28)
P = 2a + 2b ---------(3.29)

(ก) (ข) (ค) (ง)

(จ) (ฉ) (ช) (ซ)


รูปที่ 3.1 แสดงพื้นที่ของหนาตัดตาง ๆ

• สามเหลี่ยม ( ดูรูป 3.1 ค )


A = ½ * ab sin θ ---------(3.30)
P = a+b+c ---------(3.31)
• สี่เหลี่ยมคางหมู ( ดูรูป 3.1 ง )
A = ½ (a+b ) *h ---------(3.32)
P = a + b + h (1/sinθ +1/sinφ) ---(3.33)
• สี่เหลี่ยมขนมเปยกปูน ( ดูรูป 3.1 จ )
A = ½* xy ---------(3.34)
P = 4a ---------(3.35)
เมื่อ x , y เปนเสนทะแยงมุม
• วงกลม ( ดูรูป 3.1 ฉ )
A = πr2 ---------(3.36)
P = 2πr ---------(3.37)
• สวนของวงกลม ( ดูรูป 3.1 ช )
A = r2θ/2 ---------(3.38)
L = rθ ---------(3.39)
P = 2r + rθ ---------(3.40)
28

• เซกเมนตของวงกลม ( แรเงา ) ( ดูรูป 3.1 ซ )


2
A = ½*r (θ-sinθ) ---------(3.41)
• รูปทรงมุมฉาก ( ดูรูป 3.2 ก )
V = abh ---------(3.42)
S = 2 (ab+bh+ah) ---------(3.43)
• รูปทรงลูกบาศก
V = a3 ---------
(3.44)
S = 6a2 ---------(3.45)
• ทรงกระบอก ( ดูรูป 3.2 ข )
V = πr2h ---------(3.46)
B = 2πrh ---------(3.47)
S = 2πrh + 2πr2 ---------(3.48)
• วงแหวน ( ดูรูป 3.2 ค )
V = π ( R2-r2) h ---------(3.49)
• กรวยกลม ( ดูรูป 3.2 ง )
V = 1/3*πr2h ---------(3.50)
B = πrL ---------(3.51)
S = πrL + πr2 ---------(3.52)
L = r 2 + h2 ---------(3.53)
• ทรงกลม ( ดูรูป 3.2 ฉ )
V = 4/3*π*r3 ---------(3.54)
S = 4π r2 ---------(3.55)
• ปรามิด (ฐานสี่เหลี่ยมมุมฉาก) ( ดูรูป 3.2 ช )
V = 1/3 abh ---------(3.56)
A = ab ---------(3.57)
ง. สูตรตรีโกณมิติ
sin θ = y / r = 1/cosecθ ---------(3.58)
cos θ = x / r = 1/secθ ---------(3.59)
tan θ = y / x = 1/cotθ ---------(3.60)
= sinθ /cosθ ---------(3.61)
sin (-θ ) = -sinθ ---------(3.62)
29

cos (-θ ) = cos θ ---------(3.63)


tan (-θ ) = -tan θ ---------(3.64)
sin2 θ +cos2 θ = 1 ---------(3.65)

(ก) (ข) (ค)

(ง) (ฉ) (ช)


รูปที่ 3.2 แสดงปริมาตรของหนาตัดตาง ๆ

รูปที่ 3.3 แสดงอัตราสวนของมุมตาง ๆ ในรูปของฟงกชันตรีโกณมิติ

รูปที่ 3.4 แสดงมุมและดานของสามเหลี่ยมใด ๆ


30

1+ tan2 θ = sec2θ ---------(3.66)


1+cot2 θ = cosec2 θ ---------(3.67)
• มุม 2 เทา
sin 2θ = 2sinθ cosθ --------(3.68)
cos2 θ = ( 1+ cos θ ) / 2 --------(3.69)
sin2 = ( 1 - cos θ ) / 2 --------(3.70)
cos 2θ = cos2 θ -sin2θ --------(3.71)
= 2cos2 θ - 1 --------(3.72)
= 1 - 2sin2θ --------(3.73)
• มุมประกอบ
sin ( A + B ) = sinA cosB + cosA sinB ---(3.74)
sin ( A – B ) = sinA cosB - cosA sinB ----(3.75)
cos ( A + B ) = cosA cosB - sinA sinB ----(3.76)
cos( A - B ) = cosA cosB + sinA sinB ----(3.77)
tan ( A ± B) = (tanA±tanB)/(1 m tanA tanB) -(3.78)
• มุมและดานของสามเหลี่ยม
กฎของ sine
a / sin A = b / sin B = c / sin C ------(3.79)
กฎของ cosine
a2 = b2+c2-2bc cosA ---------------------(3.80)
จ. เรขาคณิตวิเคราะห
• เสนตรง
ให A (x1,y1) , B (x2 , y2) เปนจุด 2 จุด ดังรูปที่ 3.5
ระยะ AB = (x 2 − x 1 )2 + (y 2 − y1)
2
--(3.81)
ความชัน m = ( y2 - y1)/(x2 - x1) ------(3.82)
⎛x1 + x 2 y1 + y 2 ⎞
จุดกึ่งกลาง = ⎜ , ⎟ -----(3.83)
⎝ 2 2 ⎠
ระยะทางจากจุด P ( x1, y1 ) ไปยังเสนตรง Ax + By + C = 0 คือ
Ax 1 + By 1 + C
d = ------(3.84)
A2 + B 2
• เสนตรงสองเสน
(1) เสนตรงขนานกัน ถา m1 = m2
31

(2) เสนตรงตั้งฉากกัน ถา m1m2 = -1


m1 − m 2
- มุมระหวาง เสนตรงที่มีความชัน m1 และ m2 คือ tan α =
1 + m 1m 2

รูปที่ 3.5 แสดงจุดที่อยูบนเสนตรงในระบบแกนพิกัดฉาก

3.2 แคลคูลัส (Calculus )


แคลคูลัสเปนวิชาที่สําคัญ อีกวิชาหนึ่งของสาขาคณิ ตศาสตรและเปนพื้นฐานที่สําคัญ
ในการพัฒนานําไปใชประยุกตในสาขาวิชาทางวิศวกรรมตาง ๆ ได ในวิชาแคลคูลัส เราสนใจ
การเปลี่ ย นแปลงของปริม าณตั้ งแต สองจํ านวนขึ้ น ไป ซึ่ งมี ค วามสั ม พั น ธ กั น เช น พื้ น ที่ ข อง
สี่เหลี่ยมจัตุรัสมีความสัมพั นธกับความยาวของดานหนึ่งของสี่เหลี่ยมจัตุรัสนั้น ปริมาตรของ
ลูกบาศกมีความสัมพันธกับความยาวของดานหนึ่งของลูกบาศก เปนตน โดยการนําความรูใน
วิชาแคลคูลัสมาประยุกตใชในงานวิศวกรรมที่เกี่ยวของสามารถสรุปเปนขอ ๆ ไดดังนี้
1. สูตรสําหรับหาอนุพันธ
ให y = f(x) เปนฟงกชันอนุพันธของฟงกชัน
n
ถา f(x) = x จะได f'(x) = nxn-1 ---------(3.85)
ถา f(x) = x จะได f'(x) = 1 ---------(3.86)
ถา f(x) = c จะได f'(x) = 0 เมื่อ c = คาคงที่ ---------(3.87)
ถา f(x) = cg(x) จะได f'(x) = cg'(x) ---------(3.88)
ถา f(x) = g(x) ± h(x) จะได f'(x) = g'(x) ± h'(x) ---------(3.89)
ถา f(x) = g(x) h(x) จะได f'(x) = g'(x)h(x) + h'(x)g(x) ---------(3.90)
ถา f(x) = g(x) / h(x) จะได f'(x) = (g’(x)h(x)-h’(x)g(x))/ [h(x)]2 ----(3.91)
ถา f(x) = [g(x)]n จะได f'(x) = n[g(x)]n-1g'(x) ---------(3.92)
2. การเคลื่อนที่ของวัตถุ
สมการเคลื่ อ นที่ เ ป น สมการแสดงความสั ม พั น ธ ร ะหว า งระยะทางและเวลา เช น
2
s = t -4t+3 ความเร็วเฉลี่ยในชวงเวลา t1 ถึง t2 เปน (s2-s1)/(t2-t1) เมื่อ t2 > t1
32

ความเร็วขณะใด ๆ หาไดจากสมการ ds/dt แลวแทนคา t ณ จุดเวลานั้น ๆ ที่ตองการ


ทราบความเร็ว
3. อัตราการเปลี่ยนแปลง
ถ า y = f(x) อั ต ราการเปลี่ ย นแปลงเฉลี่ ย ข อง y เที ย บกั บ x ในช ว ง x ถึ ง x+h คื อ
f (x + h )− f (x )
h
อัตราการเปลี่ยนแปลงของ y เทียบกับ x ขณะ x มีคาใด ๆ หาไดจาก dy/dx
4. ความชันของเสนสัมผัสเสนโคง
ความชันของเสนโคง y = f(x) ที่จุด (x,y) ใด ๆ คือ f'(x) สมการเสนสัมผัสเสนโคงที่จุด
(x0,y0) ใด ๆ คือ y - y0 = f'(x) (x - x0)
5. ระยะทาง, ความเร็ว และความเรง
ถารูระยะทางในรูป s = f(t) จะไดความเร็ว v(t) = f'(t) และความเรง a(t) = f''(t) หรือ
a(t) = v'(t)
6. ฟงกชันเพิ่ม และฟงกชันลด
ถา f'(x) > 0 ในชวงใด แลว f จะเปนฟงกชันเพิ่มในชวงนั้น
ถา f'(x) < 0 ในชวงใด แลว f จะเปนฟงกชันลดในชวงนั้น
7. จุดสูงสุดสัมพัทธและจุดต่ําสุดสัมพัทธ
อาศั ย หลั ก ที่ ว า dy/dx = 0 ณ จุ ด สู ง สุ ด สั ม พั ท ธ ห รื อ ต่ํ า สุ ด สั ม พั ท ธ เสมอ สามารถ
แกปญหาเกี่ยวกับจุดสูงสุดต่ําสุดสัมพัทธไดดังนี้
• ถาเปนโจทยปญหาตองหาความสัมพันธในรูปฟงกชันระหวางตัวแปรอิสระและตัว
แปรตาม แตถาโจทยกําหนด y = f(x) มาแลวก็ใชไดเลย แกสมการ dy/dx = 0 ซึ่งอาจหา คํา
ตอบ x มากกวาหนึ่งคา
• ทดสอบวาคา x ที่ไดใหคาสูงสุดหรือต่ําสุดหรือไมใชเลย โดยอาศัยอนุพันธอันดับที่
สอง
ถา f''(x) > 0 แสดงวา x นั้นใหคาต่ําสุดสัมพัทธ
ถา f''(x) < 0 แสดงวา x นั้นใหคาสูงสุดสัมพัทธ
ถา f''(x) = 0 สรุปไมได ตองใชวิธีอื่นทดสอบจึงจะทราบ
8. อินทิกรัล
อินทิกรัล คือ ผลที่ไดจากการกระทําที่ยอนกลับกับการหาอนุพันธ ซึ่งมีสูตรในการหา
ดังนี้ กําหนดให k และ c เปนคาคงที่
∫ kdx = kx + c ---------(3.93)
x n +1
∫ x dx = +c ---------(3.94)
n

n +1
∫ kf (x )dx = k ∫ f (x )dx ---------(3.95)
33

∫ [f (x ) ± g (x )]dx = ∫ f (x )dx + ∫ g (x )dx ---------(3.96)


9. การประยุกตอินทิกรัลและจํากัดเขต
เราสามารถนําอินทิ กรัลจํากัดเขตไปชวยในการหาพื้นที่ภายใตกราฟ f(x) กับ แกน x
ดังนี้
กําหนดให f(x) เปนฟงกชันที่ตอเนื่องภายในชวงปด [a,b]
พื้นที่ A = ∫a f (x )dx
b
---------(3.97)
นอกจากการหาพื้นที่ใตกราฟแลว ยังสามารถมาประยุกตใชกับฟงกชันของระยะทาง
ไดอีก ดังนี้
อินทีกรัล
ความเรง ความเร็ว อินทิกรัล ระยะทาง
10. การแกสมการเชิงอนุพันธ
การแกสมการเชิงอนุพันธอันหนึ่งเปนการหาคําตอบของสมการที่อยูในรูปสมการที่
ติดอยูในรูปอนุพันธยกตัวอยาง เชน ฟงกชันอยูในรูปดังตอไปนี้
g(y) y' = f(x)
g(y) dy = f(x)dx
ตัวอยาง จงแกสมการเชิงอนุพันธ y' = 1 + y2
dy
= dx
1 + y 2

arc tan y = x + c
3.3 วิธีการเชิงตัวเลข (Numerical Method)
ระเบี ย บวิ ธี ก ารเชิ งตั ว เลขเป น เพี ย งกลุ ม ของวิ ธี ก ารต า ง ๆ ที่ เป น ขั้ น เป น ตอน โดย
ดําเนินการทางเลขคณิตดวยการบวก ลบ คูณ หาร และใชหลักตรรกศาสตร รวมประกอบดวย
โดยปกติแลวในการแกปญหาทางวิศวกรรมจําเปนตองแกระบบสมการขนาดใหญที่ประกอบดวย
สมการย อ ยและตั ว ไม รู ค า เป น จํ า นวนมาก ในส ว นนี้ เราจะได ศึ ก ษาระเบี ย บวิ ธี ก ารต า ง ๆ
หลายวิธีการที่สามารถนํามาแกระบบสมการเพื่อหาผลลัพธ ดังนี้
34

รูปที่ 3.6 แสดงพื้นที่ที่เกิดจากการอินทิกรัลฟงกชันใด ๆ


1. การใชกฎของคราเมอร
กฎของคราเมอร คือ การหาคาตัวกําหนด (determinant)โดยกฎของคราเมอรกลาววา
ตัวไมรูคา xi ของระบบสมการหาไดจาก
det[ A]i
xi = -------------------- (3.98)
det[ A]

โดย det[ A] แทนคาตัวกําหนดของเมตริกซ [ A] และ det[ A]i แทนคาตัวกําหนดของ


เมตริกซ [ A] หลังจากที่เมตริกซ [ A] นี้ ไดเปลี่ยนคาในแถวตั้ง i ดวยคาในเวกเตอร {B}
ตัวอยาง จงแกระบบสมการ
⎡ 2 1 ⎤ ⎧ x1 ⎫ ⎧ 4 ⎫
⎢1 −1⎥ ⎨ x ⎬ = ⎨ −1⎬
⎣ ⎦⎩ 2⎭ ⎩ ⎭
4 1
det[ A1 ] −1 −1 −4 + 1
x1 = = = =1
det[ A] 2 1 −2 − 1
1 −1
2 4
det[ A2 ] 1 −1 −2 − 4
x2 = = = =2
det[ A] 2 1 −2 − 1
1 −1

2. วิธีการตัวกําจัดแบบเการ
จัดไดวาเปนระเบียบวิธีการแกระบบสมการที่ไดรับความนิยมมากระเบียบวิธีหนึ่ง สามารถ
แบงออกเปน 2 ขั้นตอนดังนี้
• การกําจัดไปขางหนา หากเรามีระบบสมการที่ประกอบดวย 3 สมการยอย
ดังนี้
35

⎡ a11 a12 a13 ⎤ ⎧ x1 ⎫ ⎧ b1 ⎫


⎢0 ' ⎥⎪ ⎪ ⎪ '⎪
⎥ ⎨ x2 ⎬ = ⎨b2 ⎬
'
⎢ a22 a23
⎢⎣ 0 0 '
a33 ⎥⎦ ⎩⎪ x3 ⎭⎪ ⎩⎪b3'' ⎭⎪

• การแทนคายอนกลับ เมื่อจัดระบบสมการใหอยูในรูปขางบนไดแลวก็เริ่มทํา
ยอนกลับไปเพื่อหาคา xi ทีละสมการดังนี้
x3 = b3" / a33
"
--------(3.99)
x2 = ( b − a x3 ) / a
'
2
'
23
'
22 --------(3.100)
x3 = ( b1 − a12 x2 − a13 x3 ) / a11 --------(3.101)
3. วิธีของเกาส-ชอรดอง
เปนการขยายเพิ่มเติมตอไปจากระเบียบวิธีการกําจัดแบบเกาส โดยเปลี่ยนสมการใหอยูในรูป
แบบที่เมตริกซจตุรัสดานซาย ของระบบสมการประกอบดวยสัมประสิทธที่มีคาเปนศูนย ตลอดแถบลาง
ซายและแถบบนบวกของเมตริกซ และมีคาเปนหนึ่งตลอด แนวแกนเฉียงของเมตริกซนั้น
⎡1 0 0 ⎤ ⎧ x1 ⎫ ⎧b1 ⎫
*

⎢ 0 1 0 ⎥ ⎪ x ⎪ = ⎪b* ⎪
⎢ ⎥⎨ 2⎬ ⎨ 2⎬
⎢⎣ 0 0 1 ⎥⎦ ⎩⎪ x3 ⎭⎪ ⎪b3* ⎪
⎩ ⎭
ซึ่งจะทําใหเกิดผลลัพธทันที คือ
⎧ x1 ⎫ ⎧b1 ⎫
*

⎪ ⎪ ⎪ *⎪
⎨ x2 ⎬ = ⎨b2 ⎬
⎪ x ⎪ ⎪b* ⎪
⎩ 3⎭ ⎩ 3 ⎭

นอกจากวิธีการที่กลาวมาแลวยังวิธีการอีกมากมาย เชน วิธีการแบบเมตริกซผกผัน, วิธีการ


แยกแบบแอลยู, วิธีการแยกแบบโชเลซกี, วิธีการทําซ้ําแบบยาโคบี, วิธีการทําซ้ําแบบเกาส-ไซเคิล, วิธี
การผอนปรนเกินสืบเนื่อง ซึ่งสามารถหาอานไดตามหนังสือระเบียบวิธีการเชิงตัวเลขทั่วๆไป และยังมี
การนําเอาระเบียบวิธีการตางๆมาใชในการหาคาอินทิกรัล
4. กฎสี่เหลี่ยมคางหมู
การประมาณคาอินทิกรัลโดยใชกฎของสี่เหลี่ยมคางหมู มีสูตร ดังนี้
b−a
I= [ f ( x0 ) + f ( x1 )] --------(3.102)
2
36

รูปที่ 3.7 การประมาณคาโดยใชกฎสี่เหลี่ยมคางหมู

5. กฎของซิมปสัน
b−a
I= [ f ( x0 ) + 4 f ( x1 ) + f ( x2 )] --------(3.103)
6

รูปที่ 3.8 การประมาณคาโดยใชกฎของซิมปสัน

6. การถดถอยแบบกําลังนอยที่สุด ( Regression )
เปนกระบวนการกลั่นกรองขอมูลอยางเปนขั้นเปนตอนที่ทําใหขอมูลที่นํามาวิเคราะห
สามารถใชเปนมาตรฐานได โดยระเบียบวิธีการตางประกอบดวย
• การถดถอยแบบเชิงเสน
37

รูปที่ 3.9 วิธีการถดถอยเชิงเสน


สมการเสนตรงในรูปแบบฟงกชันอยูในรูป
g ( x) = a 0 + a1 x --------(3.104)
และสามารถหาคาความผิดพลาดของขอมูลไดคือ
n
= ∑ [ y − (a + a1 x )] --------(3.105)
2
E i 0
i =1

ซึ่งถาเรามีขอมูลเปนขอมูล สามารถคํานวณหาคา และ ไดดังนี้


⎛ n ⎞⎛ n ⎞ ⎛ n ⎞⎛ n ⎞
⎜ ∑ y i ⎟ ⎜ ∑ xi2 ⎟ − ⎜ ∑ xi y i ⎟⎜ ∑ xi ⎟
a0 = ⎝ i =1 ⎠ ⎝ i =1 ⎠ ⎝ i =1 ⎠⎝ i =1 ⎠ --------(3.106 ก.)
2
⎛ n ⎞ ⎛ n ⎞
n⎜ ∑ xi2 ⎟ − ⎜ ∑ xi ⎟
⎝ i =1 ⎠ ⎝ i =1 ⎠
หรือ
⎛ n ⎞ ⎛ n ⎞⎛ n ⎞
⎜ ∑ xi y i ⎟ − ⎜ ∑ xi ⎟⎜ ∑ y i ⎟
a0 = ⎝ i =1 ⎠ ⎝ i =1 ⎠⎝ i =1 ⎠ --------(3.106 ข.)
2
⎛ n ⎞ ⎛ n ⎞
n⎜ ∑ xi2 ⎟ − ⎜ ∑ xi ⎟
⎝ i =1 ⎠ ⎝ i =1 ⎠

• การถดถอยแบบเชิงเสนกับขอมูลไมเชิงเสน
ขอมูลดังกลาวจะอยูในรูปของสมการกําลังดังนี้
--------(3.107)
b
y = ax
ซึ่งสามารถเขียนใหอยูในรูป y = a 0 + a1 x
สมการหาคาตางๆ ไดดังนี้
38

x = log x
y = log y
------------------(3.108)
a0 = log a
a1 = b

กรณีอยูในรูปของสมการเอ็กซโพเนียนเชียล
y = ae b x ------------------(3.109)
จะได
y = ln y ; x=x
------------------(3.110)
a0 = ln a ; a1 = b

• การถดถอยของพหุนาม

รูปที่ 3.10 การถดถอยของพหุนาม


มีรูปแบบสมการอยูในรูป
g ( x) = a 0 + a1 x + a 2 x 2 + ..... + a m x m ------------------(3.111)
สมการหาคาตางๆ โดยการแกสมการเมตริกซดังนี้
⎡ n n n
⎤ ⎡ n ⎤
⎢ n ∑x i ∑x 2
i K ∑x m
i ⎥ ⎡a0 ⎤
⎢ ∑ yi ⎥
⎢ n i =1
n
i =1
n
i =1
n ⎥ ⎢ ⎥ ⎢ ni=1 ⎥
⎢ xn m+1 ⎥
⎢a1 ⎥
⎢∑ ∑x ∑x L ∑ xi ⎢ x y⎥
⎢∑
2 3
i i i
⎥ ⎢ ⎥ ⎥
=
i i
i =1 i =1 i =1 i =1
⎢ ⎥ ⎢
i =1

⎢ ⎥ ⎢ ⎥ ⎢ ⎥
⎢nM M M M M ⎥ ⎢M⎥ ⎢ ⎥
⎢ n n n
⎥ ⎢ ⎥
⎢∑ xi ∑x ∑x L ∑ xi2m ⎥
m m+1 n+ 2 ⎢n m ⎥
⎣ i =1 i =1
i
i =1
i
i =1 ⎦ ⎣am⎦ ⎢∑ xi yi ⎥
⎣ i =1 ⎦
39

7. สถิติ
สถิติ คือ การนําขอมูลที่เปนขอเท็จจริง มาทําการวิเคราะหและนํามานํามาเสนอขอมูล โดย
สามารถแบงออกเปนหัวขอใหญ ๆ ไดดังนี้
• การเก็บรวบรวมขอมูล คือ การรวบรวมขอเท็จจริง สามารถจําแนกได 4 วิธี
คือ
- การเก็บรวบรวมจากทะเบียนประวัติ
- การเก็บรวบรวมโดยวิธีการสํารวจ
- การเก็บรวบรวมโดยการสํารวจ
- การเก็บรวบรวมโดยวิธีการสังเกต
• การนําเสนอขอมูล คือ การแสดงขอมูลที่รวบรวมมา มี 2 วิธีการใหญ ๆ คือ
การนําเสนอขอมูลอยางไมมีแบบแผน เชน ในรูปแบบบทความ เปนตน และ การนําเสนอ
อยางเปนแบบแผน เชน ในรูปแบบตาราง , แผนภูมิแทง เปนตน
• การวัดคากลางของขอมูล แบงออกไดเปน หัวขอดังนี้
- คาเฉลี่ยเลขคณิต
x =
∑ fx
------(3.112)
N

x = A +
∑ f (x − A)
เมื่อ A คือ คาเฉลี่ยสมมุติ ------(3.113)
N

- มั ธ ยฐาน คื อ ค าที ตํ าแหน งอยู ที่ กึ่ งกลางของข อมู ล เมื่ อเรียงจากน อ ย
ไปมาก
⎛N ⎞
⎜ − ∑ f L ⎟
------(3.114)
= L + ⎝ ⎠ I
2
M e
f M

เมื่อ L คือ ขอบลางของอันตรภาคชั้นที่มีมัธยฐานอยู


N/2 คือ ตําแหนงของมัธยฐาน
ΣfL คือ ผลรวมของความถี่ของอันตรภาคชั้นที่มีคาต่ํากวาอันตร
ภาคชั้นที่
มีมัธยฐานอยู
fM คือ ความถี่ของอันตรภาคชั้นที่มี มัธยฐานอยู
I คือ ความกวางของอันตรภาคชั้นที่มี มัธยฐานอยู
- ฐานนิยม คือ คาจากการสังเกต ของขอมูลที่มีความถี่สูงสุด
• การวัดการกระจายของขอมูล
เปนการแสดงใหเห็นถึงความแตกตางของคาจากการสังเกต มี 2 วิธี คือ
- การวัดการกระจายสัมบูรณ เพื่อตรวจสอบดูวา คาจากการสังเกตของ
ขอมูลมีความแตกตางกันมากนอยเพียงใด มีวิธีการวัด 4 ชนิด คือ
40

พิสัย = xmax-xmin ----------------(3.115)


สวนเบี่ยงเบนควอไทล Q.D.= ( Q3-Q1)/2 ----------------(3.116)

สวนเบี่ยงเบนเฉลี่ย M.D. = ∑
x −x
----------------(3.117)
N

สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน S.D. = ∑
2
x
− (x )2 -----------(3.118)
N
ในกรณี ที่เรานําคาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานมายกกําลังสอง เราเรียกวา คาแปรปรวน
คือ
ความแปรปรวน = ( S.D.)2 -------------------(3.119)
- การวัดการกระจายสัมพัทธ นําไปใชในการเปรียบเทียบขอมูลแตละกลุมวา
กลุมใดมีการกระจายมากกวากลุมใด มีอยู 4 แบบคือ
สัมประสิทธิ์ของพิสัย = ( xmax-xmin)/(xmax+xmin) ----------------(3.120)
สัมประสิทธิ์ของสวนเบี่ยงเบนควอไทล = ( Q3-Q1)/(Q3+Q1) ---3.121)
สัมประสิทธิ์ของสวนเบี่ยงเบนเฉลี่ย = ( M.D) / x ---------------(3.122)
สัมประสิทธิ์ของการแปรผัน = ( S.D.) / x ----------------(3.123)
• คามาตรฐาน ( Z) เปนการจัดทําคาของขอมูลแตละกลุมใหอยูในกลุมเดียง
กัน แลวนําแตละกลุมมาเปรียบเทียบกัน โดยใชสูตรดังนี้
x −x
Z = ----------------(3.124)
S .D .
3.4 ใชคอมพิวเตอรในการคํานวณ (Computer Aids)
คอมพิวเตอรเปนอุปกรณอิเลคทรอนิกสในการประมวลผลขอมูลเพื่อชวยในการทํางาน
ให มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพและรวดเร็ว ยิ่ งขึ้ น ขั้ น ตอนการทํ างานของคอมพิ ว เตอรจ ะประกอบด ว ย
การรับขอมูลที่ปอนเขามาเก็บไวในหนวยความจํา และนําขอมูลประมวลผล จากนั้นแสดงออก
มาทางอุปกรณแสดงผลลัพธ ซึ่งปจจุบันไดมีการนําคอมพิวเตอรมาใชงานกันอยางกวางขวาง
โดยทํ างานผานซอฟแวร หรือโปรแกรมตาง ๆ ที่ใชภาษาคอมพิวเตอรเขียนขึ้นมาเพื่ อสั่งให
คอมพิวเตอรทํางานตามความตองการของผูใชงานภาษาคอมพิวเตอร ( Computer Language )
ที่นิยม มีดังนี้
• ภาษาเบสิค ( BASIC )
• ภาษาซี ( C )
• ภาษาปาสคาล ( PASCAL )
• วิชวลเบสิค ( Visual Basic )
41

• เดลไฟล ( Delphi )
• ภาษาโคบอล ( COBOL )
โปรแกรมใช ง าน ( Application Program ) คื อ โปรแกรมที่ ส ร า งขึ้ น เพื่ อ ทํ า งานใด
ด า นหนึ่ ง โดยเฉพาะ ซึ่ ง จะต อ งเลื อ กภาษาคอมพิ ว เตอร ที่ เหมาะสมกั บ งานนั้ น เพื่ อ เขี ย น
โปรแกรม โปรแกรมใชงานแบงออกไดเปน 2 ชนิด คือ
• User ‘s Written Program คือ โปรแกรมที่เขียนขึ้นตามความตองการของผูใช
โดยให ผู เชี่ ย วชาญทํ าหน าที่ พั ฒ นาขึ้ น โดยพิ จารณาจากลั ก ษณะงาน และ
ความตองการของผูใช เชน โปรแกรมตัดเกรด , โปรแกรมวิเคราะหโครงสราง
ตาง ๆ ,โปรแกรมควบคุมสต็อกสินคา เปนตน
• Package Program คื อ โปรแกรมที่ ส ร า งขึ้ น มาเพื่ อ ทํ า งานด านใดด านหนึ่ ง
แบงได 4 ประเภทใหญ ๆ คือ
- โปรแกรมสําหรับพิมพรายงาน คือ โปรแกรมที่ใชในการพิมพเอกสาร และ
จดหมาย โดยมีคําสั่งที่ใหความสะดวกในดานการพิ มพ เปนพิ เศษ โดย
การจําลองการทํางานของเครื่องพิมพดีด แตทํางานไดดีกวามาก ตัวอยาง
โปรแกรมสําหรับ พิ ม พ รายงาน ไดแก โปรแกรมไมโครซอฟท เวิรด (MS
word) เปนตน
- โปรแกรมสําหรับการคํานวณ คือ โปรแกรมที่ใชคํานวณและพิมพผลลัพธ
ในลั ก ษณะของตารางและกราฟรู ป แบบต า ง ๆ ประกอบด ว ยสู ต รและ
ฟงกชันมากมายที่ใชในการคํานวณ บางครั้งเราเรียกโปรแกรมเหลานี้วา
สเปรดชี ต ( Spread Sheet ) ตั ว อย า งโปรแกรมชนิ ด นี้ ไ ด แ ก Excel ,
Lotus 1-2-3 เปนตน
- โปรแกรมกราฟฟก คือ โปรแกรมทํางานเกี่ยวกับรูปภาพ เชน การวาดรูป
การเปลี่ยนแปลงแกไขภาพ การสรางภาพ 3 มิติ เปนตน ตัวอยางโปรกรม
กราฟฟก ไดแก Paint Brush , Autocad , Photoshop เปนตน
- โปรแกรมจัดการฐานขอมูล คือ โปรแกรมในการจัดการระบบที่มีการจัด
เก็ บ ข อ มู ล จํ า นวนมาก โดยการแยกเก็ บ ข อ มู ล ออกเป น หมวดหมู และ
สามารถดึงออกมาใชงานไดงาย ตัวอยางโปรแกรมจัดการฐานขอมูล ไดแก
Dbase , FoxPro , Access เปนตน
42

หนังสืออางอิง
7. ปราโมทย เดชะอําไพ , ระเบียบวิธีการเชิงตังเลขในงานวิศวกรรม , สํานักพิมพจุฬาลง
กรณมหาวิทยาลัย , กทม.,2538
8. ศรีบุตร แววเจริญ , ชนศักดิ์ บายเที่ยง, คณิตศาสตรวิศวกรรมและวิทยาศาสตร , บริษัท
วงตะวัน จํากัด , กทม., 2540
9. ธนชีพ พีระธรณิศร , ไชยเจริญ ยั่งยืน , คอมพิวเตอรเบื้องตน , สํานักพิมพประสานมิตร ,
กทม.,2538.
10. จิดาภั ส สัมพั น ธโภช , สงา อัศวสิท ธิถาวร , ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับ คอมพิ วเตอรและ
ประมวลผลขอมูล, วังอักษร , กรุงเทพฯ,2539
11. Erwin Kreysyig, Advanced Engineering Mathematics,8th ed. New York ;Wiley, 1999.
12. Birkhoff , G. and G.-C. Rota, Ordinary Differential Equations,4th ed.New
York:Wiley,1989.
13. Bahder, Thomas B. Mathmatica For Scientist and Engineers. Addison Wesley,1995.
14. Jay L. Devore,Probability and Statistics for Engineering and the Sciences,4th ed.
Duxbury Press,1995.
15. Adam, Robert A., Calculas ,4th ed.,Addison Wesley,1991.
43

บทที่ 4
ทักษะพื้นฐานทางวิศวกรรม
เปนที่ทราบกันดีวาทักษะทางวิศวกรรมจะเกิดขึ้นไดก็จะตองมีพื้ นฐานการศึกษาที่ดี โดย
เฉพาะในทางดานวิศวกรรมแลวจะตองสรางสมประสบการณเพิ่มเติมอีกมากมายและจะตองพัฒนาตน
เองในวิชาชีพอยางตอเนื่อง จึงจะทําใหเกิดความรูความชํานาญที่เปนทักษะในการประกอบวิชาชีพ แต
กอนที่จะใหการเรียนการสอนทางวิชาชีพเปนไปดวยประสิทธิผลเพื่อสมรรถนะและการฝกฝนสรางสม
ประสบการณใหเกิดความรูความชํานาญไดอยางรวดเร็ว และลึกซึ้งไดเต็มศักยภาพจึงมีความจําเปน
อยางยิ่งที่วิศวกรจะตองมีทักษะในพื้นฐานทางวิศวกรรมมากอน
ดังนั้นทักษะพื้นฐานทางวิศวกรรมจะมีความสําคัญอยางยิ่งสําหรับผูที่เขาสูกระบวนการ
ประกอบวิชาชีพในสาขาวิศวกรรมเฉพาะทาง เชน วิศวกรรมโยธา วิศวกรรมไฟฟา วิศวกรรม
เครื่องกล วิศวกรรมอุตสาหการ วิศวกรรมเหมืองแร วิศวกรรมเคมี และวิศวกรรมสิ่งแวดลอม
เป น ต น ซึ่ งในภาวะป จจุบั น ปรากฎว าผู ป ระกอบอาชี พ วิศ วกรรมในแต ล ะสาขาที่ มี ทั กษะใน
การประกอบวิชาชีพอยางแทจริงมีจํานวนลดนอยถอยลงเปนลําดับ มีสาเหตุสําคัญประการหนึ่ง
เนื่องมาจากผูจบการศึกษาระดับปริญญาตรีทางดานวิศวกรรมศาสตรจํานวนมากที่มาขอรับ
ใบอนุ ญ าตเป น ผู ป ระกอบวิ ช าชี พ วิ ศ วกรรมควบคุ ม ระดั บ ภาคี วิ ศ วกรยั ง ขาดความรู แ ละ
ความเขา ใจในวิ ช าพื้ น ฐานทางวิท ยาศาสตร (Basic Sciences) เช น หมวดวิช าคณิ ต ศาสตร
หมวดวิ ช าฟ สิ ก ส และหมวดวิ ช าเคมี เป น และขาดความรู ค วามเข า ใจในวิ ช าพื้ น ฐานทาง
วิศวกรรมศาสตร อยางเชน หมวดวิชากลศาสตรวิศวกรรม หมวดวิชาวัสดุวิศวกรรม หมวดวิชา
เขียนแบบทางวิศวกรรม และหมวดวิชาการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร เปนตน อันเปนผลตอ
เนื่ อ งทํ าให ข บวนการเรีย นรู ในวิ ช าวิศ วกรรมหลั ก เฉพาะ (Specific Engineering) ที่ เป น
วิ ช าชี พ เฉพาะสาขาที่ วิ ศ วกรต อ งเรี ย น ต อ งเข า ใจ ให เกิ ด ทั ก ษะและเกิ ด จิ ต สํ า นึ ก ในสาขา
วิศวกรรมนั้น ๆ ได ไมเต็มศักยภาพ
ดวยสาเหตุนี้สภาวิศวกรจึงมีความมุงหวังที่จะแกไขปญหานี้เพื่อเพิ่มทักษะใหกับวิศวกร
โดยทําใหวิศวกรที่มาขอรับใบอนุญาตเปนผูประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม ทราบถึงปญหา
และสาเหตุดังกลาว เพื่ อจะไดทํ าการปรับ ปรุงพั ฒ นาตัวเองทางด านความรูพื้ น ฐานทางด าน
วิทยาศาสตรและความรูพื้นฐานทางวิศวกรรมศาสตร ซึ่งสามารถทบทวนไดจากตําราที่เคยได
เลาเรียนมา เริ่มจากระดับมัธยมปลาย และระดับอุดมศึกษาปตน ๆ หรืออาจศึกษาจากตํารา
การเตรียมความพรอมในการประกอบวิชาชีพทั้งของในประเทศ และของตางประเทศ เชน E.I.T.
(Engineering in Training) ของประเทศอเมริกา เปนตน
ทักษะพื้นฐานทางวิศวกรรมสําหรับประเทศไทยเรา อาจจะพิจารณาแยกออกเปน
44

4.1 ทักษะจากพื้นฐานทางวิทยาศาสตร
ในระบบการศึ ก ษาเพื่ อ ให ได ม าซึ่ งปริญ ญาหรือ ประกาศนี ย บั ต รจะต อ งศึ ก ษาเล าเรีย นใน
หลายหมวด เช น ทางด านมนุ ษ ย และสั งคม ทางด านวิ ท ยาศาสตรทั่ วไป และด านความรูวิช าการ
เฉพาะดาน แตในหลักสูตรวิศวกรรมศาสตรจะมุงทักษะพื้นฐานที่เกิดจากความรูเชิงทฤษฎี ความรูเชิง
ปฏิบัติการดวยการทดสอบตาง ๆ และความรูจากการฝกฝนดวยแบบฝกหัด เสริมทักษะในรูปแบบ
ตาง ๆ อันจะประกอบดวย
• ความรูทางคณิตศาสตร - อันเปนทักษะในการคํานวณทางวิศวกรรม
• ความรูใ นวิชาฟสิกต - อันเปนทักษะในสาขาวิศวกรรมศาสตรทุกสาขา
• ความรูในวิชาเคมี - อันเปนทักษะทางดานวัสดุวิศวกรรม และสาขาวิศวกรรมศาสตร

แต ดวยบทกอนได รวบรวมทั กษะจากการคํานวณทางวิศ วกรรมจากความรูท าง


คณิตศาสตรไวแลว ดังนั้นในบทนี้ขอทบทวนเฉพาะทักษะจากพื้นฐานที่เกี่ยวของกับความรูใน
วิชาฟสิกตและความรูในวิชาเคมี
ก. ความรูในวิชาทางฟสิกต
ก.1) หนวย การวัดหนวย (Unit) ที่ใชกําหนดปริมาณของการวัดมีหลายระบบ เชน
ระบบอังกฤษ (Imperial Unit) ระบบเมตริก (Metric System) และระบบหนวยเอสไอ (System
International Unit)
ปริมาณมูลฐาน(Base Quantities) ชื่อหนวย(Units) สัญลักษณ(Symbols)
ความยาว(Length) เมตร(metre) m
มวล(Mass) กิโลกรัม(kilogram) kg
เวลา(Time) วินาที(second) s
กระแสไฟฟา(Electric Current) แอมแปร(ampere) A
อุณหภูมิ(Temperature) แคลวิน(kelvin) kg
ปริมาณของสาร(Amount of Substance) โมล(mole) mol
ค ว า ม เข ม ข อ ง ก า ร ส อ ง ส ว า ง (Luminour
Intensity) แคนเดลา(candela) cd

ปริมาณเสริม ชื่อหนวย(Units) สัญลักษณ(Symbols)


มุมในระนาบ(Plane Angle) เรเดียน(Radian) rad
มุมตัน(Solid Angle) สเตอเรเดียน(Steradian) sr
45

ปริมาณอนุพันธ ชื่อหนวย(Units) สัญลักษณ(Symbols)


ปริมาตร(Volume) ลูกบาศกเมตร(cubic metre) m³
ความเร็ว(Velocity) เมตร/วินาที(metre per second) m/s
เ ม ต ร /วิ น า ที ²(metre per
ความเรง(Acceleration) second²) m/s²
แรง(Force) นิวตัน(Newton) N
โมเมนตัม(Momentum) กิโลกรัม.เมตร/วินาที kg.m/s

ก.2) ขนาด เปนตัวนํา (Prefix) ใชเรียกแทนตัวเลขยกกําลัง ดังแสดงในตาราง


ตัวคูณ ชื่อ สัญลักษณ
0.000 000 000 000 000 001 อัตโต(atto) a
0.000 000 000 000 001 เฟมโต(femto) f
0.000 000 000 001 พิโก(pico) p
0.000 000 000 1 อังสตรอม(angstorm) A
0.000 000 001 นาโน(nano) n
0.000 001 ไมโคร(micro) µ
0.001 มิลลิ(milli) m
0.01 เซนติ(centi) c
0.1 เดซิ(deci) d
10 เดคา(deca) da
100 เฮกโต(hecto) h
1,000 กิโล(kilo) k
1,000,000 เมกะ(mega) M
1,000,000,000 จิกะ(giga) G
1,000,000,000,000 เทระ(tera) T
1,000,000,000,000,000 เพตะ(peta) P
1,000,000,000,000,000,000 เอกซะ(exa) E
ก.3) เวกเตอร (Vector) ปริมาณเวกเตอรมีทั้งขนาดและทิศทาง เชน การขจัด ความเร็ว
ความเรง น้ําหนัก เปนตน โดยเวกเตอรจะเทากันไดก็ตอเมื่อมีขนาดเทากันและทิศทางเดียวกัน
การรวมเวกเตอรจะไมเหมือนกับการบวกทางพีชคณิต อาจใชการลากเวกเตอรตอกัน
แบบหัวตอหาง โดยผลรวมของเวกเตอร 2 เวกเตอรสามารถคํานวณไดจากสูตร
46

R 2 = P 2 + Q 2 + 2PQ cos θ
R 2 = P 2 + Q 2 − 2PQ cos θ Q sin θ
tan α =
P + Q cos θ
(4.1)

รูปที่ 4.1 การหาเวคเตอร

การแตกเวกเตอรเปน 2 เวกเตอร ซึง่ สามารถรวมกันเปนเวกเตอรเดียวกันได


R sin θ
P=
Q = R sin θ sin(θ + α)
P = R cos θ R sin α
Q=
sin(θ + α)
(4.2)

รูปที่ 4.2 การแตกเวคเตอร

ก.4) สภาพสมดุ ล วัต ถุ ในสภาพสมดุล หมายถึง การที่ วัต ถุไมเปลี่ยนสภาพการ


เคลื่อนที่ จากกฎการเคลื่อนที่ขอที่1 ของนิวตันกลาววา “วัตถุทุกชนิดจะดํารงสภาพหยุดนิ่ง หรือ
เคลื่อนที่ดวยความเร็วคงที่ ตราบใดที่ไมมีแรงภายนอกมากระทํา เนื่องจากวัตถุมีความเฉื่อย
(มวล) ตานทางการเปลี่ยนสภาพการเคลื่อนที่ หรือที่เรียกวา กฎแหงความเฉื่อย (law of
inertia)”
สมดุลตอการเลื่อนตําแหนง คือ การที่วัตถุหยุดนิ่ง (สมดุลสถิต) หรือเคลื่อนที่ดวยความเร็วคง
ที่ (สมดุลจลน) โดยเงื่อนไขที่ทําใหวัตถุสมดุลตอการเลื่อนที่คือ แรงลัพธที่กระทําตอวัตถุตองเปนศูนย
∑ Fx = 0
∑F = 0:
∑ Fy = 0
47

(4.3)

สมดุลตอการหมุน คือ การที่วัตถุไมมีการหมุน หรือมีการหมุนรอบแกนหมุนดวยอัตรา


การหมุนคงที่ โดยเงื่อนไขที่ทําใหวัตถุสมดุลตอการหมุนคือผลรวมทางคณิตศาสตรของโมเมนต
ตองเปนศูนย
n

∑M
i =1
i =0

(4.4)

รูปที่ 4.4 สมดุลตอการหมุนของน้ําหนัก W


สมดุลอยางสมบูรณ คือ การที่วัตถุอยูในสภาพสมดุลตอการเลื่อนที่และสมดุลตอการ
หมุนพรอมกัน
จุดศูนยกลางมวล(Center of Mass, C.M.) คือจุดที่เสมือนเปนที่รวมของมวลของวัตถุ
ทั้งกอน
W1d1 = W2 d 2 + W3d 3

จุดศูนยถวง(Center of Gravity, C.G.) คือจุดที่เสมือนเปนที่รวมของงน้ําหนักวัตถุทั้ง


กอน โดยแนวของน้ําหนักของวัตถุทั้งกอนจะมีทิศผานจุดศูนยถวงนี้ไมวากอนวัตถุนั้นจะอยูใน
ลักษณะอยางไร
แรงเสีย ดทาน(Friction Force) คือ แรงต านการเคลื่อนที่ข องวัต ถุ ซึ่ งเกิ ดขึ้ นระหวาง
ผิววัตถุกับพื้นที่สัมผัสกัน แรงนี้จะมีทิศตรงขามกับแนวการเคลื่อนที่ของวัตถุเสมอ แรงเสียด
ทานมี 2 แบบ คือ
48

1. แรงเสียดทานสถิต (Static Friction, fs) เปนแรงเสียดทานที่เกิดขึ้นระหวางพื้นผิวสัมผัส


ขณะที่วัตถุหยุดนิ่งหรือวัตถุเริ่มจะเคลื่อนที่ โดยแรงเสียดทานสถิตจะมีคาไมคงที่ และจะ
มีคามากที่สุดเมื่อวัตถุเริ่มจะเคลื่อนที่
f s = F ฉุดขณะนั้น และ 0 ≤ fs ≤ fs(max)
f s(max) = µs N
(4.5)

รูปที่ 4.5 สมดุลระหวางแรงภายนอกและแรงเสียดทาน

2. แรงเสียดทานจลน (Kinetic Friction, fk) เปนแรงเสียดทานที่เกิดขึ้นระหวางพื้นผิวสัมผัส


ขณะที่วัตถุเคลื่อนที่ดวยความเร็วคงที่ โดยแรงเสียดทานจลนจะมีคาคงที่เสมอ
fk = µk N
(4.6)

รูปที่ 4.6 สมดุลระหวางแรงภายนอกและแรงเสียดทานจลน


ลักษณะของการสมดุลของวัตถุมีอยู 3 ประการ คือ
1. สมดุลแบบเสถียรภาพ (Stable Equilibrium) หรือสมดุลถาวร คือสมดุลของวัตถุซึ่ง
เมื่อถูกแรงกระทําใหเสียสมดุลแลว จุดศูนยถวงจะเลื่อนขึ้นสูงกวาระดับเดิม แตเมื่อ
แรงที่กระทําตอวัตถุหมดไป วัตถุจะสามารถเคลื่อนที่กลับมาสูสมดุลเดิมไดอีก
2. สมดุลแบบไมเสถียรภาพ (Unstable Equilibrium) หรือสมดุลชั่วคราว คือสมดุลของ
วัตถุซึ่งเมื่อไดรับแรงกระทําจากภายนอกแลว จุดศูนยถวงจะเลื่อนต่ํากวาระดับเดิม
ไปสูตําแหนงสมดุลใหม โดยไมสามารถกลับไปสูสมดุลเดิมไดอีก
3. สมดุลแบบสะเทิน (Neutral Equilibrium) คือสมดุลที่เกิดขึ้นบนวัตถุเมื่อมีแรงภาย
นอกมากระทําตอวัตถุแลววัตถุยังคงสภาพสมดุลอยางเดิมได โดยจุดศูนยถวงก็ยัง
คงอยูในระดับเดิมอยูเสมอ
49

รูปที่ 4.7 สมดุลเสถียรภาพ

รูปที่ 4.8 สมดุลไมเสถียรภาพ

รูปที่ 4.9 สมดุลสะเทิน

ก.5) การเคลื่อนที่
กฎการเคลื่ อนที่ ของนิ วตั นขอ1 หรือกฎความเฉื่อย(law of inertia) : วัต ถุทุ ก ชนิ ดจะ
ดํารงสภาพหยุดนิ่ง หรือเคลื่อนที่ดวยความเร็วคงที่ ตราบใดที่ไมมีแรงภายนอกมากระทํา เนื่อง
จากวัตถุมีความเฉื่อย(มวล)ตานทางการเปลี่ยนสภาพการเคลื่อนที่
∑ F = 0 ⎯⎯
→a = 0
(4.7)
กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันขอ2 : เมื่อมีแรงลัพธซึ่งมีขนาดไมเปนศูนยมากระทําตอวัตถุ
จะทําใหวัตถุเคลื่อนที่ไปดวยความเรงในทิศทางเดียวกับแรงลัพธที่มากระทํา และขนาดของ
50

ความเรงจะแปรผันโดยตรงกับขนาดของแรงลัพธ และความเรงจะแปรผกผันกับมวลของวัตถุ
โดยแรงหนึ่งนิวตันจะทําใหมวลหนึ่งกิโลกรัมเคลื่อนที่ดวยความเรงหนึ่งm/sec2
∑ F ≠ 0 ⎯⎯
→ ∑ F = ma
(4.8)
กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันขอ3 : ทุกแรงกิริยายอมมีแรงปฏิกิริยาเกิดขึ้นพรอมกัน ซึ่งมี
ขนาดเทากัน แตมีทิศทางตรงกันขาม
Faction = −Freaction
(4.9)
การเคลื่อนที่แนวตรง
ระยะทาง (Distance) คื อ ความยาวตามเส น ทางที่ วั ต ถุ เคลื่ อ นที่ ผ า นไปได ทั้ ง หมด
เปนปริมาณ scalar
ระยะกระจัด (Displacement) คือความยาวเสน ตรงที่เชื่ อมโยงระหวางจุดเริ่มตนและ
จุดสุดทายของการเคลื่อนที่ของวัตถุ เปนปริมาณ vector

รูปที่ 4.10 ตัวอยางระยะกระจัด และระยะทาง

อัตราเร็ว (Speed) แบงเปน 2 แบบคือ


1. อัตราเร็วเฉลี่ย (Average Speed) คืออัตราสวนระหวางระยะทางที่รถเคลื่อนที่ไปได
s
ตอชวงเวลาที่ใชในการเดินทาง vav =
t
(4.10)
2. อัตราเร็วขณะใดขณะหนึ่ง (Instantaneous Speed) คืออัตราเร็วเฉลี่ยในช วงระยะ
⎛ s ⎞ ds
vin = lim ⎜ ⎟ =
เวลาสั้นๆ หรือเวลาที่ใชมีคาเขาใกลศูนย ⎝ ⎠ dt
t →0 t

(4.11)
ความเร็ว (Velocity) คืออัตราการเปลี่ยนแปลงการกระจัด แบงเปน 2 แบบคือ
1. ความเร็ว เฉลี่ ย (Average Velocity) คื อ อั ต ราส ว นระหว างการกระจั ด ของวั ต ถุ กั บ
∆s
ชวงเวลาที่เกิดการกระจัดนั้น vav =
∆t
(4.12)
51

2. ความเร็วขณะใดขณะหนึ่ง (Instantaneous Velocity) คือความเร็วเฉลี่ยในชวงระยะ


⎛ ∆s ⎞ ds
เวลาสั้นๆ หรือเวลามีคาเขาใกลศูนย vin = lim ⎜ ⎟ =
∆t →0 ∆t
⎝ ⎠ dx
(4.13)
ความเรง (Acceleration) คืออัตราการเปลี่ยนแปลงความเร็ว หรือความเร็วที่เปลี่ยนไป
ในหนึ่งหนวยเวลา แบงเปน 2 แบบคือ
∆v
1. ความเรงเฉลี่ย (Average Acceleration) a av =
∆t
(4.14)
2. ความเรงขณะใดขณะหนึ่ง (Instantaneous Acceleration)
⎛ ∆ v ⎞ dv
a in = lim ⎜ ⎟=
∆t →0 ∆t
⎝ ⎠ dt
(4.15)
สูตรในการคํานวณการเคลื่อนที่ในแนวเสนตรงโดยความเรงตองมีคาคงที่เสมอไดแก
v = u + at
⎛u+v⎞
s=⎜ ⎟t
⎝ 2 ⎠
1
s = ut + at 2
2
v = u + 2as
2 2

1
s = vt − at 2
2
(4.16)

รูปที่ 4.11 กราฟแสดงความสัมพันธของวัตถุเคลื่อนทีด่ วยความเร็วคงที่ในแนวเสนตรง

รูปที่ 4.12 กราฟแสดงความสัมพันธของวัตถุเคลื่อนทีด่ วยความเรงคงที่ในแนวเสนตรง


52

รูปที่ 4.13 กราฟแสดงความสัมพันธของวัตถุเคลื่อนที่ดวยความหนวงคงที่ในแนวเสน


ตรง
การเคลื่อนที่แบบโปรเจกไตล
การเคลื่อนที่แบบโปรเจกไตล (Projectile) คือการเคลื่อนที่ในแนวโคง อันเนื่องมาจาก
การเคลื่อนที่ในแนวเสนตรงที่มีแรงลัพธกระทําตอวัตถุในทิศทางทํามุมกับการเคลื่อนที่แนวเสน
ตรง แนวการเคลื่อนที่จะเปนเสนโคงพาราโบลา โดยจะสามารถพิจารณาแยกเปนการเคลื่อนที่ 2
แนวคือ แนวราบและแนวดิ่ง
sx = u x t
สมการการเคลื่อนที่ในแนวระดับ v = u + gt
⎛u+v⎞
s=⎜ ⎟t
⎝ 2 ⎠
(4.17)
1
s = ut + gt 2
2
สมการการเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง v = u + 2gs
2 2

1
s = vt − gt 2
2
(4.18)
ขนาดการกระจัดของวัตถุ d = s 2x + s 2y
(4.19)

รูปที่ 4.17 การกระจัดของวัตถุที่เคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล


53

การเคลื่อนที่แนววงกลม
การเคลื่อนที่แนววงกลม (Circle) ทิศทางการเคลื่อนที่หรือทิศของความเร็วจะเปลี่ยน
แปลงอยูตลอดเวลา แสดงวาความเร็วของวัตถุมีการเปลี่ยนแปลง นั่นคือวัตถุที่เคลื่อนที่แนววง
กลมจะมีความเรงเสมอ ซึ่งความเรงจะเกิดได 2 แนวคือ ความเรงแนวสูศูนยกลาง และความเรง
แนวเสนสัมผัสวงกลม
1. วัตถุเคลื่อนที่เปนวงกลมดวยอัตราเร็วคงที่ จะมีแรงกระทําตอวัตถุเพียงแนวเดียวคือ
แนวสูศูนยกลาง ทําใหเกิดความเรงสูศูนยกลางเพียงแนวเดียวเทานั้น โดยความเรงสูศูนยกลาง
สามารถหาไดจาก
v2
ac =
R
(4.20)
2. วัตถุเคลื่อนที่เปนวงกลมดวยอัตราเร็วไมคงที่ จะมีแรงกระทําตอวัตถุหลายแนว ทําให
เกิดความเรงขึ้นกับวัตถุได 2 แนวคือ แนวสูศูนยกลาง(ac) และแนวเสนสัมผัส(at)
aลัพธ = a c2 + a 2t
(4.21)

รูปที่ 4.15 การเคลื่อนที่ดวยอัตราเร็วไมคงที่

การเคลื่อนที่แบบซิมเปลฮารโมนิก
การเคลื่อนที่แบบซิมเปลฮารโมนิก (Simple Harmonic) จะมีการเคลื่อนที่แบบสั่นที่มี
แอมพลิจูดคงที่ โดยวัตถุที่มีการเคลื่อนที่แบบการสั่นจะมีแรงและความเรงในทิศเขาหาตําแหนง
สมดุลเสมอ
แอมพลิจูด (Amplitude) คือการกระจัดที่วัดจากจุดสมดุลที่มีคามากที่สุด
คาบ (T) คือเวลาที่วัตถุเคลื่อนที่ครบ 1 รอบ
สมการการกระจัด ความเร็ว และความเรงของวัตถุที่เคลื่อนที่แบบซิมเปลฮารโมนิก
54

แกน x แกน y
x = x max cos ωt y = y max sin ωt
v x = − v max sin ωt v y = v max cos ωt
a x = −a max cos ωt a y = −a max sin ωt
(4.22)
การเคลื่อนที่แบบหมุน
การเคลื่อนที่แบบหมุน (Rotation) เกิดจากแนวแรงที่กระทําตอวัตถุที่ไมผานศูนยกลาง
มวล ทําใหมีโมเมนตของแรง หรือ ทอรก (Torque) กระทําตอวัตถุ
n
τ = Ft R = Iα I = ∑ mi R i 2
i =1

(4.23)
การกระจัดเชิงมุม (Angular Displacement) คือทิศของมุมที่วัตถุกวาดไปได
s = θR
(4.24)

รูปที่ 4.16 กราฟการกระจัด ความเร็ว และความเรงของการเคลื่อนที่ซิมเปลฮารมอนิก


55

รูปที่ 4.17 แสดงมวลยอยของวัตถุที่มีการเคลื่อนที่แบบหมุน

ความเร็วเชิงมุม (Angular Velocity) คือปริมาณของอัตราการกระจัดเชิงมุม


∆θ
ω=
∆t
(4.25)
ความเรงเชิงมุม (Angular Acceleration) คืออัตราการเปลี่ยนแปลงความเร็วเชิงมุม
∆ω
α=
∆t

(4.26)
รูปที่ 4.18 แสดงทิศทางการกระจัดเชิงมุม
ω = ωo + αt
⎛ ω +ω⎞
θ=⎜ 0 ⎟t
⎝ 2 ⎠
1
สมการการเคลื่อนที่แบบหมุน θ = ω0 t + αt 2
2
ω = ω0 + 2αθ
2 2

1
θ = ωt − α t 2
2
(4.27)
ก.6) งาน และพลังงาน
ปริมาณงานของแรงคงที่ F ที่กระทําตอวัตถุและทําใหวัตถุเคลื่อนที่ไปตามแนวแรงเปน
การกระจัด S จะมีคาเทากับ
56

W = F ⋅S
(4.28)

รูปที่ 4.19 งานในกรณีที่แรงกระทําตอวัตถุอยูในแนวทํามุม θ กับแนวการเคลื่อนที่

กําลัง คือปริมาณงานที่ทําไดไน 1 หนวยเวลาโดย 1 กําลังมา (H.P. มีคาเทากับ 746


วัตต
W
P= Watt=Joule/Second
t
(4.29)
พลั งงาน คื อความสามารถของวัต ถุ ที่ จะทํ างานได พลั งงานมี อ ยู ห ลายรูป แบบ เช น
พลังงานกล พลังงานเคมี พลังงานแผรังสี พลังงานไฟฟา พลังงานนิวเคลียร เปนตน ในทาง
ฟสิกสจะจําแนกพลังงานกลออกเปน 2 ประเภท คือ พลังงานจลน (Kenetic Energy) และพลัง
งานศักย (Potential Energy)
1. พลังงานจลน (Ek) คืองานที่ทําใหวัตถุมีการเปลี่ยนแปลงความเร็ว
1 1
Ek = mv 2 − mu 2
2 2
(4.30)

รูปที่ 4.20 แสดงแรงที่กระทําใหวัตถุเปลี่ยนแปลงความเร็ว

2. พลังงานศักย(Ep)คือพลังงานที่มีอยูในวัตถุอันเนื่องมาจากตําแหนงของวัตถุ ซึ่งแบงได
เปน
2.1. พลังงานศักยโนมถวง คือ พลังงานที่เกิดขึ้นเนื่องจากวัตถุมีการเปลี่ยนตําแหนง
จากระดับหนึ่งไปสูอีกระดับหนึ่ง
57

E p = mgh

(4.31)

รูปที่ 4.21 แรง F ยกวัตถุขึ้นสูงเปนระยะ h

รูปที่ 4.22 การดึงสปริงใหยืดออก หรือกดสปริงใหหดเขา

รูปที่ 4.23 โลกและอนุภาคอยูหางกันเปนระยะ r

2.2. พลังงานศักยยืดหยุน คือพลังงานที่สะสมอยูในสปริง หรือวัตถุยืดหยุนอื่นๆ ขณะที่


ยืดออกหรือหดเขาจากตําแหนงสมดุล
1 2
Ep = kS
2
(4.32)
58

2.3. พลั งงานศั ก ย โน ม ถ วงเมื่ อวัต ถุ อยูห างจากโลกมาก คื องานที่ ใช ในการเคลื่ อนที่
อนุภาคเขามาจากระยะอนันตมายังระยะ r จากจุดศูนยกลางโลก จะมีลักษณะคลายกับพลังงาน
ศักย โนมถวง ซึ่งเรามักสมมุติวาแรงโนมถวงที่กระทํามีคาคงที่ทุกๆตําแหนงของอนุภาค
r
E p = ∫ F ⋅ dr

r
GMm GMm
=∫ ⋅ dr =−

r2 r
(4.33)
กฎการอนุรักษพลังงาน (Conservation of Energy) สรุปไดวา การเคลื่อนที่แบบเสรีของ
วั ต ถุ ภ ายใต แ รงโน ม ถ ว งของโลกเพี ย งอย างเดี ย ว โดยไม มี แ รงภายนอกอื่ น มากระทํ า หรื อ
การเคลื่ อ นที่ ข องวั ต ถุ ภ ายใต แ รงอนุ รัก ษ เพี ย งอย า งเดี ย วเท า นั้ น พลั งงานกลรวมของวั ต ถุ
ณ ตําแหนงใดยอมมีคาคงที่เสมอ
∑E = ∑E
1 2

(4.34)
แรงอนุ รัก ษ (Conservative Force) งานที่ ก ระทํ า โดยแรงอนุ รั ก ษ ในการเคลื่ อ นย า ย
อนุภาคระหวางสองจุด จะไมขึ้นกับเสนทาง เชน แรงโนมถวง แรงอนุรักษจะเปนแรงคงที่ หรือ
ขึ้นอยูกับตําแหนงอยางเดียว ไมขึ้นกับความเร็ว และเวลา
ก.7) โมเมนตัม
โมเมนตัม (Momentum) คือความพยายามของวัตถุที่จะเคลื่อนที่ไปขางหนา มีคาเทา
กับผลคูณระหวางมวลและความเร็วของวัตถุ
P = mv
(4.35)
จากกฎการเคลื่อนที่ขอสองของนิวตัน กลาวไดวา แรงลัพธที่กระทํากับวัตถุใดจะเทากับ
อัตราการเปลี่ยนโมเมนตัมของวัตถุนั้นทั้งขนาด และทิศทาง ซึ่งจะเรียกวา การดล (Impulse)
I = ∑ F ⋅ t = mv − mu

รูปที่ 4.24 แรง F กระทําตอมวล m ในเวลา t

กฎการอนุ รัก ษ โมเมนตั ม (Conservation of Momentum) กล าววาถ าไม มี แ รงลั พ ธ ภ ายนอก
กระทําตอระบบแลว โมเมนตัมของระบบจะมีคาคงที่เสมอ
59

∑P before = ∑ P after
(4.36)

รูปที่ 4.25 การชนระหวางวัตถุ A และ B

ก.8) ไฟฟาสถิต
แรงระหวางประจุไฟฟา คือแรงที่เกิดขึ้นเนื่องจากประจุไฟฟา (Electric Charge) จะมี
2 ชนิดคือ แรงดูดและแรงผลัก ซึ่งประจุไฟฟาชนิดเดียวกันจะผลักกัน ประจุไฟฟาตางชนิดกัน
จะดูดกัน แรงผลักและแรงดูดจะเป นแรงคูกิริยากัน และวัต ถุที่มีประจุไฟฟ าจะดูดวัต ถุที่ เป น
กลางเสมอ
อะตอมที่มีจํานวนโปรตอนและอิเลคตรอนเทากันจะไมแสดงอํานาจทางไฟฟา เรียกวา
อยูในสภาพเปนกลางทางไฟฟา แตถาวัตถุมีจํานวนอนุภาคทั้งสองไมเทากันจะเรียกวาอยูใน
สภาพวัตถุมีประจุไฟฟา โดยถามีจํานวนโปรตอนมากกวาอิเลคตรอนวัตถุนั้นจะมีประจุบวกและ
ในทางกลับกันวัตถุนั้นจะมีประจุลบ โดยผลรวมของจํานวนประจุทั้งหมดของระบบที่พิจารณายัง
คงเทาเดิม หรือที่เรียกวากฎการอนุรักษประจุไฟฟา (Conservation of Electric Charge)
ตัวนําไฟฟ า (Conductor) คือวัตถุที่ไดรับการถายเทอิเลคตรอนให แลวอิเลคตรอนที่
ถูกถายเทสามารถเคลื่อนที่กระจายไปไดตลอดเนื้อวัตถุโดยงาย
ฉนวนไฟฟา (Insulator) คือวัตถุที่ไดรับการถายเทอิเลคตรอนให แลวอิเลคตรอนนั้นยัง
คงอยู ณ บริเวณเดิมตอไป ไมเคลื่อนที่จากที่หนึ่งไปสูอีกที่หนึ่งในเนื้อวัตถุ
สารกึ่งตัวนํา (Semiconductor) คือสารที่มีสมบัติทางไฟฟาอยูระหวางตัวนําไฟฟากับ
ฉนวนไฟฟา ซึ่งจะนําไฟฟาไดไมดีนัก แตถาเติมสารเจือปนบางชนิดจะทําใหนําไฟฟาไดดีขึ้น
การทําใหวัตถุที่เปนกลางเกิดมีประจุ ไดแก
1. การถูหรือการขัดสี จะทําใหอิเลคตรอนในวัตถุทั้งสองมีพลังงานสูงขึ้นและหลุดจากวัตถุ
หนึ่งไปอยูบนอีกวัตถุหนึ่งโดยวัตถุจะมีความสามารถตางกันในการใหอิเลคตรอนตาม
ลําดับของการขัดสี(Frictional Order)
60

2. การสัมผัสหรือแตะ ทําใหเกิดการถายเทอิเลคตรอนจากวัตถุที่มีศักยไฟฟาต่ําไปสูวัตถุที่
มีศักยไฟฟาสูงกวา กระทั่งเขาสูสมดุลทางไฟฟา ซึ่งสามารถหาประจุหลังแตะบนทรง
กลม ใด ๆ ไดจาก
r ∑ Q before
Qafter =
∑r
(4.37)
3. การเหนี่ยวนําไฟฟา คือการนําวัตถุที่มีประจุไฟฟาเขาใกลวัตถุที่เปนตัวนําไฟฟา ซึ่งจะ
เหนี่ยวนําใหประจุไฟฟาบนผิวตัวนําเคลื่อนที่แยกจากกัน ทําใหบนผิวตัวนําดานที่อยู
ใกลกับวัตถุที่เหนี่ยวนํามีประจุชนิดตรงขาม
Q1Q 2
แรงระหวางประจุ (Force between Charge) F=K
R2
(4.38)

รูปที่ 4.26 แรงระหวางอนุภาคที่มีประจุไฟฟาวางใกลกัน

สนามไฟฟา (Electric Field) คืออาณาบริเวณที่มีผลจากประจุไฟฟา หรือที่เรียกวาประจุ


ตนเหตุ
ความเขมของสนามไฟฟา (Electric Field Intensity, E) คือขนาดของสนามไฟฟาที่จุด
นั้นๆ
F KQ
E= =
q R2
(4.39)

รูปที่ 4.27 สนามไฟฟาที่ระยะหาง R จากประจุตนเหตุ +Q


61

รูปที่ 4.28 เสนแรงไฟฟาของตัวนําชนิดตางๆ


จุดสะเทินไฟฟา (Neutral Point) คือจุดในสนามไฟฟาที่มีความเขมสนามไฟฟาลัพธเปน
ศูนย
เสนแรงไฟฟา (Electric Lines of Force) คือเสนตางๆที่ใชเขียนเพื่อแสดงทิศของสนาม
ไฟฟาในบริเวณรอบๆจุดประจุ
ศักยไฟฟา (Potential) คือพลังงานศักยไฟฟาตอหนึ่งหนวยประจุที่ตําแหนงใดๆ
Ep KQ
V= =
q R
(4.40)

รูปที่ 4.29 กราฟระหวางศักยไฟฟากับระยะหางของทรงกลมตัวนํา

ตั ว เก็ บ ประจุ (Capacitor) คื อ ตั ว นํ า ที่ ถู ก สร า งให เ ก็ บ ประจุ โดยความจุ ข องตั ว นํ า


(Capacitance or Capacity) คื อ ค ว า ม ส า ม า ร ถ ใน ก า ร ที่ จ ะ รั บ ป ร ะ จุ เข า เก็ บ ไ ว ไ ด
Q R
C=
= ซึ่ ง ก า ร ต อ ตั ว เก็ บ ป ร ะ จุ จ ะ ส า ม า ร ถ ต อ ไ ด ทั้ ง แ บ บ อ นุ ก ร ม
V K
1 1 1
= + + ... และแบบขนาน ∑ C = C1 + C2 + ... (4.41)
∑ C C1 C2
62

ก.9) ไฟฟากระแส
เมื่ อ อิ เ ลคตรอนเกิ ด การเคลื่ อ นที่ จ ากจุ ด ที่ มี ศั ก ย ไ ฟฟ า ต่ํ า ไปสู ง จะเกิ ด กระแส
อิเลคตรอน(Electronic current) ซึ่งขณะเดียวกันก็จะกําหนดวามีกระแสไฟฟา (conventional
current) ไหลจากจุดที่มีศักยไฟฟาสูงไปต่ํา
แหลงกําเนิดไฟฟา คือ แหลงที่ทําใหเกิดความตางศักยไฟฟาระหวางปลายทั้งสองของ
ตัว นํ าอยู ต ลอดเวลา เช น เซลไฟฟ าเคมี เครื่องกํ าเนิ ด ไฟฟ าหรือไดนาโม คู ค วบความรอน,
เซลสุริยะ
ขนาดของกระแสไฟฟาในตัวนําจะมีคาเทากับปริมาณประจุไฟฟาที่เคลื่อนที่ผานภาค
Q
ตัดขวางของตัวนําในหนึ่งหนวยเวลา I=
t
(4.42)

รูปที่ 4.30 การเคลื่อนที่ของอนุภาคที่มีประจุไฟฟา และการเคลื่อนที่ของอิเลคตรอนผาน


ภาคตัดขวาง

ความตานทานไฟฟา (Resistance) เปนคุณสมบัติของวัตถุในการขัดขวางการเคลื่อนที่


ของกระแสไฟฟา และจากกฎของโอหม (Ohm’s Law) จะไดความสัมพันธ
V
R=
I
(4.43)
สําหรับตัวนําโลหะและอุณหภูมิคงที่ และหากพิจารณาจากสภาพตานทาน ( ρ ) ของสาร
จะไดวาความตานทานของลวดตัวนําชนิดตางๆกันมีคาเทากับ
L
R =ρ
A
(4.44)
เมื่อ R = ความตานทาน
ρ = ความตานทานจําเพาะ
A = พื้นที่หนาตัด
L = ความยาวของตัวนํา
การตอตัวตานทานกระทําไดทั้งแบบอนุกรม
63

∑R = R 1 + R 2 + ...

1 1 1
และแบบขนาน = + + ...
∑R R1 R 2
(4.45)
- การตอความตานทานไมครบวงจร พิจารณาเฉพาะตัวตานทานที่มีกระแส
ไฟฟาผาน
- การตอตัวตานทานลัดวงจร พิจารณายุบวงจรโดยถือวาจุดปลายของลวดที่
ไมมี ความตานทานเปนจุดเดียวกัน
- การตอตัวตานทานแบบวีตสโตน (Wheatstone Bridge) คือ การตอตัวตาน
R3
ทาน ตามรูปและ R1 = (4.46) ซึ่งทําใหไมมีกระแสไฟฟาผานความตานทาน
R2 R4
R5 จึงสามารถพิจารณาเปนวงจรไดดังรูป
- ก า ร ต อ ตั ว ต า น ท า น ที่ แ ป ล ง ว ง จ ร จ า ก → Y (Delta-wye
∆ ←⎯
Transformation) ทําใหการหาความตานทานรวมงายขึ้น

รูปที่ 4.31 วงจร Wheatstone Bridge และ วงจรบริดจสม


64

รูปที่ 4.32 การแปลงวงจรจาก ∆ เปน Y และ Y เปน ∆


∆ ⎯⎯ →Y Y ⎯⎯ →∆
R 2R 3 rr +r r +r r
r1 = R1 = 1 2 2 3 3 1
R1 + R 2 + R 3 r1
R 3R 1 r1r2 + r2 r3 + r3 r1
r2 = R2 =
R1 + R 2 + R 3 r2
R 1R 2 r1r2 + r2 r3 + r3r1
r3 = R3 =
R1 + R 2 + R 3 r3
(4.47)
วงจรไฟฟา (Electric Circuit) คือเสนทางที่กระแสไฟฟาไหลผานไดครบรอบ
แรงเคลื่ อ นไฟฟ า (Electromotive Force) ของแหล งกํ าเนิ ด ไฟฟ า คื อ พลั งงานไฟฟ า
ทั้งหมดตอหนึ่งหนวยประจุที่เซลไฟฟาจายใหแกประจุไฟฟาซึ่งเคลื่อนที่ผานแหลงกําเนิดไฟฟา
นั้น
ความตางศักยไฟฟาระหวางจุด 2 จุดใดๆในวงจรที่มีกระแสไฟฟา คือพลังงานไฟฟา
ตอหนึ่งหนวงประจุที่สูญเสียไปในระหวาง 2 จุดนั้น
E
จากกฎการอนุรักษพลังงานและกฎของโอหม จะไดความสัมพันธ I=
R+r
(4.48)
การตอเซลไฟฟ ากระทํ าไดทั้ งแบบอนุ กรมและแบบขนาน ซึ่งจะสามารถคํานวณหา
กระแสไฟฟาไดจาก I=
∑E
∑R +∑r
(4.49)
กฎของเคอรชอรฟ (Kirchhoff’s Law) กลาววา
1. ผลบวกทางพีชคณิตของกระแสไฟฟาในสายหนึ่งๆ ณ จุดใดๆของวงจรไฟฟามีคา
เทากับศูนย
Σ Ii = 0
(4.50)
65

รูปที่ 4.33 กระแสไฟฟาบนจุดรวมของวงจรไฟฟา

2. ผลบวกทางพีชคณิตของแรงเคลื่อนไฟฟาในลูปใด ๆ จะเทากับผลบวกทางพีชคณิต
ของ IR ในรูปนั้นๆ
Σ Vi = 0
(4.51)

รูปที่ 4.34 วงจรไฟฟาอยางงาย

V2
พลังงานไฟฟา(W) W = QV = IVt = I 2 Rt = t
R
(4.52)
W
กํ า ลั ง ไฟฟ า (P) คื อ พลั ง งานไฟฟ า ที่ ถู ก เปลี่ ย นไปในหนึ่ ง หน ว ยเวลา P=
t
(4.53)
ก.10) แมเหล็กไฟฟา (Electromagnetics)
แมเหล็ก(Magnetic) เป นสารที่สามารถดูดและผลักกันเองได และสามารถดูดสารแม
เหล็กไดโดยการเหนี่ยวนํา แบงเปน แมเหล็กธรรมชาติ (Natural Magnet) และแมเหล็กที่สราง
ขึ้น (Artificial Magnet) ซึ่งมีทั้งแมเหล็กถาวรและแมเหล็กชั่วคราว
สารแมเหล็ก (Magnetic Materials) เปนสารที่สามารถทําใหกลายเปนแมเหล็กได
ขั้วแมเหล็ก คือ บริเวณที่อยูบนตัวแทงแมเหล็กซึ่งสามารถแสดงอํานาจแมเหล็กไดมาก
ที่สุด และเราจะเรียกขั้วแมเหล็กที่อยูบริเวณปลายแทงที่ชี้ไปทางทิศเหนือวาขั้วเหนือ (North
Pole) และในทางกลับกัน ขั้วแมเหล็กที่เหมือนกันจะผลักกัน และในทางกลับกัน
สนามแมเหล็ก คืออาณาบริเวณที่มีอํานาจกระทําเนื่องจากแทงแมเหล็ก หรือบริเวณที่มี
เสนแรงแมเหล็กพุงผาน โดยเสนแรงแมเหล็ก (Magnetic Line of Force) ภายนอกแทงแมเหล็ก
จะมีทิศพุงออกจากขั้วเหนือพุงสูขั้วใตเสมอ
66

จุดสะเทิน (Neutral Point) เปนจุดในบริเวณสนามแมเหล็ก โดยที่ความเขมเนื่องจาก


สนามแมเหล็กตางๆ เกิดการหักลางกันจนเปนศูนย และเปนตําแหนงที่ไมมีเสนแรงแมเหล็กผาน
ฟลักซ แม เหล็ก (Magnetic Flux, φ ) คือความหนาแน น ของจํานวนเสน แรงแมเหล็ก
บริเวณใดๆ มีหนวยเปนเวเบอร (weber,W)
ความเขมสนามแมเหล็ก หรือความหนาแนนฟลักซแมเหล็ก (Magnetic Flux Density,
B) คือจํานวนเสนแรงแมเหล็ก หรือจํานวนฟลักซแมเหล็กที่พุงตั้งฉากกับพื้นที่หนึ่งตารางหนวย
φ
B=
A

(4.54)

รูปที่ 4.35 เสนแรงแมเหล็กและจุดสะเทินเมื่อพิจารณาและไมพิจารณาสนามแมเหล็ก


โลก

ถาประจุ q เคลื่อนที่เขาสูบริเวณที่มีสนามแมเหล็ก B โดยความเร็ว v มีทิศทํามุม θ


กับสนามแมเหล็ก แรงที่กระทําตอประจุ F = qv × B
(4.55)
แรงกระทําตอลวดตัวนําที่มีกระแสไฟฟาผานเมื่อวางอยูในบริเวณที่มีสนามแมเหล็ก
⎛L⎞
F = qv × B = ( It ) ⎜ ⎟ × B
⎝t⎠
(4.56)
F = IL × B
(4.57)
67

รูปที่ 4.36 การหาความเขมสนามแมเหล็ก

รูปที่ 4.37 การหาทิศของแรงที่กระทําตอประจุไฟฟา

สนามแมเหล็กที่เกิดจากกระแสไฟฟาผานลวดตัวนํา ทิศตามกฎมือขวา และขนาดเทา


กับ
µ0 I 2 ×10−7 ⋅ I
B= =
2πr r

(4.58)
รูปที่ 4.38 แสดงทิศของแรงที่กระทํากับเสนลวดตัวนําที่มีกระแสไฟฟาผานเมื่อวางอยูใน
บริเวณที่มีสนามแมเหล็ก
แรงระหวางลวดตัวนําสองเสนที่มีกระแสไฟฟาและวางขนานกัน จะเกิดแรงดูดถากระแสไฟฟา
ไหลในทิศเดียวกัน และในทางกลับกัน
68

⎛ 2 × 10−7 I1 ⎞ ⎛ 2 × 10−7 I 2 ⎞
F = ILB = I 2 L ⎜ =
⎟ 1 ⎜
I L ⎟
⎝ d ⎠ ⎝ d ⎠
(4.59)
แรงกระทําตอขดลวด a × b ที่อยูในบริเวณที่มีสนามแมเหล็ก
F = ILB = IbB
(4.60)
M = F × a cos θ = NIbBa cos θ = NIABcos θ A = a × b
(4.61)

รูปที่ 4.39 แรงกระทําระหวางลวดตัวนํา 2 เสน เมื่อมีกระแสไฟฟาผานในทิศเดียวกัน

รูปที่ 4.40 โมเมนตของแรงคูควบที่กระทํากับขดลวดตัวนําในบริเวณที่มีสนามแมเหล็ก

การเหนี่ยวนําแมเหล็กไฟฟา คือการเกิดกระแสไฟฟาหรือกระแสเหนี่ยวนํา (Induced


Current) ไหลในขดลวดชุดหนึ่ง เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงกระแสไฟฟาในขดลวดอีกชุดหนึ่ง นั่นคือ
มีการเปลี่ยนแปลงสนามแมเหล็กไฟฟาหรือฟลักซแมเหล็กบนขดลวดตัวนํา และเรียกแรงเคลื่อน
ไฟฟาที่เกิดขึ้นวาแรงเคลื่อนไฟฟาเหนี่ยวนํา (Induced Electromotive Force, emf) โดยกระแส
ไฟฟาเหนี่ยวนําจะมีทิศตามกฎมือซาย นิ้วหัวแมมือชี้ไปทิศของ ∆ B และจากกฎของฟาราเดย
dφ dA dB
emf = − N = − NB = − NA
dt dt dt
(4.62)
69

ก.11) ไฟฟากระแสสลับ (Alternating current)


เครื่องกําเนิดไฟฟากระแสสลับ (AC generator) หรือไดนาโม (Dynamo) ประกอบดวย
ลวดสี่เหลี่ยมซึ่งพันอยูรอบแกนโลหะ หมุนในสนามแมเหล็กรอบแกนหมุนกลางลวดสี่เหลี่ยม
และ ที่ปลายตอเขากับวงจรภายนอกใหครบวงจร แรงเคลื่อนไฟฟาเหนี่ยวนําที่เกิดขึ้นคือ
e = BANω sin θ = BAN sin ωt = E m sin ωt
(4.63)
E m = BANω คือแรงเคลื่อนไฟฟาเหนี่ยวนํามากที่สุด
(4.64)
E m sin ωt
I= = I m sin ωt
R
(4.65)
V = I m sin ωt ⋅ R = Vm sin ωt
(4.66)
กระแสไฟฟ าที่ไหลออกมาผ านวงจรภายนอกจะมี ทิ ศ กลับ ไปมาทุ ก ๆครึ่งรอบที่ ห มุนขดลวด
ตัดสนามแมเหล็ก เรียกวาไฟฟากระแสสลับ (alternating current)

รูปที่ 4.41 แสดงการหมุนขดลวดตัวนําตัดฟลักซแมเหล็ก และแมเหล็กที่ผานขดลวด


เมื่อระนาบขดลวดทํามุมตางๆ กับสนามแมเหล็ก

คากระแสไฟฟา I และความตางศักย V สัมพั นธกับเวลาในรูปของฟงกชัน sine โดย


ค า ความต า งศั ก ย เฉลี่ ย และค า กระแสไฟฟ า เฉลี่ ย ในวงจรกระแสสลั บ นี้ จ ะเรี ย กว า ค า ยั ง ผล
(effective value)
Im
I rms = = 0.707I m
2
(4.67)
70

Vm
Vrms = = 0.707Vm
2
(4.68)
ในการคํานวณหรือวิเคราะหวงจรไฟฟากระแสสลับนั้น คากระแสไฟฟา คาความตาง
ศักยไฟฟาที่ไดจากการวัดคือคามิเตอร ซึ่งเทากับคายังผล
วงจรความตานทาน Vm = Im R
Vm Im
VR = I R R โดยที่ VR = แ ล ะ IR =
2 2
(4.69)
วงจรตัวเก็บประจุ V = Vm sin ωt
Q = CV = CVm sin ωt
dQ V ⎛ π⎞
I= = ωCVm cos ωt = m sin ⎜ ωt + ⎟
dt 1 ωC ⎝ 2⎠
⎛ π⎞ Vm V
I = I m sin ⎜ ωt + ⎟ โดยที่ Im = = m
⎝ 2⎠ X C 1 ωC
(4.70)

รูปที่ 4.42 แสดงกระแสไฟฟากับความตางศักยขณะหนึ่งของวงจรตัวเก็บประจุ และแผน


ภาพเฟเซอร
1 1 1
ตัวเก็บประจุตอแบบอนุกรม = + + ... ∑X = X C1 + X C2 + ...
∑C
C
C1 C2
(4.71)
1 1 1
ตัวเก็บประจุตอแบบขนาน ∑C = C + C2 + ... = + + ...
1
∑ XC XC1 XC2
71

(4.72)

รูปที่ 4.43 แสดงตัวเก็บประจุตอแบบอนุกรม และแบบขนาน


dI ⎛ π⎞
วงจรตัวเหนี่ยวนํา V=L = I m ωL cos ωt = I m ( ωL ) sin ⎜ ωt + ⎟
dt ⎝ 2⎠
(4.73)
⎛ π⎞
V = Vm sin ⎜ ωt + ⎟ โดยที่ Vm = I m X L = I m ωL
⎝ 2⎠
(4.74)

รูปที่ 4.44 แสดงกระแสไฟฟากับความตางศักยขณะหนึ่งของวงจรตัวเหนี่ยวนํา และแผน


ภาพเฟเซอร

ขดลวดเหนี่ยวนําตอแบบอนุกรม ∑ L = L1 + L2 + ... ∑X L = X L1 + X L2 + ...


(4.75)
1 1 1 1 1 1
ขดลวดเหนี่ยวนําตอแบบขนาน = + + ... = + + ...
∑L L1 L 2 ∑ X L X L1 X L2
(4.76)

รูปที่ 4.45 แสดงตัวเหนี่ยวนําตอแบบอนุกรม และแบบขนาน


72

ในวงจรกระแสสลับโดยทั่วไปประกอบดวยความตานทาน ตัวเก็บประจุ และตัวเหนี่ยว


นําตอกันแบบอนุกรมหรือขนาน และนําไปตอเขากับแหลงกําเนิดไฟฟากระแสสลับ ในการหา
ความตางศักยรวมในวงจรหรือความตางศักยเชิงซอน (Z) ทําไดโดยหาผลรวมแบบเวกเตอรของ
ความตางศักยยอย
( R ) + ( XL − XC )
2 2
Z=
(4.77)
VL − VC X L − X C
tan φ = =
VR XR
(4.78)
ก.12) คลื่นแมเหล็กไฟฟา (Electromagnetic Wave)
การเปลี่ยนแปลงสนามไฟฟาเหนี่ยวนําทําใหเกิดสนามแมเหล็ก และการเปลี่ยนแปลง
สนามแมเหล็กเหนี่ยวนําทําใหเกิดสนามไฟฟา
การเกิดคลื่นแมเหล็กไฟฟา เกิดไดหลายลักษณะ เชน
1. ประจุบวกและลบมีการสั่นกลับไปมาแบบซิมเปลฮารโมนิกในตัวนํา จะมีคลื่นแมเหล็ก
ไฟฟาแผออกไปรอบๆ แนวการสั่นของประจุทั้งสองทุกแนว ยกเวนในแนวของแกนการ
สั่นของประจุจะไมมีคลื่นแผออกไปเลย และแนวที่ตั้งฉากกับการสั่นคลื่นแมเหล็กไฟฟา
จะมีสัญญาณแรงที่สุด
2. ประจุไฟฟาเคลื่อนที่ดวยความเรงหรือความหนวง โดยการเปลี่ยนแปลงคาของสนาม
แมเหล็กและสนามไฟฟาจะมีการเปลี่ยนแปลง(คาสูงสุดและต่ําสุด)พรอมกัน หรือสนาม
ทั้งสองมีเฟสตรงกัน ทิศของสนามแมเหล็กและสนามไฟฟาจะตั้งฉากกันและกันรวมทั้ง
จะตั้งฉากกับทิศการกระจายของคลื่น หรือคลื่นแมเหล็กไฟฟาจึงมีลักษณะเปนคลื่นตาม
ขวาง

C = E×B
(4.79)

รูปที่ 4.46 แสดงทิศการเคลื่อนที่ของคลื่นแมเหล็กไฟฟา


73

รูปที่ 4.47 ทิศทางการกระจายของคลื่นแมเหล็กไฟฟา

ก.13) คลื่น
การจําแนกคลื่นตามลักษณะการอาศัยตัวกลาง ไดแก
1. คลื่นกล (mechanical wave) คือคลื่นที่ตองอาศัยตัวกลางในการเคลื่อนที่
2. คลื่น แม เหล็กไฟฟ า (electromagnetic wave) คื อคลื่นที่ เคลื่ อ นที่ โดยไม ต องอาศั ย
ตัวกลาง คลื่นแมเหล็กไฟฟาทุกชนิดจะเคลื่อนที่ดวยความเร็วเทากัน
การจําแนกคลื่นตามทิศการเคลื่อนที่ของคลื่นและการสั่นของอนุภาคตัวกลาง
คลื่นตามขวาง (transverse wave) เกิดจากการเคลื่อนที่หรือการสั่นของอนุภาคตัวกลาง
อยูในแนวตั้งฉากกับทิศที่คลื่นแผออกไป และสวนใหญจะเปน mechanical wave
คลื่นตามยาว (longitudinal wave) เกิดจากการเคลื่อนที่หรือการสั่นของอนุภาคตัวกลาง
ซึ่งเคลื่อนที่ไปกลับหรือสั่นในแนวเดียวกับทิศที่คลื่นเคลื่อนที่ไป

รูปที่ 4.48 แสดงคลื่นตามขวาง และคลื่นตามยาว


74

คลื่นผิวน้ํา จะประกอบดวยสวนตางๆดังนี้
1. สันคลื่น (crest) เปนตําแหนงสูงสุดของคลื่น
2. ทองคลื่น (trought) เปนตําแหนงต่ําสุดของคลื่น
3. การกระจั ดของอนุ ภ าคตั ว กลาง (displacement) ระยะที่ วัดจากแนวระดั บ ปกติ ไป
ตําแหนงบนคลื่น
4. แอมพลิจูด (amplitude,A) คือการกระจัดของอนุภาคที่มีคามากที่สุด
5. ความยาวคลื่ น (wavelength, λ ) คือระยะห างระหวางสัน คลื่น ถัดกัน หรือท องคลื่น
ถัดกัน
6. ความถี่ (frequency,f)คื อ จํ านวนลู ก คลื่ น ที่ เคลื่ อ นที่ ผ านตํ า แหน งใดๆบนผิ ว น้ํ าใน
1 วินาที
7. คาบ (period,T) คือชวงเวลาที่คลื่นเคลื่อนที่ผานตําแหนงใดๆครบหนึ่งลูกคลื่น
8. ความเร็วคลื่น (v) คือระยะทางที่คลื่นเคลื่อนที่ไปไดในหนึ่งหนวยเวลา
1 S λ
f= v= = = fλ
T t T
(4.80)

รูปที่ 4.49 ภาคตัดขวางของคลื่นผิวน้ํา

คลื่นในเสนเชือก
m
เมื่อ µ= คือมวลตอความยาวเชือก หรือความหนาแนนเชิงเสนของเชือก และ T
L
T
คือแรงตึงในเสนเชือก จะไดวา v=
µ
(4.81)
เฟส (phase) ใชกําหนดตําแหนงของการเคลื่อนที่ที่มีลักษณะเปนรอบขณะใดขณะหนึ่ง
โดยจะมีความสั มพั น ธกับการกระจัดของการเคลื่อนที่ นั้ น เฟสของคลื่นที่ จุดใดๆ คือ ตัวเลข
(เปนองศาหรือเรเดียน) ที่สามารถบอกการกระจัดและลักษณะการเคลื่อนที่ของอนุภาคตัวกลาง
ที่จุดนั้นและเวลานั้น
- เฟสตรงกัน (Inphase) คือจุดตางๆบนคลื่นที่มีการกระจัดเทากันและมีทิศทางไปทาง
เดียวกัน
75

- เฟสตรงขาม (Out of phase) คือจุดตางๆบนคลื่นที่มีการกระจัดเทากันแตมีทิศทาง


ตรงกันขาม
- ความต างของเฟส (Phase difference) เป น การเปรีย บเที ย บเฟสระหวางจุ ด 2 จุ ด
บนคลื่น ณ เวลาหนึ่ง หรือจุดเดียวกันแตคนละเวลา หรือระวางเฟสของคลื่นสองคลื่นที่เคลื่อนที่
มาพบกัน ณ เวลาเดียวกัน
สมบัติของคลื่น
1. การสะทอน(Reflection) จะมีคุณสมบัติดังนี้
- ความถี่ ความยาวคลื่น ความเร็วของคลื่นสะทอนและคลื่นตกกระทบเทากัน
- ถาการสะทอนไมมีการสูญเสียพลังงาน แอมพลิจูดของคลื่นสะทอนและคลื่น
ตกกระทบเทากัน
- เฟสของคลื่นสะทอนจะเปลี่ยนเปนเฟสตรงขามสําหรับการสะทอนปลายตรึง
และเปนเฟสคงเดิมสําหรับการสะทอนปลายอิสระ

รูปที่ 4.50 การสะทอนปลายตรึงและปลายอิสระของเสนเชือก

รูปที่ 4.51 คลื่นตอเนื่องหนาตรงตกกระทบแผนสะทอนผิวเรียบตรง


76

2. การหั ก เหของคลื่ น (Refraction) การที่ ค ลื่ น เคลื่ อ นที่ จ ากตั ว กลางหนึ่ ง ไปสู อี ก
ตัวกลางหนึ่ง ทําใหอัตราเร็วและความยาวคลื่นเปลี่ยนไปแตความถี่คงที่
3. การแทรกสอดของคลื่น(Interference) การที่คลื่นตอเนื่องจากสองแหลงกําเนิดคลื่นที่
มีความถี่เทากันและมีเฟสตรงกันเคลื่อนทีมาพบกันจะเกิดการซอนทับกัน
- ในกรณีการแทรกสอดของสันคลื่นทั้งสอง หรือทองคลื่นทั้งสองมารวมกัน
เรียกวา การแทรกสอดแบบเสริมกันของคลื่นทั้งสอง ตําแหนงนั้นเรียกวา ปฏิบัพ
(Antinode,AN) แอมพลิจูดของคลื่นจะเพิ่มขึ้นมากที่สุด
- ในกรณีการแทรกสอดของสันคลื่นและทองคลื่นเรียกวาการแทรกสอดแบบ
หักลางของคลื่นทั้งสอง ตําแหนงนั้นเรียกวาบัพ (Node,N) แอมพลิจูดของคลื่นจะลด
นอยลงที่สุด
- แหล งกํ าเนิ ด อาพั น ธ (Coherent Source) คื อ แหล งกํ าเนิ ด คลื่น ที่ ให ค ลื่ น
ออกมามีความถี่ ความยาวคลื่น ความเร็ว และแอมพลิจูดเทากัน และมีเฟสตรงกัน
หรือมีเฟสตางกันอยางคงที่

รูปที่ 4.52 แสดงมุมตกกระทบและมุมหักเห

สมการการแทรกสอดของคลื่นจากแหลงกําเนิดอาพันธ
ที่มีเฟสตรงกัน ปฏิบัพ path diff = d sin θ = nλ
บัพ path diff = d sin θ = ⎛⎜ n − 1 ⎞⎟ λ
⎝ 2⎠
(4.82)
ที่มีเฟสตรงขามกัน ปฏิบัพ path diff = d sin θ = ⎛⎜ n − 1 ⎞⎟ λ
⎝ 2⎠
บัพ path diff = d sin θ = nλ
77

(4.83)

รูปที่ 4.53 แสดงการแทรกสอดที่จุดไกลจากแหลงกําเนิด

4. การเลี้ยวเบน(Diffraction) คือการที่มีคลื่นปรากฏอยูทางดานหลังของแผนกั้นคลื่นใน
บริเวณนอกทิศทางเดิมของคลื่น คลื่นสวนที่ออมไปดานหลังแผนกั้นมีพลังงานนอยกวาคลื่นใน
แนวเดียวกันที่เคลื่อนที่ไปตรงๆ
ก.14) แสง
แสงที่ออกมาจากแหลงกําเนิดแสงตางๆ แนวการเดินทางของแสงที่เคลื่อนที่ไปในตัว
กลางที่มีเนอเดียวกันตลอด แสงจะเดินทางผานเปนแนวเสนตรง แตเมื่อแสงเคลื่อนที่ไปพบรอย
ตอระหวางตัวกลาง 2 ชนิด อาจมีการเปลี่ยนแนวเคลื่อนที่ไป
อัตราเร็วของแสงในสุญญากาศมีคา 299,792,458เมตรตอวินาที หรือประมาณ 3 x 108
เมตรตอวินาที
กฎการสะทอนของแสงที่ผิววัตถุใดๆ คือรังสีตกกระทบ รังสีสะทอน และเสนปกติจะตอง
อยูในระนาบเดียวกัน และมุมตกกระทบจะตองเทากับมุมสะทอน ณ ตําแหนงที่แสงตกกระทบ
ไมวาผิวสะทอนจะเปนผิวเรียบหรือผิวโคง

รูปที่ 4.54 การสะทอนของแสงที่ผิวเรียบแบบตาง ๆ

พาราแล็ ก ซ (Parallax) คื อ การที่ เราเห็ น ตํ า แหน งของวัต ถุ เปลี่ ย นไปจากเดิ ม เมื่ อ เรา
เปลี่ยนทิศการมองงวัตถุนั้น
ปรัศวภาควิโลม(Lateral Inversion) คื อการที่ เห็น ภาพเสมื อนในกระจกเงาราบแสดง
การกลับขางกับวัตถุจากขวาเปนซาย เปนผลจากการที่ระยะภาพเทากับระยะวัตถุในกระจกราบ
นั่นเอง
78

กระจกโคงทรงกลม แบงเปน
1. กระจกเวา(Concave Mirrors) คือกระจกที่มีผิ วโคงภายในทรงกลมเปนผิ วสะทอน
แสง และจะมีรังสีตกกระทบและรังสีสะทอนอยูดานเดียวกับจุดศูนยกลางความโคง
2. กระจกนูน(Convex Mirrors) คือกระจกที่มีผิวโคงดานนอกทรงกลมเปนผิวสะทอน
แสง และจะมีรังสีตกกระทบและรังสีสะทอนอยูคนละดานกับจุดศูนยกลางความโคง
1 1 1
= +
f S S'
(4.84)
I S'
กําลังขยาย m= =
O S
(4.85)
กฎการหักเหของแสงกลาววา รังสีตกกระทบ เสนปกติ และรังสีหักเหจะอยูบนระนาบ
เดียวกันเสมอ สําหรับตัวกลางคูหนึ่งๆอัตราสวนของคาไซนของมุมตกกระทบในตัวกลางหนึ่งกับ
sin θ1
คาไซนของมุมหักเหในอีกตัวกลางหนึ่งจะมีคาคงตัวเสมอ(กฎของสเนลล) n2 =
sin θ2
1

(4.86)
ดรรชนีหักเหของตัวกลางใด, n คืออัตราสวนของความเร็วแสงในสูญญากาศตอความเร็วแสงใน
c
ตัวกลางนั้น n=
v
(4.87)

รูปที่ 4.55 โฟกัสของกระจกเวา

รูปที่ 4.56 โฟกัสของกระจกนูน


79

n 2 sin θ1 v1 λ 2 1
n2 = = = = n2 =
n1 sin θ2 v 2 λ1
1 1
2 n1

(4.88)

รูปที่ 4.57 แสงจากตัวกลาง 1 ผานมายังตัวกลาง 2

มุมวิกฤต (critical angle, θc ) คือมุมตกกระทบในตัวกลางที่มีดรรชนีหักเหมาก ซึ่งทํา


ใหมุมหักเหในตัวกลางที่มีดรรชนีหักเหนอยกวาโตเทากับ 90o และถาใหรังสีตกกระทบทํามุม
ตกกระทบในตัวกลางดรรชนีหักเหมากโตกวามุมวิกฤต จะทําใหแสงสะทอนเขาสูตัวกลางดรรชนี
หักเหมากจนหมด
n1 sin θc = n 2 sin 90o
(4.89)
เลนส (Lens) คือตัวกลางโปรงใสซึ่งมีผิวหนาเปนผิวโคง แบงเปน
1. เลนส นู น (Convex Lens) คือ เลนส ที่ มี ค วามหนาระหวางผิ ว หน าทั้ งสองตรงกลาง
มากกวาตรงขอบ เลนสชนิดนี้เมื่อมีแสงขนานกับแกนมุขสําคัญกระทบเลนสแลว โดยการหักเห
ทําใหรังสีของแสงตีบเขาหากัน และแสงจะไปตัดกัน ณ จุดหนึ่งบนแกนมุขสําคัญของเลนส เรียก
วา จุดโฟกัสจริง
2. เลนสเวา(Concave Lens) คือเลนสที่มีความหนาระหวางผิวหน าทั้ งสองตรงกลาง
นอยกวาทางขอบ เลนสชนิดนี้เมื่อมีแสงขนานกับแกนมุขสําคัญกระทบเลนสแลว โดยการหักเห
ทําใหรังสีของแสงถางออกจากกัน ถาตอแนวรังสีที่ถางออกเหลานั้นไปจะพบกัน ณ จุดหนึ่งบน
แกนมุขสําคัญเรียกวา จุดโฟกัสเสมือน
1 1 1
= +
f S S'
(4.90)
I S'
กําลังขยาย m= =
O S
80

(4.91)

รูปที่ 4.58 แสดงจุดโฟกัสของเลนสนูน

รูปที่ 4.59 แสดงจุดโฟกัสของเลนสเวา

ก.15) เสียงและการไดยิน
เสียงเปนคลื่นกลเนื่องจากเสียงจําเปนตองใชตัวกลางในการเคลื่อนที่ คลื่นเสียงเกิดจาก
การสั่นของวัตถุพลังงานถายทอดใหกับโมเลกุลของอากาศ แตละโมเลกุลถายทอดพลังงานโดย
การชนนี้เปนการชนแบบยืดหยุน แนวการถายทอดพลังงานของคลื่นเสียงกับแนวการเคลื่อนที่
ของแตละโมเลกุลอยูในแนวเดียวกัน เชนเดียวกับคลื่นตามยาวในขดลวดสปริง
ความถี่ของคลื่นเสียง (frequency, f) คือจํานวนคลื่นที่วิ่งผานจุดใดๆไปในเวลา 1 วินาที
ความถี่ของเสียงจะมีคาคงที่และมีคาเทากับความถี่ของแหลงกําเนิดเสียงเสมอ
ความยาวคลื่นเสียง (wave length, λ ) คือระยะทางระหวางจุด 2 จุดซึ่งอยูในเฟสเดียว
กันบนลูกคลื่นที่อยูติดกัน
81

รูปที่ 4.60 คลื่นเสียงขณะผานโมเลกุลของอากาศ

อัต ราเร็วคลื่นเสียง (velocity, v) ขึ้นอยูกับสภาพของตัวกลางที่ เสียงเคลื่อนที่ผานไป


เชน อุณหภูมิ (T) ความหนาแนน ความยืดหยุน
v = fλ
(4.92)
v1 T1
=
v2 T2
(4.93)
v = 331 + 0.6t เมตรตอวินาที t = อุณหภูมิ o C
(4.94)
สมบัติของเสียง
1. การสะท อ นของคลื่ น เสี ย ง (Reflection) คลื่ น เสี ย งที่ ส ะท อ นออกมาจะมี ค วามถี่
ความเร็ว ความยาวคลื่นและแอมพลิจูดคงเดิม แตถาสะทอนจากตัวกลางที่มีความหนาแนนนอย
ไปมาก เฟสการกระจัดจะเปลี่ยนไป180องศา คลื่นความดันจะมีเฟสคงเดิม และถาสะทอน
จากตัวกลางที่ มีความหนาแนนมากไปนอย เฟสการกระจัดคงเดิม เฟสของคลื่นความดันจะ
เปลี่ยนไป180องศา
2. การหักเหของคลื่นเสียง (Refraction) ทําใหอัตราเร็วและทิศทางของคลื่นเสียงของ
เสียงเปลี่ยน ยกเวนกรณีที่เสียงตกตั้งฉากกับผิวรอยตอของตัวกลาง

รูปที่ 4.61 แสดงการเกิดการหักเห และการสะทอนกลับหมดของเสียง


82

3. การแทรกสอด(Interference) เมื่อคลื่นเสียง 2 ขบวนเคลื่อนที่พบกันจะเกิดการรวม


กันของคลื่นที่เสริมกัน(ปฏิบัพ) และหักลางกัน(บัพ)
4. การเลี้ ย วเบน(Diffraction) เป น ปรากฏการณ ที่ ค ลื่ น สามารถเปลี่ ย นทิ ศ ทางของ
การเคลื่อนที่ไดตามบริเวณมุมของสิ่งกีดขวาง หรือชองแคบ
บี ต ส (Beat) เป น ปรากฏการณ ที่ เกิ ด จากคลื่ น เสี ย ง 2 ชุ ด ที่ มี แ อมพลิ จู ด เท ากั น แต มี
ความถี่ตางกันเล็กนอย เคลื่อนที่ในทิศทางเดียวกันหรือสวนทางกัน เมื่อมาพบกันจะเกิดการรวม
กันของคลื่น คลื่นลัพธจะมีแอมพลิจูดไมคงที่ทําใหไดยินเสียงดังคอยสลับกันเปนจังหวะคงที่ โดย
สามารถคํานวณคลื่นลัพธไดดังนี้
⎛f +f ⎞
สมการของคลื่นลัพธ y = A t sin 2π ⎜ 1 2 ⎟ t
⎝ 2 ⎠
(4.95)
⎛f −f ⎞
แอมพลิจูดของคลื่นลัพธ A t = 2A cos 2π ⎜ 1 2 ⎟ t
⎝ 2 ⎠
(4.96)
ความถี่บีตส f b = f1 − f 2
(4.97)
f1 + f 2
ความถี่ของเสียงที่ไดยิน f=
2
(4.98)

รูปที่ 4.62 แสดงการเกิดบีตสของเสียง

คลื่นนิ่ง (Standing wave) เปนปรากฏการณการแทรกสอดที่เกิดจากการรวมกันของ


คลื่น 2 คลื่น ที่มีความถี่ ความยาวคลื่น และแอมพลิจูดเทากัน เคลื่อนที่สวนทางกัน ทําใหเกิด
ตําแหนงที่ไดยินเสียงดัง (ปฏิบัพของความดัน) และตําแหนงที่ไดยินเสียงคอย(บัพของความดัน)
การสั่นพอง (Resonance) เปนปรากฏการณที่มีแรงกระทําใหวัตถุสั่น โดยความถี่ของ
แรงที่ทําใหวัตถุสั่นเทากับความถี่ธรรมชาติของวัตถุนั้น
ข. ความรูในวิชาเคมี
ข.1) พื้นฐานของทฤษฎีอะตอมและปริมาณสัมพันธ
83

สมมติฐาน (Hypotheses) เปนความคิดเห็นซึ่งตั้งขนเพื่อที่จะอธิบายหรือรวบรวมขอมูล


จากการทดลอง ตั้งขึ้นเพื่อที่จะแสวงหาความแนนอนและขอมูลอันใหมที่ยังไมเคยพบมากอน
ทฤษฎี (Theory) เป น หลั ก เกณฑ ที่ มี เหตุ ผ ลและเป น ที่ ย อมรั บ ว าเป น ไปตามวิ ธีท าง
วิทยาศาสตรและอธิบายขอมูลตางๆที่ไดจากการทดลองไดกวางขวางกวาสมมติฐาน
กฎ (Law) เปนหลักเกณฑที่ไดจากสมมติฐานและทฤษฎีที่สามารถอธิบายเปนสูตรทาง
คณิตศาสตรไดและคาที่คํานวณจากสูตรคณิตศาสตรใหผลสอดคลองกับคาที่ไดจากการทดลอง
จริง
กฎการอนุรักษมวลสาร(Law of Conservation of Mass) กลาววาในปฏิกิริยาเคมี มวล
สารที่ทําปฏิกิริยากันจะเทากับมวลของสารที่เกิดขึ้น
กฎสั ด ส ว นจํ ากั ด (Law of Definite Proportions) กล า วว าในสารประกอบหนึ่ งๆ ธาตุ
ตางๆที่เปนองคประกอบรวมตัวกันดวยอัตราสวนโดยน้ําหนักที่เหมือนกันเสมอ โดยไมคํานึงวา
สารประกอบนั้นจะมีกําเนิดหรือเตรียมไดโดยวิธีใด
ทฤษฎีอะตอมของดอลตัน(Dalton’s Atomic Theory) กลาววา
1. ธาตุประกอบดวยอนุภาคเล็กๆ ที่ไมสามารถแบงแยกออกไปไดอีก อนุภาคเหลานี้เรียก
วาอะตอม เราไมสามารถเปลี่ยนอะตอมของธาตุหนึ่งใหกลายเปนอะตอมของอีกธาตุ
หนึ่ง
2. อะตอมของธาตุชนิดเดียวกันยอมเหมือนกันทั้งมวลสารหรือน้ําหนัก และสมบัติอื่นๆ แต
จะแตกตางจากอะตอมของธาตุอื่น
3. สารประกอบเกิดจากการรวมตัวทางเคมีระหวางอะตอมของธาตุตางชนิดกันดวยอัตรา
สวนของจํานวนอะตอมเปนเลขลงตัวนอยๆ
4. อะตอมของธาตุตั้งแตสองชนิดขึ้นไปอาจรวมกันเปนสารประกอบดวยอัตราสวนที่มาก
กวาหนึ่งอยางเพื่อเกิดสารประกอบมากกวาหนึ่งสารประกอบ
กฎสัดสวนพหุคูณ(Law of Multiple Proportions) กลาววาถาธาตุสองธาตุรวมตัวกันเกิด
สารประกอบไดมากกวาหนึ่งชนิดแลว น้ําหนักของธาตุหนึ่งในสารประกอบตางๆที่รวมพอดีกับ
น้ําหนักคงที่ของอีกธาตุหนึ่ง เมื่อนํามาเปรียบเทียบกันจะไดอัตราสวนเปนเลขลงตัวนอยๆ
กฎสัดสวนสมมูล(Law of Equivalent Proportions) กลาววาถาสาร A และ B ไมวาจะ
เปนสารประกอบหรือธาตุก็ตาม สามารถทําปฏิกิริยากันไดและทั้งสองสามารถทําปฏิกิริยากับ
สาร C ไดดวย
- น้ําหนักของสารA และสาร B ที่ตางทําปฏิกิริยาพอดีกับน้ําหนักคงที่ของสาร C เมื่อนํา
มาเปรียบเทียบกันจะไดอัตราสวนของเลขจํานวนหนึ่ง(R)
- เมื่อใหสาร A รวมโดยตรงกับสาร B อัตราสวนโดยน้ําหนักของสารA ตอน้ําหนักของสาร
B จะมีคาเทากับ R พอดี หรือมิฉะนั้นก็จะมีคาเทากับ nR
น้ําหนักอะตอมตามมาตรา Unified Scale ใช 12C ซึ่งเปนไอโซโทปของคารบอนที่มีมาก
ที่สุดในธรรมชาติเปนมาตรฐาน และกําหนดใหมีมวลเทากับ 12 พอดี
84

สมการเคมี คือคําอธิบายสั้นๆที่ใชสําหรับอธิบายกระบวนการเกิดปฏิกิริยาเคมี ที่ให


ความแมนยําทั้งเชิงคุณภาพและปริมาณ สมการเคมีประกอบดวยสูตรของสารประกอบหลาย
ชนิดที่เปนตัวทําปฏิกิริยาและผลที่เกิดจากปฏิกิริยาหรือผลิตภัณฑ เนื่องจากอะตอมของธาตุ
ตางๆ ในปฏิกิริยาเกิดขึ้นเองไมไดหรือสูญหายไมได จํานวนอะตอมของแตละธาตุในแตละขาง
ของสมการจะตองเทากัน

รูป ที่ 4.63 กราฟแสดงความสั ม พั น ธระหวางความดั น กับ ปริม าตรของแก สอุ ด มคติ ที่
อุณหภูมิคงที่
ปริมาณสัมพันธ (Stoichiometry) คือความสัมพันธระหวางมวล หรือน้ําหนักของธาตุ
ตางๆ จากสูตรและสมการเคมี สูตรของสารประกอบทําใหเราทราบความสัมพันธของมวลของ
ธาตุตางๆ ที่รวมกันเปนสารประกอบนั้นๆ โดยหนวยทางเคมีที่ใชบอกปริมาณของสารตามระบบ
เอสไอจะใช โมล (mole or mol)
- 1 โมลเทากับ 6.02 ×1023 อนุภาค = Avogadro’s number
- เลขอาโวกาโดร (N) คือจํานวนอะตอมคารบอนที่มีใน 12C ที่หนัก 12 กรัมพอดี
- น้ําหนักฟอรมูลา (Formula weight) คือมวลตามสูตรที่เขียน
- สูตรเอมพิริคัล (Emprircal formula) ใชแสดงอัตราสวนของจํานวนอะตอมของแตละ
ธาตุในสารประกอบแตไมบอกจํานวนอะตอมที่แทจริงที่มีในหนึ่งโมเลกุล
- อุณหภูมิและความดันมาตรฐาน (Standard or normal temperature and pressure,
STP) คือที่ความดัน1บรรยากาศ และอุณหภูมิ 273.15 K
ข.2) แกส
แบงออกเปน
1. แกสอุดมคติ (Ideal gas) หมายถึงแกสที่อยูในสภาวะใดก็ตาม จะเปนไปตามกฎตางๆ
ของแกสอุดมคติ เชน กฎของบอยล กฎของชารล เปนตน
85

2. แกสจริง (Real gas) หมายถึงแกสที่ไมเปนไปตามกฎตางๆ ของแกสอุดมคติ แตในบาง


สภาวะโดยเฉพาะที่ความดันต่ํามากๆ หรือที่อุณหภูมิสูงมากๆ จะมีสมบัติใกลเคียงกับ
แกสอุดมคติ
กฎของบอยล (Boyle’s Law) กลาววาปริมาตรของแกสใดๆที่กําหนดใหจํานวนหนึ่งจะ
เปนปฏิภาคกลับกับความดันเมื่ออุณหภูมิคงที่ P1V1 = P2 V2
(4.99)
กฎของชารล และเกย ลู ส แซก (The Law of Charles and Gay-Lussac) กล าวว าถ า
1
ความดันคงที่ ปริมาตรของแกสใดๆจะเพิ่มขึ้นหรือลดลง ของปริมาตรเดิมของแกสนั้นที่
273
P1 T1
0o C ทุกๆ 1o C ที่แกสรอนขึ้นหรือเย็นลงจากเดิม =
P2 T2
(4.100)

รูปที่ 4.64 กราฟแสดงความสัมพันธระหวางปริมาตรกับอุณหภูมิเปนเซลเซียส และเคลวิน

กฎของแกสอุดมคติ(The Ideal Gas Law) จากกฎของบอยล และกฎของชารล จะไดวา


P1V1 P2 V2
= = nR
T1 T2
PV = nRT (4.101)
R คือคาคงตัวสากลของแกส (universal gas constant) ไมขึ้นกับความดัน ปริมาตร
หรืออุณหภูมิ และเปนคาคงตัวสําหรับแกสทุกชนิด แกสใดๆหนึ่งโมล มีปริมาตร 22.414 ลิตร ที่
สภาวะมาตรฐานSTP
PV 1atm ⋅ 22.414l l ⋅ atm
R= = = 0.08205 (4.102)
nT 1mol ⋅ 273.15K K ⋅ mol
กฎความดั น ย อ ยของดอลตั น (Dalton’s Law of Partial Pressure) กล าววาความดั น
รวมของแกสผสมจะเทากับผลบวกของความดันยอยของแกสแตละชนิดในแกสผสมนั้น
กฎการแพรของแกสของเกรแฮม (Graham’s Law of Diffusion) กลาววาเมื่ออุณหภูมิ
และความดันคงที่ อัตราการแพรของแกสใดๆจะเปนปฏิภาคกลับกับรากที่สองของความหนา
86

r1 d2 M2
แนนสัมพัทธ (หรือความดันไอ) หรือน้ําหนักโมเลกุลของแกส = =
r2 d1 M1
(4.103)
ทฤษฎีจลนของแกส (The Kinetic Theory of Gases)
1. แกสตางๆประกอบดวยอนุภาคเดี่ยวๆที่เล็กมากเรียกวา โมเลกุล แตละโมเลกุลของแกส
ชนิดเดียวกันยอมมีขนาดและมวลเทากัน
2. ความดันของแกสเกิดจากโมเลกุลเคลื่อนที่ไปชนผนังภาชนะที่บรรจุแกสนั้น
3. โมเลกุลของแกสจะเคลื่อนที่อยางไมมีระเบียบ (random motion) ตลอดเวลา พลังงาน
จลนจะไมมีการสูญหาย แตอาจมีการถายเทพลังงานขามโมเลกุลกัน
4. ที่ ค วามดั น ต่ํ าๆและอุ ณ หภู มิ สู งๆปริม าตรของโมเลกุ ล ถื อ ว าน อ ยมาก เมื่ อ เที ย บกั บ
ปริมาตรของภาชนะ และแรงดึงดูดหรือแรงผลักระหวางโมเลกุลมีนอยมากจนไมตอง
คํานึงถึง
5. พลั งงานจลน เฉลี่ ย ของโมเลกุ ล ทั้ งหมดในระบบจะเป น สั ด ส ว นโดยตรงกั บ อุ ณ หภู มิ
สัมบูรณ
ความสัมพันธระหวางอุณหภูมิ พลังงาน และคาคงตัวของแกส กลาวไดวา พลังงานจลน
เฉลี่ยของหนึ่งโมลหรือหนึ่งโมเลกุลจะเปนปฏิภาคโดยตรงกับอุณหภูมิสัมบูรณ
3 RT 1 2
KineticEnergy = = mc (4.104)
2 N0 2

ข.3) ของแข็ง
ผลึก ของแข็ งคื อของแข็ งที่ เกิ ด จากอนุ ภ าคเรีย งกั น อยู อย างมี ระเบี ย บแบบแผนทาง
เรขาคณิต ผลึกของแข็งจะมีผิวหนาเรียบและตัดกันเปนเหลี่ยมมีมุมและดานที่แนนอน มีลักษณะ
เฉพาะตัว สารชนิดเดียวกันจะมีการจัดเรียงตัวของอนุภาคแบบเดียวกัน มีจุดหลอมเหลวที่แน
นอน สมบัติดานความตานการหัก ดรรชนีหักเห และการนําไฟฟาของผลึกจะไมเหมือนกันทุก
ทิศทาง
ของแข็ ง อสั ณ ฐานคื อ ของแข็ ง ที่ อ นุ ภ าคเรี ย งกั น โดยไม มี ร ะเบี ย บแบบแผนไม มี รู ป
เรขาคณิต ของแข็งจะมีสมบัติดานความตานการหัก ดรรชนีหักเหและการนําไฟฟาเหมือนกันทุก
ทิศทาง
แบบจํ าลองโครงผลึ ก เรี ย กว า space lattice หรื อ lattice space หรือ crystal lattice
จุดศูนยกลางของอนุภาคที่อยูในแลตทิซผลึกเรียกวาจุดแลตทิซ (lattice point) และแตละอนุภาค
ที่อยูในแลตทิซผลึกเรียกวา อนุภาคหนวย (unit particle)
ผลึกของแข็งมีรูปผลึกมากมายอาจแบงได 7 ระบบตามมุมระหวางแกนและความยาว
แกน
87

รูปที่ 4.65 มุมและดานในเซลลหนวยรูปลูกบาศก

ประเภทของผลึก
1. ผลึกไอออนิก (Ionic Crystal) อนุภาคที่อยูที่จุดแลตทิซของผลึกของแข็งประเภทนี้
เปนไอออนบวกและไอออนลบสลับกันไปทั้งสามมิติ แรงยึดเหนี่ยวระหวางไอออน
เกิดจากประจุไฟฟาสถิตที่ตางชนิดกันคือ ประจุบ วกกับ ลบ เรียกวา แรงคูลอมบ
(Coulomb force) จัดวาเปนแรงยึดเหนี่ยวที่แข็งแรงมาก ผลึกชนิดนี้จะมีความดันไอ
ต่ํามากอุณหภูมิหอง มีจุดหลอมเหลวและจุดเดือดสูง ขณะที่เปนของแข็งไมนําไฟ
ฟา แตถาหลอมเหลวหรือเปนสารละลายจะนําไฟฟาไดดี แข็งแตเปราะ
2. ผลึกโมเลกุล (Molecular Crystal) อนุ ภาคที่อยูที่จุดแลตทิซของแลตทิซผลึกอาจ
เปนอะตอมหรือโมเลกุล แรงดึงดูดระหวางอนุภาคในแลตทิซผลึกแบบนี้อาจเปนแรง
แวนเดอรวาลส หรือแรงขั้วคู-ขั้วคู แลวแตวาอนุภาคเหลานั้นเปนโมเลกุลมีขั้วหรือ
ไม โมเลกุลที่ไมมีขั้วจะดึงดูดกันดวยแรงแวนเดอรวาลส แรงนี้จะมีคามากขึ้นเมื่อ
อะตอมหรือโมเลกุลนั้นมีจํานวนอิเล็กตรอนเพิ่มขึ้น ถาอนุภาคในแลตทิซผลึกเปน
โมเลกุลมีขั้ว จะมีแรงดึงดูดขั้วคู-ขั้วคูระหวางดานของโมเลกุลที่มีประจุตางกัน แรง
ชนิ ดนี้แข็ งแรงกวาแรงแวนเดอรวาลส แตทั้ งสองแรงนี้ ก็ ยังอ อนกวาแรงคูลอมบ
ผลึกจึงมีจุดหลอมเหลวและจุดเดือดต่ํา ระเหยงาย มีความดันไอสูงที่อุณหภูมิหอง
ออนนิ่ม ไมเปราะงาย ไมนําไฟฟา สามารถถูกอัดใหมีปริมาตรเล็กลงไดเล็กนอย
88

3. ผลึ ก โคเวเลนต (Covalent Crystal) อนุ ภ าคที่ อ ยู ที่ จุ ด แลตทิ ซ เป น อะตอม ยึ ด
เหนี่ยวกันดวยแรงที่เกิดจากการรวมใชเวเลนซอิเล็กตรอนดวยกันที่เรียกวา พันธะ
โคเวเลนต แรงยึ ด เหนี่ ย วระหว า งอนุ ภ าคในผลึ ก โคเวเลนต จ ะแข็ ง แรงกว า แรง
ยึดเหนี่ยวในผลึกโมเลกุล ทําใหมีความแข็งมากกวาผลึกโมเลกุล มีจุดหลอมเหลว
และจุดเดือดสูง มีความดันไอต่ํา ไมละลายในตัวทําละลายใดๆ อัดปริมาตรใหเล็กลง
ไมได ไมนําไฟฟา ยกเวนแกรไฟต
4. ผลึกโลหะ (Metallic Crystal) อนุภาคที่อยูที่จุดแลตทิซของแลตทิซผลึกเปนไอออน
บวกของโลหะทามกลางอิเล็กตรอนที่เคลื่อนที่ไปมาได เวเลนซอิเล็กตรอนเหลานี้
(หมอกอิเล็กตรอน) จะไมเปนของอะตอมหนึ่งอะตอมใดโดยเฉพาะ แตจะเปนของ
ทั้ ง ผลึ ก หรื อ ทั้ ง แมโครโมเลกุ ล แรงยึ ด ระหว า งไอออนบวกของโลหะกั บ หมอก
อิเล็กตรอนเรียกวา พันธะโลหะ(metallic bond) ซึ่งจะแข็งแรงกวาแรงยึดเหนี่ยวใน
ผลึกโมเลกุล แตออนกวาแรงยึดเหนี่ยวในผลึกไอออนิกและในผลึกโคเวเลนต
โครงสรางผลึกชิ ดที่ สุด (Closest-Packed Structure) มีการจัดเรียงอะตอมเสมือนกั บ
เรียงทรงกลมที่มีขนาดเทากันใหไดความหนาแนนมากที่สุด โดยเฉพาะธาตุที่เปนโลหะเกือบทั้ง
หมด การเรี ย งตั ว มี 2 แบบ คื อ แบบ face-centered cubic closest packing (fcc) และแบบ
hexagonal closest packing (hcp)
การระเหิด(Sublimation) เปนปรากฏการณที่สารบางชนิดสามารถเปลี่ยนสถานะจาก
ของแข็งเปนแกสเลยโดยไมเปลี่ยนเปนของเหลวกอน การระเหิดจะเกิดที่ผิวหนาของของแข็ง
อัต ราการระเหิ ดเป นปฏิภาคตรงกับ อุณ หภูมิ เมื่ออัต ราการระเหิดเท ากับ อัตราการควบแนน
ระบบจะอยูในสภาวะสมดุล ความดันไอที่ระบบสมดุล เรียกวา ความดันไอของของแข็ง

รู ป ที่ 4.66 Face-centered cubic closest packing (fcc) ห รื อ cubic closest packing
(ccp)

ข.4) ของเหลวและสารละลาย
การเคลื่อนที่ของอนุภาคในของเหลวเปนไปในลักษณะที่แตละอนุภาคมีการกระทบกัน
เปลี่ยนที่หรือเลื่อนไปบนอนุภาคอื่น ๆ ที่อยูใกลเคียงตอเนื่องกันตลอดเวลา เรียกวา เคลื่อนที่
แบบบราวเนียน (Brownian movement) ทําใหของเหลวไหลไดและมีรูปรางไมแนนอน การที่
อนุภาคในของเหลวอยูชิดกันมีแรงดึงดูดซึ่งกันและกันทําใหเกิดสมบัติที่เรียกวาแรงดึงตามผิว
หรือความตึงผิว (surface tension) และความหนืด (viscosity)
89

รูปที่ 4.67 Hexagonal closest packing (hcp)


การกลายเปนไอ (vaporization) หรือการระเหย (evaporation) เกิดขึ้นเนื่องจากโมเลกุล
มีพ ลั งงานจลน มากพอที่ จะชนะแรงดึงดูดระหวางโมเลกุล ได อัต ราการระเหยจะเพิ่ มขึ้ น เมื่ อ
อุณหภูมิเพิ่มหรือพื้นที่ผิวของของเหลวเพิ่ม
สมดุ ลพลวัติ (dynamic equilibrium) คือสภาพที่ อัต ราการควบแน น เท ากั บ อัต ราการ
ระเหย และความดันในภาชนะปดจะคงที่และเปนความดันไอสูงสุดของไอของของเหลวนั้น เรียก
วา ความดันไอสมดุล (equilibrium vapor pressure)
จุ ด เดื อ ดคื อ อุ ณ หภู มิ ข ณะที่ ข องเหลวมี ค วามดั น ไอของของเหลวเท า กั บ ความดั น
บรรยากาศ
จุดเยือกแข็ง คืออุณหภูมิขณะที่อนุภาคของของเหลวหยุดเคลื่อนที่
ความรอนของการกลายเปนไอตอโมล (molar heat of vaporization) หรือเอนทัลปของ
การกลายเปนไอตอโมล (molar enthalpy of vaporization) ∆H vap คือปริมาณความรอนที่ทําให
ของเหลวใดๆ 1 โมลกลายเปนไอจนหมดที่อุณหภูมิหนึ่ง
วัฏภาคหรือเฟส คือสวนที่เปนเอกพันธ (homogeneous part) หนึ่งๆของระบบ และแต
ละสวนแยกออกจากกันโดยมีเสนเขตแดนชัดเจน สารตางๆ สามารถอยูไดทั้งสามสถานะคือ
แกส ของเหลว และของแข็ง ขึ้นอยูกับอุณหภูมิและความดัน เราสามารถเขียนกราฟแสดงความ
สัมพันธระหวางสถานะกับสมบัติบางประการ เชนจุดเยือกแข็ง จุดเดือด และความดันไอของสาร
ที่สภาวะสมดุลได เราเรียกกราฟนั้นวาแผนภาพวัฏภาคหรือเฟสไดอะแกรม(phrase diagram)
90

รูปที่ 4.68 แผนภาพวัฏภาคของน้ํา


สารละลายเกิดจากสารบริสุทธิ์สองชนิดขึ้นไปมาผสมเปนเนื้อเดียวกัน (homogeneous
mixture) สารที่มีปริมาณมากกวาเปนตัวทําละลาย (solvent) และสารที่มีปริมาณนอยกวาเรียก
วาตัวถูกละลาย (solute) สารละลายจัดเปนisotropic เพราะมีสมบัติ เชน ดรรชนีหักเห ความ
หนาแนน การนําไฟฟา เหมือนกันทุกทิศทุกทางและทุกสวนของสารละลาย
หนวยความเขมขนของสารละลาย มี 6 แบบคือ
1. เปอรเซนตหรือรอยละ หมายถึง ปริมาณของตัวละลายและตัวทําละลาย (โดยน้ําหนัก
หรือปริมาตร) ในสารละลาย 100 สวน
2. นอรแมลิตี (Normality, N) หมายถึง จํานวนกรัมสมมูลของตัวละลายที่มีในสารละลาย
1 ลิตร
3. โมลาริตี (Molarity, M) หมายถึง จํานวนกรัมโมเลกุลหรือจํานวนโมลของตัวละลายที่มี
อยูในสารละลาย 1 ลิตร
4. โมแลลิ ตี (Molality, m) หมายถึ ง จํ า นวนโมลของตั ว ละลายที่ มี อ ยู ใ นตั ว ทํ า ละลาย
1000 กรัม
5. ฟอรแมลิตี (Formality, F) หมายถึง จํานวนน้ําหนักเปนกรัมตามสูตรหรือน้ําหนักเปน
กรัมฟอรมูลา (gram formula weight, Fw) ของตัวละลายที่มีอยูในสารละลาย 1 ลิตร
6. เศษสวนโมล (Mole fraction, x) คือจํานวนโมลขององคประกอบหนึ่งหารดวยจํานวน
โมลทั้งหมดของทุกองคประกอบของสารละลาย
กฎของราอูลต กลาววาความดันไอของตัวทําละลายในสารละลายจะเทากับผลคูณของ
ความดันไอของตัวทําละลายบริสุทธิ์กับเศษสวนโมลของตัวทําละลายในสารละลาย สารละลายที่
มีสมบัติตามกฎของราอูลตถือวาเปนสารละลายอุดมคติ (ideal solution) นอกจากนั้นจะเรียกวา
สารละลายจริง (real solution) สารละลายจริงที่ยิ่งเจือจางก็ยิ่งมีสมบัติใกลสารละลายในอุดมคติ
91

ออสโมซิส คือปรากฏการณทางธรรมชาติซึ่งเกิดจากอนุภาคของน้ําหรือตัวทําละลาย
อื่นๆซึมผานเยื่อกึ่งซึมได (semipermeable membrane) จากสารละลายที่มีความเขมขน(ของตัว
ละลาย) นอยไปสูสารละลายที่มีความเขมขนมาก ทําใหสารละลายที่มีความเขมขนมากมีความ
ดันเพิ่มขึ้น ความดันที่เพิ่มขึ้นเรียกวาความดันออสโมซิส(osmotic pressure, π ) ซึ่งจะแปรตาม
ความเขมขนของตัวทําละลายและอุณหภูมิ
π = cRT (4.105)
ข.5) อุณหพลศาสตรทางเคมี
อุณหพลศาสตร (Thermodynamics) คือวิทยาศาสตรที่เกี่ยวของกับการเปลี่ยนแปลง
ของพลังงานเมื่อสสารเกิดการเปลี่ยนแปลง
ระบบ (system) คื อ สิ่ งที่ เราศึ ก ษา ส ว นสิ่ ง แวดล อ ม (surroundings) คื อ สิ่ งอื่ น ๆที่ อ ยู
รอบๆแบะอาจมีผลเกี่ยวของ ระบบจําแนกไดเปน
1. ระบบเปด (open system) ไดแกระบบที่ทั้งพลังงานและมวลสารสามารถถายโอนไป
มาระหวางระบบกับสิ่งแวดลอมได
2. ระบบป ด (closed system) ได แก ระบบที่ เฉพาะพลั งงานเท านั้ น ที่ ถ ายโอนไปมา
ระหวางระบบกับสิ่งแวดลอมได
3. ระบบเอกเทศ (isolated system) ไดแกระบบที่ทั้งพลังงานและมวลสารไมสามารถ
จะถายโอนไปมาระหวางระบบกับสิ่งแวดลอมได
กฎการอนุ รัก ษ พ ลั งงาน (Law of Conservation of Energy) กล าววา เราไม ส ามารถ
สรางพลังงานหรือทําลายพลังงานได พลังงานของระบบและสิ่งแวดลอมรวมกันยอมมีคาคงที่
เสมอ เมื่อพลังงานรูปหนึ่งหายไปจะเปลี่ยนเปนพลังงานรูปอื่นๆในปริมาณที่เทากัน และการ
เปลี่ยนแปลงพลังงานภายในมีความสัมพันธกับความรอนที่ใหกับระบบและงานที่ระบบทํา การ
เปลี่ยนแปลง เอนทัลปของปฏิกิริยาใดๆมีคาเทากับปริมาณความรอนของการเปลี่ยนแปลงเมื่อ
ทําการทดลองที่ความดันคงที่
ในกระบวนการที่ผันกลับได เอนโทรปของจักรวาลจะมีคาคงที่ หรือ ∆S ของจักรวาล
เทากับศูนยในกระบวนการที่ผันกลับไมได เอนโทรปของจักรวาลจะเพิ่มขึ้น ∆S ของจักรวาล
มากกวาศูนย หรือมีเครื่องหมายบวก
ที่อุณหภูมิศูนยสัมบูรณ สารที่เปนผลึกสมบูรณแบบจะมีเอนโทรปเทากับศูนย หรือ So
เทากับศูนย
ข.6) สมดุลเคมี
สภาวะสมดุล (Equilibrium state) คือสภาวะที่อัตราการเกิดปฏิกิริยาไปขางหนา (rate
of forward reaction) เทากับอัตราการเกิดปฏิกิริยาผันกลับ (rate of reverse reaction) ขณะนั้น
จะ ไมมีการเปลี่ยนแปลงสุทธิ (no net change) โดยลักษณะทั่วไปของสภาวะสมดุลไดแก
1. ที่อุณ หภูมิหนึ่งๆ เมื่อระบบเขาสูสภาวะสมดุล จะไมมีการเปลี่ยนแปลงสุทธิอีกตอไป
สมบัตติ างๆทางฟสิกสของระบบจะคงที่ ไมวาจะใหเวลาลวงเลยไปนานเพียงใด
92

2. สภาวะสมดุลจะเปนสภาวะพลวัต (dynamic) อนุภาคเล็กๆระดับโมเลกุลในระบบจะมี


การเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา แตไมมีการเปลี่ยนแปลงสุทธิ
3. ระบบจะเขาสูสภาวะสมดุลไดเองไมวาจะเริ่มตนปฏิกิริยาจากดานใดของสมการ
คาคงตัวสมดุล (Equilibrium Constant) จากปฏิกิริยา αA + bB = cC + dD
(a C )ceq (a D )eq
d

K= α b
(4.106)
(a A )eq (a B )eq

รูปที่ 4.69 ระบบเขาสูสมดุล เมื่อเวลา TE

หลักของ เลอ ชาเตอลิเอ กลาววาระบบที่อยูในสภาวะสมดุล ถามีการเปลี่ยนแปลงใดๆ


มารบกวนสมดุ ล ทํ าให ระบบเสียสมดุ ลไป ระบบจะปรับ ตัวใหเขาสูสภาวะสมดุลใหมอีกครั้ง
ในการปรับตัวนี้ระบบจะปรับตัวในทิศที่ทําใหแฟกเตอรที่รบกวนลดลงเหลือนอยที่สุด
ข.7) สมดุลของไอออนในน้ํา
สมดุลของไอออนที่ละลายอยูในน้ํ าที่สําคั ญ มากได แกสมดุ ลของสาร
ละลายกรดและเบส
ความแรงของกรด (Strength of Acids) จําเปนตองกําหนดวาจะใชเบสใดรับโปรตอน
และเปรียบเทียบความสามารถของกรดตางๆในการใหโปรตอนแกเบสเดียวกัน เบสที่ใชทั่วไป
คื อ น้ํ า ซึ่ ง จะแสดงโดยค า คงตั ว การแตกตั ว เป น ไอออนของกรด (dissociation constant or
ionization constant, K a )
HA + H 2 O = H 3O + + A −
⎡⎣ H 3O + ⎤⎦ ⎡⎣ A − ⎤⎦
Ka = (4.107)
[ HA ]
ความแรงของเบส (Strength of Bases) แสดงโดยคาคงตัวการแตกตัวเปนไอออนของ
เบส (dissociation constant or ionization constant, K b )
B + H 2 O = BH + + OH −
⎡⎣ BH + ⎤⎦ ⎡⎣OH − ⎤⎦
Kb = (4.108)
[ B]
93

การแตกตัวเปนไอออนของน้ํา (Self ionization or Autoprotolysis)


H 2 O + H 2 O = H 3O + + OH −
⎡⎣ H 3O + ⎤⎦ ⎡⎣OH − ⎤⎦
Kw = (4.109)
[ H 2O][ H 2O]
pH = − log ⎡⎣ H + ⎤⎦ (4.110)
pOH = − log ⎡⎣OH − ⎤⎦ (4.111)
pH + pOH = 14 ในน้ําบริสุทธิ์ pH = pOH = 7
สารละลายบัฟเฟอร (Buffer Solution) ไดแกสารละลายที่สามารถจะรักษาระดับ pH ไว
ใหเกือบคงที่อยูเสมอ แมวาจะเติมน้ํา หรือเติมกรดหรือเบสลงไปเล็กนอย ก็ไมทําให pH ของสาร
ละลายเปลี่ยนไปมากนัก สารละลายบัฟเฟอรเตรียมไดจากสารละลายของกรดออนกับเกลือของ
กรดออนนั้น หรือสารละลายของเบสออนกับเกลือของเบสนั้น
จุดสมมูล (Equivalence point) คือจุดที่กรดและเบสทําปฏิกิริยากันพอดี

รูปที่ 4.70 กราฟของการไทเทรตระหวาง 0.10 M NaoH และ 0.10 M HCl

ข.8) ปฏิกิริยาออกซิเดชั่น รีดักชั่น


ปฏิกิริยาออกซิเดชัน คือกระบวนการที่มีการสูญ เสียอิเล็กตรอน สารที่ใหอิเล็กตรอน
เรีย กว าตั ว รี ดิ ว ซ สารเคมี ที่ เสี ย อิ เล็ ก ตรอนเรี ย กว าถู ก ออกซิ ไดส ส ว นปฏิ กิ ริย ารี ดั ก ชั น คื อ
กระบวนการที่ มี ก ารรับ อิ เล็ ก ตรอน สารที่ รับ อิ เล็ ก ตรอนเรีย กว าตั ว ออกซิ ไดส สารเคมี ที่ ได
อิเล็กตรอนมาเรียกวาถูกรีดิวซ
สถานะออกซิเดชัน (oxidation state) คือจํานวนประจุสุทธิบนอะตอมนั้นๆ
94

ปฏิกิริยาออกซิเดชัน รีดักชัน เปนปฏิกิริยาที่มีการถายโอนอิเล็กตรอน ประกอบดวยตัว


ใหอิเล็กตรอน (ตัวรีดิวซ=ผลิตภัณฑของตัวรีดิวซ+อิเล็กตรอน) และตัวรับอิเล็กตรอน (ตัวออกซิ
ไดส+อิเล็กตรอน=ผลิตภัณฑของตัวออกซิไดส) แตละสวนของปฏิกิริยาเรียกวาครึ่งปฏิกิริยา
อิเล็กตรอนที่ ถายโอนระหวางตัวรีดิวซและตัวออกซิไดสในปฏิ กิ ริยาเคมี นั้นสามารถ
แสดงใหเปนไดโดยใหอิเล็กตรอนนี้ไหลตามเสนลวดสายไฟซึ่งเชื่อมตอภายนอกระหวางตัวออก
ซิไดสและตัวรีดิวซ ทําใหเกิดกระแสไฟฟา ซึ่งสามารถวัดไดโดยใชเครื่องวัดกระแสไฟฟา
ครึ่งเซลล (Half-Cell) สวนใหญประกอบดวยแทงโลหะชนิดหนึ่งจุมในสารละลายเกลือ
ของโลหะนั้น สองครึ่งเซลลที่ตอกันดวยสะพานเกลือเรียกวา แกลแวนิกเซลล (galvanic cell)
หรือ ที่เรียกวาเซลลไฟฟา โดยขั้วลบหมายถึงขั้วที่มีอิเล็กตรอนไหลออกจากเซลล และขั้ว
บวกหมายถึงขั้วที่มอี ิเล็กตรอนไหลเขาเซลล

รูปที่ 4.71 แกลแวนิกเซลล ซึ่งประกอบดวยสองครึ่งเซลลของสังกะสีและทองแดง

ข.9) จลนพลศาสตรเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยา วัดเปนความเขมขนของสารใดสารหนึ่ง (โมล/ลิตร หรือความดัน
ยอย) ที่เปลี่ยนไปในชวงระยะเวลาหนึ่ง จากปฏิกิริยา aA + bB = cC + dD
อัตราการเกิดปฏิกิริยา = − 1 [ ] = − 1 [ ] = 1 [ ] = 1 [ ]
d A d B d C d D
(4.112)
a dt b dt c dt d dt
ปจจัยที่มีผลตออัตราการเกิดปฏิกิริยา ไดแกธรรมชาติของตัวทําปฏิกิริยา ความเขมขนของตัว
ทําปฏิกิริยา อุณหภูมิ และตัวเรงปฏิกิริยา
ทฤษฎีการชนของแกสในการเกิดปฏิกิริยา (Collision Theory of Gaseous Reactions)
มีหลักวา ปฏิกิริยาเคมีจะเกิดไดตองมีการชนกันระหวางอนุภาคของตัวทําปฏิกิริยา และเมื่อ
อนุภาคที่ชนกันมีพลังงานมากพออาจมีการจัดตัวใหมหรือพันธะเดิมแตกออก เกิดพันธะใหมใน
สารที่ได แตการชนกันระหวางอนุภาคก็ไมไดทําใหเกิดปฏิกิริยาทุกครั้งไป
95

พลังงานกอกั มมันต (Activation Energy, E a ) คือพลังงานที่ ต่ําที่ สุดที่ โมเลกุ ลจําเป น


ตองมีเพื่อวาเมื่อชนกันแลวสามารถเกิดปฏิกิริยาได

รูปที่ 4.72 ความสัมพันธระหวางการเปลี่ยนความเขมขนกับเวลา

รูปที่ 4.73 การเปลี่ยนแปลงพลังงานศักยในขณะที่ปฏิกิริยาดําเนินไป

ข.10) โครงสรางทางอิเล็กตรอนของอะตอม
อิเล็กตรอนเปนอนุภาคมูลฐานสากลที่มีอยูในอะตอมของธาตุทุกชนิด จากการทดลอง
ของทอมสันจะไดวาอัตราสวนประจุตอมวล ⎛⎜ e ⎞⎟ ของอิเล็กตรอนเทากับ 1.76 ×108 คูลอมบตอ
⎝m⎠
กรัม และจากการทดลองของมิลลิแกนจะไดคาประจุอิเล็กตรอนเทากับ 1.6 ×10−19 คูลอมบ ดัง
นั้นจึงไดวามวลของอิเล็กตรอนเทากับ 9.1×10−28 กรัม
อนุภาคบวกจากอะตอมของไฮโดรเจนเปนอนุภาคมูลฐานอันหนึ่งของอะตอม ที่เรียกวา
โปรตอน (proton) มีมวล 1.67 ×10−24 กรัม หนักเปน 1830 เทาของอิเล็กตรอน ขนาดของประจุ
เทากับอิเล็กตรอนแตมีเครื่องหมากเปนบวก
เดอบรอยล (Louis de Broglie) เสนอวาถารังสีแมเหล็กไฟฟาซึ่งเคยเชื่อกันวาเปนคลื่น
มี โ อกาสเป น อนุ ภ าคได อิ เล็ ก ตรอนซึ่ ง เคยเชื่ อ กั น ว า เป น อนุ ภ าคก็ น า จะเป น คลื่ น ได ด ว ย
96

จึงเสนอสมการแสดงความสัมพันธระหวางความยาวคลื่นและโมเมนตัมของอนุภาค (สมการของ
เดอบรอยล) ดังนี้
h
λ= (4.113)
mv
แบบจํ า ลองตามทฤษฎี ก ลศาสตร ค ลื่ น (wave mechanical theory) เพื่ อ อธิ บ ายการ
เคลื่อนที่ของอนุภาคในรูปของโอกาสที่จะพบอิเล็กตรอนบอยสุดตามจุดตางๆ และจะใชคําวาออร
บิทัล (orbital) แทนสภาวะหรือสถานภาพของอิเล็กตรอนที่ไมมีวงโคจรที่แนนอน การคํานวณ
ความน า จะเป น ที่ จ ะพบอิ เล็ ก ตรอนที่ จุ ด ต า งๆได จ ากการแก ส มการคลื่ น ของชเรอดิ ง เงอร
(Schrödinger’s wave equation)
−h 2 d 2ψ
+ Vψ = Eψ (4.114)
8π2 m dx 2
แตละคาที่เปนไปไดของ ψ จะตรงกับพลังงานคาหนึ่งที่ขึ้นกับเลขลงตัว 3 จํานวนที่เรียกวา
เลขควอนตัม
1. เลขควอนตั ม มุ ข สํ า คั ญ (Principal Quantum Number, n) เป น ตั ว เลขที่ สํ า คั ญ ที่ สุ ด
เพราะเปนตัวกําหนดระดับพังงานมุขสําคัญ (principal energy level) ของอิเล็กตรอน
หรือ บอกขนาด เปนเลขลงตัว 1, 2, 3, 4 (K, L, M, N)
2. เลขควอนตัมโมเมนตัมเชิงมุม (Angular Momentum Quantum Number, l) เปนตัวเลข
ที่บอกคาโมเมนตัมเชิงมุม (angular momentum) ของอิเล็กตรอน หรือบอกรูปรางของ
ออรบิทัล เปนเลขลงตัว 0, 1, 2, 3 (s, p, d, f)
3. เลขควอนตัมเชิงแมเหล็ก(Magnetic Quantum Number, m) เปนเลขที่แสดงความเปน
แม เหล็ก ของอิ เล็ ก ตรอน เนื่ องจากอิ เล็ ก ตรอนมี โมเมนตั ม เชิ งมุ ม จึงอาจเสมื อนวามี
กระแสไฟฟาวิ่งวนเปนวง คาmจึงขึ้นอยูกับคาl คือ m จะมีคาเปนเลขลงตัวจาก –l ถึง +l
4. เลขควอนตัมเชิงสปน(Spin Quantum Number, s) เปนตัวเลขสุดทายที่เพิ่มเติมขึ้นมา
เนื่ องจากการหมุ นรอบตัวเองของอิเล็กตรอน ซึ่ งอาจเปนการหมุนตามเข็มหรือทวน
เข็ ม นาฬิ ก า มี เพี ย ง2 ค าคื อ + 1 , − 1 จํ า นวนอิ เล็ ก ตรอนที่ ม ากที่ สุ ด ในแต ล ะระดั บ
2 2
พลังงานจะเปน 2n 2
97

การบรรยายความหนาแนนของอิเล็กตรอนในออรบิทัลเชิงอะตอมนิยมเขียนเปนรูปสาม
มิติ มีรูปรางเฉพาะตัวดังรูป

รูปที่ 4.74 รูปรางของ s-, p- และ d- ออรบิทัล

เมื่อนําคาพลังงานของออรบิทัลมาเขียนแผนภาพแสดงระดับพลังงานจะไดดังรูป

รูปที่ 4.75 ระดับพลังงานของออรบิทัลตางๆ ในอะตอมที่มีหลายอิเลคตรอน


98

โครงแบบอิ เล็ก ตรอนของอะตอมไดจากการบรรจุอิเล็ ก ตรอนจํานวนเท ากั บ เลข


อะตอมของธาตุเขาไปในออรบิทัลตางๆของอะตอมที่อยูที่สถานะพื้น ซึ่งเปนสถานะที่อะตอมมี
เสถียรภาพสูง ที่สุด ดังนี้
1. มีการเพิ่มอิเล็กตรอนทีละหนึ่งเขาไปในออรบิทัลเมื่อธาตุตอไปนี้มีเลขอะตอมสูงขึ้น
2. การบรรจุ อิ เล็ ก ตรอนเข าไปในออรบิ ทั ล ต างๆจะต อ งเป น ไปตามหลั ก เอาฟ บ าว
(aufbau principle) คืออิเล็กตรอนจะเขาไปอยูในออรบิทัลตางๆตามลําดับพลังงาน
จากต่ํ าไปสูงตามแผนภาพระดั บ พลั งงาน เราอาจเรียงลําดั บ ออรบิ ทั ล เพื่ อบรรจุ
อิเล็กตรอนดังรูป

รูปที่ 4.76 ลําดับการบรรจุอิเลคตรอนในออรบิทัลของอะตอมเมื่ออยูในสถานะแกส

3. จํานวนอิเล็กตรอนที่จะอยูไดในออรบิทัลหนึ่งๆ จะเปนไปตามหลักการกีดกันของ
เพาลี่ที่วา จะมีอิเล็กตรอนมากกวาสองตัวในออรบิทัลหนึ่งๆไมได
4. การบรรจุอิเล็กตรอนใน p, d, f ออรบิทัลซึ่งมีมากกวาหนึ่งออรบิทัลจะตองเปนไป
ตามกฎของฮุนดที่วาอิเล็กตรอนจะอยูโดดเดี่ยวในออรบิทัลตางๆที่มีพลังงานเทากัน
จนทุกๆ ออรบิทัลบรรจุไดครึ่งหนึ่งแลว จึงจะจับคูกับอิเล็กตรอนอื่นจนเต็มออรบิทัล
ตอไป
ข.11) พันธะเคมี
พันธะไอออนิก (Ionic Bond) เปนพันธะที่งายที่สุดและสามารถมองเปนความเกี่ยวพัน
กับโครงสรางไดชัดเจน จะเกิดขึ้นไดเมื่อมีการถายโอนเวเลนซอิเล็กตรอนหนึ่งหรือมากกวาหนึ่ง
ตัวจากอะตอมหนึ่งไปยังอีกอะตอมหนึ่ง ทําใหอะตอมกลายเปนไอออนบวกและลบตามลําดับ จึง
เกิดมีแรงดึงดูดระหวางไอออนที่มีประจุตางกัน ทําใหพลังงานศักยลดลงเมื่อไอออนเขาใกลกัน
พันธะโคเวเลนต (Covalent Bond) หรือพันธะโคเวเลนตไมมีขั้ว หมายถึงไมมีขั้วประจุ
ในโมเลกุลที่ เกิ ดพั น ธะเพราะอิ เล็ก ตรอนคูที่ ใชรวมกัน กระจายอยางสมมาตร พั นธะแบบนี้ มี
ลักษณภาพไอออนิกเทากับศูนย ถาเปนอะตอมตางชนิดกัน มีสัมพรรคภาพอิเล็กตรอนไมเทา
99

กัน จะใชอิเล็กตรอนรวมกันอยางไมเทากัน อะตอมที่มีสัมพรรคภาพอิเล็กตรอนสูงกวาจะมีประจุ


ลบเดนขึ้นมาเล็กนอย ในขณะที่อีกอะตอมหนึ่งมีประจุบวกเดนขึ้นมา
พันธะไฮโดรเจน(Hydrogen Bond) ไฮโดรเจนมีเพียงหนึ่งเวเลนซอิเล็กตรอน โดยปกติ
จะสรางพันธะเพียงหนึ่งพันธะ แตเมื่อไฮโดรเจนสรางพันธะกับธาตุที่มีสภาพไฟฟาลบสูงๆ และมี
ขนาดเล็ก พันธะนี้จะมีขั้วมากจนทําใหไฮโดรเจนมีความเปนบวกเดนชัด ดึงดูดอิเล็กตรอนที่ไม
สรางพันธะของอะตอมในอีกโมเลกุลหนึ่ง จึงเกิดพันธะไฮโดรเจนขึ้นระหวางโมเลกุล
พันธะโลหะ (Metallic Bond) โลหะมีสมบัติพิเศษโดยเฉพาะ เชน เปนตัวนําความรอน
และไฟฟ า ที่ ดี ทึ บ แสง แข็ ง บิ ด งอได สะท อ นแสงได จุ ด หลอมเหลวและจุ ด เดื อ ดสู ง ซึ่ ง ไม
สามารถอธิบายไดในรูปของพันธะไอออนิกหรือพันธะโคเวเลนต จึงจําเปนตองมีทฤษฎีโครง
สรางและ การสรางพันธะในโลหะเพื่ออธิบายแรงยึดและสมบัติของโลหะดังกลาว

รูปที่ 4.77 แสดงการเปรียบเทียบพันธะไอออนิก พันธะโคเวเลนต และพันธะโลหะ

ข.12) สมบัติตามตารางพีริออดิก
กฎพีริออกดิก (Periodic Law) กลาววาสมบัติตางๆของธาตุเปนพีริออกดิกฟงกชันของ
น้ํ าหนั ก อะตอมของธาตุ เหล า นั้ น ตารางพี ริอ อดิ ก จํ าแนกออกเป น เขตๆตามลํ าดั บ การเติ ม
อิเล็กตรอนในอะตอมใหครบตามจํานวนอิเล็กตรอนที่จะมีไดในแตละออรบิทัล
1. ธาตุเรพรีเซนเททิฟ (Representative Element) คือธาตุในเขต –s และเขต –p (หมู
IA, IIA, IIIA, IVA, VA, VIA, VIIA, O) อิ เล็ ก ตรอนที่ ยั ง ไม ค รบจํ า นวนนี้ จ ะเป น เว
เลนซอิเล็กตรอน ซึ่งสามารถสรางพันธะกับอะตอมของธาตุอื่นๆได สวนแกสมีสกุล
(Noble Gas or Rare Gas) ในหมู O มี อิ เล็ ก ตรอนในระดั บ พลั งงานสู งสุ ด ของ s-
และ p- ออรบิทัลครบพอดี มีสมบัติไมไวในการทําปฏิกิริยา
2. โลหะแทรนซิ ชั น (Transition Metal) คื อ ธาตุ ในเขต –d (หมู IIIB, IVB, VB, VIB,
VIIB, VIIIB, IB, IIB) เปนธาตุที่ตองเติมอิเล็กตรอนใน d- ออรบิทัลของระดับ พลัง
งานที่ถัดจากระดับสูงสุด หรือ (n-1)d- ออรบิทัลใหครบจํานวน โดยที่ s- ออรบิทัล
ของระดับนอกสุดครบสองอิเล็กตรอนแลว ในการเกิดสารประกอบ ธาตุเหลานี้จะใช
อิเล็กตรอนใน ns กับ (n-1)d ออรบิทัลเปนเวเลนซอิเล็กตรอน
100

3. โลหะทรานซิ ชัน แทรก (Inner Transition Metal) ไดแกหมู ธาตุในเขต f ธาตุ ที่ 58
ถึง 71 เรียกวาหมูธาตุแลนทาไนดหรือแรรเอิรท (the lanthanides or rare earths)
ธาตุ ที่ 90 ถึ ง 103 เรียกวาหมู ธ าตุแอกทิ ไนด (the actinides) เป น ธาตุ ที่ จะต องมี
การเติมอิเล็กตรอนใน f-ออรบิทัลในระดับพลังงาน (n-2) ใหครบ

รูปที่ 4.78 ตารางพีรีออดิก

รูปที่ 4.79 การจําแนกตารางพีรีออดิกออกเปนเขต s, p, d, f ตามลักษณะการจัดตัวของอิ


เลคตรอน

ข.13) เคมีอินทรีย
ไฮโดรคารบอนเปนสารประกอบที่มีธาตุสองธาตุเทานั้น คือคารบอนกับไฮโดรเจน จัดวา
เปนสารหลักในเคมีอินทรีย สวนสารอินทรียอื่นๆถือวาอนุพัทธ (derive) มาจากไฮโดรคารบอน
โดยทั่วไปอะตอมคารบอนจะมาตอกันเปนโซและไฮโดรเจนมาตอกับอะตอมคารบอนในโซนั้น
101

แอลเคน (alkane) คื อสารประกอบไฮโดรคารบ อนที่ คารบ อนแต ละอะตอมมี สี่พั น ธะ


โคเวเลนต เ ดี่ ย วมาต อ กั น เป น โซ ย าว หรื อ เรี ย กว า ไฮโดรคาร บ อนอิ่ ม ตั ว (saturated
hydrocarbon) สารประกอบเหลานี้คอนขางเฉื่อย มีสูตรโมเลกุลทั่วไปเปน Cn H 2n + 2 สวนแอล
แคนที่มีโซคารบอนมาตอกันเปนวงเรียกวา ไซโคลแอลเคน (Cycloalkane) มีสูตรโมเลกุลทั่วไป
เปน Cn H 2n
แอลคีน(alkene) คือสารประกอบไฮโดรคารบอนที่มีอะตอมคารบอนสรางพั นธะโคเว
เลนตที่เปนพันธะคูกันเอง

รูปที่ 4.80 แสดงสมบัติการเปนกรดและเบสของออกไซดของธาตุเรพรีเซนเททิฟ

แอลไคน (alkyne) คื อ สารประกอบไฮโดรคาร บ อนที่ มี อ ะตอมคาร บ อนสร า งพั น ธะ


โคเวเลนตที่เปนพันธะสามกันเอง
ไฮโดรคารบอนที่พันธะระหวางคารบอนกับคารบอนเปนพันธะคู หรือพันธะสาม เรียกวา
ไฮโดรคาร บ อน ไม อิ่ ม ตั ว (unsaturated hydrocarbon) ทั่ วไป จะทํ าป ฏิ กิ ริ ย าได ไ วกว า
ไฮโดรคารบอนอิ่มตัวมาก
สารประกอบอินทรียตางๆที่มีเปนจํานวนมากนั้น สามารถนํามาจัดรวมกันเปนหมวดหมู
ไดไมกี่ชนิด และสารประกอบแตละชนิดจะมีสมบัติทางเคมีคลายกัน การรวมสารเขาเปนหมวด
หมูจัดตามหมูทําหนาที่ (functional group) ไดแกอะตอมหรือหมูอะตอมที่มีอยูในโมเลกุลที่ทําให
โมเลกุลนั้นๆมีปฏิกิริยาเคมีเฉพาะตัว โดยไมคํานึงรูปแบบของโครงคารบอน ปฏิกิริยาเคมีสวน
ใหญของสารอินทรียนั้นเกี่ยวของเฉพาะกับการเปลี่ยนหมูทําหนาที่เทานั้น แตไมเปลี่ยนโครง
คารบอนของโมเลกุล ตัวอยางของหมูทําหนาที่ที่สําคัญดังแสดงในตาราง
แอลกอฮอลเปนสารประกอบที่มีหมูไฮดรอกซิล –OH ตอกับ หมูแอลคิล การเรียกชื่อ
แอลกอฮอลแบบสามัญ เรียกชื่อหมูแอลคิลกอนแลวตอทายดวยคําวาแอลกอฮอล ถาเรียกตาม
ระบบ IUPAC ใหตัดตัว e สุดทายที่เปนชื่อภาษาอังกฤษของไฮโดรคารบอนออก แลวเติม ol
แทน
แอลคีนมีพันธะคู C=C เปนหมูทําหนาที่ นอกจากประโยชนทางดานเชื้อเพลิงแลว ยังใช
เปนสารตั้งตนในการเตรียมพอลิเมอร การเรียกชื่อสามัญของแอลคีนเรียกตามชื่อของหมูแอลคิล
โดยเติม –ene ตอทาย การเรียกชื่อแอลคีนที่เปนโซตรงตามระบบ IUPAC ใหเรียกตามชื่อแอล
102

เคนแตลงทายดวย –ene สําหรับแอลคีนที่โมเลกุลใหญขึ้น ใหบอกจํานวนอะตอมของคารบอนที่


ยาวที่สุดในโซที่มีพันธะคูอยูพรอมทั้งบอกตําแหนงคารบอนที่มีพันธะคู โดยนับจากปลายโซที่
พั นธะคูเป นเลขนอยที่ สุด แอลเคนและแอลคีนที่มีจํานวนอะตอมของคารบอนเทากันจะมีจุด
หลอมเหลวและจุดเดือดใกลเคียงกัน ไมละลายในน้ําเชนเดียวกัน

รูปที่ 4.81 หมูทําหนาที่ที่สําคัญ

เฮไลด เป น สารประกอบที่ อ าจเตรี ย มได จ ากแอลกอฮอล ทํ า ปฏิ กิ ริ ย ากั บ HX, PCl3,
SOCl2 หรือแอลคีน ทําปฏิกิริยากับ HX หรือแฮโลเจน สารประกอบเฮไลดมีประโยชนเปนตัวทํา
ละลาย
สารประกอบคาร บ อนี ล ได แ ก แอลดี ไฮด และคี โทน สารประกอบเหล า นี้ บ างสารมี
ประโยชนในทางอุตสาหกรรมเคมีมาก เชน ฟอรมาลดีไฮดใชทําพลาสติก แอซีโทนและคีโทน
อื่นๆใชเปนทินเนอรสําหรับละลายแลคเกอร ฟอรมาลีนใชดองสัตวและฉีดศพไมใหเนาเปอย
กรดอินทรียหรือกรดคารบอกซิลิกมี –COOH เปนหมูทําหนาที่ เรียกวาหมู คารบอกซิล กรด
อินทรียเปนกรดออน กรดทําปฏิกิริยากับแอลกอฮอลไดสารประกอบเอสเทอร เอสเทอรโดยมากเปน
ของเหลวมีกลิ่นหอม ทําใหผลไมและดอกไมบางอยางมีกลิ่นหอม
เอมีนเปนเบสสวนใหญจะมีหมู –NH2 หรือหมูแอมิโนเปนหมูทําหนาที่ ถือวาเปนอนุพนั ธ
ของแอมโมเนี ย กล า วคื อ ไฮโดรเจนในแอมโมเนี ย ถู ก แทนที่ ด ว ยอนุ มู ล แอลคิ ล แอมี น และ
แอมโมเนียทําหฏิกิริยากับกรดคารบอกซิลิกหรืออนุพันธของกรดคารบอกซิลิกไดสารประกอบ
แอไมด
103

สารประกอบแอโรแมติก(Aromatic Compound) คือสารประกอบที่มีคารบอนมาตอกัน


เปนวง ในโมเลกุลของเบนซีนมีพันธะคูไมประจําสามพันธะ และโครงสรางที่แทจริงเปนเรโซ
แนนซ ไฮบริดของโครงสรางเรโซแนนซ ในการเขียนสูตรโครงสรางทั่วไปของเบนซีนเขียนได

เปน

4.2 ทักษะจากพื้นฐานทางวิศวกรรม
การวางพื้ น ฐานทางวิ ศ วกรรมอั น เป น ศาสตร แ ห งการประยุ ก ต จึ งต อ งมี ค วามรู ท าง
คณิตศาสตรฟสิกต และเคมีเปนอยางดี เพราะจะมีความสําคัญอยางยิ่งในการที่จะฟูมฟกใหเกิด
ทักษะแหงการประยุกต โดยทั่วไปการกําหนดสาขาวิศวกรรมควบคุม หรือสาขาวิศวกรรมตาง ๆ
ดู เหมื อ นจะมี ม ากมายหลายสาขา (Discipline) หลายแขนงวิช า (Sub Discipline o Division)
หรือหลากหลายความชํานาญการ (Specially) หรือที่เรียกวาสาขาวิศวกรรมเฉพาะทางนั้น ยังมี
วิชาแกน (Engineering Core) ที่วิศวกรรมทุกสาขาตองเขาใจและเรียนรูใหเกิดทักษะเพื่อนําไปสู
การประยุกตใหเกิดทักษะในสาขาวิศวกรรมเฉพาะเหลานั้นได วิชาเหลานั้นที่มีความสําคัญอยาง
ยิ่ง คือ
• การเขียนแบบวิศวกรรม (Engineering Drawing)
• กลศาสตรวิศวกรรม (Engineering Mechanics)
• วัสดุวิศวกรรม (Engineering Material)
• การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร (Computer Programming)
และยั งมี อี ก หลายวิ ช าที่ ได กํ า หนดเพิ่ ม เติ ม เพื่ อ เป น ทั ก ษะในเฉพาะกลุ ม สาขา
วิศวกรรมควบคุม เชน
• การบริหารงานวิศวกรรม (Engineering Management)
• กําลังวัสดุ / กลศาสตรวัสดุ (Strength of Materials / Mechanics of Material)
• ชลศาสตร (Hydraulic)
• วิศวกรรมสํารวจ (Surveying)
• ขบวนการทางวิศวกรรม (Manufacturing Process)
• วงจรไฟฟา / วิศวกรรมอิเลคทรอนิค (Electric Circuit / Engineering Electronic)
• etc.
104

แตดวยบางวิชาแกนไดขยายความและทบทวนใหบางแลวในบทตน ๆ และในบางวิชา
ไดกําหนดเปนการเสริมทักษะในสาขาวิศวกรรมเฉพาะตอไป ในที่นี้จึงขอทบทวนเพียงเฉพาะกล
ศาสตรวิศวกรรม และวัสดุวิศวกรรมเทานั้น ดังรายละเอียดตอไป
ก. กลศาสตรวิศวกรรม (Engineering Mechanics)
กลศาสตรแบงออกไดเปนสองสวนคือ สถิตยศาสตร (Statics) ซึ่งเกี่ยวกับการสมดุล
ของวัตถุภายใตแรงกระทํา และพลศาสตร (Dynamics) ซึ่งเกี่ยวกับการเคลื่อนที่ของวัตถุ
ก.1) นิยามเบื้องตน
อวกาศ (Space) คืออาณาบริเวณรูปทรงเรขาคณิตซึ่งสามารถบอกตําแหนงไดโดยการ
วัดเชิงเสนและเชิงมุมที่สัมพัทธกับระบบแกนโคออรดิเนต (coordinate system)
เวลา (Time) คือการวัดลําดับเหตุการณที่เกิดขึ้น เปนปริมาณพื้นฐานทางวิชาพลศาสตร
แตไมไดใชโดยตรงในการวิเคราะหปญหาทางสถิตยศาสตร
มวลสาร (Mass) คือปริมาณที่ใชวัดความเฉื่อยซึ่งเปนความตานทานการเคลื่อนที่ของ
วัตถุในวิชาสถิตยศาสตรมีความสําคัญมากเนื่องจากเปนคุณสมบัติประจําตัวของทุกวัตถุซงึ่ สงผล
ถึง แรงดึงดูดกับวัตถุอื่น
แรง (Force) คือการกระทําของวัตถุอันหนึ่งตอวัตถุอีกอันหนึ่ง และพยายามที่จะทําให
วัตถุเคลื่อนที่ไปในทิศทางเดียวกับการกระทําของมัน แรงเปนปริมาณเวคเตอรตองนิยามขนาด
และ ทิศทางของการกระทํา
อนุ ภ าค (Particle) คื อ วั ต ถุ ที่ มี ข นาดเล็ ก มากเข า ใกล ศู น ย จนสามารถคิ ด เป น จุ ด ได
ตราบใดที่ขนาดของวัตถุไมเกี่ยวของกับการอธิบายถึงตําแหนงและการเคลื่อนที่ของวัตถุนั้น
ก็สามารถถือไดวาวัตถุคืออนุภาค
วัตถุเกร็ง (Rigid Body) คือวัตถุที่ไมมีการเสียรูปไปจากเดิม หรือการเปลี่ยนรูปนั้นนอย
มากเมื่อเปรียบเทียบกับรูปรางทั้งหมด หรือการเปลี่ยนตําแหนงของวัตถุ
สเกลารและเวคเตอร (Scalars and Vectors)
ปริ ม าณสเกลาร (Scalar) คื อ ปริ ม าณที่ คํ า นึ ง ถึ ง เฉพาะขนาด เช น เวลา ปริ ม าตร
ความหนาแนน อัตราเร็ว พลังงาน มวลสาร เปนตน
ปริม าณเวคเตอร (Vector) คือปริม าณที่ คํ านึ งถึ งทั้ งขนาดและทิ ศ ทาง เชน การขจัด
ความเร็ว ความเรง แรง โมเมนต โมเมนตัม เปนตน
การรวมเวคเตอร v = v1 + v 2
105

รูปที่ 4.82 การหาผลรวมของเวคเตอรและผลตางของเวคเตอร

ผลตางของเวคเตอร v′ = v1 − v 2 (4.115)
องค ป ระกอบที่ ตั้ งฉากกั น (Rectangular Component) คื อ เวคเตอรที่ รวมกั น เป น เวค
เตอรลัพธ และมีทิศทางที่ตั้งฉากกัน
v = vx + vy
vy
θ = tan −1 (4.116)
vx

รูปที่ 4.83 การหาองคประกอบที่ตั้งฉากกัน


เวคเตอรหนึ่งหนวย (Unit Vector) i, j, k คือเวคเตอรในแนวแกน x, y และ z มีขนาด
หนึ่งหนวย
กฎของนิวตัน (Newton’s Law)
กฎขอที่หนึ่ง อนุภาคจะยังคงหยุดนิ่งหรือเคลื่อนที่ตอไปในแนวเสนตรงดวยความเร็ว
สม่ําเสมอ ถาแรงที่มากระทําตออนุภาคนั้นอยูในภาวะสมดุล
กฎขอที่สอง ความเรงของอนุภาคเปนสัดสวนกับแรงลัพธที่มากระทํา และมีทิศทางไป
ทางเดียวกันกับแรงลัพธนั้นดวย
กฎขอที่สาม แรงกิริยา และแรงปฏิกิริยาของวัตถุที่กระทําตอกันจะมีขนาดเทากัน อยูใน
แนวเดียวกัน แตมีทิศทางตรงขามกัน
106

กฎของความโนมถวง (Law of Gravitation)


แรงโนมถวงยอมมีอยูเสมอระหวางวัตถุ โดยแรงนี้จะเปนไปตามกฎขอที่สามของนิวตัน
m1m 2
สามารถเขียนเปนสมการไดดังนี้ F=G
r2
โดย G คือคาคงที่ของความโนมถวงซึ่งพบวามีคาเทากับ 6.673x10-11 m3 /(kg ⋅ s 2 ) (4.117)

รูปที่ 4.84 แรงโนมถวงระหวางวัตถุ


หนวย (Unit)

ก.2) สถิตยศาสตร (Static)


แรง (Force)
แรงคือการกระทําของวัตถุหนึ่งตอวัตถุอีกอันหนึ่ง และเปนปริมาณเวคเตอร
แรงที่กระทําตอวัตถุมีได 2 ลักษณะคือ แบบสัมผัสกันโดยตรง และแบบสงแรงไปกระทํา
ในระยะหาง เชน แรงดึงดูดเนื่องจากมวล แรงทางไฟฟา แรงแมเหล็ก
107

ผลของแรงที่กระทําตอวัตถุสามารถแบงออกได 2 ประการคือ ผลภายนอก และผลภาย


ใน (เชน ความเคน ความเครียด) แรงสามารถใหกระทําที่จุดใดๆก็ไดในเสนตรงของแนวแรงโดย
ไมทําใหผลภายนอกของแรงที่กระทําตอวัตถุเกร็ง(rigid body) เปลี่ยนไป
จากกฎขอที่สามของนิวตัน เมื่อมีแรงกระทําจะตองมีแรงปฏิกิริยาขนาดเทากันและทิศ
ทางตรงกันขามดวยเสมอ แรงตางๆจะปรากฏชัดเจนเมื่อไดแยกวัตถุที่จะคิดออกจากวัตถุอื่นๆ
และเขี ย นเป น ผั งวั ต ถุ อิ ส ระ (free-body diagram) ซึ่ ง แสดงแรงที่ ก ระทํ า ต อ วั ต ถุ ไม ใช แ รงที่
กระทําโดยวัตถุ
แรงรวมจุด (Concurrent forces) คือแรงที่มีแนวแรงตัดกันที่จุดๆหนึ่ง
แรงยอย (Components) คื อแรงที่รวมกั นเป นแรงลัพ ธ และมีทิศทางที่ตั้งฉากกัน ถ า
กําหนดใหแรง F กระทําที่จุดO แรงนี้สามารถแยกออกเปนแรงยอย Fx , Fy , Fz ซึ่ง
Fx = F cos θ x = F ⋅ i Fy = F cos θ y = F ⋅ j Fz = F cos θz = F ⋅ k
F = Fx2 + Fy2 + Fz2 F = iFx + jFy + kFz
F = F(i cos θx + jcos θ y + k cos θz ) (4.118)
Fy
สําหรับปญหาสองมิติ Fx = Fcos θx Fy = Fcos θ y tan θx = (4.119)
Fx

รูปที่ 4.85 การแตกแรงเปนองคประกอบที่ตั้งฉากกันสําหรับปญหาสามมิติ


โมเมนต (Moment)
คือ ความพยายามที่ทําใหวัตถุหมุนรอบแกนที่ไมตัดกับแนวแรง หรือขนานกับแนวแรง
โมเมนตของแรงอาจเรียกวา แรงบิด (Torque) พิจารณาแรง F และจุด O ซึ่งเปนจุดที่ไมอยูใน
แนวแรงนี้ ทั้งแรงและจุดประกอบกันเปนระนาบ a เวคเตอร M นี้จะตั้งฉากกับระนาบและชี้ไป
ตามแกนที่ผานจุด O ทั้งขนาดและทิศทางของ M หาไดจากผลคูณแบบเวคเตอร
i j k
M = r × F = rx ry rz (4.120)
Fx Fy Fz

โมเมนตของแรงรอบแกนใดๆ ที่ผานจุด O หาไดจาก


108

rx ry rz
M n = (r × F ⋅ n)n = Fx Fy Fz (iα + jβ + kγ ) (4.121)
α β γ

โดย n เปนเวคเตอรหนึ่งหนวยในทิศทางแกนหมุนที่กําหนด

รูปที่ 4.86 โมเมนตของแรง F รอบแกนใดๆ

แรงคูควบ (Couple) คือโมเมนตที่เกิดจากแรงสองแรงที่มีขนาดเทากันและมีทิศตรงกัน


ขามและไมไดอยูในแนวเสนตรงเดียวกัน แรงทั้งสองนี้จะมีผลเฉพาะพยายามทําใหเกิดการหมุน
เทานั้น โมเมนตรวมของแรงทั้งสองรอบแกนที่ตั้งฉากกับระนาบของสองแรงนี้และผานจุดใดๆ
ในระนาบ คือแรงคูควบ M
M = F(a + d) − Fa = Fd (4.122)

รูปที่ 4.87 แรงคูควบของแรง F และ –F ที่มีขนาดเทากันแตทิศตรงกันขามกัน

ผลลัพธของระบบของแรงจะเปนแรงรวมที่อยูในรูปที่งายที่สุดและสามารถแทนแรงเดิม
ทั้งหมดโดยที่ไมทําใหผลลัพธภายนอกของระบบของแรงที่กระทําตอวัตถุเกร็งเปลี่ยนไป ระบบ
แรงในอาณาบริเวณสามมิติจะสามารถยายใหไปกระทําที่จุด O เดียวกัน และแรงคูควบที่เกิดขึ้น
จากการยายแรงดังกลาวก็จะอยูรวมกันที่จุด O ดังนั้นจะสามารถรวมกันตามแบบเวคเตอรไดแรง
ลัพธและแรงคูควบลัพธ ที่กระทําที่จุด Oได
R = F1 + F2 + F3 + ... = ∑ F
109

M = M1 + M 2 + M 3 + ... = ∑ M (4.123)

รูปที่ 4.88 ผลรวมของเวคเตอรแรงลัพธ และแรงคูควบ


สมดุล (Equilibrium)
ระบบทางกลศาสตร คือวัตถุหรือกลุมของวัตถุที่สามารถแยกออกจากวัตถุอื่นๆได ระบบ
นี้อาจจะเปนวัตถุชิ้นเดียวหรือหลายชิ้นรวมกัน อาจจะเปนวัตถุเกร็งหรือไมใชวัตถุเกร็ง อาจเปน
ของไหล กาซ ของแข็งรวมกัน เมื่อไดกําหนดวัตถุที่จะวิเคราะหแลว วัตถุนี้จะตองแยกออกจาก
สิ่งอื่นๆ และนํามาเขียนเปนผังวัตถุอิสระ (Free body diagram) ซึ่งจะเปนผังที่แทนวัตถุนั้น และ
จะแสดงแรงตางๆที่เกี่ยวของทั้งหมด
การสมดุล (Equilibrium) คือสภาพการที่แรงลัพธของทุกแรงที่กระทําตอวัตถุเปนศูนย
∑F = 0 : ∑ Fx = 0, ∑ Fy = 0, ∑ Fz = 0
∑M = 0 : ∑ M x = 0, ∑ M y = 0, ∑ M z = 0 (4.124)
การสมดุลมีอยู 2 ลักษณะที่ปรากฏบอยๆ คือ
1. การสมดุลของวัต ถุ ภ ายใตแรงกระทํ าสองแรง เรียกวาชิ้น สวนรับ สองแรง (Two-
force member) ซึ่งแรงจะตองเทากัน ทิศทางตรงกันขาม และอยูในแนวเดียวกัน
2. การสมดุ ล ของวั ต ถุ ภ ายใต ก ารกระทํ า ของสามแรงเรี ย กว า ชิ้ น ส ว นรั บ สามแรง
(Three-force member) รูปสามเหลี่ยมแทนแรงของสามแรงนี้ตองเปนรูปปดและอยู
ในระนาบเดียวกัน แนวแรงทั้งสามตองตัดกัน วัตถุที่อยูในสมดุล เมื่อมีแรงมากกวา
3 แรง มากระทํา สามารถลดรูปใหเหลือเปนชิ้นสวนรับสามแรงได
เงื่อนไขการสมดุลของระบบสองมิติสามารถเขียนไดดังนี้
∑F x =0 ∑F y =0 ∑M z =0
110

∑F x =0 ∑M A =0 ∑M B =0

∑ M A = 0 ∑M B =0 ∑M C =0 (4.125)

รูปที่ 4.89 ตัวอยางของโครงสรางพรอมดวยผังวัตถุอิสระ


111

รูปที่ 4.90 ชนิดตางๆ ของแรงกระทํา ในทางกลศาสตร

โครงสราง (Structure)
โครงถักระนาบ (Plane Trusses) คือโครงเหล็กที่ประกอบดวยชิ้นสวนซึ่งยึดกันที่ปลาย
เพื่อประกอบกันเปนโครงสรางที่แข็งเกร็ง ใชในโครงสรางสะพาน โครงหลังคา ปนจั่น โครงถัก
สามารถประกอบไดทั้ งแบบสองและสามมิ ติ โดยโครงถักระนาบจะเปนโครงถักแบบสองมิติ
112

ชิ้นสวนทุกชิ้นเปนชิ้นสวนรับสองแรง โครงสรางที่ประกอบมาจากรูปสามาเหลี่ยมเรียกวาโครง
ถักธรรมดา ถามีชิ้นสวนมากกวาความจําเปน โครงถักนั้นเรียกวา statically indeterminate ซึ่ง
ไมสามารถวิเคราะหไดถามีแตสมการของการสมดุลเพียงอยางเดียว ชิ้นสวนที่เกินความจําเปน
จะเรียกวา Redundant
ในการวิเคราะหโครงถักธรรมดาสามารถกระทําไดสองวิธี
1. วิธีการใชจุดตอ (Method of Joints) ประกอบดวยการสมดุลของแรงตางๆที่กระทําตอ
สลักขอตอที่จุดตอตางๆ ซึ่งก็คือการสมดุลของแรงที่ตัดกัน(concurrent forces) และใช
สมการของการสมดุลเพียงสองสมการเทานั้น
2. วิธีการใชภาคตัด (Method of Sections) วิธีนี้สามารถใชหาแรงในชิ้นสวนใดๆไดโดย
ตรงจากการตัดsection ผานชิ้นสวนนั้น จึงไมจําเปนตองเริ่มคํานวณจากสลักแรกไปจน
ถึง ชิ้นสวนที่ตองการ แตการตัดsection นั้นจะตองมีชิ้นสวนที่ไมทราบแรงไมเกินสาม
ในแตละภาคตัดเนื่องจากเงื่อนไขของการสมดุลมีเพียงสามสมการเทานั้น

รูปที่ 4.91 ตัวอยางโครงถักระนาบ

โครงกรอบและเครื่ อ งจั ก รกล (Frames and Machines) มั ก จะประกอบด ว ยชิ้ น ส ว น


หลายชิ้นประกอบเขาดวยกัน ชิ้นสวนแตละชิ้นจะถูกกระทําโดยแรงมากกวา 2 แรง ชิ้นสวน
ตางๆจะมีหลายแนวแรงกระทํา และโดยทั่วไปจะไมอยูในแนวของชิ้นสวนนั้น แรงที่กระทําตอชิ้น
สวน หาไดดวยการแยกชิ้นสวนออกจากกันแลวประยุกตเงื่อนไขการสมดุลเขากับผังวัตถุอิสระ
(free-body diagram) ของแตละชิ้นสวน
113

แรงกระจาย
การกระจายในเสน (Line distribution) เมื่อแรงกระทํากระจายอยูบนเสน เชนน้ําหนัก
ของสายเคเบิ้ล ความเขมของการกระจายคือ คาแรงตอหนวยความยาวเสน
การกระจายบนพื้นที่ (Area distribution) เมื่อแรงกระทํากระจายบนพื้นที่อันหนึ่ง เชน
แรงดันของน้ําซึ่งกระทําตอผนังดานในของเขื่อนความเขมของการกระจาย คือคาแรงตอหนวย
พื้นที่ หรือที่เรียกวาความดันสําหรับแรงที่กระทําโดยของไหล และเรียกวาความเคน สําหรับการ
กระจายภายในของแรงในของแข็ง
การกระจายในปริ ม าตร (Volume distribution) แรงซึ่ ง กระจายในปริ ม าตรของวั ต ถุ
เรียกวา แรงวัตถุ (body force) เชนแรงโนมถวงของโลกซึ่งกระทําตอมวลของวัตถุ ความเขม
ของการกระจายของแรงโนมถวงคือ ρg

รูปที่ 4.92 แสดงแรงกระจายในเสนบนพื้นที่ และในปริมาตร ตามลําดับ

จุดศูนยกลางมวล (Center of Mass) คือจุดที่เสมือนเปนศูนยรวมมวลของวัตถุทั้งหมด


จุดศูนยถวง (Center of Gravity) ของวัตถุ คือจุดที่แนวแรงทั้งสามที่ไดจากการแขวน
วัตถุพบกันที่จุดๆหนึ่ง แตความเขมของการกระจายของสนามแรงดึงดูดโลกไมคงที่ทั่วทั้งวัตถุ
ดังนั้นจุดศูนยถวงจึงไมไดมีเพียงจุดเดียว ขึ้นอยูกับสภาพของแรงดึงดูดดวย แตก็ไมมีความ
สําคัญมากสําหรับวัตถุที่มีขนาดเล็กเมื่อเทียบกับโลก
ในการหาจุดศูนยถวงหรือจุดศูนยกลางมวลของวัตถุจะอาศัยหลักของโมเมนต นั่นคือ
โมเมนตของแรงโนมถวงลัพธรอบแกนใดๆจะมีคาเทากับผลบวกของโมเมนตของแรงโนมถวง
ยอยรอบแกนเดียวกัน จึงไดเปนสมการของโมเมนตรอบแกนทั้งสามดังนี้
114

x=
∫ x ⋅ dm y=
∫ y ⋅ dm z=
∫ z ⋅ dm
m m m
(4.126)
ในกรณีที่ ρ ไมคงที่ตลอดทั้งวัตถุ เราสามารถเขียนสมการไดใหมดังนี้

x=
∫ xρ ⋅ dV y=
∫ yρ ⋅ dV z=
∫ zρ ⋅ dV
∫ ρ ⋅ dV ∫ ρ ⋅ dV ∫ ρ ⋅ dV
(4.127)
จุดศูนยกลาง(Centroid) จะใชสําหรับการคํานวณที่เกี่ยวกับรูปทรงเรขาคณิต แตเมื่อพูด
ถึงคุณสมบัติทางฟสิกสของวัตถุ เราจะใชจุดศูนยกลางมวล(Center of Mass) ถาความหนาแนน
ของวัตถุคงที่ ตําแหนงของจุดศูนยกลางและจุดศูนยกลางมวลจะเปนจุดเดียวกัน
จุดศูนยกลางของเสน x=
∫ xdL y=
∫ ydL z=
∫ zdL
L L L
(4.128)
จุดศูนยกลางของพื้นที่ x=
∫ xdA y=
∫ ydA z=
∫ zdA
A A A
(4.129)
จุดศูนยกลางของปริมาตร x=
∫ xdV y=
∫ ydV z=
∫ zdV
V V V
(4.130)

รูปที่ 4.93 แสดงการหาจุดศูนยกลางของเสน


115

รูปที่ 4.94 แสดงการหาจุดศูนยกลางของพื้นที่


ความดันของของไหล (Fluid Pressure) ที่จุดใดจุดหนึ่งมีคาเทากันในทุกทิศทาง ความ
ดันของของไหลที่หยุดนิ่งขึ้นอยูกับระยะทางในแนวดิ่งเทานั้น
p ⋅ dA + ρg ⋅ dA ⋅ dh − (p + dp) ⋅ dA = 0
dp = ρg ⋅ dh
p = p0 + ρgh p0 =ความดันที่ผิวของของเหลว (4.131)

รูปที่ 4.95 แสดงชิ้นสวนเล็กๆ ของลําของไหลในแนวดิ่ง

ความดั น ของเหลวบนพื้ น ผิ ว สี่ เหลี่ ย มมุ ม ฉากที่ จ มอยู (Hydro Static Pressure on
Submerged Rectangular Surfaces)
dR = p ⋅ dA = b ⋅ p ⋅ dy = b ⋅ dA′
R = b ⋅ ∫ dA′ = b ⋅ A′
1
R = pav ⋅ A =
(p1 + p 2 )A = ρghA = ρgy cos θA (4.132)
2

แนวของแรงลัพธ R หาไดจากหลักของโมเมนต Y = ∫
y ⋅ dA′
(4.133)
∫ dA′
116

รูปที่ 4.96 การวิเคราะหความดันของเหลวบนพื้นผิวสี่เหลี่ยมมุมฉาก


ความดั น ของเหลวบนพื้ นผิ ว เรี ย บรู ป ร า งใดๆ (Hydrostatics Pressure on Flat
Surfaces of Any Shape)
R = ∫ dR = ∫ ρ ⋅ dA = ∫ ρghx ⋅ dy (4.134)

Y=
∫ y ⋅ dV (4.135)
V

รูปที่ 4.97 การวิเคราะหความดันของเหลวบนผิวเรียบรูปรางใด ๆ

แรงลอยตัว (Bouyancy Force) คือแรงลัพธที่กระทําบนพื้นผิวของวัตถุที่จมในของไหล


จะเทากับและมีทิศตรงขามกับน้ําหนักของของไหลที่ถูกแทนที่และผานจุดศูนยกลางมวลของของ
ไหลที่ถูกแทนที่นั้น
เสถียรภาพของวัตถุลอย (Stability) พิจารณาภาคตัดขวางของโครงเรือในตําแหนงตั้ง
ตรง จุด B คือจุดศูนยกลางของแรงลอยตัวเปนจุดศูนยกลางของปริมาตรที่ถูกแทนที่ ถาเรือเอียง
เปนมุม α รูปรางของปริมาตรที่ถูกแทนที่จะเปลี่ยนไปและจุดศูนยกลางของแรงลอยตัวก็เลื่อนไป
ที่ B’ จุ ด ตั ด ระห ว า งเส น ดิ่ งที่ ผ าน B’กั บ เส น ศู น ย ก ล างเรื อ เรี ย ก ว าจุ ด เม ต าเซ น
117

เตอร(Metacenter,M) และระยะh ของ M ที่อยูเหนือจุดศูนยกลางมวลGเรียกวาความสูงเมตา


เซนตริก(Metacentric Height) ขนาดของโมเมนตสําหรับมุมเอียงใดๆที่พยายามทําใหเรือกลับ
มาอยูในตําแหนงเดิม จะเปนตัววัดเสถียรภาพของการลอยตัวของเรือ ถาMอยูต่ํากวาG โมเมนต
ที่เกิดจากการเอียงจะทําใหเรือเอียงเพิ่มอีกซึ่งทําใหไมมีเสถียรภาพ

รูปที่ 4.98 แสดงเสถียรภาพการลอยตัวแบบตาง ๆ

เครื่องมือวัดความดัน
- Bourdon Gage เปนเครื่องมือวัดความดันแบบเกจ ในเครื่องมือมีทอโคง ซึ่งมีพื้นที่
หนาตัดเปนวงรี ตรึงเอาไว สวนปลายอิสระตอกับกาน และติดเข็มชี้เลขบนหนาปทม ซึ่ง
แสดงคาความดัน

รูปที่ 4.99 เครื่องมือวัดความดันแบบเบอรดัน


- Aneroid Barometer เป น เครื่ อ งมื อ วั ด ความดั น สมบู ร ณ ประกอบไปด ว ยทรง
กระบอกสั้น ซึ่งมีปลายบนเปนแผนที่ยืดหยุนได

รูปที่ 4.100 บารอมิเตอรอยางงาย


118

- Piezometer เปนเครื่องมืออยางงายที่ใชวัดความดันสัมพัทธกับอากาศ โดยเปนทอ


มีรูเจาะที่ขนาดพอดี ตั้งฉากกับทอ

รูปที่ 4.101 Piezometer


- Manometer เครื่องมื อที่ใชวัดความดั นเรียกวา มาโนมิ เตอร Manometer ใชหลั ก
การของความดันแตกตางเพื่อทําใหความสูงของของเหลวในทอเปลี่ยนไป

รูปที่ 4.102 มาโนมิเตอรอยางงาย


ความเสียดทาน
ความเสียดทานในทางกลศาสตรสามารถแบงไดเปน
1. ความเสียดทานแหง (Dry friction) หรือความเสียดทานคูลอมบ (Coulomb friction)
เปนความเสียดทานระหวางผิวสัมผัสที่ไมมีการหลอลื่น แรงเสียดทานจะอยูในแนว
เสนสัมผัสกับผิวที่สัมผัสกันและจะเกิดขึ้นในระหวางที่มีความพยายามในการเคลื่อน
ที่สัมพัทธระหวางผิวสัมผัสทั้งสอง และภายหลังเมื่อมีการเคลื่อนที่เกิดขึ้นแลว และ
แรงเสียดทานจะกระทําในทิศทางตรงขามกับการเคลื่อนที่หรือความพยายามเคลื่อน
ที่เสมอ
1.1. ความเสี ย ดทานสถิ ต (Static friction) จะเกิ ด ขึ้ น กั บ วั ต ถุ ใ นขณะที่ ยั ง ไม มี
การเคลื่อนที่โดยจะมีขนาดเทากับแรงที่ใหไปจึงทําใหวัตถุอยูในสมดุลไดและ
ความเสียดทานสถิตสูงสุดจะเกิดขึ้นกอนที่วัตถุจะเริ่มเคลื่อนที่ซึ่งจะเปนสัดสวน
โดยตรงกับคา N
Fs = P (4.136)
Fs = µs N µs เปนสัมประสิทธิ์ของความเสียดทานสถิต (4.137)
119

1.2. ความเสียดทานจลน (Kinetic friction) จะเกิดขึ้นกับวัตถุในขณะที่มีการเคลื่อน


ที่
Fk = µ k N µ k เปนสัมประสิทธิ์ของความเสียดทานจลน (4.138)
ทิ ศ ทางของแรงลั พ ธ R ที่ พื้ น รองรับ กระทํ าต อวั ต ถุ เมื่ อ วัด จากแนวแรงN หาได จาก
F
tan α =
N
ดังนั้ นเมื่ อค าแรงเสี ยดทานสถิต ถึงคากําหนด มุม α จะเปนคามุมมากที่ สุด φs ดังนั้ น
tan φs = µs และเมื่อวัตถุเคลื่อนที่ มุม α จะเปนคามุม φk ดังนั้น tan φk = µ k

รูปที่ 4.103 แสดงแรงเสียดทานสถิตและแรงเสียดทานจลน

2. ความเสียดทานของไหล (Fluid friction) เกิดขึ้นระหวางชั้นของของไหลที่อยูติดกัน


และกําลังเคลื่อนที่ดวยความเร็วตางกันดังนั้นแรงเสียดทานของของไหลจะขึ้นอยูกับ
ความเร็วสัมพัทธระหวางชั้นของของไหล และความหนืดของของไหล
dv
τ=µ (4.139)
dy
3. ความเสียดทานกลิ้ง (Rolling friction) เกิดจากความตานทานตอการกลิ้งของวัตถุที่
มีลักษณะกลม
4. ความเสี ย ดทานภายใน (Internal friction) พบในเนื้ อ ของของแข็ ง ที่ ไ ด รั บ ภาระ
แบบวงจจร (cyclical loading)
ก.3) พลศาสตร (Dynamics)
การเคลื่อนที่ของอนุภาคนั้นอาจจําแนกได 2 กรณี คือ การเคลื่อนที่วิถีตรง (Rectilinear
motion) หมายถึงการเคลื่อนที่ของอนุภาคซึ่งมีวิถี (path) เปนเสนตรง สวนการเคลื่อนที่วิถีโคง
(Curvilinear motion) หมายถึงการเคลื่อนที่ของอนุภาคซึ่งมีวิถีเปนเสนโคง
การวิเคราะหการเคลื่อนที่ของอนุภาค หรือวัตถุเกร็ง เพื่อที่จะหาความสัมพันธระหวาง
ตัวแปรตาง ๆ อาจกระทําได 2 วิธี คือ
1. การวิเคราะหแบบสัมบูรณ (Absolute Motion Analysis) หมายถึง การบอกคาของ
ตัวแปรตาง ๆ โดยการวัดจากระบบแกนอางอิงที่อยูนิ่ง
2. การวิเคราะหแบบสัมพัทธ (Relative Motion Analysis) หมายถึง การบอกคาของ
ตัวแปรตาง ๆ โดยการวัดจากระบบแกนอางอิงที่มีการเคลื่อนที่
120

การเคลื่อนที่วิถีตรงของอนุภาค
ตําแหนงของอนุภาคซึ่งเคลื่อนที่เปนวิถีตรงนั้น จะเริ่มกําหนดดวยการตั้งแกนในทิศทางที่มี
การเคลื่อนที่พรอมทั้งทิศทางที่เปนบวกไวดวย
ความเร็วเฉลี่ย (Average velocity) คือการเปลี่ยนแปลงของระยะทางตอหนวยเวลา
∆s
v av = (4.140)
∆t
ความเร็วขณะใดขณะหนึ่ง (Instantaneous velocity) คือความเร็วที่ตําแหนงใดตําแหนงหนึ่ง
∆s ds
v = lim = (4.141)
∆t → 0 ∆t dt
อัตราเร็ว (Speed) คือขนาดของความเร็ว ไมมีทิศทางเขามาเกี่ยวของ
ความเรงเฉลี่ย (Average acceleration) คือการเปลี่ยนแปลงของความเร็วตอหนวยเวลา
∆v
a av = (4.142)
∆t

ความเรงขณะใดขณะหนึ่ง (Instantaneous acceleration) คือความเรงที่ตําแหนงใดตําแหนง


∆v dv d 2s
หนึ่ง a = lim
∆t →0 ∆t
= =
dt dt 2
dv ds
v =a v ⋅ dv = a ⋅ ds (4.143)
dt dt
ความหนวง คือ การที่อนุภาคมีความเร็วลดลงเรื่อยๆ ในทิศทางของการเคลื่อนที่ นั่นคือ a มี
เครื่องหมายเปนลบ
การเคลื่อนที่ของอนุภาคแบบตางๆ ไดแก
1. ความเร็วคงที่ ความเรงเปนศูนย v = ds
dt
s t

∫ ds = v∫ dt
s0 0
s = s 0 + vt (4.144)
dv
2. ความเรงคงที่ a=
dt
v t

∫ dv = a ∫ dt v = v0 + at (4.145)
v0 0

ds
v=
dt
s t
1
∫ ds = ∫ (v0 + at)dt s = s 0 + v0 t + at 2 (4.146)
s0 0
2
3. ความเรงเปนฟงกชันของเวลา a = f (t)

∫ dv = ∫ f (t)dt
∫ ds = ∫ vdt (4.147)
4. ความเรงเปนฟงกชันของระยะทาง a = f (s)
121

∫ vdv = ∫ f (s)ds (4.148)


5. ความเรงเปนฟงกชันของความเร็ว a = f (v)
vdv
∫ a = ∫ ds (4.149)
การเคลื่อนที่เชิงมุมของเสน (Angular Motion of a line)
การขจัดเชิงมุม (angular displacement) จะใชในการบอกตําแหนงของเสนตรงเทานั้น
อนุภาคจะไมมีการขจัดเชิงมุมเปนเด็ดขาด เมื่อมีการขจัดเชิงมุม( θ ) เกิดขึ้น จะมีปริมาณเวค
เตอรอีก 2 ตัว ไดแก ความเร็วเชิงมุม ( ω ) และความเรงเชิงมุม ( α )
dθ dω
ω= α= ω⋅ dω = α ⋅ dθ (4.150)
dt dt
การเคลื่อนที่วิถีโคงของอนุภาคในระนาบ
สําหรับโคออรดิเนทที่ใชนั้น สวนใหญมี 3 ระบบ ดวยกัน คือ ระบบแกน x-y ระบบแกน
n-t และระบบแกน r- θ ซึ่งแตละระบบก็มีความเหมาะสมในตัวมันเอง ในการวิเคราะหถึงการ
ขจัด ความเร็วและความเรงนั้น ใชหลักการเดิม เนื่องจากวาการเคลื่อนที่ของอนุภาคเคลื่อนที่
เปนวิถีโคง ดังนั้น ปริมาณตาง ๆ เชน การขจัด ความเร็ว และความเรง จะถูกเขียนเปนเวคเตอร
ยอย 2 เทอม ในระบบแกน x-y, n-t หรือ r- θ
dr = drr + drθ (4.151)
dr dθ
v = vr + vθ vr = vθ = r (4.152)
dt dt
d 2 r ⎛ dθ ⎞ d 2θ dr dθ
2

a = ar + aθ ar = 2 − r ⎜ ⎟ aθ = r +2 (4.153)
⎝ dt ⎠
2
dt dt dt dt

การวิเคราะหการเคลื่อนที่แบบสัมพัทธในระนาบ
นอกจากจะมีการพิจารณาการเคลื่อนที่ของอนุภาคเทียบกับระบบแกนที่หยุดนิ่งแลว ยัง
มีการพิจารณาการเคลื่อนที่ของอนุภาคเทียบกับระบบแกนที่มีการเคลื่อนที่ ซึ่งจะทําใหวิถีทาง
ของอนุภาคนั้นจะมีลักษณะงายๆ แตระยะทาง ความเร็ว ความเรง นั้นจะไมใชคาสมบูรณ
vA = vB + vA / B (4.154)
aA = aB + aA/B (4.155)
จลนศาสตรของอนุภาค
“อนุภาคที่ถูกกระทําดวยระบบแรงที่ไมสมดุล จะเกิดความเรงขึ้น โดยความเรงมีขนาด
แปรฟนตามขนาดของแรงลัพธและมีทิศทางเดียวกับทิศทางของแรงลัพธ” เรียกวา สมการการ
เคลื่อนที่
∑ F = ma (4.156)
122

หลักการงานและพลังงานไดจากการอินทิเกรทสมการการเคลื่อนที่เทียบกับเสนทาง
2 2
การเคลื่อนที่หรือการขจัด ∫ F ⋅ dr = ∫ ma ⋅ dr
1 1
(4.157)
2
1
U = ∫ mv ⋅ dv (4.158)
1
2
เรียกวา สมการงานและพลังงานสําหรับอนุภาค
U=T (4.159)
กฎการอนุรักษ ข องพลังงานกล (Conservation of Mechanical Energy) กลาววา
ถาวัตถุถูกกระทําแรงอนุรักษเทานั้น (แรงโนมถวงและแรงสปริง) พลังงานกลของวัตถุจะมีคาคง
ที่เสมอ
พลังงานกลของวัตถุหมายถึง ผลรวมของพลังงานจลน พลังงานศักยโนมถวง พลัง
งานศักยยืดหยุนของวัตถุนั้น
อิมพัลสและโมเมนตัมเชิงเสน
แรงลัพธที่กระทําตออนุภาคจะมีคาเทากับอัตราการเปลี่ยนแปลงโมเมนตัมเชิงเสน
G ของอนุภาคนั้น
dv
F = ma = m
dt
d(mv) dG
F= = (4.160)
dt dt
อิมพัลสและโมเมนตัมเชิงมุม
จากสมการของโมเมนตัมเชิงเสน
d(mv)
r×F = r×
dt
d(mv) d(r × mv) dH 0
r×F = r× + v × mv r×F = = (4.161)
dt dt dt

หลักการอนุรักษของโมเมนตัม
ถ า แรงลั พ ธ ที่ ก ระทํ า ต อ วั ต ถุ เป น ศู น ย ทํ า ให อิ ม พั ล ส เป น ศู น ย ด ว ย และจะได ว า
G = mv และ H 0 = r × mv คงที่

ไดนามิคของไหล
การแบงชนิดของการไหลสามารถแบงออกไดหลายประเภท
• การไหลสม่ําเสมอ และไมสม่ําเสมอ
• การไหลแบบราบเรียบ และ การไหลแบบปนปวน
• การไหลทิศทางเดียว และหลายทิศทาง
123

รูปที่ 4.104 การไหลแบบราบ

รูปที่ 4.105 การไหลแบบปน


สมการของการไหลสม่ําเสมอ กฎของการไหลสม่ําเสมอ กลาววา มวลสารที่ไหล
ผานสวนภาคตัดใด ๆ ในกระแสการไหลของของไหลตองมีคาเทาเดิมเสมอ ดังเขียนเปนสมการ
ของ การไหลไดวา
ρ1 A1 v1 = ρ2 A2 v2 (4.162)
เมื่อ ρ1 = ความหนาแนงของของเหลวจุดที่ 1
A1 = หนาตัดของของเหลว จุดที่ 1
v1 = ความเร็วในการไหล จุดที่ 1

รูปที่ 4.106 การคํานวณสมการของการไหล

กฎของพลังงานสําหรับการไหลแบบสม่ําเสมอ กฎของพลังงานนี้จะใชไดในกรณีที่
- จุดที่พิจารณาตองอยูในของไหลชนิดเดียวกัน
- ใชไดดีสําหรับของเหลว
- ใชไดกับแกสที่มีความหนาแนนไมเปลี่ยนแปลงมากนัก
p1/γ1 + v12/2g + Z1 = p2/γ2 + v22/2g + Z2 (4.163)
เมื่อ p = ความดัน
γ = น้ําหนักจําเพาะของของไหล
v = ความเร็วในการไหล
g = อัตราเรงเนื่องจากแรงดึงดูดของโลก
124

Z = ความสูงของจุดที่พิจารณา
สมการดังกลาวเรียกวา Bernoulli’s Equation

รูปที่ 4.107 ตัวอยางการใช Bernoulli’s Equation

การไหลของของไหลในทอ
• Reynold Number, NR เป น ตั ว เลขที่ ไ ม มี ห น ว ย หาได จ ากอั ต ราส ว น
ระหวางแรงเนื่องจากความเฉื่อยและแรงเนื่องจากความหนืดของของไหล
ค า Reynold Number นี้ เป น ค าที่ บ งบอกถึงลักษณะการไหล วาเป น การ
ไหลใน รูปแบบใด โดยที่
NR นอยกวา 2000 การไหลจะเปนการไหลแบบราบเรียบ
NR มากกวา 2000 มาก ๆ การไหลจะเปนการไหลแบบปนปวน
คา NR สําหรับทอกลมจะมีคาเทากับ
NR = D v / ν (4.164)
เมื่อ NR = Reynold Number
D = เสนผานศูนยกลางของทอ
v = ความเร็วในการไหล
ν = ความหนืดจลนของของไหล
• การหาคาการสูญเสียหลัก ในทอกลม สามารถหาคาการสูญเสียหลักไดจาก
สมการ
hL = f [L/D] [V2/2g] (4.165)
เมื่อ hL = การสูญเสียหลัก
f = แฟคเตอรความเสียดทาน
L = ความยาวของทอ
D = เสนผานศูนยกลางของทอ
v = ความเร็วในการไหล
g = อัตราเรงเนื่องจากแรงดึงดูดของโลก
• การหาคาการสูญเสียรอง การสูญเสียรองเกิดขึ้นเนื่องจากการโคงงอ การ
เพิ่มหรือการลดขนาดของทอ สามารถหาการสูญเสียรองไดจากสมการ
125

hL = k1 v2 / 2g (4.166)
เมื่อ hL = การสูญเสียรอง
v = ความเร็วในการไหล
g = อัตราเรงเนื่องจากแรงดึงดูดของโลก
k1 = สัมประสิทธิ์การสูญเสีย

รูปที่ 4.108 การสูญเสียรองเนื่องจากการลดขนาดทอทันที

รูปที่ 4.109 การสูญเสียรองเนื่องจากการเพิ่มขนาดทอทันที


การไหลของของไหลในช อ งทางเป ด การไหลของของไหลในช อ งเป ด สามารถหา
Reynold Number ไดจากสมการ
NR = 4Rv / ν (4.167)
เมื่อ R = พื้นที่หนาตัด/เสนรอบรูป
126

รูปที่ 4.110 ความสัมพันธระหวาง Reynolds Number และ Friction

• พลังงานในการไหล Specific Energy, E สําหรับการไหลตามแบบ พลังงาน


การไหลจะมีคาคงที่ตลอดความยาวของชองทางเปด และในกรณีที่คํานึงถึง
ปริมาณการไหลตอหนึ่งหนวยความยาวของชองทางเปดจะสามารถคํานวณ
หาพลังงานในการไหลไดดังสมการ
E = y + (1/2g) (q/y)2 (4.168)
เมื่อ q = อัตราการไหลตอหนึ่งหนวยความกวางของชองทางเปด = yv
• ความลึ ก วิ ก ฤติ Critical Depth, yc ความลึก วิก ฤติ หมายถึ ง ความลึก ใน
ชองทางเปด สําหรับปริมาณการไหลใด ๆ ที่ทําใหเกิดพลังงานในการไหลมี
คานอยที่สุด
yc = {q2 / g}1/3 (4.169)
• การไหลวิกฤติ Critical Flow การไหลจะแบงออกได เป น 3 แบบ ตามคา
Froude Number, Nf และความลึกวิกฤติ ซึ่งคา Froude Number สามารถ
หาไดจากสมการ
v (4.170)
Nf =
gA
b
เมื่อ Nf = Froude Number
g = อัตราเรงเนื่องจากแรงดึงดูดของโลก
A = หนาตัดของชองทางเปด
b = ความกวางดานบนของชองทางเปด
127

รูปที่ 4.111 การไหลวิกฤติ


ข. วัสดุทางวิศวกรรม
วัสดุที่ใชในงานวิศวกรรมมีมากมายหลายประเภท แตละประเภทถูกใชงานในลักษณะที่
แตกตางกันออกไป การใชวัสดุชนิดใดขึ้นอยูกับวาคุณสมบัติใดที่ตองการซึ่งตองเลือกใชใหถูก
ตองเหมาะสม เพื่อใหไดประโยชน ความทนทาน ความสวยงาม และความปลอดภัยสูงสุด วัสดุ
ถูกแบงออกเปนกลุมได 2 กลุม ไดแก โลหะและอโลหะ กลุมโลหะจะมีลักษณะผิวมันวาว มีคา
การนําความรอนและนําไฟฟาไดดี มีความเหนียวสูง สวนกลุมอโลหะจะมีลักษณะเปราะ มีความ
แข็งแรงนอยกวาโลหะ มีคานําความรอนและการนําไฟฟาต่ํา

รูปที่ 4.112 การแบงกลุมของวัสดุ

ข.1) คุณสมบัติของวัสดุ
คุณสมบัติเชิงกล
แสดงวาวัสดุนั้นจะสามารถรับ ทนแรงจากพลังงานกลภายนอกไดมากนอยเพียงใด
ความเคน(Stress) คือแรงตานภายในวัสดุที่มีตอแรงภายนอกที่มากระทําตอหนึ่งหนวย
พื้นที่ โดยสามารถประมาณไดจากแรงภายนอกตอหนึ่งหนวยพื้นที่ สามารถแบงได 3 ประเภท
ตามลักษณะแรงที่มากระทํา ไดแก ความเคนดึง ความเคนอัด และความเคนเฉือน
ความเครียดและการเปลี่ยนรูป (Strain and Deformation) แบงได 2 ชนิด คือ
128

1. ความเครียดคืนรูป หรือการเปลี่ยนรูปแบบอีลาสติก เมื่อนําแรงออก วัสดุจะเปลี่ยน


รูปกลับในสภาพเดิม
2. ความเครียดคงรูป หรือการเปลี่ยนรูปพลาสติก เมื่อนําแรงกรทําออก วัสดุจะคงรูป
ร างตามที่ เปลี่ ย นรู ป โดยวั ส ดุ ทุ ก ชนิ ด จะมี ก ารเปลี่ ย นรู ป ทั้ ง 2 แบบขึ้ น กั บ แรงที่
กระทําวาเกินพิกัดการคืนรูปหรือไม
3. ความเครี ย ดกึ่ งอี ล าสติ ก เมื่ อ เอาแรงออกจะคื น รู ป แต จ ะไม ก ลั บ ในสภาพเดิ ม ที่
สมบูรณ พบไดไนวัสดุจําพวกโพลิเมอร
ความสั มพั น ธระหวางความเค นกั บ ความเครียด (Stress-Strain Relation) ซึ่ งได จาก
การทดสอบ สามารถแสดงความสามารถในการรับแรง ความเหนียว ความเปราะ
- พิ กั ด สั ด ส ว น (Proportional Limit) เป น ขี ด จํ ากั ด ของการแปรผั น โดยตรงระหว าง
ความเคนและความเครียด
- พิกัดยืดหยุน (Elastic Limit) เปนขีดจํากัดในการคืนรูปแบบอีลาสติกโดยสมบูรณ
- จุดคราก (Yield Point) เปนจุดเริ่มการเปลี่ยนรูปแบบพลาสติก
- จุดความเคนสูงสุด (Ultimate Strength) เปนคาความเคนสูงสุดที่วัสดุจะสามารถรับ
ได
- จุดความเคนประลัย (Rupture Strength) เปนจุดที่วัสดุเกิดการแตก ขาด
- โมดูลัส (Modulus) เปนคาที่บอกความสามารถในการคงรูป
ความคื บ (Creep) คื อ การเปลี่ ย นรูป แบบถาวรหรือ การเปลี่ ย นรูป พลาสติ ก จากการ
กระทําของแรงที่กระทําทิ้งไวเปนระยะเวลาหนึ่ง แมวาจะต่ํากวาพิกัดยืดหยุนก็ตาม
ความแกรง (Toughness) คือความสามารถที่วัสดุจะสามารถดูดซึมพลังงานไวโดยไม
แตกหัก โดยจะแสดงไดในรูปของโมดูลัสความแกรง (Modulus of Toughness) ซึ่งหาไดจากพื้น
ที่ใตกราฟความสัมพันธระหวางความเคนและความเครียด
ความลา (Fatigue) เมื่อวัสดุถูกแรงกระทํากลับไปกลับมาซ้ําๆกัน ก็อาจจะแตกหักได
แมวาแรงดังกลาวจะมีคาต่ําวาคาประลัยก็ตาม โดยถากําหนดจํานวนรอบที่กระทําซ้ําไปมาแลว
คาความเคนที่ทําใหวัสดุแตกหักที่จํานวนรอบนั้นๆ จะเรียกวา Fatigue Strength
ความแข็ง (Hardness) คือความตานทานการเจาะทะลุ การเสียดสี มีวิธีการวัดความ
แข็งได 4 วิธี คือ
- Brinell Hardness Test
- Rockwell hardnessTest
- Vickers Hardness Test
- Shore Hardness Test
คุณสมบัติเชิงอุณหภูมิ
ความทนความรอน คื อความสามารถของวัสดุ ที่ จะคงสภาพ คุณ สมบั ติ เดิ ม ไวเมื่ อ มี
การเปลี่ยนอุณหภูมิ
129

อัต ราการไหลของความรอน (Coefficient of Thermal Conductivity) จะเปลี่ยนแปลง


ตามชนิดของวัสดุ และอุณหภูมิ
ความสามารถในการแผรังสีความรอน (Emissivity) จะขึ้นอยูกับ ลัก ษณะผิ วของวัสดุ
และอุณหภูมิ มีคาเทากับอัตราสวนการแผพลังงานความรอนของวัสดุตอวัตถุดํา
ความเค น และการเปลี่ ย นรู ป จากอุ ณ หภู มิ (Thermal Stress and Expansion) เมื่ อ
อุณหภูมิเปลี่ยน วัสดุจะเกิดการหดตัว ขยายตัว ซึ่งอาจกอใหเกิดความเคนขึ้นในวัสดุไดหากการ
เปลี่ยนรูปของวัสดุนั้นไมสามารถเกิดขึ้นไดอยางอิสระ โดยความสามารถของวัสดุในการขยาย
ตั ว เนื่ อ งจากอุ ณ หภู มิ จ ะสามารถทราบได จ ากค า สั ม ประสิ ท ธิ์ ก ารเปลี่ ย นรู ป จากอุ ณ หภู มิ
(Thermal Expansion Coefficient)
จุดหลอมตัวของของแข็งจะเปนอุณหภูมิสูงสุดที่วัสดุสามารถรักษาสภาพการเปนของ
แข็งไวได แตกอนที่วัสดุจะหลอมเหลว วัสดุจะสูญเสียความแข็งแรงไปอยางมาก ดังนั้นในสภาพ
การใชงานจริงจึงกําหนดอุณหภูมิที่ใชงานไมเกิน 70% ของจุดหลอมเหลว

รูปที่ 4.113 จุดหลอมตัวของโลหะตางๆ


คุณสมบัติเชิงเคมี
การกัดกรอน คือปฏิกิริยาทางเคมีที่เกิดกับวัสดุ เนื่องจากสิ่งแวดลอม มีผลทําใหเสียเนื้อ
วัสดุ เกิดความเสียหาย คุณสมบัติเปลี่ยนไป การกัดกรอนสามารถแบงไดเปน 2 ลักษณะ
1. ทางเคมี จะเกิดไดงายเมื่อมีการสัมผัสกันโดยตรงระหวางวัสดุกับของเหลวที่ละลาย
ไดบาง จะเกิดขึ้นในโพลิเมอรเปนสวนมาก
130

2. ทางไฟฟ าเคมี พบมากโดยเฉพาะจําพวกโลหะ กระแสไฟฟ าจะไหลและนํ าวัสดุ


ออกจาก Anodic Zone และที่ Cathodic Zone จะไมมีการกัดกรอน
ออกซิเดชั่น (Oxidation) คือการรวมตัวกับออกซิเจนในอากาศของวัสดุตางๆ ในโลหะ
เมื่ อ เกิ ด ออกซิ เดชั่ น จะเกิ ด สนิ ม (Oxide Film)มาป องกั น อั ต ราการเกิ ด ออกซิ เดชั่ น จะขึ้ น กั บ
ความสามารถในการปองกัน Oxide Film การเกิดออกซิเดชั่นของยาง เรียกวา Aging ซึ่งจะทํา
ใหความยืดหยุนลดลง ความแข็งเพิ่มขึ้น
การดูดซึมน้ํา (Water Absorbtion) เปนสมบัติที่เกี่ยวของโดยตรงกับพวกโพลิเมอร ทํา
ใหปริมาตรและมวลเพิ่มขึ้น โกง บวม สูญเสียสมบัติทางกลและไฟฟา
โครงสรางผลึก ผลึกเปนการจับยึดของอะตอมของธาตุ โดยอะตอมมีการจัดเรียงตัวกัน
อยางเปนระเบียบ ตําแหนงการเรียงตัวของอะตอมมีกฎเกณฑแนนอน สามารถใชแบบจําลอง
ทางคณิตศาสตรในการบอกลักษณะของผลึกได

รูปที่ 4.114 แบบจําลองโครงสรางของผลึก


คุณสมบัติทางไฟฟา
การนําไฟฟา หรือความสามารถในการสงผานกระแสไฟฟาการนําไฟฟาของวัสดุ
เกิดจากการไหลตัวของตัวพาประจุที่มีอยูในเนื้อวัสดุนั้น ๆ วัสดุของแข็งสามารถแบงออกเปน 3
กลุม ตามคุณสมบัติการนําไฟฟาดังนี้ กลุมวัสดุที่เปนตัวนําไฟฟาไดดี กลุมที่เปนวัสดุกึ่งตัวนํา
และ กลุมที่เปนฉนวนไฟฟา
สมบัติทางแมเหล็ก สมบัติทางแมเหล็กของวัสดุขึ้นอยูกับโครงสรางของอะตอมและ
ลักษณะการจับตัวของอะตอมของธาตุที่ประกอบกันขึ้นเปนวัสดุ ระดับความมากนอยของการ
ตอบสนองต อ สนามแม เ หล็ ก วั ด ได ด ว ยค า Magnetic Permeability อั ต ราส ว นระหว า ง
131

Permeability ของแม เห ล็ ก ของวั ส ดุ ชนิ ดห นึ่ ง ๆ ต อค า สู ญ ญ าก าศ เรี ย ก ว า Relative


permeability (µr)

4.115 คาการนําไฟฟาของโลหะตางๆ

คุณสมบัติอื่นๆ
ไดแก คุณสมบัติการเปนแมเหล็ก ความทึบแสง สีของวัสดุ เปนตน
ข.2) โลหะผสม
ในงานวิศวกรรมเราจะไมใชโลหะบริสุทธิ์ ยกเวนถาเราตองการคุณสมบัติพิเศษที่โลหะ
บริสุทธิ์นั้นมีอยูโดยเฉพาะ เชน สภาพการนําไฟฟาที่ดี ความเหนียว หรือความตานทานตอ
การกั ด กร อ นที่ สู ง ของโลหะบริ สุ ท ธิ์ ส ว นคุ ณ สมบั ติ เชิ ง กล เช น ความต า นทานแรงดึ ง
ความตานทานตอการยืดตัวหรือจุดคราก ความแข็ง สามารถที่จะปรับปรุงใหดีขึ้นไดโดยการ
ผสมโลหะอื่นๆลงไป การศึกษาคุณสมบัติทั้งฟสิกสและเชิงกลของโลหะผสมจะตองอาศัยแผนภูมิ
สมดุ ล (Phase Equilibrium Diagram) เป น เครื่อ งมื อ ช ว ยให ท ราบถึ งลั ก ษณะของโครงสรา ง
จุลภาคซึ่งจะสัมพันธโดยตรงกับคุณสมบัติทางฟสิกสและเชิงกล
แผนภูมิสมดุลเปนลักษณะของเสนกราฟที่แสดงความสัมพันธรวมระหวางสวนประกอบ
ทางเคมีของโละหผสม อุณหภูมิ และลักษณะโครงสรางจุลภาคที่อยูรวมกันในสภาวะสมดุล
โลหะที่ใชงานอยูประกอบดวยธาตุสองชนิด จะเรียกวา โลหะผสม (Binary Alloy) โลหะ
ที่ผสมอยูเปนจํานวนมากเรียกวาโลหะพื้นฐานหรือโลหะหลัก (Base Metal) สวนธาตุอื่นที่ผสม
ลงไปจะเปนโลหะหรืออโลหะก็ตามจะเรียกวาธาตุผสม (Alloying elements)
ธาตุ ผ สมเมื่ อถู ก ผสมลงในโลหะหลังจะเป น จํ านวนมากหรือ น อยก็ ต าม จะทํ าให คุ ณ
สมบัติของโลหะพื้นฐานเปลี่ยนแปลงอยางเปนไดชัด
132

โลหะผสมบางอยางที่ ไดจากโลหะสองชนิดผสมกัน จะไดโลหะผสมเป นเนื้อเดียวกัน


ตลอด ลักษณะเชนนี้แสดงวาโลหะทั้งสองสามารถที่จะละลายแทรกเขาดวยกันไดสนิดในลักษณะ
สารละลายของแข็ง (Solid Solution) ซึ่งแบงออกเปน
1. สารละลายของแข็งประเภทแทนที่ (Substitutional Solid Solution) คือลักษณะของ
อะตอมของโลหะทั้งสองที่อยูรวมกันโดยแทนที่ซึ่งกันและกัน และไมกอใหเกิดลักษณะยุงยากใน
การแทนที่กันในระบบผลึก
2. สารละลายของแข็งประเภทแทรกที่ (Interstitial Solid Solution) เปนสารละลายที่เกิด
จากอะตอมของโลหะหนึ่ งแทรกอยู ต ามที่ วางระหวางชองวางใน lattice ในกรณี เช น นี้ ข นาด
อะตอมที่มาแทรกอยูมักจะมีขนาดเล็กและมักจะกอใหเกิดการบิดเบี้ยวของระบบผลึกไดงาย เมื่อ
ปริมาณของโลหะผสมเพิ่มจํานวนมาก
คุณ สมบัติของโลหะผสมจํานวนมากขึ้นอยูกับ คุณ สมบัติของเฟสและลักษณะซึ่งเฟส
เหล า นั้ น อยู ร วมกั น เป น กลุ ม คื อ เป น ผลึ ก หลายๆผลึ ก อยู ร วมกั น ความสํ า คั ญ อยู ที่ วิ ธี ห า
ความสัมพันธระหวางเฟสที่เกิดขึ้น ในระบบหนึ่งๆ ตองทราบวาเฟสใดเปนเฟสที่อยูในสภาพสม
ดุลที่อุณหภูมิตางๆกัน ภายใตสภาวะสมดุลที่เปนจริงนั้นยากมากและตองใชเวลามากในการ
ศึกษาอยางละเอียด แผนภูมิมีหลายประเภทขึ้นอยูกับความสัมพันธของสวนที่เปนองคประกอบ
ในสภาวะหลอมเหลวและของแข็ง เชน
1. ประเภทที่เปนสารละลายโดยสมบูรณ(Complete Soluble) ในสภาวะของเหลว แตจะ
ใหลักษณะที่แตกตางกันในสภาวะของแข็ง มี 3 ประเภทยอย ไดแก ละลายไดสมบูรณในสภาวะ
ของแข็ง ละลายไดบางสวนในสภาวะของแข็ง แยกตัวอิสระในสภาวะของแข็ง
2. ประเภทที่ ล ะลายได บ างส ว นในสภาวะของเหลว แบ งเป น ละลายได บ างส ว นใน
สภาวะของแข็ง แยกตัวอิสระในสภาวะของแข็ง
3. ประเภทแยกตัวอิสระในสภาวะของเหลว มีประเภทเดียวคือ แยกตัวอิสระในสภาวะ
ของแข็งดวย
แผนภูมิสมดุลประเภทแรกเปนประเภทที่พบมากที่สุดในโลหะผสมทางวิศวกรรมเพราะ
โลหะสวนมากจะลาลายเขาดวยกันไดเปนอยางดีในสภาวะหลอมเหลว การสรางแผนภูมิสมดุล
ของโลหะผสมจะตองเริ่มตนดวยการสรางกราฟการเย็นตัว (Cooling curves) ของโลหะผสม
กอน กราฟการเย็นตัวคือกราฟแสดงการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิตั้งแตอุณหภูมิเหนือจุดหลอม
ละลายจนถึงอุณหภูมิปกติสัมพันธกับเวลาของโลหะผสมที่มีความเขมขนตางๆกัน การแข็งตัวจะ
เกิดที่อุณหภูมิไมคงที่ โดยใหจุดเริ่มและสิ้นสุดการแข็งตัวเปลี่ยนไปก็แตเฉพาะในกรณี ที่เปน
โลหะผสมเทานั้น
133

รูปที่ 4.116 แผนภูมิสมดุลของโลหะผสมระหวางพลวงและบิสมัท


โลหะผสมชนิ ด ละลายไดส มบู รณ ในสภาวะหลอมเหลว แต เป น แบบแยกตั วอิ สระใน
สภาวะของแข็ง ตัวอยางเชน โลหะผสมระหวางบิสมัท แคดเมียม เมื่อเราศึกษาจากกราฟการ
เย็นตัวของโลหะผสมที่มีความเขมขนตางๆกัน พบวา ลักษณะกราฟการเย็นตัวจะแสดงดังรูป

รูปที่ 4.117 กราฟการเย็นตัวของโลหะผสมบิสมัทและแคดเมียม

กราฟการเย็นตัวของโลหะผสม Bi 40% Cd 60% ปรากฏวาเหมือนกับกราฟการ


เย็นตัวของโลหะบริสุทธิ์ทุกประการ คือการแข็งตัวเกิดขึ้นที่อุณหภูมิคงที่ โครงสรางเปนแบบยู
134

เทคติกเปนการยืนยันไดวาการแข็งตัวของโลหะทั้งสองเกิดขึ้นพรอมๆกัน ซึ่งเรียกปฏิกิริยาเชนนี้
วา Eutectic reaction คือการใหผลึกเล็กๆสลับกันที่อุณหภูมิคงที่ เมื่อนําเอาคาอุณหภูมิของการ
แข็งตัวของทุกๆ โลหะผสมที่ทําการศึกษามาเขียนเปนแผนภูมิขึ้น จะไดแผนภูมิสมดุลดังแสดง
ในรูป

รูปที่ 4.118 แผนภูมิสมดุลของโลหะผสมระหวางบิสมัทและแคดเมียม


โลหะผสมชนิดละลายไดสมบูรณในสภาพหลอมเหลว และเปนแบบละลายไดบางสวนใน
สภาพของแข็ ง เช น โลหะผสมระหวางเงิน กั บ ทองแดง กราฟการเย็ น ตั ว ของโลหะผสมที่ มี
ความเขมขนตาง ๆ กัน พบวา ลักษณะกราฟการเย็นตัวจะแสดงดังรูป

รูปที่ 4.119 กราฟการเย็นตัวของโลหะผสม A และ B แบบละลายไดสมบูรณ

เมื่อนําเอาคาอุณหภูมิของการแข็งตัวของทุกๆโลหะผสมที่ทําการศึกษามาเขียนเปน
แผนภูมิขึ้น จะไดแผนภูมิสมดุลดังแสดงในรูป
135

รูปที่ 4.120 แผนภูมิสมดุลของโลหะผสม A และ B แบบละลายไดสมบูรณ

ข.3) ไม
ไมเปนอินทรียวัตถุ ประกอบขึ้นจากสารสําคัญ 2 ชนิดไดแก Cellulose ซึ่งเปนสวนของผนัง
ของเสี้ยนไมและ Lignin เปนตัวยึดประสานเสื้ยนไมไวดวยกัน ปจจุบันแมวาจะมีผูประดิษฐวัสดุอื่นขึ้น
มาหลายชนิด เพื่อใชแทนไม แตไมก็ยังอยูในความนิยมเนื่องจากไมเปนวัสดุธรรมชาติ ทําไดงายไม
ตองการเครื่องมือพิเศษมาก และเมื่อปลูกสรางเปนอาคารแลวสามารถรื้อถอนได ถึงจะเสียไปบางก็ไม
เกิน 40% ผิดกับอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก ถารื้อก็คงเหลือแตเศษปรักหักพัง มาตรฐานงานไมกอ
สรางแบงไมออกเปนชั้นตามขนาดและชนิดของตําหนิ คือ ไมกอสรางชั้นที่ 1 ไมกอสรางชั้นที่ 2 ไมกอ
สร า งชั้ น ที่ 3 และไม ด อ ยคุ ณ ภาพ ตามมาตรฐาน วสท. ไม ส ามารถแบ ง ออกได เป น 5 ชนิ ด ตาม
คุณสมบัติของไม ไดแก
- ไมเนื้อแข็งมาก เชน ไมกระพี้ควาย ไมบุนนาค ไมเล็ง
- ไมเนื้อแข็ง เชน ไมเต็ง ไมรัง ไมแดง ไมตะเคียนทอง ไมตะแบก ไมสัก ไมประดู
- ไมเนื้อแข็งปานกลาง เชน ไมยาง ไมกระบาก ไมนนทรี ไมมะมวง ไมกระทอน
- ไมเนื้อออน เชน ไมมะพราว ไมมะยมปา ไมกานเหลือง
- ไมเนื้อออนมาก เชน ไมจําปาปา ไมยมหอม
136

รูปที่ 4.121 หนาตัดของไม


คุณสมบัติของไม
1. คุณสมบัติทางฟสิกส หมายถึงคุณสมบัติเกี่ยวกับน้ําหนักของไม การหดตัว พองตัว ความ
ยากงายในการซึมซาบของของเหลว หรือกาซ รวมถึงการเปนสื่อหรือฉนวนตอความรอนหรือไฟฟา
- ความถวงจําเพาะของไม แสดงความหนัก เบาของไม
ความถวงจําเพาะของไม = น้ําหนักของไมอบแหง/น้ําหนักของน้ําบริสุทธิ์ที่ 4 องศาเซลเซียส
- ความชื้นในไม เปนธรรมดาของไมที่ตองมีความชื้นมากหรือนอยขึ้นอยูกับสิ่งแวดลอม
ปริมาณความชื้นในไม (%)= (น้ําหนักไม-น้ําหนักไมอบแหง)x100/น้ําหนักไมอบแหง
- จุดหมาด คือจุดที่ไมเสียความชื้นในชวงเซลลหมด ยังคงเหลือแตน้ําในผนังเซลล เทา
นั้น การเสียความชื้นต่ํากวาจุดหมาดจะทําใหไมมีการหดตัว เพิ่มความแข็งแรง ทนทาน
ตอราได
2. คุณสมบัติทางกล หมายถึงคุณสมบัติของไมที่มีตอแรงภายนอกที่มากระทํา อาจเปนแรงกด
แรงดึง แรงดัด หรือแรงเฉือน ความสามารถในการตานทานแรงเหลานั้นไดมากนอยเทาใด เรียกวา
ความเข็งแรง (Strength) ความยากงายในการเสียรูป เรียกวา ความดื้อ (Stiffness)
- ความเหนียว หมายถึงการทําใหไมแตกแยกออกจากกัน โดยวัดพลังงานหรืองานที่ตองใช
- ความแข็ง เปนความสามารถในการตานทานการขีดขวน ปกติมีความสัมพันธกับความ
แข็งแรงในการกด
ประเภทไม ห น ว ย แ ร ง E หน ว ยแรงอั ด ขนาน หน ว ยแรงอั ด ตั้ ง ฉาก ห น ว ย แ ร ง
ดัด ksc. ksc. เสี้ยน เสี้ยน เฉือน
ksc. ksc. ksc.
ไมเนื้อออนมาก 60 78900 45 12 6
ไมเนื้อออน 80 94100 60 16 8
ไ ม เ นื้ อ ป า น 100 112300 75 22 10
กลาง
ไมเนื้อแข็ง 120 136300 90 30 12
ไมเนื้อแข็งมาก 150 189000 110 40 15
137

ข.4) คอนกรีต
คอนกรีตเปนวัสดุเปรียบเสมือนหินที่มนุษยประดิษฐขึ้นมาใชงานเปนโครงสราง ไดจากการ
ผสมซีเมนตซึ่งเปนตัวประสาน กับทราย หินหรือกรวด ซึ่งเปนวัสดุผสม และน้ําซึ่งเปนตัวทําปฏิกิริยา
กับซีเมนต ทําใหซีเมนตมีคุณสมบัติเปนตัวประสานแทรกตามเม็ดทรายและกอนหิน รวมตัวกันเปน
กอนคอนกรีตในแบบหลอ และจะแข็งตัวเมื่ออายุประมาณ 24 ชั่วโมง ทนแรงอัดได ดีขึ้นเรื่อยๆ ตาม
อายุ
เนื้ อ คอนกรีตอาจจะแยกออกเป น สองสวนใหญ ๆ คื อ วัสดุ ผ สม (aggregates) และซี เมนต
เพสท (paste) โดยทั่วไปวัสดุผสมยังแบงออกเปนสองจําพวกคือ วัสดุผสมละเอียด และวัสดุ ผสม
หยาบ
คุณภาพของซีเมนตเพสทขึ้นอยูกับอัตราสวนของน้ําตอซีเมนต (water-cement ratio) ที่ใชใน
สวนผสม ซึ่งทําใหเกิดปฏิกิริยาทางเคมี เรียกวา ปฏิกิริยาไฮเดรชั่น (hydration reaction) ปฏิกิริยาเคมี
ดังกลาวจะเกิดขึ้นอยางรวเร็วในตอนแรก และชาลงตามลําดับในตอนหลังๆ ภายใตสภาวะที่เหมาะสม
ปูนซีเมนต (Cement)
เปนผลผลิตจากการบดปูนเม็ด ซึ่งเปนผลึกที่เกิดจากการเผาสวนผสมตางๆ จนรวมตัวผสม
กันสุกพอดี มีสวนประกอบทางเคมีที่สําคัญคือ แคลเซียมและอลูมิเนียมซิลิเกต ปูนซีเมนตที่กลาวนี้จะ
หมายถึงปูนซีเมนตปอรตแลนด (Portland Cement)
เมื่อเผาวัตถุดิบของปูนซีเมนตซึ่งไดแก สารออกไซดของธาตุแคลเซียม ซิลิกอน อลูมิเนียม
และเหล็ก อารเหลานี้จะทําปฏิกิริยาทางเคมีและรวมตัวกันเปนสารประกอบอยูในปูนเม็ดในรูปของผลึก
ละเอียดมาก สารระกอบที่สําคัญ 4 อยาง ที่มีอยูในปูนซีเมนตปอรตแลนดหลังจากการเผาแลว ไดแก
Tricalcium silicate ( 3CaO ⋅ SiO2 , C3S ) , Dicalcium silicate ( 2CaO ⋅ SiO2 , C2S ) , Tricalcium
aluminate ( 3CaO ⋅ Al2O3 ) , Tetracalcium aluminoferrite ( 4CaO ⋅ Al2O3 ⋅ Fe2O3 , C4 AF ) นอก
จากนี้ แ ล ว ยั ง มี ส ารประกอบอื่ น ๆ อี ก ที่ ไ ด ห ลั ง จากการเผา เช น MgO , TiO2 , Mn 2O3 , K 2O ,
Na 2 O
ประเภทของปูนซีเมนตปอรตแลนด
1. ประเภทหนึ่ง ปูนซีเมนตปอรตแลนดธรรมดา (Ordinary Portland Cement) สําหรับการ
ทําคอนกรีตหรือผลิตภัณฑอุตสาหกรรมใดที่ไมตองการคุณภาพพิเศษกวาธรรมดา และสําหรับการกอ
สรางตามปกติทั่วไป ที่ไมอยูในภาวะอากาศรุนแรง หรือในที่มีอันตรายจากซัลเฟตเปนพิเศษ หรือที่
ความรอนที่เกิดจากการรวมตัวกับน้ําจะไมทําใหอุณหภูมิเพิ่มขึ้นถึงขึ้นอันตราย ไดแก ปูนซีเมนตปอรต
แลนดตราชาง ตราพญานาคสีเขียว ตราเพชร
2. ประเภทสอง ปูนซีเมนตปอรตแลนดดัดแปลง (Modified Portland Cement) สําหรับการทํา
คอนกรีตหรือผลิตภัณฑอุตสาหกรรมใดที่เกิดความรอนและทนซัลเฟตไดปานกลาง เชนงานสรางเขื่อน
คอนกรีต กําแพงกันดินหนาๆ ตอมอสะพาน เปนตน ไดแก ปูนซีเมนตตรา พญานาคเจ็ดเศียร
3. ประเภทสาม ปู น ซี เมนต ป อร ต แลนด แ ข็ ง เร็ ว (High-early Strength Portland Cement)
หรือซุปเปอรซีเมนต จะใหกําลังสูงในระยะแรก มีเนื้อผงละเอียดกวาปูนซีเมนตปอรตแลนดธรรมดา
ผลิตไดโดยการเปลี่ยนสัดสวนและโดยการเติมสารอื่น โดยการบดใหละอียดยิ่งขึ้น หรือโดยการเผาใหดี
138

ขึ้น มีประโยชนสําหรับทําคอนกรีตที่ตองการจะใชเร็ว หรือรื้อแบบเร็ว ไดแก ปูนซีเมนตปอรต


แลนดตราเอราวัณ ตราพญานาคสีแดง ตราสามเพชร
4. ประเภทสี่ ปูนซีเมนตปอรตแลนดประเภทเกิดความรอนต่ํา (Low-Heat Portland Cement)
เป นปู น ซีเมนตที่ให ความรอนต่ําสุด ใชมากในการกอสรางคอนกรีตหลา เชน เขื่อน เนื่องจากให
อุณหภูมิคอนกรีตต่ํากวาปูนซีเมนตชนิดอื่นขณะแข็งตัว
5. ประเภทหา ปูนซีเมนตปอรตแลนดทนซัลเฟตสูง (Sulfate-Resistant Portland Cement)
เปนปูนซีเมนตที่ตานทานซัลเฟตไดสูง สําหรับใชกับโครงสรางที่อยูในที่มีการกระทําของซัลเฟตรุนแรง
เชน น้ําหรือดินที่มีดางสูง มีระยะเวลาการแข็งตัวชากวาประเภทหนึ่ง ไดแก ปูนซีเมนตตราปลา
ฉลาม
วัสดุผสม (Aggregate)
หินยอย กรวด และทรายรวมเรียกวาวัสดุผสมซึ่งเปนพวกแรธาตุที่เฉื่อยไมมีปฏิกิริยา อาจ
ไดจากธรรมชาติ ไดแก หินอัคนี หินชั้นและหินแปร หรือทําเทียมขึ้น เชนวัสดุผสมตะกรัน เตาถลุงใน
เนื้อคอนกรีตจะมีวัสดุผสมอยูประมาณสามในสี่สวน และเนื่องจากราคาของวัสดุผสม ถูกกวาของปูน
ซีเมนต ดังนั้นวัสดุผสมจึงมีสวนทําใหไดคอนกรีตราคาต่ําลง วัสดุผสมอาจเรียกวาเปนตัวแทรกในเนื้อ
คอนกรีตก็ได โดยทั่วไปจะแบงวัสดุผสมออกเปน วัสดุผสมละเอียด (Fine Aggregate) และวัสดุผสม
หยาบ (Coarse Aggregate)โดยใชขนาดของตะแกรงรอนมาตรฐานเบอร 4 เปนเกณฑ
หินและทรายที่จะนํามาใชผสมคอนกรีต ควรมีคุณสมบัติดังตอไปนี้
1. ความแข็ ง แกร ง (Strength) ต อ งมี ค วามสามารถรั บ น้ํ า หนั ก กดได ไ ม น อ ยกว า กํ า ลั ง ที่
ตองการของคอนกรีต กําลังรับแรงอัดของหินทั่วไปสูงกวากําลังรับแรงอัดของคอนกรีตมาก ถาเปนหิน
ที่ไมไดถกู ทําใหเปลี่ยนแปลงโดยสภาพดินฟาอากาศ
2. ความทนทานตอการสึกกรอน (Abrasion Resistance) เปนตัวชี้คุณภาพหินที่จะนํามาผสม
ทํ าคอนกรีต ในงานที่ ต องทนต อแรงกระแทกและเสี ยดสีม ากๆ เช น ทํ าพื้ น หรือ ถนนคอนกรีต การ
ทดสอบคุณสมบัติขอนี้ทั่วไปนิยมใชวิธี Los Angeles Abrasion Test
3. ความทนทานตอการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ เปนคุณสมบัติที่มีความสัมพันธกับความพรุน
และอํานาจการดูดซึมของวัสดุผสม วัสดุผสมตองมีรูพรุนพอที่จะดูดซึมน้ํา มีชองวางพอที่จะใหน้ําแข็ง
ขยายตัวไดในอากาศหนาว มิฉะนั้นจะทําใหคอนกรีตแตกราวได
4. ความคงตัวตอปฏิกิริยาทางเคมี (Chemical Stability) วัสดุผสมตองไมทําปฏิกิริยาทางเคมี
กับปูนซีเมนต ในกรณีที่ไมอาจหลีกเลี่ยงการใชวัสดุผสมเหลานี้ จะตองใชกับปูนซีเมนตที่มีเปอรเซ็นต
ของดางต่ํา
5. ลักษณะรูปรางและผิว (Particle Shape and Surface Texture) มีความสําคัญ ตอ การ
ควบคุมความสามารถในการเทไดของคอนกรีตที่ผสมใหมๆ วัสดุผสมที่ใชควรมีลักษณะเปนแงเหลี่ยม
คม วัสดุผสมที่เปนแผนแบนหรือชิ้นยาวไมเหมาะที่จะนํามาใชเพราะตองการน้ําในสวนผสมมากกวา
วัสดุผสมที่มีกอนกลมหรือรูปลูกบาศกเพื่อใหไดความสามารถเทได เทาๆกัน ทําใหเปลืองซีเมนตลด
กําลังและแรงยึดเหนี่ยวภายในกอนคอนกรีต
6. ความสะอาด (Cleanliness) วัสดุผสมตองสะอาด มีสารที่จะทําใหเกิดการเสื่อมคุณภาพตอ
คอนกรีตนอยที่สุด สารเหลานี้ไดแก เปลือกหอย ชานออย ถานหิน ถาน เศษไม กอนดิน โคลนเลน ถุง
139

พลาสติก ฝุน หรือผงละเอียด(Silt) สิ่งเหลานี้จะลดความทนทานและแรงยึดเหนี่ยวของคอนกรีต บาง


ครั้งอาจทําใหคอนกรีตแตกราว กําลังต่ํา แข็งตัวชา เกิดรอยเปอนหรือหลุดออกไปเปนรูโพรง

รูปที่ 4.122 ลักษณะของหินยอยชนิดตางๆ

น้ํา (Water)
เป น ป จ จั ย สํ าคั ญ ในการทํ าคอนกรีต สํ าหรั บ ผสมคอนกรีต ให มี ค วามข น เหลวทํ างานงาย
สําหรับบมคอนกรีตใหแข็งตัวและมีกําลังรับแรงไดตามตองการ สําหรับลางวัสดุผสมใหสะอาดกอนใช
ผสมทําคอนกรีต
น้ําที่ใชผสมคอนกรีตมีหนาที่เคลือบหินและทรายใหเปยกเพื่อปูนซีเมนตจะเขาเกาะโดยรอบ
และแข็งตัวยึดใหติดกันได ทําหนาที่หลอลื่นในวัสดุทั้ง 3 อยางใหเกิดความเหลว สามารถเทและกระทุง
หรือเขยาเขาแบบหลอใหเปนรูปตางๆได ทําหนาที่ผสมกับปูนซีเมนตทําปฏิกิริยา ทางเคมีแลวเกิด
ความรอน ทําใหผงซีเมนตนั้นกลายเปนวุน และเปนซีเมนตเหนียวซึ่งเปน ตัวประสานผิวระหวาง
เม็ดของวัสดุผสม เกาะยึดกันแนนเมื่อแข็งตัว
น้ําที่มีสารเจือปนผสมอยูพอสมควร อาจใชในการบมคอนกรีตไดโดยไมทําใหเกิดรอยเปอน
หรือสีบนผิวคอนกรีต น้ําที่มีกรดหรือสารอินทรียเจือปนจะตองไดรับการตรวจสอบกอนนํา ไปใช จะ
ตองระวังสารอินทรียพวกกรดแทนนิค เกลือของแรเหล็ก เพราะอาจกอใหเกิดรอยเปอนเปรอะบนผิว
คอนกรีต
การใชน้ําที่มีสารเจือปนลางวัสดุผสมใหสะอาดกอนนํามาผสมทําคอนกรีตนั้น สารเจือปนเปลา
นี้จะไปเคลือบอยูบนผิวของวัสดุผสม อาจทําใหเนื้อคอนกรีตผุกรอน คอนกรีตแข็งตัวชา กําลังลดลง จึง
ควรเปลี่ยนน้ําที่ใชลางวัสดุผสมบอยๆ
สารเคมีผสมเพิ่ม (Admixture)
หมายถึงสารอื่นๆ นอกเหนือจากซีเมนต วัสดุผสม และน้ํา ใชเติมในสวนผสมคอนกรีต ไมวา
จะกอนหรือในขณะผสม เพื่อชวยปรับปรุงเนื้อคอนกรีตใหดีขึ้นและไดผลตามวัตถุประสงค ดังนี้
- ทําใหคอนกรีตผสมใหมๆมีความสามารถเทไดดีขึ้น
- เพื่อลดปริมาณน้ําที่จะตองใชผสมคอนกรีตใหนอยลง
- เกิดการกักกระจายฟองอากาศทําใหมีความทนทานเพิ่มขึ้น
- เรงการกอตัวและการแข็งตัว ทําใหคอนกรีตรับแรงไดเร็วกวาธรรมดา
- หนวงการกอตัว
140

- เกิดการกระจายซีเมนต ทําใหซีเมนตเปยกทั่วเมื่อผสมกับน้ํา
- ชวยขับน้ําใหหมดสิ้น
- ทําใหมีความทึบน้ําหรือตานทานมิใหน้ําไหลผานไดดีขึ้น
- ชวยเรงปฏิกิริยาของสารปอซโซลาน
- ลดการเยิ้มหรือการคายน้ํา
- ทําใหคอนกรีตไมหดตัวและแตกราว เมื่อเริ่มการกอตัวและเมื่อแข็งตัวแลว
- ทนตอการกัดกรอนดีขึ้น
ข.5) แอสฟลท
แอสฟ ล ท (Asphalt) หรื อ ที่ เรี ย กกั น ทั่ ว ไปในบ า นเราว า “ยางมะตอย” นั้ น เป น วั ส ดุ
ประสานชนิ ดหนึ่ ง มี ลักษณะยืดหยุน ทนทาน และป องกันน้ําซึ ม ซึ่งมนุ ษ ยรูจักและนํามาใช
ประโยชนในหลาย ๆ ดาน รวมทั้งนํามาใชเปนวัสดุในการกอสรางอาคารบานเรือนหรือถังเก็บน้ํา
ตั้งแต สมัยโบราณ แอสฟลทเกิดขึ้นตามธรรมชาติในหลาย ๆ แหงของโลก และที่นํามาใช
อยางแพรหลายในปจจุบันเกือบทั้งหมดทั้งในวงการวิศวกรรมและอุตสาหกรรมจะเปนแอสฟลท
ซึ่งเปนผลที่ไดจากการกลั่นน้ํามันดิบ คุณสมบัติที่สําคัญของแอสฟลทในเชิงการนํามาใชเปนวัสดุ
กอสรางสามารถ สรุปได ดังนี้
• คุณสมบัตใิ นการยืดและประสาน (Cementing)
• คุณสมบัติในการปองกันน้ําซึม (Water Proofing)
• คุณสมบัติที่เปลี่ยนเปนของเหลว หรือออนตัวเมื่อไดรับความรอน และแข็งตัว เมื่อเย็น
ลง (Thermoplastic)
คุณสมบัติทั้ง 3 ดังกลาว ทําใหแอสฟลทไดถูกนําใชในงานตาง ๆ ทั้งงานทางดานวิศวกรรม
และในอุตสาหกรรมหลายอยาง เชน
- ใชเปนตัวประสานเพื่อเกาะยึดวัสดุตาง ๆ เชน หินยอย และกรวด เขาดวยกันเพื่อ
ใหไดสวนผสมสําหรับใชในการทําผิวทางจราจร
- ใชสําหรับดาดคลองชลประทาน อางเก็บน้ํา สระน้ํา ผิวหนาของเขื่อนดิน เพื่อกันน้ํา
ซึม และปองกันการกัดกรอนของผิวดิน
- ใช เป น วัส ดุ ในวงการอุ ต สาหกรรมต าง ๆ เช น ทํ าสี กั น สนิ ม ทํ ากระดาษป องกั น
ความชื้น ผสมกับทรายทําอิฐ สําหรับงานกอสราง ทํากระเบื้องลูกฟูกสําหรับมุงหลัง
คา ตลอดจนใชเปนวัสดุสวนผสมในการผลิตยางรถยนต เปนตน
นอกจากนี้แอสฟลทยังไดถูกนํามาใชเปนวัสดุเพื่อใชในการปรับปรุงคุณภาพของดินใน
บางโอกาสอีกดวย
แอสฟลทที่นํามาใชอยางแพรหลายสามารถแบงออกตามแหลงกําเนิดไดเปน 2 ประเภท
1. แอสฟลทตามธรรมชาติ (Native Asphalt) ซึ่งเกิดขึ้นเองตามธรรมชาติในลักษณะ
เปนบึง เนื่องจากน้ํามันดิบตามธรรมชาติใตผิวโลกขึ้นมายังผิวโลก และถูกกระทํา
ภายใตสภาวะแวดลอมตามธรรมชาติ ตัวอยางของแอสฟลทที่เกิดตามธรรมชาติมี
ดังนี้
141

1.1 ทะเลสาปแอสฟลท (Lake Asphalts) อยูในลักษณะเปนบึงคลายทะเลสาป ซึ่ง


อาจมีเฉพาะแอสฟลทเทานั้น หรือาอจมีน้ําผสมอยูก็ได แอสฟลทประเภทนี้ที่พบเปนปริมาณ
มาก มีอยู 2 แหง คือ เบอรมูเดส แอสฟลท อยูบริเวณชายฝงดานเหนือของประเทศเวเนซูเอลา
และทรีนิแดคแอสฟลท พบที่เกาะทรีนิแดด ชายฝงดานเหนือของทวีปอเมริกาใต
1.2 หินแอสฟ ลท (Rock Asphalts) ไดแก พวกหิ นปู นที่ มีแอสฟ ลทซึมอยูอิ่มตัว
พบอยูทั่วไปในตางประเทศ
1.3 แอสฟลทธรรมชาติอื่น ๆ ตั้งแตเปนบึงเล็ก ๆ หรือแทรกอยูเปนชั้น ๆ ระหวาง
ชั้นของหิน
2. แอสฟลทที่ใชจากการผลิต ไดจากสวนที่เหลือจากการกลั่นน้ํามันดิบ (Crude Oil)
หลังจากการกลั่นเอาน้ํามันเชื้อเพลิงและน้ํามันหลอลื่น น้ํามันดิบตามธรรมชาติที่ได
มาจากแหล ง ต า ง ๆ ทั่ ว โลก มี ลั ก ษณะและส ว นประกอบแตกต า งกั น แยกเป น
3 ประเภท คือ
- น้ํามันดิบประเภทสวนประกอบหลักเปนพาราฟน (Parafin Base Crude) น้ํา
มั นดิ บ ประเภทนี้ ภ ายหลังจากการแยกเอาน้ํ ามั น ประเภทตาง ๆ เชน น้ํ ามั น
เบนซิน น้ํามันกาด น้ํามันดีเซล น้ํามันหลอลื่น หรือน้ํามันเตาออกแลวสวนที่
เหลือจากการกลั่นจะเปนพาราฟน
- น้ํามันดิบประเภทสวนประกอบหลักเปนแอสฟลท (Asphalt Base Crude) คือ
น้ํามันดิบ ซึ่งสวนที่เหลือสวนใหญจากการกลั่นเอาน้ํามันประเภทตาง ๆ ออก
แลวจะเปนแอสฟลท
- น้ํามันดิบแบบผสม (Mixed Base Crude)ไดแก น้ํามันดิบ ซึ่งภายหลังจากการ
แยกเอาพวกน้ํามันตาง ๆ ออกแลว สวนที่เหลือจะมีทั้งพาราฟนและแอสฟลท
ประเภทของแอสฟลท
แอสฟลทเปนวัสดุประเภทหนึ่งที่ใชกันมาทั้งทางดานวิศวกรรมและวงการอุตสาหกรรม
จึงไดมีการผลิตแอสฟลทชนิดตาง ๆ กันมากมาย เพื่อใหเหมาะสมกับลักษณะและสภาพของงาน
ที่จะนําแอสฟลทไปใช แอสฟลทที่ไดจากการผลิตโดยการกลั่นน้ํามันดิบบางชนิดจะมีลักษณะ
ออนตัวหรือเหลวที่อุณหภูมิปกติ
ประเภทของแอสฟ ล ท ที่ ไ ด จ ากการกลั่ น น้ํ า มั น ดิ บ ตามขบวนการที่ ขั้ น ตอนต า ง ๆ
สามารถแยก ดังนี้
- แอสฟ ล ทซีเมนต (Asphalt Cement) หรือเขียนดวยสัญ ญลักษณ ยอวา A.C. คื อ
สวนที่เหลือจากขบวนการกลั่นน้ํามันดิบ มีสีดําหรือสีน้ําตาลปนดํา มีลักษณะครึ่ง
ออนครึ่งแข็งที่อุณหภูมิธรรมดา และจะหลอมเหลวหรือออนตัวลงเมื่อไดรับความ
รอน ในการนําไปใชงานทําผิวทางจะตองใหความรอนจนถึงอุณหภูมิ 200 o ฟ. ถึง
300 o ฟ.
142

- แอสฟลทเหลว (Liquid Asphalts) เมื่อนําสวนที่เหลือจากการกลั่นน้ํามันดิบมาผาน


ขบวนการโดยผสมกับสารละลาย (Solvent) ชนิดตาง ๆ หรือน้ําที่ปริมาณเหมาะสม
ก็จะไดแอสฟลทที่มีคุณสมบัติเหลวที่สภาวะอุณหภูมิปกติ เรียกวา แอสฟลทเหลว
ซึ่งสามารถนําไปใชงานไดทันทีหรืออาจใหความรอนอีกเพียงเล็กนอยเทานั้น ภาย
หลังการใชงานสารละลายหรือน้ําจะแยกตัวหรือระเหยออกไป คงเหลือแตแอสฟลท
ซีเมนต
- โบลนแอสฟลท (Blown Asphalts) เปนแอสฟลทที่ผานขบวนการ Oxidation และ
ไดรับความรอนที่สูงมากระหวางขบวนการผลิต (Destructive Distillation) ยังผลให
เกิ ด การเปลี่ ย นแปลงทางด านเคมี ทํ าให โบลนแอสฟ ล ท ที่ ได มี ลั ก ษณะแข็ งและ
เหนียวมาก ขาดคุณสมบัติทางดาน Thermoplastic จึงไมเหมาะที่จะนํามาใชเปน
วัสดุในการทําผิวทาง แตสามารถนําไปใชประโยชนในดานอุตสาหกรรมได เชน ใช
เปนวัสดุในการทําหลังคาปองกันน้ําซึม ใชทํากลองแบตเตอรี่สําหรับเครื่องยนตที่มี
ความรอนสูง
จากคุ ณ สมบั ติ ข องแอสฟ ล ท ในหลาย ๆ ด าน จึ งได มี ก ารผลิ ต แอสฟ ล ท ในลั ก ษณะต าง ๆ เพื่ อ ให
สามารถนําไปใชงานไดอยางเหมาะสม การนําแอสฟลทมาใชประโยชนในปจจุบันสามารถแบงออกเปน
2 ดานใหญ ๆ คือ ทางดานวิศวกรรม และการนํามาใชในโครงสรางที่ตองการปองกันน้ําซึมหรือการกัด
กรอนจากน้ํา และทางดานอุตสาหกรรม
ข.6) พลาสติก
พลาสติกเปนวัสดุสังเคราะหที่มีโมเลกุลหลักประกอบดวยหนวยอินทรียเคมี (Organic
chemical) ซ้ํา ๆ กันหลายหนวย โดยที่เกิดขึ้นเนื่องจากการสังเคราะหสารเคมีที่เปนวัตถุดิบ
เรียกวา Monomers และเมื่อมาประกอบกันหลาย ๆ Monomers เปนลูกโซจะเรียกวา Polymers
เมื่อใหความรอนหรือความดันแกโมโนเมอรหลายลานโมเลกุล บอนดคูของโมโนเมอรบางตัวจะ
แตกออกเปนบอนดเดี่ยว ซึ่งบอนดเดี่ยวเหลานี้จะรวมตัวกับบอนดเดี่ยวของโมโนเมอรอื่น ๆ
ต อ กั น เป น ลู ก โซ จ ะสิ้ น สุ ด ปลายเมื่ อ บอนด เป น อะตอมของไฮโดรเจน ปฎิ กิ ริ ย านี้ เรี ย กว า
Polymerization พลาสติกสามารถแบงไดเปน 2 ประเภทหลัก ไดแก
- Thermoplastic เป น พลาสติ ก ชนิ ด ที่ เ กิ ด ขึ้ น จากปฏิ กิ ริ ย า Polymerization โดย
Polymer แตละตัวจะรวมตัวกันลักษณะคลายเสนหมี่ นั่นคือปลายของแตละตัวจะไม
ตอกัน เมื่อพลาสติกชนิดนี้ไดรับความรอนจะทําใหโพลีเมอรแตละตัวเคลื่อนที่ออกจาก
กันไดงาย ทําใหหลอหลอมหรือดัดขึ้นเปนรูปตาง ๆ ไดงาย ลักษณะของการหลอจึง
คล า ยกั บ การหล อ เที ย น ตั ว อย า งของพลาสติ ก ชนิ ด นี้ ไ ด แ ก Vinyl Resins,
Polyvinyl Chloride (PVC.), Polyvinyl Alcohol, Acetals, Polyethylene,
Polypropylene และ Cellulose Derivatives
143

รูปที่ 4.123 ขั้นตอนการผลิต Polyethylene


- Thermoset Plastics ปฏิ กิ ริ ย า Polymerization ของพลาสติ ก ชนิ ด นี้ ป ระกอบ
ไปดวย 2 ขั้นตอน ขั้นแรกจะทําโดยผูผลิต สวนขั้นตอมาจะทําโดยผูใช พลาสติก
ชนิดนี้จะเกิดปฎิกิริยา Polymerization บางสวน ภายใตความดันและความรอน
ระดับหนึ่ง แลวหยุดปฎิกิริยานี้ไว ทําใหลูกโซบางสวนนี้ยังไมไดทําปฎิกิริยาและ
สามารถเกิดปฎิกิริยาไดใหมเมื่อรับความรอนและความดันอีกครั้งหนึ่งขอแตกตาง
ที่ สํ าคั ญ ระหว าง Thermoplastics และ Thermoset Plastics ก็ คื อ โมโนเมอรใน
Thermoplastic จะเกิ ด ปฎิ กิ ริย าเฉพาะที่ ป ลายลูก โซ เท านั้ น สว นโมโนเมอรใน
Thermoset จะมี ป ลายลู ก โซ ที่ ยั งคงเกิ ด ปฎิ กิ ริย าได อ ย างน อ ย 3 ปลาย ได แ ก
Phenol Formaldehyde, Malamine, Epoxy, Polyester Resin, Silicone แ ล ะ
Polyurethane โดยทั่วไปพลาสติกชนิด Thermoset จะสามารถทนความรอนไดดี
กวาพลาสติกชนิด Thermoplastic ตัวอยางการใชงานเชน ปลั๊กไฟ ไฟเบอรกลาส
144

หนังสืออางอิง
1. Timoshenko, S.P., and Goodier, J.N., “Theory of Elasticity”, McGraw-Hill
International Editions, NY., 1970
2. Timoshenko, Stephen, and D.H. Young, “Elements of Strength of Materials, NY.,
McGraw-Hill Book Co., 1962
3. Pytel, A., Singer, F., “Strength of Material”, 4th ed., Harper Internationl Edition, 1987
4. Beer, F.P. and Johnston E.R., “Mechanics of Materials”, McGraw-Hill Inc., 2 Rev,
1992
5. Polentz, L.M., “Engineering Fundamentals”, McGraw-Hill Book Co. Inc., NY., 1961
6. สมโพธิ์ วิ วิ ธ เกยู ร วงศ , “กลศาสตร ข องวั ส ดุ ”, ภาควิ ช าวิ ศ วกรรมโยธา, มหาวิ ท ยาลั ย
เกษตรศาสตร
7. วัฒนา ธรรมมงคล, อํานวย พานิชกุล, วินิต ชอวิเชียร, “กําลังวัสดุ”, พิมพครั้งที่ 6, ภาควิชา
วิศวกรรมโยธา, จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, ตุลาคม, 2541
8. วีระพันธ สิทธิพงศ, “ความแข็งแรงของวัสดุ”, สํานักพิมพนิยมวิทยา, 2534
9. วี ร ะศั ก ดิ์ กรั ย วิ เชี ย ร และอาจารย ภ าควิ ช าวิ ศ วกรรมเครื่ อ งกล คณะวิ ศ วกรรมศาสตร
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, “กลศาสตรวิศวกรรม ภาคสถิตยศาสตร”, บริษัท วิทยพัฒน
จํากัด, พิมพครั้งที่ 4, 2543
10. William D. Callister, “Materials Science and Engineering : An Introduction”, John
Wiley & Sons, 5th edition, July, 1999, 864 pages
11. Michael F. Ashby, David R. H. Jones (Contributor), “Engineering Materials 1 : An
Introduction to Their Properties and Applications”, Butterworth-Heinemann, 2nd
edition, December, 1996
12. Kenneth G. Budinski, Michael K. Budinski, “Engineering Materials: Properties and
Selection”, Prentice Hall, 6 edition, June 29, 1998, 719 pages
13. รศ.ดร.พิภพ สุนทรสมัย, “วัสดุวิศวกรรมการกอสราง”, บริษัท สมาคมสงเสริมเทคโนโลยี
(ไทย - ญี่ปุน), ครั้งที่พิมพ 8/2543, 356 หนา
14. ชาญวุฒิ ตั้งจิตวิทยา; สาโรช ฐิติเกียรติพงศ, “วัสดุในงานวิศวกรรม”, บ. ซีเอ็ดยูเคชั่น จก.,
312 หนา, 2541
15. พงศพัน วรสุนทโรสถ, “วัสดุกอสราง”, บ. ซีเอ็ดยูเคชั่น จก., 400 หนา, 2540
16. Binder, Raymond C., “Fluid Mehcnics”, 4th ed., Englewood Cliffs, NJ., 1962
17. Vennard, John K., “Elementary Fluid Mechanics”, 2nd ed, NY., McGraw-Hill Book
Co.,Inc, 1958
18. ชัยสวัสดิ์ เทียนวิบูลย, “กลศาสตรของไหล”, โรงพิมพ ก.วิวรรธ, 270 หนา
145

19. พงษศักดิ์ เสริมสาธนสวัสดิ์, ประมาณ เสริมสาธนสวัสดิ์, “กลศาสตรของไหล”, สํานักพิมพ


ฟสิกสเซ็นเตอร, 2537
20. สมาน เจริญกิจพูลผล และ มนตรี พิรุณเกษตร, “กลศาสตรของไหล”, บริษัท ซีเอ็ดยูเคชั่น
จํากัด, 2533, 584 หนา
21. Cook, Arther L., and Clifford C. Carr, “Elements of Electrical Engineering”, 6th ed.
NY., John Wiley and Sons, Inc., 1954
22. Jackson, Herbert W., “Introduction to Electric circuits”, Englewood Cliffs, NJ.,
Prentice-Hall Inc., 1959
23. Shortley, George and Dudley Williams, “Elements of Physics”, Englewood Cliffs, NJ.,
Prentice-Hall Inc., 1961
24. Polentz, L.M., “Engineering Fundamentals”, McGraw-Hill Book Co. Inc., NY., 1961
25. วิชาญ กองตาวงษ, “วิเคราะหวงจรไฟฟา”, บริษัท ซีเอ็ดยูเคชั่น จํากัด, 2537, 749 หนา
146

บทที่ 5
ทักษะการบริหาร
การบริหารเปนสิ่งสําคัญตอความสําเร็จของโครงการเพราะการบริหารที่ดีจะชวยใหมี
การดําเนินงานของโครงการเปนไปดวยประสิทธิภาพที่สามารถบรรลุเปาหมายไดตามขั้นตอน
ดวยคุณภาพและตรวจสอบไดทุกระยะ แมโครงการที่ศึกษาดานการตลาด ดานวิศวกรรมที่ชี้ชัด
วาเปนโครงการที่กอใหเกิดกําไรอยางคุมคาแตถาหากขาดการบริหารงานที่ดีประสิทธิภาพอยาง
เพียงพอแลว โครงการนั้นจะมีโอกาสประสบความสําเร็จไดนอย
ทักษะที่จําเปนในการบริหาร สามารถแบงออกเปน 6 หมวด ดังนี้
5.1 การบริหารงานทั่วไป (General Management)
การบริ ห าร หมายถึ ง การดํ า เนิ น การให บ รรลุ วั ต ถุ ป ระสงค ข ององค ก ร โดยการใช
ทรัพยากรตางๆ เชน คน เครื่องจักร อาคาร วัสดุและเงิน อยางมีประสิทธิภาพ
การบริหารงานอาจแบงออกได 4 สวน คือ
1) การวางแผน หมายถึง กระบวนการในการกําหนดวัตถุประสงคขององคกรและการ
หาวิธีการตางๆ ที่จะบรรลุวัตถุประสงคนั้น โดยจุดมุงหมายพื้นฐานของการวาง
แผน คือ การชดเชยความไมแนนอนของอนาคต ขั้นตอนการวางแผนแสดง ดังรูป
ที่ 5.1

สภาพภายนอก สภาพภายใน

ภัยธรรมชาติ โอกาส จุดออน จุดแข็ง

วัตถุประสงค คานิยม

แผนปฏิบัติการ

รูปที่ 5.1 แสดงขั้นตอนการวางแผน


• สภาพภายนอก หมายถึง ปจจัยตางๆ นอกองคกรที่มีผลกระทบตอองคกร เชน
สภาวะทางเศรษฐกิจ การเมืองและกฎหมาย สังคม เทคโนโลยี คูแขงขัน
• สภาพภายใน หมายถึ ง การพิ จ ารณาสิ่ งต า งๆ ภายในองค ก ร เช น เงิ น ทุ น
อาคาร เครื่อ งจั ก ร อุ ป กรณ จํ านวน วั ย และระดั บ การศึ ก ษาของพนั ก งาน
147

ความสัมพันธระหวางพนักงาน ราคาและคุณภาพของผลิตภัณฑ ความคลอง


ตัวของระบบบริหาร
2) การจัดคนเขาทํางานหมายถึง การเสาะหา การคัดเลือก การฝกอบรมและพัฒนา
พนักงานขององคกร
• การวางแผนรับพนักงานใหม เกิดขึ้นขณะที่องคกรเริ่มกอตั้งหรือกําลังขยายตัว
โดยการกําหนดจํานวนและคุณสมบัติของพนักงาน ขึ้นกับเปาหมายและวิธีการ
ที่ใชบรรลุเปาหมาย
• การเสาะหา ทํ า ได โ ดยการเลื่ อ นตํ า แหน ง พนั ก งานในองค ก ร และการหา
พนักงานใหมจากภายนอก
• การคัดเลือก มีความสําคัญ คือ จะทําใหองคกรไดบุคลากรที่มีคุณสมบัติตามที่
ตองการ
3) การสั่งการ เปนการใชความสามารถชักจูงพนักงานใหปฎิบัติงานอยางขยันขันแข็ง
เพื่ อ ให อ งค ก รบรรลุวั ต ถุ ป ระสงค ที่ ตั้ งไวก ารนํ าเป น เรื่อ งที่ ล ะเอี ย ดอ อ นและเป น
ปญหายุงยากที่สุด
4) การควบคุม เปนกระบวนการในการตรวจสอบกิจกรรมตางๆ ในองคกรวาเปนไป
ตามที่วางไวหรือไม หากไมเปนตามที่คาดหมายก็มีมาตรการแกไข การควบคุม
แบงเปน 4 ขั้นตอน ดังนี้
• จัดตั้งมาตรฐานเพื่อใชเปนจุดอางอิงเพื่อประเมินผล
• กําหนดวิธีตรวจสอบหรือตรวจวัด
• ทําการตรวจสอบและเปรียบเทียบผลกับมาตรฐานที่ตั้งไว
• ดําเนินการแกไขถาจําเปน
5.2 การจัดการทรัพยากรมนุษย (Man Power)
การจัดการองคกร เปนการกําหนดทรัพยากรที่ตองมีและงานที่ตองทําเพื่อบรรลุวัตถุ
ประสงคขององคกร
1) ผังโครงสรางองคกร (Organization Chart) เปนการแสดงความสัมพั นธระหวาง
ตําแหนงงานในองคกรและอํานาจหนาที่อยางเปนทางการโดยการใชผังโครงสราง
องคกรชวย ซึ่งปกติจะแสดงเฉพาะความสัมพันธอยางเปนทางการดังตัวอยางใน
รูปที่ 5.3
148

กระบวนการจัดการทรัพยากรมนุษยสามารถสรุปเปนแผนภาพไดดังนี้

รูปที่ 5.2 แผนภาพกระบวนการจัดการทรัพยากรมนุษย

คณะกรรมการบริษัท

กรรมการผูจัดการ
ผูชวยกรรมการผูจัดการ

ผูจัดการฝายผลิต ผูจัดการฝายขาย ผูจัดการฝายการ ผูจัดการฝายบุคคล

รูปที่ 5.3 แสดงตัวอยางผังโครงสรางองคกร


2) การจัดแผนกงาน (Departmentation หรือ Departmentalization) คือ กระบวนการ
รวมงานและคนเขาเปนหนวย หลักเกณฑที่นิยมใชในการจัดแผนกงาน มีดังนี้
• หนาที่
• ผลิตภัณฑ
• พื้นที่
• ลูกคา
• โครงการ
• จํานวน
• เวลา
149

5.3 การบริหารการเงิน (Financial Management)


ในการจัดการทางดานการเงินนั้น เศรษฐศาสตรวิศวกรรมถือเปนพื้นฐานที่ สําคัญใน
การวิเคราะหและประเมินคุณคาของโครงการทางดานเศรษฐกิจ หัวขอที่เกี่ยวกับพื้นฐานทาง
เศรษฐศาสตรวิศวกรรมที่วิศวกรทั่วไปควรจะทราบมีดังนี้
1) ตนทุน (Cost) มีรูปแบบและลักษณะการประเมินที่แตกตางกันไป ซึ่งสามารถแยก
เปนชนิดตาง ๆ ไดดังนี้
• ตนทุนเสียโอกาส เปนตนทุนในลักษณะขาดทุนกําไรที่ควรจะได
• ตนทุนจม เปนตนทุนที่ไดชําระไปหมดแลว
• ตนทุนตามบัญชี เปนตนทุนที่บันทึกเปนตัวเลข โดยวิธีการคิดคาเสื่อมราคา
• ตนทุนเพิ่มตอหนวย เปนตนทุนเพิ่มสําหรับหนวยผลิตหรือบริการที่เพิ่มขึ้น 1
หนวย
• ตนทุ นคงที่และตนทุนแปรผัน คือ ตนทุนที่ไมเปลี่ยนแปรตามจํานวนหนวยที่
ผลิตได เชน ตนทุนเครื่องจักรและตัวอาคาร สวนตนทุนแปรผันจะเปลี่ยนแปลง
ไปตามหนวยผลิตที่เพิ่มขึ้น

ตนทุนรวม
ตนทุนและรายได

ตนทุนแปรผัน

ตนทุนคงที่

0 ปริมาณการผลิต
รูปที่ 5.4 แผนภูมิแสดงตนทุนคงที่และตนทุนแปรผัน

2) การวิเคราะหจุดคุมทุน (Break - Even Analysis) คือ จุดซึ่งรายไดจากการลงทุนคุม


กับคาลงทุน มีขั้นตอนในการวิเคราะหจุดคุมทุน ดังนี้
• วิเคราะหลักษณะพฤติกรรมของตนทุน
• ศึกษารายไดที่เกิดจากการขายผลิตภัณฑ
• คํานวณหาผลกําไรจากรายไดลบรายจาย
• สรางแผนภูมิแสดงจุดคุมทุน
150

R รายรับ

ตนทุนและรายได (C & R)
C ตนทุนรวม

จุดคุมทุน ัน
แปรผ
NV ตนทุน

F ตนทุนคงที่

N* ปริมาณการผลิต (N)

รูปที่ 5.5 แผนภูมิแสดงจุดคุมทุน


จากรูปที่ 5.5 แผนภูมิของจุดคุมทุนแสดงจุดตัดของรายไดและตนทุน ซึ่งสามารถอานคา
N* เปนปริมาณการผลิตที่จุดคุมทุน โดยมีสมการคาใชจายและรายรับ ดังนี้
C = F + N*V (5.1)
โดยที่ F = ตนทุนคงที่
V = ตนทุนแปรผันตอหนวย
รายได = N + p
ณ จุดคุมทุน R = C
N*p = F + N*V
N* = F
p–V

ปริมาณ N* แสดงระดับปริมาณ ณ จุดคุมทุน แสดงความหมาย ไดดังนี้


1. จํานวนหนวยผลิตภัณฑที่ผลิตหรือขาย
2. ปริมาณการขายที่คิดเปนจํานวนเงิน
3. ปริมาณเปนอัตรารอยละของการผลิตเต็มตามสมรรถภาพ
คา p – V เรียกวา สวนผลใหตอหนวย (Marginal Contribution) เปนผลตางของราคา
ผลิตภัณฑและตนทุนแปรผันตอหนวย ปริมาณการผลิตที่มากกวาคา N* ซึ่งมีคา R > C แสดง
วาเปนสวนกําไร สวนปริมาณการผลิตที่นอยกวาคา N* จะแสดงการขาดทุนเพราะ R < C
ประโยชนของการวิเคราะหจุดคุมทุน
- ชวยใหสามารถกําหนดเงื่อนไขในการควบคุมคาใชจาย
- ชวยใหสามารถลดคาใชจายบางอยางได
- ชวยใหสามารถกําหนดราคาที่เหมาะสม เพื่อใหไดผลตามเปาหมาย
- ชวยใหวางแผนงานผลิตไดอยางเหมาะสม
151

- ชวยใหสามารถตัดสินใจไดอยางถูกตองยิ่งขึ้น
3) ดอกเบี้ย(Interest) คือ จํานวนเงินที่จายตอบแทนใหเปนผลประโยชนเมื่อมีการกูยืม
• ดอกเบี้ ย เชิงเดี่ ย ว (Simple Interest) ในการคิ ดดอกเบี้ ย เชิ งเดี่ ยวคํ านวณจาก
สูตร
F = P(1+ni) (5.2)
โดยที่ i = อัตราดอกเบี้ยตอระยะเวลา
n = จํานวนระยะเวลาที่กําหนดในขอตกลง
P = จํานวนเงินตนเมื่อมีการกูยืม
F = จํานวนเงินรวม
• ดอกเบี้ยเชิงซอน (Compound Interest) เป นการคํานวณดอกเบี้ยแบบทบตน
ในระบบนี้ยังสามารถแยกพิจารณาตามวิธีจายเงินเปน 2 กรณี คือ
- จายครั้งเดียว(Single Payment)
F = P(1+i)n (5.3)
- จายเปนอนุกรมและมีคาเทากันตลอด(Uniform Annual Series System)
F = A[(1+i)n-1] (5.4)
i
• อัต ราดอกเบี้ ย ที่ มี ก ารคิ ด ครั้ งเดี ย วหรือ บ อ ยครั้ง(Nominal and Effective
Interest Rate) การคิ ด ดอกเบี้ ย บ อ ยครั้งต อ ป จะทํ าให อั ต ราดอกเบี้ ย เปลี่ย น
แปลงไป ดังนี้
อัตราดอกเบี้ยคิดมากครั้ง = (1+r/m)m-1 (5.5)

โดยที่ r = อัตราดอกเบี้ยที่มีการคิดเพียงครั้งเดียว (Nominal Rate)


m = จํานวนครั้งที่จะมีการคิดคอกเบี้ย
4) ค า เงิ น ต น เที ย บเท า ป ป จ จุ บั น (Present Worth) เป น การเที ย บเท า เงิ น ลงทุ น ที่
ประเมินไวเปนเงินตนปจจุบัน แลวนําคาเงินตนเหลานี้มาเปรียบเทียบกัน คาที่นอย
ที่สุดแสดงวาโครงการนั้นเหมาะสม
5) การหาอัตราผลตอบแทน (Rate of Return) คือ ผลที่ไดจากการลงทุนเปนอัตรารอย
ละเมื่อเทียบกับเวลา 1 ป ที่ลงทุนไป
6) การหาคาเสื่อมราคา (Depreciation) หมายถึง คาชดเชยการลงทุนในทรัพยสินและ
เครื่องจักรตางๆ การคิดคาเสื่อมราคาจึงเสมือนวาเปนหลักเกณฑในการคิดเงินลง
ทุนเปนคาใชจายสวนหนึ่ง โดยชวงเวลาการถอนเงินคืนเทียบเทากับระยะเวลาการ
ใชงาน
• การคิดคาเสื่อมราคาแบบเสนตรง (Straight - Line Depreciation)
152

เปนระบบจัดสรรคาเสื่อมราคาเทากันตลอดอายุการใชงาน มีสูตรการคํานวณ
ดังนี้
คาเสื่อมราคาตอป = (P-L)/N (5.6)
เมื่อ P = ราคาตนทุนทรัพยสิน
L = ราคาขายทรัพยสินเมื่อหมดอายุการใชงาน
N = จํานวนปของอายุการใช
• การคิดคาเสื่อมราคาแบบลดสวน(Declining – Balance Depreciation)
เปนระบบจัดสรรคาเสื่อมราคาไวมากในระยะแรกของการใชงาน เหมาะกับการ
คิดทรัพยสินที่ใชไดดีในระยะแรก มีสูตรการคํานวณดังนี้
คาเสื่อมราคาในปที่ X = P(1 − f ) x −1 f (5.7)
เมื่อ f = 1− N L / P
• การคิดคาเสื่อมราคาแบบผลบวกตัวเลข (Sum of Digits Depreciation)
เป น ระบบจัดสรรคาเสื่อมราคาไวมากในระยะแรกของการใชงาน แตไมมีขอ
จํากัดสําหรับคาราคาตามบัญชีเมื่อหมดอายุการใชงานวาจะตองไมเทากับศูนยเหมือนแบบลด
สวนมีสูตรในการคํานวณ ดังนี้
( P − L)( N − X + 1)
คาเสื่อมราคาในปที่ X= (5.8)
N ( N + 1) / 2

• การคิดคาเสื่อมราคาแบบทุนจม(Sinking Fund Depreciation)


เปนระบบจัดสรรคาเสื่อมราคาไวมากในระยะหลังของการใชงาน มีสูตรคํานวณ
ดังนี้
⎡ i (1 + i ) X −1 ⎤
คาเสื่อมราคาในปที่ X = ( P − L) ⎢ N −1 ⎥
(5.9)
⎣ (1 + i ) ⎦
5.4 การบริหารวัสดุ (Material Management)
ในการบริหารวัตถุดิบจําเปนที่จะตองคํานึงถึงสิ่งเหลานี้
1) พื้นที่สําหรับเก็บวัสดุ คือ พื้นที่สําหรับจัดเก็บวัสดุเพื่อใชในอนาคต
• การกําหนดลําดับชั้นของพื้นที่จัดเก็บ ในการจัดเก็บวัสดุตองกําหนดขนาดของ
พื้นที่และตําแหนงสําหรับจัดเก็บวัสดุแตละประเภทพิจารณาจาก
- คุณสมบัติทางกายภาพของวัสดุ
- สภาพแวดลอมของสถานที่จัดเก็บตองเหมาะสมกับวัสดุที่เก็บ
- การจัดการกับวัสดุพิเศษ สําหรับวัสดุหรือวัตถุดิบที่เปนอันตราย เชน ติดไฟ
งาย ต องจัดเก็บ ภายในพื้ น ที่ ค วบคุ ม เฉพาะที่ มี อุป กรณ ป องกั น ภั ย เช น
ระบบดับเพลิง
153

- การรัก ษาความปลอดภั ย การจัด ลํ าดั บ การรัก ษาความปลอดภั ย ขึ้ น กั บ


ความสําคัญและความถี่ในการใชวัสดุนั้น
• การควบคุมเนื้อที่สําหรับการจัดเก็บ ในการจัดการขอมูลของวัตถุดิบหรือวัสดุ
ใน พื้นที่จัดเก็บนิยมใช Storage Data Sheet ซึ่งระบุถึงปริมาตร ชนิดของวัตถุ
ดิบ และตําแหนงที่จัดเก็บ ดังตัวอยางในตารางที่ 5.1
ตารางที่ 5.1 ตัวอยางของ Storage Data Sheet
Stock Order Order Activity Height Width Weigh Type of Environment Hazar Security
Number Point Quantit (in.) (in.) t (lb.) Storage d
y

2) การจัดสถานที่ ประกอบไปดวย
• การจั ด การพื้ น ที่ ใ ช ส อยภายในห อ งเก็ บ วั ส ดุ ในการจั ด การดั งกล า วมี ป จ จั ย
สําหรับการพิจารณาเปนจํานวนมาก ซึ่งจําเปนตองศึกษากอนการวางแผนผัง
ของหอง จัดเก็บ ปจจัยเหลานี้ไดแก
- สถานที่ตั้งหองจัดเก็บวัสดุ
- เนื้อที่ใชสอยภายในหองจัดเก็บ
- รายละเอียดการออกแบบโครงสราง
- ชนิดของอุปกรณอํานวยความสะดวกในการจัดเก็บ
- ความยากงายในการเขาถึงหองจัดเก็บ
• การจั ด สรรพื้ น ที่ สํ า หรั บ เก็ บ วั ส ดุ หลั ง จากสํ า รวจข อ มู ล จาก Storage Space
Data Sheetแลว การวางแผนผังของสถานที่จัดเก็บจะประกอบไปดวย
- พื้นที่ใชสอยเบ็ดเตล็ดสําหรับระบายวัสดุราคาต่ํา หรือวัสดุที่มีการขนยาย
บอยหรือตองการความรวดเร็วในการขนยาย
- เครื่องจักรและอุปกรณ
- สภาพแวดลอมและวัสดุอันตราย
3) การจัดสงและขนยายวัสดุ ในการจัดการขนยายวัสดุไปสูสวนตางๆ จําเปนตองมี
สิ่งเหลานี้
• ใบคํารองขอวัสดุ ตัวอยางดังแสดงในตารางที่ 5.2
• วิธีการตรวจนับวัสดุ
• วิธีการขนยายวัสดุเขา/ออก
ในการขนสงวัสดุเขาสถานที่จัดเก็บตองคํานึงถึงสิ่งตางๆดังนี้
- ตนทุนและอัตราคาขนสง
154

- วิธีการขนสง เชน ทางเรือ ทางรถบรรทุก


- ประสิ ท ธิ ภ าพของการขนส ง ได แ ก ความรวดเร็ว ความปลอดภั ย ความ
สะดวก และความประหยัด
- กฎหมายที่เกี่ยวของกับการขนสง
ตารางที่ 5.2 ตัวอยางใบคํารองขอวัสดุ (Store Requisition)
Store Requisition Date_______________
Requisitioner_____________ Phone__________________ Charge NO.________________
Badge______________________ Date Needed________________ Delivery Station____________
Quantity Catalog NO. Description Location

5.5 การบริหารการผลิต (Manufacturing Management)


เปนกระบวนการเปลี่ยนวัตถุดิบเปนผลิตภัณฑ โดยกระบวนการดังกลาวประกอบไป
ดวย
1) การออกแบบวิธีดําเนินงานรวมถึงการปรับปรุงขั้นตอนการดําเนินงาน
2) กระบวนการวัดและชั่งตวง
3) ขั้นตอนการแปรรูปคุณสมบัติของวัตถุดิบ ทางกายภาพและเคมี
4) ขั้นตอนการขึ้นรูปผลิตภัณฑ
5) ขั้นตอนการตบแตงผลิตภัณฑ รวมถึงการบรรจุหีบหอ
6) ขั้นตอนการตรวจสอบและควบคุมคุณภาพผลิตภัณฑ
การผลิต เปนการดําเนินงานเพื่อการบรรลุเปาหมาย และวัตถุประสงค ซึ่งขึ้นกับ แผน
การตลาด เทคโนโลยี การบริหารทรัพยากรบุคคล
5.6 การจัดการทางดานระบบคุณภาพ (Quality Management)
1) การควบคุมคุณภาพ (Quality Control) คือ การจัดการในดานการควบคุมวัตถุดิบ
และการควบคุมการผลิต เพื่อปองกันไมใหผลิตภัณฑที่สําเร็จออกมามีขอบกพรอง
ขั้นตอนในการควบคุมคุณภาพจะประกอบไปดวย
• การรวบรวมขอมูล ในการรวบรวมขอมูลจําเปนตองทราบวัตถุประสงค ชนิด
ของขอมูลที่ตองการ จากนั้นจึงทําการแปลงขอมูลไปสูสถิติ
• นําขอมูลที่รวบรวมมาสรางเปนแผนภูมิ เชน ฮิสโตแกรม เพื่อใหมองเห็นภาพ
ชัดเจน
• หลังจากที่ทําฮิสโตแกรมแลวจะพบวาผลิตภัณ ฑ ที่เหมือนกันแตมีฮิสโตแกรม
ตางกัน เนื่องจากวัตถุดิบ เครื่องจักร เครื่องมือ และวิธีการผลิตแตกตางกัน ซึ่ง
155

องคประกอบยอย ๆ เหลานี้สามารถนํามาสรางไดอะแกรมเหตุและผล ซึ่งเปน


ตัวชวยใหมองเห็นภาพของปจจัยที่สงผลตอคุณภาพ
• การลดขอบกพรองของคุณ ภาพโดยการเพิ่ มเงื่อนไขที่จําเปนและความรูทาง
เทคนิคที่ใชในการควบคุมคุณภาพลงในไดอะแกรมเหตุและผล
• สรางพาเรโตไดอะแกรม ซึ่งจะทําใหเรารูวาปญหาใดควรเริ่มจัดการกอน
• สรางใบตรวจสอบการผลิตเพื่อตรวจสอบสิ่งเหลานี้
- ตรวจสอบการผลิตหรือแนวการประกอบ
- ตรวจสอบเหตุผลที่ไมยอมรับชิ้นงานนั้น
- ตรวจสอบตําแหนงบกพรอง
- ตรวจสอบสาเหตุที่ไมยอมรับชิ้นงานนั้น
- ตรวจสอบครั้งสุดทาย
• ดําเนินการตรวจสอบและทดสอบการควบคุมคุณภาพดวยการสุมตัวอยาง
ตารางที่ 5.3 การตรวจดวยการสุมตัวอยาง
ชื่อผลิตภัณฑ ___________________ วันที่ ____________________
บริเวณผลิต ___________________ แผนก ____________________
ชื่อผูตรวจ ___________________ รุนที่ผลิต ____________________

แบบ ตรวจ รวม


รอยผิว llll
รอยแตก
ไมสมบูรณ
สูญหาย
คัดทิ้งทั้งหมด

2) การประกั น คุ ณ ภาพ (Quality Assurance) เป น การวิ เคราะห ห าความเชื่ อ มั่ น ใน


ผลิตภัณฑ (Product Reliability) วาจะสามารถใชงานไดตามตองการ โดยการหาคา
ความเชื่อมั่นออกมาในรูปของตัวเลขของความนาจะเปนที่ผลิตภัณฑจะยังคงทํางาน
ไดดีตลอดอายุการใชงาน หลังจากไดขอมูลมาแลวดําเนินการตามกิจกรรมความเชื่อ
มั่น ดังนี้
• กําหนดหรือตั้งขีดความตองการความเชื่อมั่นของผลิตภัณฑ
• จัดวางโปรแกรม เชน ออกแบบผลิตภัณฑ ปรับวิธีการผลิตและวิธีการขนสง
• ควบคุมเพื่อใหโปรแกรมที่วางไวดําเนินไปดวยความเรียบรอย
• วิเคราะหคาความเชื่อมั่นอีกครั้ง
156

3) มาตรฐาน ISO 9000 เป น มาตรฐานสากลในการประกั น คุ ณ ภาพซึ่ ง ช ว ยเพิ่ ม


ความเชื่อมั่นใหกับผูบริโภคไดระดับหนึ่ง ISO 9000 เปนเพียงมาตรฐานที่บงบอก
ถึง กลไกที่ใชพิจารณาปรับปรุงระบบขององคกรเทานั้น แตไมไดเปนสิ่งที่บอกถึง
วิ ธี ที่ ใช ในการพั ฒ นาหรื อ ปรับ ปรุ ง องค ก ร หลั ก การบริ ห ารคุ ณ ภาพตามที่ ISO
กําหนดมี 8 หลักการ คือ
• องคกรเนนที่ลูกคา (Customer focused organization)
• ความเปนผูนํา (Leadership)
• การมีสวนรวมของพนักงาน (Involvement of people)
• การดําเนินงานเปนกระบวนการ (Process approach)
• ความเปนระบบในดานการบริหาร (System approach to management)
• การปรับปรุงอยางตอเนื่อง (Continual improvement)
• การใช ข อ เท็ จ จริ ง เป น พื้ น ฐานเพื่ อ การตั ด สิ น ใจ (Factual approach to
decision making)
• สั ม พั น ธภาพกั บ ผู ส งมอบที่ อ ยู บ นพื้ น ฐานของผลประโยชน ที่ เสมอภาค
(Mutually beneficial supplier relationships)
ขั้นตอนในการจัดทําใหมีระบบประกันคุณภาพแบบ ISO 9000 จะเริ่มจากการที่บริษัท
หรือองคกรจัดใหมีนโยบายใหมีระบบประกันคุณภาพ (Quality Policy) ที่จะตองแตงตังผูจัดการ
ระบบคุณ ภาพ (QMR) เพื่อดําเนินการใหมีระบบคุณภาพในองคกร ซึ่งประกอบดวย 3 กลไก
หลัก คือ
• คูมือคุณภาพ Quality Manual เปนคูมือที่ระบุวาจะประกันคุณภาพอะไร
• Work Procedure
• Work Instruction
และเมื่อการประกันคุณภาพไดดําเนินการไปตามปกติก็จะตองมีระบบการตรวจสอบภาย
ใน (Internal Audit Committee) และสุ ด ท ายจึงมี ก ารตรวจสอบจากภายนอกมาตรวจรับ รอง
(External Audit Certification) เพื่อออกหนังสือรับรองเปนที่ยอมรับในระดับสากล การตรวจรับ
รองจะมีอายุ ปตอป หรือทุก 3 ป
4) การบริหารคุณภาพแบบเบ็ดเสร็จ Total Quality Management (TQM) ซึ่งเปนแนว
ทางในการบริหารขององคกรที่มุงเนนคุณภาพ โดยสมาชิกทุกคนในองคกรมีสวน
รวมและ มุงหมายผลกําไรในระยะยาวดวยการสรางความพึงพอใจใหแกลูกคา รวม
ทั้ งการสรางผลประโยชนตอบแทนแกสมาชิกขององคกรและสังคม มีหลักการที่
สําคัญ 3 ประการ คือ
• การมุงเนนที่คุณภาพ (Quality Oriented) คือ การยึดความตองการของลูก
คาเปนศูนยกลางในการบริหารและดําเนินการ
• การปรับปรุงกระบวนการ (Process Improvement)
157

• ทุ ก คนในองค ก รมี ส ว นรวม (Total Involvement) ผู บ ริ ห ารและพนั ก งาน


ทุ ก คน ทุ ก ระดั บ จะมี ส ว นร ว มในการดํ า เนิ น การพั ฒ นาและปรั บ ปรุ ง สู
“องคกรคุณภาพ”
แนวทางในการจัดทํา TQM ของแตละองคกรมีดังนี้
• ศึกษาและวางแผน ผูบริหารระดับสูงจะตองทําการศึกษาทําความเขาใจแมแบบ
TQM หลาย ๆ แมแบบแลวคัดเลือกแมแบบที่คิดวาเหมาะสมกับวัฒนธรรมองค
กรของตนเองมากที่ สุ ด มาเป น แม แบบของตนเอง โดยอาจใช วิ ธี ก ารไปรว ม
สัมมนา หลักสูตร TQM ตาง ๆ หรือศึกษาคนควาแลวนํามาสรุปเปรียบเทียบกัน
• ตรวจวินิจฉัย โดยใชแมแบบ TQM ที่เลือกไวเปนเกณฑเปรียบเทียบเพื่อหาชอง
วางระหวางสิ่งที่ควรจะเปนในอุดมคติกับสิ่งที่ใชปฏิบัติในปจจุบัน ซึ่งจะทําให
คนพบ จุดแข็งและจุดที่จะตองปรับปรุงในระบบบริหารของตนเอง
• จัดทํ าแผน นํ าจุดที่ จะต องปรับ ปรุงมาเขียนให อยู ในรูปของแผนการปรับ ปรุง
ระยะยาว
• ประเมิ น ผล และติ ด ตามความก า วหน า ทบทวนผลลั พ ธ แ ละระดั บ ของความ
สําเร็จ
• สงเสริมใหทุกคนมีสวนรวมในการปรับปรุงอยางตอเนื่อง
ปจจัยแหงความสําเร็จของระบบ TQM จึงขึ้นอยูกับ
• การยึดมั่นผูกพันอยางจริงจังกับผูบริหารทุกระดับ
• การให ก ารศึ กษา/ฝ ก อบรมพนั กงานทุ ก คนให เข าใจในระบบการบริห ารแบบ
TQM
• โครงสรางขององคกรจะตองสนับสนุนวิธีการทํางานในระบบ TQM
• การติดตอสื่อสารจะตองทั่วถึงทั้งแนวดิ่ง/แนวราบของระหวางหนวยงานตาง ๆ
• การวัดผลการใหรางวัลและการยอมรับแกทีมงานผูที่สมควรไดรับจากผลงาน
• การทํางานเปนทีมอยางมีประสิทธิภาพ
158

หนังสืออางอิง
1. Bernard T. Lewis, ”Management Handbook for Plant Engineers”, McGraw-Hill, Inc.,
1997
2. Henry L. Sisk, “Principle of Management A System Approach To The Management
Process”, South-Western Publishing Company, 1969
3. James W. Walker, ”Human Resource Strategy”, McGraw-Hill, Inc., 1992
4. Richard I. Levin, ”Quantitative Approaches To Management”, McGraw-Hill, Inc., Fifth
Edition,1997
5. W. Dale Compton, “Engineering Management Creating and Managing World-Class
Operations”, Prentice-Hall, Inc., 1997
6. วันชัย ริจิรวนิช และ ชอุม พลอยมีคา, ”เศรษฐศาสตรวิศวกรรม”, โรงพิมพแหงจุฬาลงกรณ
มหาวิทยาลัย, พิมพครั้งที่ 5 , พ.ศ. 2541
7. ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, ”การจัดการวิศวกรรม”, โรงพิมพ
แหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, พิมพครั้งที่ 4 , พ.ศ. 2540
8. ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, ”เทคนิคการควบคุมคุณภาพ”, โรง
พิมพแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, พ.ศ. 2538
9. จันทนา จันทโร, ศิริจันทร ทองประเสริฐ, “การศึกษาความเปนไปไดโครงการดานธุรกิจ
และอุตสาหกรรม” โรงพิมพแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, พิมพครั้งที่ 6 , พ.ศ. 2540
10. David Hoyle, “ISO 9000 Quality Systems Hand Book”, Butterworth-Heinemann Ltd.,
1994
11. ธีระพัฒ น พลมณี , “Implementation ISO 9000 & ISO 14001 : การจัดทําตามมาตรฐาน
ระบบการบริหารคุณภาพและระบบบริหารสิ่งแวดลอม”, สถาบันเพิ่มผลผลิตบัณฑิตธรรม,
พ.ศ. 2543
12. รศ.ดร.ประเสริฐ สุท ธิป ระสิท ธิ์ และกฤษฎ อุทั ยรัต น , “ผาประเด็น เคน ขอกํ าหนด ISO
9001 Y2K” สํานักพิมพ สสท., พิมพครั้งที่ 1, พ.ศ. 2543
13. ดร.วีรพจน ลือประสิทธิ์สกุล, “TQM LIVING HANDBOOK ภาคสาม” พิมพครั้งที่ 1, พ.ศ.
2542
14. วิฑูรย สิมะโชคดี, “คุณภาพคือความอยูรอด” สํานักพิมพสมาคมสงเสริมเทคโนโลยี (ไทย-
ญี่ปุน), พ.ศ. 2541
159

บทที่ 6
ทักษะการบริการทางวิศวกรรม
ในกระบวนการทางวิศวกรรมซึ่งวิศวกรทุกคนควรจะตองรูถึงสถานะภาพของตน
และการพัฒนาวิชาชีพของตนเพื่อใหเปนไปตามกรอบของการประกอบวิชาชีพในการเตรียม
ความพรอมในการประกอบวิชาชีพ จึงมีความจําเปนที่จะตองเรียนรูและเขาใจลักษณะงานใน
การปฏิบัติวิชาชีพ (Practise) ซึ่งจะตองประพฤติภายใตกรอบในการประกอบวิชาชีพ (Conduct)
โดยรวมที่ จะต องเป น ไปตามจรรยาบรรณแห งวิช าชี พ (Ethics) แต ในขณะเดี ย วกัน ก็ จําเป น
ที่จะตองพยายามเสริมสรางความรูความชํานาญใหเต็มศักยภาพความสามารถของตน เพื่อให
เกิดการพัฒนาวิชาชีพ และเพื่อเสริมสรางศักยภาพของวิชาชีพที่จะนําพาประเทศไปอยูจุดที่มี
ความชํานาญการในทางวิชาการ มีความรูทางวิศวกรรมและเทคโนโลยีที่จะสามารถพึ่งพาตนเอง
ไดในประเทศรวมทั้งยังอาจจะแขงขันในระดับนานาชาติไดอีกดวย
ลั ก ษณะงานวิ ช าชี พ วิ ศ วกรรมควบคุ ม สภาวิ ศ วกรได กํ า หนดแบ ง ออกเป น
6 ประเภท ซึ่งประกอบดวย
1. งานให คํ า ปรึ ก ษา หมายถึ ง การให ข อ แนะนํ า การวิ นิ จ ฉั ย การตรวจสอบ และ
การรับรองงานทางวิชาชีพวิศวกรรม
2. งานวางโครงการและการศึ ก ษาโครงการ หมายถึ ง การศึ ก ษาข อ มู ล วิ เคราะห
ความเป น ไปได การวางแผนผั ง หรือ การวางแผนงานการสราง การผลิ ต หรื อ
การประกอบ ทั้งที่เปนชิ้นงานหรือระบบ
3. งานคํานวณและออกแบบ หมายถึง การใชความรูทางวิชาชีพวิศวกรรม เพื่อใหได
มาซึ่งรายละเอียดในการสราง การผลิต การติดตั้ง การประกอบ การซอม การดัด
แปลง การตอเติม การเคลื่อนยาย การรื้อถอน หรือการทําลายโดยแสดงเปนแบบ
รูป ขอกําหนด และประมาณการ
4. งานอํานวยการสราง / การผลิต / การติดตั้งและการรื้อถอน หมายถึง การอํานวย
การควบคุมดูแลการสราง การผลิต การติดตั้ง และการรื้อถอน ทั้งที่เปนชิ้นงานและ
ระบบ ใหเปนไปโดยถูกตองตามหลักวิชาการ แบบรูป ขอกําหนด และประมาณการ
5. งานตรวจสอบ / ทดสอบ / วิ เคราะห หมายถึ ง งานค น คว า งานวิ เคราะห งาน
ทดสอบ งานหาขอมูลและสถิติตาง ๆ เพื่อเปนหลักเกณฑประกอบการวินิจฉัยทาง
วิชาชีพวิศวกรรม
6. งานอํานวยการใช / การซอม / การดัดแปลง หมายถึง การอํานวยการควบคุมดูแล
การใช การซ อม การดั ด แปลง ทั้ งที่ เป น ชิ้ นงานและระบบให เป น ไปโดยถู ก ต อ ง
ตามหลักปฏิบัติทางวิชาชีพวิศวกรรมแบบรูปและขอกําหนด
ลักษณะงานวิชาชีพวิศวกรรมยังอาจแยกยอยลงในรายละเอียดถึงขอบขายการประกอบ
วิช าชี พ ซึ่ งอาจพิ จารณาแยกย อยไปถึ งสาขาวิศ วกรรมควบคุ ม ต าง ๆ ที่ ข นาดและประเภท
แตกตางไปไดตามลักษณะงานที่ตองใหสอดคลองกับความรับผิดชอบตาง ๆ อันจะพึงมีใหเกิด
160

การบริการวิชาชีพที่ดีมีความปลอดภัยตอชีวิตและทรัพยสิน และคํานึงถึงสาธารณะและสภาวะ
แวดลอม ซึ่งจะตองใหเปนไปตามขอบังคับวาดวยมาตรฐานการประกอบวิชาชีพที่ประกอบดวย
มาตรฐานความประพฤติ (Code of Conduct) และมาตรฐานการปฏิ บั ติ วิ ช าชี พ (Code of
Practice) ที่ วิ ศ วกรจะต อ งยึ ด ถื อ ใต จิ ต สํ า นึ ก ยึ ด ถื อ ประพฤติ และยึ ด ถื อ ปฏิ บั ติ ต นตลอด
การประกอบอาชีพ
ในเบื้ อ งต น วิ ศ วกรควรจะต อ งรู ถึ ง ลั ก ษณะการบริ ก ารทางวิ ศ วกรรมและเมื่ อ ได รั บ
ใบอนุญาตเขาสูการประกอบวิชาชีพแลวจะตองยึดถือปฏิบัติตามขอบังคับ ซึ่งรายละเอียดของ
แตละลักษณะงานอาจแจกแจงในภาพรวมได คือ
6.1 งานใหคําปรึกษา (Consulting)
เปนลักษณะงานที่วุฒิวิศวกรเทานั้นที่ถึงจะประกอบวิชาชีพในสวนนี้ เพราะตองมี
ประสบการณ สู ง และมี ค วามรูค วามชํ านาญ ในฐานะของการประกอบวิ ช าชี พ โดยอิ ส ระมา
ยาวนาน จนเกิดความรูความชํานาญพิเศษ ลักษณะงานจะตอยอดจากทุกลักษณะงานอื่น ๆ ที่
เข า ใจถึ ง ขั้ น ตอนการปฏิ บั ติ ง านได อ ย า งละเอี ย ดมี ทั ก ษะในเชิ ง ตั ว เลขและพฤติ ก รรมใน
การตรวจสอบ และจากประสบการณอันยาวนานและความชํานาญเฉพาะทาง สามารถวินิจฉัย
ถึงผลอันจะถึงเกิดหรือที่จะตามมาจนสามารถนําไปสูการรับรองงานทางวิศวกรรมตาง ๆ ได
หรื อ นํ า ไปสู ก ารแนะนํ า เป น แนวทางการดํ า เนิ น งานหรื อ ปฏิ บั ติ ได อ ย า งถู ก ต อ งแม น ยํ า ใน
คุณภาพการใหบริการวิชาชีพ
6.2 การวางโครงการ (Project Management)
ในโครงการทางวิศวกรรมจําเปนตองมีการศึกษาโครงการในความเปนไปไดทาง
เทคนิค ทางการเงิน ทางดานการตลาด หรืออื่น ๆ ที่เกี่ยวของและหลังจากนั้นก็จะมีการวาง
โครงการหรือบริหารโครงการใหเกิดสัมฤทธิ์ผลและประสิทธิผลของการดําเนินงาน
รายละเอียดในการวางโครงการและการศึกษาโครงการ มีดังนี้
ก. การศึกษาความเปนไปไดของโครงการ (Feasibility Study)
การศึกษาความเปนไปไดของโครงการหมายถึง การศึกษาเพื่อตองการทราบผลที่จะ
เกิดขึ้นจากการดําเนินการตามโครงการนั้น โดยพิจารณาจากการศึกษาดานการตลาด ดาน
วิศวกรรม และการเงินของโครงการเปนหลัก ทั้งนี้เพื่อใหโครงการบรรลุวัตถุประสงค หรืออยาง
นอยที่สุดก็ลดโอกาสการเสี่ยงตอความลมเหลว การศึกษาความเปนไปไดของโครงการวาเหมาะ
สมหรือไมนั้น จะชวยปองกันมิใหผูที่จะลงทุน หรือเจาของโครงการตองสูญเสียเวลา และคาใช
จายในการลงทุนในโครงการมากขึ้นไปอีก ทั้งนี้หากผลการศึกษาไดชี้ใหเห็นชัดวาโครงการนี้
หากลงทุนไปก็มีแตจะขาดทุน โดยทั่วไปจะศึกษาครอบคลุมถึงสิ่งตางๆ ตอไปนี้
1. ด า นการตลาด การศึ ก ษาในด า นนี้ เ กี่ ย วข อ งเรื่ อ งการตลาดว า เป น อย า งไร
มีความตองการสินคาที่โครงการจะผลิตขึ้นมามากนอยเพียงใด การผลิตของโรงงาน
ที่มีอยูในปจจุบันเปนอยางไร ผลิตภัณฑประเภทเดียวกันที่นําเขาจากตางประเทศ
มีปริมาณมากนอยแคไหน ราคาเปนอยางไร เหลานี้เปนตน ผลการศึกษาดานนี้เปน
161

สิ่ ง ชี้ ถึ ง ความสํ า เร็ จ และความล ม เหลวของกิ จ การลงทุ น การดํ า เนิ น การศึ ก ษา
ความเหมาะสมหรือลูทางเปนไปไดของโครงการลงทุนจึงมุงในดานตลาดกอนเปน
เบื้องแรก
2. ดานวิศวกรรม การศึกษาในแงนี้จะทําใหทราบถึงขนาดการผลิต กระบวนการผลิต
และขั้ น ตอนการผลิ ต ที่ เหมาะสมวา ควรเป น อย างไร โรงงานควรจะตั้ งอยู ที่ ไหน
ปริมาณวัตถุดิบที่จะใชเปนเทาไรและหาไดจากแหลงใด เครื่องจักรอุปกรณการผลิต
มีอะไรบาง แผนการกอสรางโรงงานจะดําเนินตามขั้นตอนอยางไรเหลานี้เปนตน
3. ดานการเงิน การศึกษาในดานนี้จะตองอาศัยขอมูลและผลจาการศึกษาวิเคราะห็ที่
ไดจากการตลาดและวิศวกรรมประกอบกันเพื่อพิจารณาดูวา จํานวนเงินทุนทั้งสิน้ ใน
การดําเนินงานตามโครงการนี้เปนเทาไร มีคาใชจายในการลงทุนแตละดานเปน
อยางไรบ าง เชน ในดานคากอสราง โรงงาน คาเครื่องจักรอุปกรณ การผลิตฯลฯ
และเมื่อลงทุนแลวจะคืนทุนไดภายในกี่ป ผลตอบแทนการลงทุนที่คิดวาจะไดรับใน
แตละปเปนอยางไร ผลตอบแทนตลอดอายุของโครงการเปนเทาไร
ข. การบริหารโครงการ (Project Management)
การบริ ห ารโครงการ คื อ การนํ า เอาทรั พ ยากรที่ มี อ ยู ห รื อ ที่ ส ามารถจะหาได ซึ่ ง
ประกอบดวย บุคลากร เงิน วัสดุ เครื่องมือและเงื่อนไขการทํางาน (หรือสัญญา) มาประกอบกัน
อยางเหมาะสม เพื่อใหการดําเนินงานเปนไปอยางมีประสิทธิ์ภพที่สุด และบรรลุเปาหมายตาม
ตองการ กระบวนการจัดการสามารถแบงไดเปน 4 ขั้นตอนคือ
1) การวางแผนงาน (Planning) คือ การตัดสินใจลวงหนาเพื่อกําหนดวา จะทําอะไร
อยางไร เมื่อไร และใครเปนผูกระทํา โดยการเลือกแนวทางในการดําเนินงานและ
วิ ธี ก ารปฏิ บั ติ ที่ เหมาะสม เพื่ อ ให บ รรลุ เป า หมายที่ กํ า หนด การวางแผนเป น
การเชื่อมตอปจจุบันกับสิ่งที่ตองการในอนาคต การวางแผนจะชวยใหผูรวมงานรูวา
จะตองทําอะไร อยางไร อยางมีระบบ แทนที่จะปลอยใหเหตุการณตางๆ เกิดขึ้นเอง
โดยไมมีผูรับผิดชอบ หรือไมมีการเตรียมการไวกอน การวางแผนงานจึงตองคํานึง
ถึงสิ่งตางๆ ดังนี้
• การคาดคะเนเหตุการณในอนาคต (Forecasting)
• กําหนดวัตถุประสงค (Objectives)
• กําหนดนโยบาย (Policy)
• กําหนดโครงการและงานที่จะทํา (Program and Project)
• กําหนดเวลาและรายละเอียดแตละโครงการ (Schedules)
• กําหนดวิธีปฏิบัติงาน (Procedures)
• กําหนดงบประมาณ (Budgets)
2) การจั ด ระบบงาน (Organizing) คื อ การจั ด การวางระบบงานหรื อ จั ด ระเบี ย บใน
หนวยงานเพื่อดําเนินการใหเกิดผลงานตามที่ไดตั้งเปาหมายหรือวางแผนเอาไว
ซึ่งตองคํานึงถึงเรื่องตางๆ ดังนี้
162

• การจัดกลุมงานที่เหมือนกันเขาดวยกัน (Identification and grouping of work)


• การแบ ง แยกและมอบหมายอํ า นาจหน า ที่ ค วามรั บ ผิ ด ชอบ (Definition and
delegation of responsibility and authority)
• การสร า งความสั ม พั น ธ (Establishment of relationship) ในแต ล ะหน ว ยงาน
ภายในองคการ
3) การควบคุ ม งาน (Controlling) คื อ การควบคุ ม งานให ดํ า เนิ น ไปตามแผนและ
เปาหมายที่วางไว โดยการตรวจสอบผลงานที่สามารถทําไดแลวเปรียบเทียบกับ
แผนงานที่กําหนดซึ่งประกอบดวยหลักใหญๆ ดังนี้คือ
• กําหนดมาตรฐานในการปฏิบัติงาน (Performance standards)
• การตรวจและวัดผลงานเทียบกับมาตราฐาน (Measurement)
• การแกไข และขจัดอุปสรรคตางๆ (Corrective action)
• การประเมินผล (Evaluation)
4) การประสานงาน (Coordinating) คื อ การจั ด ระบบงานให ป ระสานกั น และสร าง
ความรวมมือรวมใจของคนในองคการใหปฏิบัติงานดวยความสามัคคีมีสมานฉันท
ในลักษณะเปน Team-Work
5) การจูงใจ (Motivating) การจูงใจเปนหนาที่สําคัญของผูจัดการหรือผูบังคับบัญชาที่
จะตองทําเพราะจะชวยเพิ่มผลผลิต และประสิทธภาพของงานดีขึ้น ซึ่งจะตองคํานึง
ถึงสิ่งสําคัญดังตอไปนี้
• การคัดเลือกคน (Selection)
• ลักษณะของการติดตอสื่อสารสัมพันธ (Communication)
• การใหมีสวนรวม (Participation)
• การปรึกษาหารือ (Counseling)
• การฝกอบรม (Training)
• การกําหนดคาแรงงาน (Appraisal)
• การสอนงาน (Coaching)
• การลงโทษ (Dismissal)
6.3 การออกแบบและคํานวณ (Design Process)
การออกแบบเปนการใชความรูในแตละสาขาวิศวกรรมเฉพาะทาง เชน วิศวกรรมโยธา
วิศวกรรมไฟฟา วิศวกรรมเครื่องกล วิศวกรรมอุตสาหการ วิศวกรรมเหมืองแร วิศวกรรมเคมี
และวิศวกรรมสิ่งแวดลอม เพื่อใหไดมาซึ่งรายละเอียดในการกอสราง โดยแสดงเปนรูปแบบ ขอ
กําหนดหรือรายการประกอบแบบ รายการถอดแบบและประมาณการ สําหรับรายละเอียดของ
งานอาจแยกออกเปนงานมูลฐานและงานพิเศษ ดังนี้คือ
1) งานมูลฐาน ตามปกติงานมูลฐานมักจะมีการทําสัญ ญาใหมีการคํานวณออกแบบ
และตรวจงานเปนครั้งคราว ประกอบดวยขั้นใหญๆ 3 ขั้น คือ
163

ก. ขั้นการศึกษาและออกแบบขั้นตน ในขั้นนี้จะมีการกําหนดขนาดและขอบขาย
ทั่วไปของโครงการ
• รวมหารือกับผูวาจาง เพื่อใหไดมาซึ่งวัตถุประสงคปละขอกําหนดตางๆ
การตรวจสอบสถานที่ อาจมีการประชุมรวมกันกับหนวยงานอื่นๆ ที่
เกี่ยวของ
• จัดเตรียมการศึกษาและออกแบบขั้นตนทางวิศวกรรม ซึ่งจะตองสงให
ผูวาจาง และหนวยงานอื่นๆ เพื่อพิจารณารับรอง
• จั ด เตรี ย มทํ า ผั ง ขั้ น ต น ตลอดจนแบบร า ง รายการสั ง เขป รายการ
คํานวณเบื้องตน และรายงานขั้นตน
• จัดเตรียมทํารายการและขอบขายของงาน จัดทําประมาณการสังเขป
ขั้นตนของโครงการ และจัดเตรียมตารางเวลาการดําเนินการ
ข. ขั้ น คํ านวณออกแบบ งานในขั้น นี้ ดํ าเนิ น ไปไดก็ ตอเมื่อ การออกแบบขั้ น ต น
ตลอดจนรายงาน และประมาณการไดรับความเห็นชอบและอนุมัติจากผูวาจาง
ใหดําเนินการตอไป งานในขั้นนี้ประกอบดวย
• การรว มหารือ กั บ ผู ว าจ างและหน ว ยงานที่ เกี่ ย วข อ งเพื่ อ ให เนื้ อ งาน
ชัดเจน รัดกุม และกระชับ สนองตอบสภาพที่ใกลความจริงมากที่สุด
• วางแผน และชวยเหลือผูวาจางในการหาขอมูลที่จําเปนในสนามเพื่อใช
สําหรับการออกแบบ เชนการสํารวจในสนาม
• จั ด เอกสารทางวิ ศ วกรรมเท า ที่ จํ า เป น เพื่ อ ทํ า การขออนุ ญ าตตาม
ความตองการของเจาพนักงานทองถิ่น หรือของรัฐ
• จั ด ทํ า แบบรู ป และรายละเอี ย ดซึ่ ง ต อ งใช ใ นการประกอบสั ญ ญา
ใชถอดแบบ คิดราคา และใชในการกอสราง
• จัดทํารายการ เอกสารประกอบสัญญาปละประมาณราคา
• จัดพิมพแบบรูป รายการ สําหรับใหผูวาจาง และเจาพนักงานทองถิ่น
เพื่อขออนุมัติ
ค. ขั้นดําเนินการ งานในขั้นตอนนี้จะดําเนินตอไปภายหลังจากที่มีการประกวด
ราคา หรือหลังจากที่ผูวาจางไดทําสัญญามอบหมายใหผูหนึ่งผูใดทําการดําเนิน
การแลวเทานั้น ประกอบดวยสวนตางๆดังนี้
• งานวิศวกรรมในสํานักงาน
- ชวยผูวาจางในหารประกวดราคา จัดทําตารางปละผลการวิเคราะห
การประกวดราคา และใหขอแนะนพในการที่ผูวาจางจะเซ็นสัญญา
กับรายหนึ่งรายใด
- เตรียมเอกสารประกอบสัญญาเปนทางการสําหรับทําสัญญากับผูที่
ประกวดราคาได
164

- ให คํ า ปรึ ก ษาและคํ า แนะนํ า ต อ ผู ว า จ า งในระหว า งดํ า เนิ น การ


สําหรับแกปญหาตางๆใหตรงกับสภาวะความเปนจริงในสนาม
- ตรวจสอบแบบรายละเอียด และแบบขยายตลอดจนแบบที่ใชใน
การติดตั้ง ซึ่งจัดเสนอโดยผูรับเหมาเพื่อใหเปนไปตามแบบ
- ตรวจดูรายงานผลการตรวจสอบวัสดุ และอุปกรณจากหองปฏิบัติ
การ โรงงาน และโรงผลิต
• งานวิศวกรรมในสนาม
- งานตรวจสอบในสนาม เพื่ อตรวจความกาวหน าของงาน และ
ทํารายงานเสนอตอผูวาจางตามที่เห็นสมควร
- ตรวจสอบขั้นสุดทายพรอมกับ ผูวาจางหรือผูแทนผู วาจาง และ
รายงานเมื่องานเสร็จตามโครงการ
2) งานพิเศษ โดยปกติในระหวางการดําเนินงานตามโครงการ อาจมีความตองการใหมี
การศึกษางานในดานอื่น ที่อยูเหนือขอบขายของการบริการมูลฐานของวิศวกร เชน
ความเหมาะสม ขอบขาย ตลอดจนสถานที่ตั้งของโครงการ การวิจัย การรวบรวม
ขอมูลทางวิศวกรรม ทั้งนี้อาจตองการผูชํานาญการสาขาอื่นๆ นอกเหนือจากวิศวกร
ก็ได เนื่องจากบริการพิเศษนี้แตกตางกันมากทั้งในขอบขาย ความยากงายที่ใช และ
เวลา
6.4 การควบคุมงาน (Supervision)
ในขั้น ตอนการก อสราง การติ ดตั้งอุปกรณ เครื่องจักรกล หรือขบวนการผลิต จะเป น
การดําเนินไปตามแบบรูป รายการกอสราง และขอกําหนดอื่นๆ โดยมุงหวังใหผลงานเปนไป
ตามเจตนารมยของผูลงทุน สถาปนิก-วิศวกร ดังนั้นทุกฝายตองปรึกษาหารือกัน เพื่อใหงาน
กอสรางบรรลุตามเปาประสงคอยางมีประสิทธภาพยิ่ง ผูจัดการกอสรางจึงตองศึกษาขอมูลของ
โครงการที่ประมูลไดอยางละเอียด หาทางขจัดปญหาเอาไวแตเนิ่นๆ
6.5 การตรวจสอบ (Inspection / Evaluation)
ในงานกอสรางหรือการติดตั้งเครื่องจักรอุปกรณการผลิตตางๆ จําเปนตองอาศัยบุคคล
ซึ่งมีความรู ความชํานาญในสาขานั้นๆ ซึ่งเรียกวาผูควบคุมงาน (Inspector) เพื่อใหแนใจวา
ผูรับเหมาจะทําตามสัญญาที่ไดตกลงไวกับเจาของงาน หรือไมนําวัสดุที่ไมมีคุณภาพมาใชในงาน
ลักษณะของการควบคุมงานจะประกอบดวยการตรวจสอบ หรือทดสอบ และนําผลมา
ศึ ก ษาวิ เคราะห ในขบวนการทางวิ ศ วกรรมแล ว ถึ งนํ าผลไปสู ก ารควบคุ ม และกํ า กั บ ดู แ ลให
เปนไปตามการออกแบบและรายการประกอบแบบ เปนตน
โดยทั่วไปคนที่จะเปนผูควบคุมงานที่ดีได จะตองสามารถรูถึงปญหาที่จะเกิดขึ้น เพื่อ
เตรียมการแกไขไวและทราบถึงสวนที่วิกฤตของโครงการที่กําลังทําอยู ซึ่งสิ่งเหลานี้จําเปนตอง
อาศัยประสบการณในงานสนาม และผูควบคุมงานจําเปนที่จะตองติดตามความกาวหนาของ
165

โครงการทุกขั้นตอน โดยการทําบันทึกประจําวัน รวมทั้งตองรีบทํารายงานโดยดวนใหผูจัดการ


ทราบ ถาหากมีสิ่งบกพรอง ความผิดพลาดหรือปญหาตางๆที่เกิดขึ้น โดยสรุปแลวหนาที่ของ
ผูควบคุมงานมีดังนี้
1) ควบคุ ม งานของผู รั บ เหมาเป น ไปตามแบบรู ป ข อ กํ า หนด และมาตรการ
ความปลอดภัยโครงการ
2) ควบคุมใหแผนงานเปนไปตามกําหนดเวลาที่วางไว
3) อธิบายแบบรูป ขอกําหนดการกอสราง และขอสงสัยอื่นใหผูรับเหมาทราบ
4) ปฏิเสธงาน (Reject) ที่ไมไดคุณภาพ หรืองานที่ไมตรงกับที่สัญญาระบุไว
5) สั่งหยุดงานถาหากมีความไมปลอดภัยในการกอสราง
6) เปนผูอนุญาตหรือสั่งแกไขงานใหมเพื่อใหเปนไปตามสัญญา
7) เปนผูประสานงานระหวางเจาของงาน กับผูรับเหมา
8) อนุมัติจายเงินแกผูรับเหมาตามงวดของสัญญา
6.6 การอํานวยการใช (Operation)
ในบรรดาคาใชจายทั้งหมดที่เกี่ยวของกับเครื่องจักรกลที่ใชในโรงงาน หรืองานกอสราง
คาใชจายในการซอมบํารุงรักษาเปนสิ่งที่ควบคุมไดงายที่สุด แตก็มักถูกมองขามบอยครั้งที่สุด
ทั้งๆ ที่คาใชจายในการซอมบํารุงรักษาตลอดอายุการใชงานมักจะสูงกวาราคาของเครื่องจักรกล
ดังนั้นการจัดการบํารุงรักษาและการซอมที่ดี จะตองมีแผนงานที่เปนระบบทําใหผูที่เกี่ยวของ
ทุกฝาย ทั้งฝายซอมบํารุงรักษา และฝายปฏิบัติงานสามารถคาดหวังในสิ่งที่จะเกิดขึ้นได นั่นคือ
จะตองมีวิธีการเก็บขอมูลตางๆ เชน คาใชจาย และจํานวนชั่วโมงหรือระยะทางปฏิบัติงานเพื่อ
กําหนดขั้นตอนในการบํารุงรักษาใหทุกฝายปฏิบัติอยางสม่ําเสมอเปนระบบเพื่อลดคาใชจาย
และเพิ่มประสิทธภาพของการทํางาน
สําหรับหัวใจของการซอมบํารุงก็คือ “การซอมบํารุงรักษาอยางมีแผน” หรือ “การซอม
บํ า รุ ง ตามหมายกํ า หนดการ” (Scheduled Maintenance) หากการซ อ มบํ า รุ ง กระทํ า ตาม
คําเรียกรองของผูใชเครื่องจักรกลเฉพาะเมื่อเกิดปญหาขึ้น ก็จะเปนการแกปญหาที่ไมมีวันจบสิ้น
หนวยงานที่รับผิดชอบการซอมบํารุงรักษาจะตองวางหมายกําหนดการตรวจทําความสะอาด
และซ อมเครื่องจักรกลอยางสม่ําเสมอ โดยแจงใหผูที่ เกี่ยวของกับการใชเครื่องจักรกลทราบ
หมายกําหนดการนั้น ขณะเดียวกันผูที่ใชเครื่องจักรกลจะตองรายงานและบันทึกสิ่งบกพรองและ
อุปสรรคที่เกิดขณะใชเครื่องทุกครั้งตลอดจนขอเสนอแนะในการปรับปรุงใหหนวยซอมบํารุง
รักษาทราบ
166

หนังสืออางอิง
1. วิ วั ฒ น แสงเที ย น, มนู ญ นิ จ โภค และวิ ฑู ร ย เจี ย สกุ ล ; "การจั ด การงานก อ สร า ง",
สํานักพิมพโอเดียนสโตร, พิมพครั้งที่ 1 พ.ศ. 2527.
2. ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร, จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ; "การจัด
การทางวิศวกรรม", โรงพิมพแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, พิมพครั้งที่ 5 พ.ศ. 2543.
3. รศ.ตอตระกูล ยมนาค และนิสิตภาควิชาบริหารงานธุรกิจการกอสราง ; "การบริหารธุรกิจ
กอสราง" ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร, จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.

You might also like