You are on page 1of 14

บทที 2

ความน่ าจะเป็ น
ในการวิเคราะหปญหาความนาจะเปนจะตองมีความรูพื้นฐานในเรื่องเซต การวิเคราะหเชิงจัด
กลุมและสัมประสิทธิ์ทวินาม
2.1 เซต
เซต (Set) หมายถึง กลุม พวก หมู ของสิ่งใดสิ่งหนึ่งที่ถูกจัดรวมไวดวยกัน ตัวอยางเชน กลุม
ของนักศึกษาโปรแกรมสถิติประยุกตของสถาบันราชภัฎพระนครศรีอยุธยา เซตของจํานวนเต็มบวก
กลุมของนักศึกษาที่มีเกรดเฉลี่ยไมต่ํากวา 2.5 เซตเขียนแทนดวยอักษรภาษาอังกฤษตัวใหญ

เอกภพสัมพัทธ (Relative universe) หมายถึง เซตที่กําหนดเพื่อครอบคลุมสมาชิกที่ใชใน


การศึกษาทั้งหมดหรือเปนขอบขายในการสรางเซตยอย สัญลักษณเขียนแทนดวย U
การดําเนินการของเซต (Set operation) เปนเรื่องการสรางเซตใหมจากเซตเดิมที่กําหนดให
โดยมีวิธีการดังนี้
1. ยูเนียน (Union) ถา A และ B เปนเซตใดๆ A ยูเนียน B สัญลักษณเขียนแทนดวย

A B เปนเซตใหมที่มีสมาชิกอยูใน A หรือ B

2. อินเตอรเซกชัน (Intersection) ถา A และ B เปนเซตใดๆ A อินเตอรเซก B สัญลักษณ


เขียนแทนดวย A  B เปนเซตใหมที่มีสมาชิกอยูใน A และ B
3. ผลตาง (Difference) ถา A และ B เปนเซตใดๆ ผลตางระหวาง A กับ B สัญลักษณเขียนแทน
ดวย A - B เปนเซตใหมที่มีสมาชิกเฉพาะอยูใน A แตไมอยูใน B
4. สวนเติมเต็ม (Complement) ถา A เปนเซตใด ๆ สวนเติมเต็มของ A สัญลักษณเขียน
แทนดวย A เปนเซตที่ประกอบดวยสมาชิกใน U แตไมอยูใน A
ตัวอยางที่ 2.1 กําหนดให U  { x | x เปนจํานวนเต็ม} A  { 2, 3, 4, 5}
B = { 4, 5, 6} C = { 6, 7, 8}
(1) A B C  ( A B ) C = { 2 , 3 , 4 , 5 , 6 }  { 6 , 7 , 8 }
= { 2, 3 , 4 , 5 , 6 ,7 , 8 }
(2) A  B  C = ( A  B )  C = { 4 , 5 }  { 6 , 7 , 8 }= 
(3)  A  B   ( B  C ) = { 2 , 3 , 4 , 5, 6 }  { 6 }
={2,3,4,5,6}
16

(4) A- B = {2,3}
(5)     = {4,5} = { x | x เปนจํานวนเต็ม และ x 4,5}

ถา A, B,C เปนเซตใดๆจํานวนสมาชิกของ A, B,C สัญลักษณเขียนแทนดวย n A, nB , nC 


ตามลําดับ จะได
1. n A  B   n A  nB  - n A  B  (2.1)
n A  B  C   n A  n B   nC   n A  B   nB  C   n A  C   n A  B  C 
2. ถา A =  จะได n A  0 (2.2)
3. n A  n A  B   n A  B  (2.3)
4. n A  nU   n A (2.4)

ตัวอยางที่ 2.2 ในหองเรียนหองหนึ่งมีนักศึกษา 40คน ไมเลนกีฬาใดเลย 8 คน เลนฟุตบอล 25 คน


เลนวอลเลยบอล 20 คน จงหาจํานวนนักศึกษาที่เลน
(1) ฟุตบอลหรือวอลเลยบอล
(2) ทั้งฟุตบอลและวอลเลยบอล
(3) ฟุตบอลอยางเดียว
วิธีทํา กําหนดให A แทนเซตนักศึกษาที่เลนฟุตบอล
B แทนเซตนักศึกษาที่เลนวอลเลยบอล
จะได n A  25 nB   20 nU   40 และ n     8
(1) จากสมการ(2.4) จะได n A  B   nU   n A  B 

n A  B   nU   n A  B   40  8
ดังนั้น จํานวนนักศึกษาที่เลนฟุตบอลหรือวอลเลยบอลเทากับ 32 คน
(2) จากสมการ(2.1) n A  B   n A  nB  - n A  B 
จะได n A  B   n A  nB   n A  B   25  20  32
ดังนั้น จํานวนนักศึกษาที่เลนทั้งฟุตบอลและวอลเลยบอลเทากับ 13 คน
(3) จากสมการ(2.3) n A  n A  B   n A  B 
จะได n     n A  n A  B   25  13
ดังนั้น จํานวนนักศึกษาที่เลนฟุตบอลอยางเดียวเทากับ 12 คน
17

2.2 การวิเคราะหเชิงจัดกลุม
การวิเคราะหเชิงจัดกลุม (Combinatorial analysis) เปนวิธีการคํานวณหาจํานวนวิธีการจัดที่
จะเปนไปไดทั้งหมด ตามเงื่อนไขที่กําหนด ซึ่งมีวิธีวิเคราะหดังนี้
1. ใชกฎเบื้องตนเกี่ยวกับการนับ (Fundamental principle of counting)
ถางานชนิดหนึ่งมีการกระทํา k ขั้นตอน แตละขั้นตอนมีทางเลือก n1 n2 ... nk วิธีตาม
ลําดับ จํานวนวิธีเลือกทํางาน k ขั้นตอนเทากับผลคูณระหวาง n1 n2 ... nk

ตัวอยางที่ 2.3 นักศึกษาคนหนึ่งลงเรียนวิชาสถิติ มีใหเลือกลงเรียน 2 หมู และวิชาภาษาอังกฤษ


มีใหเลือกลงเรียน 3 หมู นักศึกษาผูนี้จะมีวิธีเลือกลงหมูเรียนไดทั้งหมดเทากับ n1n2  23  6
ตัวอยางที่ 2.4 โรงงานผลิตเสื้อแหงหนึ่งมีชางตัดผา 10 คน ชางเย็บ 25 คน ชางตรวจสอบ 2 คน
และคนบรรจุถุง 3 คน โรงงานแหงนี้จะมีวิธีเลือกจัดคนผลิตเสื้อไดทงั้ หมดเทากับ (10)(25)(2)(3)
= 1250 วิธี
ตัวอยางที่ 2.5 โยนเหรียญหนึ่งบาท 2 อัน และลูกเตา 1 ลูก จะปรากฎผลลัพธทั้งหมดเทากับ
(2 )(2)(6)= 24 วิธี
วิธีเรียงสับเปลี่ยน (Permutation) เปนวิธีการจัดเรียงโดยคํานึงถึงอันดับของสิ่งของที่จัดเรียง
2.
อาจจะจัดเปนแถวตรงหรือวงกลม จะมีวิธีเรียงสับเปลี่ยนดังนี้
(1) ถามีสิ่งของแตกตางกัน n สิ่งเลือกมา r สิ่งจัดเรียงเปนแถว โดยคํานึงถึงอันดับ จํานวนวิธี
จัดเรียงเทากับ Pn , r วิธี ซึ่ง
n!
n , r  (2.5)
n  r !

ตัวอยางที่ 2.6 ถามีตัวอักษร A B C D E F เลือกมา 3 ตัวอักษรจัดเรียงเปนแถวจํานวนวิธีจัด


6! 6  5  4  3  2  1
เรียงเทากับ P6, 3    120 วิธี
3! 3  2 1
ถานําตัวอักษร A B C D E F ทั้งหมดมาจัดเรียงเปนแถวจํานวนวิธีจัดเรียงเทากับ
6!
P6,6   6  5  4  3  2  1  720 วิธี
0!
(2) ถามีสิ่งของ n สิ่งมีลักษณะแตกตางกัน k กลุม กลุมที1่ มีเหมือนกับ n1 จํานวน
กลุมที่ 2 มีเหมือนกัน n2 จํานวน … กลุมที่ k มีเหมือนกัน nk จํานวน โดยที่ n  n1  n2  ...  nk
n!
จํานวนวิธีการจัดเรียงเปนแถวเทากับ
n1 ! n 2 !... n k !
18

ตัวอยางที่ 2.7 คําวา MISSISSIPPI มี 11 ตัวอักษร ประกอบดวย ตัวอักษร M 1 ตัว


ตัวอักษร I 4 ตัว ตัวอักษร S 4 ตัว และตัวอักษร P 2 ตัว จํานวนวิธีจัดเรียงตัวอักษร 11 ตัว
11!
= = 34,650 วิธี
1!4!4!2!
(3) ถามีสิ่งของแตกตางกัน n สิ่ง นํามาจัดเรียงเปนวงกลม จะมีจํานวนวิธีจัดเทากับ n  1!
ตัวอยางที่ 2.8 จํานวนวิธีจัดคน 8 คน ใหนั่งรับประทานอาหารรอบโตะกลมซึ่งมี 8 ที่นั่ง จะมีวิธีจัด
ทั้งหมดเทากับ (8 - 1)! = 5,040 วิธี
3. วิธีจัดหมู (Combination) เปนวิธีการจัดสิ่งของหมูละ r สิ่งจากสิ่งของแตกตางกัน n สิ่ง
จํานวนวิธีการจัดหมูเทากับ C n , r ซึ่ง
n!
Cn , r  (2.6)
r! n - r  !

ตัวอยางที่ 2.9 มีหนังสือแตกตางกัน 6 เลม ถานักศึกษาจะยืม 4 เลมมีวิธีเลือกหนังสือเทากับ


6!
C6,4  = 15 วิธี
4! 6  4 !
2.3 ความนาจะเปน
การเกิดเหตุ การณ์หลายเหตุการณ์มีความไม่แน่นอน จึงมีการศึกษาถึงโอกาสของการเกิด
เหตุการณ์ โดยกําหนดให้ โอกาสการเกิดเหตุการณ์มีค่าอยู่ระหว่าง 0 ถึง 1 หรืออยู่ในรูปร้ อยละ ค่า
โอกาสของการเกิดเหตุการณ์จะเรียกว่า ความน่ าจะเป็ น (Probability) ของเหตุการณ์ ถ้ าค่า
ความน่าจะเป็ นของเหตุการณ์เข้ าใกล้ 1 ก็หมายความว่าโอกาสทีจะเกิดเหตุการณ์นั นมีมาก แต่ถ้าค่า
ความน่าจะเป็ นของเหตุการณ์เข้ าใกล้ 0 ก็หมายความว่าโอกาสทีจะเกิดเหตุการณ์นั นมีน้อยมาก
ความน่าจะเป็ นของเหตุการณ์จึงเป็ นดัชนีวัดขนาดการเกิดของเหตุการณ์นั น ซึงสามารถจะนําไป
ประยุกต์ใช้ ตั ดสินใจดําเนินงานภายใต้ สภาวะการณ์ไม่แน่นอน
ไดมีการศึกษาเรื่องความนาจะเปนและนําไปประยุกตใชแกปญหา ตั้งแตป ค.ศ. 1500 โดย
เจโรนิโม คารดาโน (Geronimo Cardano) ไดศึกษาความนาจะเปนควบคูไปกับการพนัน ประกอบกับ
ขุนนางสมัยนั้นสนใจการพนันมากและไดขอรองใหนักคณิตศาสตรและนักตรรกวิทยา ชวยคํานวณ
โอกาสที่จะเกิดขึ้นของเกมพนันตาง ๆ ในบรรดานักคณิตศาสตรและนักตรรกวิทยากลุมนี้คือ แบลส
ปาสกาล (Blaise Pascal) และ ปแยร เดอ แฟรมาต (Pierre De Fermat ) ซึ่งไดชวยหาคําตอบ
เกี่ยวกับโอกาสที่จะชนะหรือแพในการเลนเกมพนันตาง ๆ และจากปญหาทางดานการพนันดังกลาว ได
นําไปสูการศึกษาทฤษฎีความนาจะเปน ในป ค.ศ. 1667-1754 แบรนูลลี (Bernoulli) และ
อะบราฮัม เดอมัวร (Abraham De Moivre) ไดศึกษาเกี่ยวกับความนาจะเปน ในป ค.ศ. 1777-1855
19

คารล ฟรีดริค เกาส (Carl Friedrich Gauss ) ไดประยุกตหลักของความนาจะเปนในการศึกษา


ดาราศาสตรและคนพบสมการการแจกแจงความนาจะเปนปกติ
2.3.1 การคํานวณหาคาความนาจะเปน
ในการทดลองหรือการกระทําใดๆที่ทําใหเกิดผลลัพธไมแนนอน หรือผลลัพธมากกวาหนึ่ง
ผลลัพธจะเรียกวา การทดลองสุม (Random experiment) เซตที่ประกอบดวยผลลัพธทั้งหมด
ของการทดลองสุม (Sample description space) หรือเรียกวา ปริภูมิตัวอยาง (Sample space)
สัญลักษณเขียนแทนดวย S เหตุการณ (Event) คือ เซตยอยของปริภูมิตัวอยาง สัญลักษณเขียนแทนดวย
อักษรภาษาอังกฤษตัวใหญ
ตัวอยางที่ 2.10 (1) โยนเหรียญ 1 อัน เปนการทดลองสุมมี 2 ผลลัพธ คือหัวและกอย
กําหนดให H และ T แทนหัวและกอยตามลําดับ S  { H ,T } และ A แทนเหตุการณที่เกิดหัว
A  { H } ซึ่ง A  S
(2) หยิบลูกบอล 2 ลูกจากกล่องทีมีลู กบอลสีแดง 2 ลูก และสีขาว 2 ลูก เป็ น
4!
การทดลองสุ่ม มีจํานวนวิธีหยิบ C 4 ,2  6
2!2!
กําหนดให R1 , R2 แทนลูกบอลสีแดงลูกที่ 1 และ 2 ตามลําดับ และ W1 ,W2 แทนลูกบอลสี
ขาวลูกที่ 1 และ 2 ตามลําดับ จะได S  R1 R2 , R1W1 , R1W2 , R2W1 , R2W2 ,W2W2 
และ A แทนเหตุการณที่หยิบไดสีแดง 2 ลูก A  { R1 R2 }
(3) โยนเหรียญ 1 อัน 3 ครั้ง เปนการทดลองสุม มีจํานวนผลลัพธ 23  8
จะได S  { HHH, HHT, HTH,THH, HTT,THT,TTH,TTT }
กําหนดให A แทนเหตุการณที่เกิดหัว 2 ครั้ง A  HHT , HTH ,THH 
ความนาจะเปนของเหตุการณ A สัญลักษณเขียนแทนดวย P  A หลักการคํานวณคา ความ
นาจะเปนของเหตุการณ A มี 2 วิธีดังนี้
1. ใชความถี่ (Frequency or posterior approach) โดยการทําการทดลองสุมซ้ํากันหลาย ๆ
ครั้งหรือจากขอมูลในอดีตที่เก็บรวมรวมไว และนับจํานวนครั้งที่เกิดเหตุการณ A
ถา f เปนจํานวนครั้งที่เกิดเหตุการณ A และ n เปนจํานวนครั้งของการทดลองสุมหรือ
จํานวนขอมูลที่เก็บ จะได
f
P  A  (2.8)
n
ความนาจะเปนของเหตุการณ A ที่คํานวณไดโดยวิธีนี้เรียกวา ความนาจะเปนภายหลัง (Posterior
probability) หรือ ความถี่สัมพัทธ
20

ตัวอย่ างที 2.11 (1) ลงทุนขายขนม 60 วัน พบว่ามี 5 วันทีขายขนมหมด


กําหนดให A แทนเหตุการณที่ขายขนมหมด
f 5
จะได P  A  
n 60
ดังนั้น ความนาจะเปนที่ขายขนมหมดเทากับ 0.08
(2) โยนเหรียญ 1 อัน 100 ครั้ง ปรากฏวาเกิดหัว 52 ครั้ง
กําหนดให A แทนเหตุการณที่เกิดหัว
f 52
จะได P  A  
n 100
ดังนั้น ความนาจะเปนที่เกิดหัวเทากับ 0.52
2. ใชแบบฉบับ (Classical or a prior approach) โดยยึดหลักเกณฑที่วา ผลลัพธทุกผลลัพธ
ในปริภูมิตัวอยางมีโอกาสเกิดขึ้นเทา ๆ กัน ความนาจะเปนของเหตุการณ A คือสัดสวนระหวางจํานวน
ผลลัพธในเหตุการณ A กับจํานวนผลลัพธของปริภูมิตัวอยาง
ถา n A และ nS  แทนจํานวนผลลัพธของเหตุการณ A และ S ตามลําดับ จะได
n A
P A  (3.9)
nS 

ความนาจะเปนของเหตุการณ A ที่คํานวณไดเรียกวา ความนาจะเปนกอน (Prior probability)


ซึ่ง 0  P A  1
ตัวอยางที่ 2.12 จากขอมูลในตัวอยางที่ 3.10 จงหาความนาจะเปนของเหตุการณ A
วิธีทํา (1) จะได n A = 1 nS  = 2
จากสมการ (2.9) จะได P A  n A  1
nS  2
ดังนั้น ความนาจะเปนที่เกิดหัวเทากับ 0.50
(2) จะได n A = 1 nS  = 6
จากสมการ (2.9) จะได P A  n A  1
nS  6
ดังนั้น ความนาจะเปนที่หยิบไดลูกบอลสีแดงเทากับ 0.17
(3) จะได n A = 3 nS  = 8

จากสมการ (2.9) จะได P A  n A  3


nS  8
ดังนั้น ความนาจะเปนที่เกิดหัว 2 ครั้ง เทากับ 0.38
21

ตัวอยางที่ 2.13 ครอบครัวหนึ่งมีบุตร 5 คน จงหาความนาจะเปนที่ครอบครัวนี้มีบุตรเปนชาย 3 คน


วิธีทํา กําหนดให้ A แทนเหตุ การณ์ทีครอบครัวมีบุตรเป็ นชาย 3 คน
จากกฎเบื้องตนเกี่ยวกับการนับจะได nS  = 25 = 32
5!
และจากสมการ(2.6) จะได n A  C 5,3 =  10
3!2!
n A 10
จากสมการ (2.9) จะได P A  
nS  32
ดังนั้น ความนาจะเปนที่ครอบครัวนี้มีบุตรเปนชาย 2 คน เทากับ 0.31

ตัวอยางที่ 2.14 ถุงใบหนึ่งมีลูกบอลสีแดง สีขาว และสีเหลืองอยางละ 3 ลูก สุมหยิบลูกบอลครั้งละ


3 ลูกจากถุง จงหาความนาจะเปนที่หยิบไดลูกบอลสีเดียวกันทั้งสามลูก
วิธีทํา กําหนดให้ A แทนเหตุ การณ์ทีหยิบได้ ลู กบอลสีเดียวกันทั งสามลูก
9!
จากสมการ(2.6) จะได nS   C 9,3   84
6!3!
และ n A = 3
n A 3
จากสมการ (2.9) จะได P A  
nS  84
ดังนั้น ความนาจะเปนที่หยิบไดลูกบอลสีเดียวกันทั้งสามลูกเทากับ 0.04

2.3.2ทฤษฎีความนาจะเปนเบื้องตน
ทฤษฎีความนาจะเปนเบื้องตนที่นําไปใชวิเคราะหคาความนาจะเปน ไดแก
1. ถา A ,B เปนเซตยอยของ S และ      จะได
             (2.10)
2. ถา A เปนเซตยอยของ S จะได
     1     (2.11)

3. ถา A ,B เปนเซตยอยของ S แลว


  A    A  B     A  B   (2.12)
4. ถา เปนเซตยอยของ S แลว
A ,B
                   (2.13)
ในทํานองเดียวกันถา A , B , C เปนเซตยอยของ S จะได
  A  B  C     A   B    C     A  B     A  C    B  C     A  B  C 
22

ตัวอยางที่ 2.15 โยนเหรียญ 3 อันพรอมกัน จงหาความนาจะเปนที่เกิดหัว


(1) 2 หรือ 3 อัน (2) อยางนอย 1 อัน
วิธีทํา (1) กําหนดให A และ B แทนเหตุการณที่เกิดหัว 2 และ 3 อัน ตามลําดับ
จากตัวอยางที่ 2.10 ได nS   8 n A  3 nB   1
3 1
จะได   A  และ  B  
8 8
เนื่องจาก A  B   และจากขอ 1 จะได
3 1 4
  A  B     A    B  =  
8 8 8
ดังนั้น ความนาจะเปนที่เกิดหัว 2 หรือ 3 อัน เทากับ 0.50
(2) กําหนดให A แทน เหตุการณที่เกิดหัวทั้งสามอัน
1
ดังนั้น n A  1 จะได   A 
8
จากทฤษฎีขอ 2 จะได   A  1    A = 1  1
8
ดังนั้น ความนาจะเปนที่เกิดหัวอยางนอย 1 อัน เทากับ 0.88

ตัวอยางที่ 2.16 หมูบานแหงหนึ่งมี 200 ครอบครัว มี 100 ครอบครัวที่ปลูกขาว 120 ครอบครัวที่


ปลูกออยและ 40 ครอบครัวที่ปลูกทั้งขาวและออย จงหาความนาจะเปนที่สุมมาหนึ่งครอบครัวพบวา(1)
ปลูกขาวหรือออย (2) ปลูกขาวอยางเดียว (3) ไมปลูกขาว (4) ไมปลูกทั้งขาวและออย
วิธีทํา กําหนดให A แทนเหตุการณที่ครอบครัวปลูกขาว
B แทนเหตุการณที่ครอบครัวปลูกออย
จะได nS   200 n A  100 nB   120 และ n A  B   40
100 120 40
เพราะฉะนั้น P A  P B   และ P A  B  
200 200 200
(1) จากทฤษฎีขอ 4 จะได
100 120 40 180
  A  B     A    B     A  B  =   =
200 200 200 200
ดังนั้น ความนาจะเปนที่สุมมาหนึ่งครอบครัวพบวาปลูกขาวหรือออยเทากับ 0.90
(2) จากทฤษฎีขอ 3 จะได                 100  40

60
200 200 200
ดังนั้นความนาจะเปนที่สุมมาหนึ่งครอบครัวพบวาปลูกขาวอยางเดียวเทากับ 0.30
(3) A แทนเหตุการณที่ครอบครัวไมปลูกขาว และจากทฤษฎีขอ 2 จะได
100 1
  A   1    A  1  
200 2
ดังนั้น ความนาจะเปนที่สุมมาหนึ่งครอบครัวพบวาไมปลูกขาวเทากับ 0.50
23

(4)  A  B  แทน เหตุการณที่ครอบครัวไมปลูกทั้งขาวและออย


9 1
จากทฤษฎีขอ 2 จะได 
  A  B   1   A  B  1  
10 10
ดังนั้น ความนาจะเปนที่สุมมาหนึ่งครอบครัวพบวาไมปลูกทั้งขาวและออยเทากับ 0.10
2.3.3 ความนาจะเปนมีเงื่อนไข
ความนาจะเปนมีเงื่อนไข (Conditional probability) เปนความนาจะเปนที่เหตุการณหนึ่งปรากฏ
ในอีกเหตุการณหนึ่ง ตัวอยางเชน ความนาจะเปนที่พบนักศึกษาหญิงในกลุมที่ลงเรียนวิชาสถิติ
ถา A และ B เปนเหตุการณใด ๆ และ P A  0 ความนาจะเปนของ A ภายใตเงื่อนไข B
สัญลักษณเขียนแทนดวย PA B  ซึ่ง
 A  B
PA B   (2.14)
 B 
และจะได P A  B   P B P  A B  (2.15)
ในทํานองเดียวกัน ความนาจะเปนของ B ภายใตเงื่อนไข A สัญลักษณเขียนแทนดวย P(B \ A) ซึ่ง
 A  B
P(B A ) 
  A
และจะได P A  B   P  A P B A 

ตัวอยางที่ 2.17 จากขอมูลในตัวอยางที่ 2.16 จงหาความนาจะเปนที่สุมหนึ่งครอบครัวปลูกออยพบวาปลูกขาว


 40 
 
  A  B   200  2
วิธีทํา จากสมการ (2.14) จะได P(A B )  = =
 B   100  5
 
 200 
ดังนั้น ความนาจะเปนที่สุมหนึ่งครอบครัวปลูกออยพบวาปลูกขาวดวยเทากับ 0.40

ตัวอยางที่ 2.18 กลองใบหนึ่งมีหลอดไฟ 50 หลอด มีหลอดเสีย 15 หลอด ถาสุมหยิบครั้งละ 1


หลอด แบบไมคืนที่ จงหาความนาจะเปนที่ได
(1) หลอดไฟเสียในการหยิบครั้งที่สอง เมื่อครั้งแรกหยิบไดหลอดเสีย
(2) หลอดไฟดีในการหยิบครั้งที่สอง เมื่อครั้งแรกหยิบไดหลอดไฟเสีย
วิธีทํา กําหนดให A1 , A2 แทนเหตุการณที่ไดหลอดเสีย ในการหยิบครั้งที่ 1,2 ตามลําดับ
B1 , B2 แทนเหตุการณที่ไดหลอดไฟดี ในการหยิบครั้งที่ 1,2 ตามลําดับ
50!
จากสมการ (2.5) จะได nS  = 50,2   2450
48!
จากกฎเบื้องตนการนับจะได n A1  = 15  49 = 735
24

735
จากสมการ (2.9) จะได   A1  
2450
( 1) A1  A2 แทนเหตุการณที่ไดหลอดเสียทั้งสองหลอด
15!
จากสมการ (2.5) จะได n A1  A2  = 15 ,2  = 210
13!
210
จากสมการ (2.9) จะได P A1  A2  =
2450
 210 
 
  A1  A2  2450  2
จากสมการ (2.14) จะได   A2 A1     
  A1   735  7
 
 2450 
ดังนั้น ความนาจะเปนที่ไดหลอดไฟเสียในการหยิบครั้งที่สอง เมื่อครั้งแรกหยิบไดหลอดเสียเทากับ0.29
(2) A1  B2 แทนเหตุการณที่ไดหลอดเสียในการหยิบครั้งแรกและหลอดดีในการหยิบครั้งที2่
จากกฎเบื้องตนการนับจะได n A1  B2   1535 = 525
525
จากสมการ (2.9) จะได   A1  B2  
2450
 525 
 
  A1  B2  2450  5
จากสมการ (2.14) จะได  B2 A1    =
  A1   753  7
 
 2450 

ดังนั้นความนาจะเปนที่ไดหลอดไฟดี ในการหยิบครั้งที่สองเมื่อครั้งแรกหยิบไดหลอดเสียเทากับ 0.71

ตัวอยางที่ 2.19 ในโรงเรียนแหงหนึ่งมีนักเรียน 1000 คน จํานวนนักศึกษาแยกตามเพศและการนํา


อาหารกลางวันมาโรงเรียน เปนดังนี้
ชาย หญิง
นําอาหารกลางวันมา 200 300 500
ไมนําอาหารกลางวันมา 400 100 500

600 400
สุมสอบถามนักเรียนชายคนหนึ่ง จงหาความนาจะเปนที่นักเรียนคนนี้จะนําอาหารกลางวันมาโรงเรียน
วิธีทํา กําหนดให้ M แทนเหตุการณ์ทีนักเรียนเป็ นชาย
A แทนเหตุการณที่นักเรียนนําอาหารกลางวันมาโรงเรียน
จะได M  A แทนเหตุการณที่นักเรียนเปนชายและนําอาหารมาโรงเรียน
nS   1000 nM  = 600 และ nM  A  200
600
จากสมการ (2.9) จะได PM  =
1000
25

200
และ  ( AM ) =
1000
 200 
 
  A  M   1000  1
จากสมการ (2.14) จะได  A M    =
 M   600  3
 
 1000 
ดังนั้นความนาจะเปนที่นักเรียนชายจะนําอาหารกลางวันมาโรงเรียนเทากับ 0.33

2.3.4 เหตุการณอิสระ
ถาเหตุการณ A และ B เปน เหตุการณอิสระ (Independent events) หรือกลาววา
เหตุการณ B ไมขึ้นกับเหตุการณ Aก็ตอเมื่อ
P A  B   P AP B  (2.16)
และจะได P  A B   P  A
P B A  P B 

ตัวอยางที่ 2.20 โยนลูกเตา 1 ลูก และเหรียญ 2 อัน จงหาความนาจะเปนที่ลูกเตาขึ้นเลข 1 หรือ 2


และเหรียญขึ้นหัวทั้งสองอัน
วิธีทํา กําหนดให S1 แทนปริภูมิตัวอยางของการโยนลูกเตา
S 2 แทนปริภูมิตัวอยางของการโยนเหรียญ 2 อัน
A แทนเหตุการณที่ลูกเตาเกิดเลข 1 หรือ 2
B แทนเหตุการณที่เหรียญทั้งสองอันขึ้นหัว
จะเห็นวาการขึ้นเลขบนลูกเตาไมมีผลกระทบตอการเกิดของเหรียญ แสดงวาเหตุการณ A
และ B เปนเหตุการณอิสระ
จะได nS1   6 nS 2   4 n A  2 nB   1
2 1
และ P  A  P B  
6 4
จากสมการ(2.16) จะได P A  B   P APB    2  1   1
 6  4  12
ดังนั้น ความนาจะเปนที่ลูกเตาขึ้นเลข 1 หรือ 2 และเหรียญทั้งสองขึ้นหัวเทากับ 0.08
ตัวอยางที่ 2.21 ถุงใบหนึ่งมีลูกบอลสีแดง 3 ลูก สีขาว 4 ลูก สีเหลือง 2 ลูก สุมหยิบครั้งละ 1 ลูก
2 ครั ง โดยวางทีเดิมก่อนทีจะหยิบครั งต่อไป จงหาความน่าจะเป็ นทีจะหยิบได้ ล ู กบอล
(1) สีแดงทั้งสองครั้ง (2) สีขาวและสีเหลือง
26

วิธีทํา (1) กําหนดให Aแทนเหตุการณที่ไดลูกบอลสีแดงในการหยิบครั้งแรก


B แทนเหตุการณที่ไดลูกบอลสีแดงในการหยิบครั้งที่สอง
S1 แทนปริภูมิตัวอยางของการหยิบในครั้งแรก
S 2 แทนปริภูมิตัวอยางของการหยิบในครั้งที่สอง
จะได n A = 3 nB  = 3 nS1  = 9 nS 2  = 9
3
และ P  A  P B  
9
การหยิบในครั้งแรกไมมีผลกระทบตอการหยิบในครั้งที่สอง ดังนั้น A และ B เปน
เหตุการณอิสระ จากสมการ(2.16) จะได
 3  3  1
P A  B   P AP B      
 9  9  9
ดังนั้น ความนาจะเปนที่หยิบไดลูกบอลสีแดงทั้งสองครั้งเทากับ 0.11
(2) กําหนดให C แทนเหตุการณที่หยิบไดลูกบอลสีขาว
D แทนเหตุการณที่หยิบไดลูกบอลสีเหลือง
4 2
จะได nC   4 n D   2 และ PC   P D  
9 9
การเกิดเหตุการณ C ไมมีผลกระทบตอการเกิดเหตุการณ D แสดงวา C และ D เปนเหตุการณ
อิสระ จากสมการ(2.16) จะได
 4  2  8
PC  D   PC PD      
 9  9  81
ดังนั้น ความนาจะเปนที่หยิบไดลูกบอลสีขาวและสีเหลืองเทากับ 0.10

ตัวอยางที่ 2.22 โอกาสที่นายเลิศเลนหุน A ไดกําไร 10% เทากับ 0.21 หุน B ไดกําไร 10%เทากับ
0.18 และหุน C ไดกําไร10% เทากับ 0.25 จงหาความนาจะเปนที่เขาเลนหุน A B และ C ไดกําไร 10%
วิธีทํา กําหนดให A , B , C แทน เหตุการณที่นายเลิศเลนหุน A , B , C ไดกําไร 10% ตามลําดับ
จะได P( A )  0.21 P( B )  0.18 และ P( C )  0.25
เนื่องจาก A, B และ C เปนเหตุการณอิสระ จากสมการ(2.16) จะได
P A  B  C   P APB PC  = (0.4) (0.18) (0.25) = 0.018
ดังนั้น ความนาจะเปนที่นายเลิศเลนหุน A , B และ C ไดกําไร 10% เทากับ 0.02
27

แบบฝกหัดที่ 2
ขอ2.1 กําหนดให U = {0,1,2,3,4,5,6,7,9}
A = {1,3,5,7,9}
B = {1,2,4,6,9}
C = {1,3,4,5,6}
จงหา (1) P(A  B) (2) P(A  B)/
(3) P[(A  B)  C] (4) P [(A  B)  C]
(5) P(A  B  C)/ (6) P[(A-C)  B / ]
(7) P[(A  B)  C / ] (8) P[(A  B / )  C
ขอ2.2 นักศึกษาคณะบริหารธุรกิจ สถาบันแหงหนึ่งจํานวน 500 คน จะลงทะเบียนเรียนวิชาหนึ่ง
หรือมากกวาใน 3 วิชา คือ ภาษาอังกฤษ บัญชี และการตลาด เปนดังนี้ วิชาภาษาอังกฤษ 329
คน วิชาภาษาอังกฤษและบัญชี 83 คน วิชาบัญชี 186 คน วิชาภาษาอังกฤษและการตลาด 217
คน วิชาบัญชีและการตลาด 63 คน วิชาการตลาด 295 คน จงหาความนาจะเปนทีน่ ักศึกษาลงเรียน
(1) ทั้ง 3 วิชา
(2) วิชาภาษาอังกฤษ แตไมเรียนการตลาด
(3) วิชาบัญชี แตไมเรียนภาษาอังกฤษ
(4) วิชาการตลาด แตไมไดเรียนบัญชี
ขอ2.3 ในตะกราใบหนึ่งมีสม 10 ผลและมะนาว 5 ผล ที่ตางกัน ถาสุมหยิบ 4 ผล จงหาความนาจะ
เปนทีห่ ยิบไดสม 3 ผลและมะนาว 1 ผล
ขอ2.4 มีหนังสือนาสนใจซื้ออยู 6 เลม จะมีวิธีการเลือกซื้อกี่วิธี
(1) ถาตองการซื้อเพียง 2 เลม (2) ถาตองการซื้อ 2 หรือ 3 เลม
(3) ถาตองการซื้ออยางมาก 3 เลม (4) ที่เปนไปไดทั้งหมด
ขอ2.5 นักศึกษาสถาบันราชภัฏแหงหนึ่งสมัครเปนนายกสโมสรนักศึกษา จํานวน 15 คน เปน
ชาย 8 คน โอกาสที่นักศึกษาจะไดรับเลือกตั้งเทากันทุกคน จงหาความนาจะเปนที่ผูหญิง
จะไดรับเลือกตั้ง
ขอ2.6 สุมหยิบเหรียญ 2 อันจากถุงซึ่งบรรจุเหรียญ 0.50 บาท เหรียญ 1 บาท และเหรียญ 2 บาท จง
หาความนาจะเปนที่จะไดเหรียญ 1 บาท และเหรียญ 2 บาท
ขอ2.7 โยนลูกเตา 1 ลูก โอกาสที่จะเกิดหนา 1,2,3,4,5,6 เทา ๆ กัน
28

กําหนดให A={1,2,3,4} B= {3,4,5,6}


จงหา P(A) P(B) P(A  B) และ P(A  B)
ขอ2.8 สุมไพ 1ใบจากสําหรับ กําหนดให เซต A แทนเหตุการณที่หยิบไดไพโพแดง เซต B แทน
เหตุการณที่หยิบไดไพคิง จงหา P(A), P(B), P(A  B) และ P(A  B)
ขอ2.9 ถา P(A) = 3/8 P(B)= 1/2 และ P(A  B) = 1/4
จงหา (1) P( A /  B / ) (2) P( A /  B)
ขอ2.10 ถา A และ B เปนเหตุการณที่ไมเกิดขึ้นพรอมกัน กําหนดให P(A)=0.4 และ P(B) =0.5 จงหา
(1) P(A  B) (2) P( A / ) (3) P( A /  B)
ขอ2.11 หนวยงานแหงหนึ่งมีปมน้ํา 2 ตัว ความนาจะเปนที่จะใชเครื่องแรกทํางานเทากับ 0.7 เครื่อง
ที่สองเทากับ 0.8 และสองเครื่องทํางานพรอมกัน 0.6 จงหา ความนาจะเปนที่
(1) เครื่องปมน้ําอยางนอยที่สุด 1 เครื่องทํางาน
(2) ไมมีเครื่องปมน้ําทํางาน
ขอ2.12 ถา A และ B เปนเหตุการณ 2 เหตุการณ ถา P(A) = 1/4 P(B) = 1/2 P(A  B) = 1/2
จงหา P(A  B)
ขอ 2.13 กลองใบหนึ่งบรรจุหลอดไฟ 50 หลอด ในจํานวนนี้เสีย 15 หลอด ถาสุมขึ้นมา 2 หลอด
โดยหยิบทีละหลอดเมื่อหยิบหลอดที่หนึ่งไดแลวไมใสกลับคืนลงไปในกลองเดิม จงหาความ
นาจะเปนที่จะหยิบไดหลอดไฟที่เสีย เปนหลอดที่สองเมื่อกําหนดใหหลอดแรกเปนหลอด
ที่เสีย
ขอ2.14 ถุงใบหนึ่งมีลูกแกวสีขาว 4 ลูก สีดํา 3 ลูก ใบที่สองมีลูกแกวสีขาว 3 ลูก สีดํา 5 ลูก
หยิบลูกแกว 1 ลูกจากถุงใบแรก แลวใสถุงที่สองโดยไมไดดูวาลูกแกวที่หยิบมาเปนสีอะไร
แลวหยิบลูกแกวอีกหนึ่งจากถุงที่สอง จงหาความนาจะเปนที่ลูกแกวที่หยิบจากถุงที่สองเปน
สีดํา
ขอ2.15 รานคา 3 ราน มีลูกจาง 8 , 12 และ 14 คน ซึ่งมี 4 , 7 และ 10 คน เปนผูหญิงตาม
ลําดับ สุมเลือกรานคามา 1 รานและจากรานคาที่สุมไดเลือกสุมลูกจาง 1 คน ถาสุมได
ลูกจางเปนหญิง จงหาความนาจะเปนที่ลูกจางคนนั้นจะมาจากรานคาที่มีลูกจาง 12 คน

You might also like