You are on page 1of 13

วารสารวิจัย

การพยากรณ์ปริมาณการส่งออกปลาหมึกและผลิตภัณฑ์
Forecasting the export quantity of squid and products

วรางคณา เรียนสุทธิ์
Warangkhana Riansut

สาขาวิชาคณิตศาสตร์และสถิติ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลุง


Department of Mathematics and Statistics, Faculty of Science, Thaksin University, Phatthalung Campus
E-mail: warang27@gmail.com

บทคัดย่อ
วัตถุประสงค์ของการศึกษาครั้งนี้คือ การสร้างและคัดเลือกตัวแบบพยากรณ์ที่เหมาะสมกับอนุกรมเวลา
ปริมาณการส่งออกปลาหมึกและผลิตภัณฑ์ โดยใช้ข้อมูลจากเว็บไซต์ของสานัก งานเศรษฐกิจการเกษตร ตั้งแต่
เดือนมกราคม 2554 ถึงเดือนพฤศจิกายน 2561 จานวน 95 ค่า ข้อมูลถูกแบ่งออกเป็น 2 ชุด ชุดที่ 1 ตั้งแต่เดือน
มกราคม 2554 ถึงเดือนกันยายน 2561 จานวน 93 ค่า สาหรับการสร้างตัวแบบพยากรณ์ด้วยวิธีบ็อกซ์-เจนกินส์
วิธีการปรับเรียบด้วยเส้นโค้งเลขชี้กาลังของวินเทอร์แบบบวก และวิธีการปรับเรียบด้วยเส้นโค้งเลขชี้กาลังของ
วินเทอร์แบบคูณ ชุดที่ 2 ตั้งแต่เดือนตุลาคมถึงเดือนพฤศจิกายน 2561 จานวน 2 ค่า สาหรับการเปรียบเทียบ
ความถูกต้องของค่าพยากรณ์ โดยใช้เกณฑ์เปอร์เซ็นต์ความคลาดเคลื่อนสัมบูรณ์เฉลี่ย (MAPE) และเกณฑ์รากที่
สองของความคลาดเคลื่อนกาลังสองเฉลี่ย (RMSE) ที่ต่าที่สุด ผลการศึกษาพบว่า จากวิธีการพยากรณ์ทั้งหมดที่
ได้ศึกษา วิธีที่มปี ระสิทธิภาพสูงสุด คือ วิธีบ็อกซ์-เจนกินส์ (MAPE = 4.64, RMSE = 215,204)
คาสาคัญ: การพยากรณ์ ตัวแบบพยากรณ์ การส่งออก ปลาหมึกและผลิตภัณฑ์

ABSTRACT
The objective of this study was to construct and select the appropriate forecasting models for the
export quantity of squid and products. The data gathered from the website of the Office of Agricultural
Economics from January 2011 to November 2018 of 95 values were used and divided into 2 sets. The first
set had 93 values from January 2011 to September 2018 for constructing the forecasting models by Box-
Jenkins method, Winters’ additive exponential smoothing method, and Winters’ multiplicative exponential
smoothing method. The second set had 2 values from October to November 2018 for comparing the
accuracy of the forecasts via the criteria of the lowest mean absolute percentage error (MAPE) and root
mean squared error (RMSE). Research findings indicated that for all forecasting methods that had been
studied, the most accurate method was Box-Jenkins method (MAPE = 4.64, RMSE = 215,204).
Keywords: Forecast, Forecasting model, Export, Squid and products

Received 08-01-2019
Revised 28-02-2019
Accepted 28-02-2019
วารสารวิจัย

1. บทนา ตามลาดับ [4] อุตสาหกรรมการส่งออกปลาหมึกและ


อาหารทะเลนั บ เป็ น อาหารประเภทหนึ่ งที่ ผลิตภัณฑ์ จะยังคงมีปริมาณการส่งออกลดลงและมี
ส าคั ญ ของมนุ ษ ย์ แ ละกลายเป็ น แหล่ ง ส าคั ญ ทาง ความผันผวนสูงเช่นนี้ตลอดไปหรือไม่ การพยากรณ์
เศรษฐกิจมากยิ่งขึ้น โดย 10 ประเทศที่มีการส่งออก ทางสถิตินับเป็นเครื่องมือหนึ่งที่ช่วยตอบคาถามนี้ได้
ผลิตภัณฑ์อาหารทะเลจานวนมาก รวมทั้งปลา กุ้ง ด้ ว ยเหตุ ผ ลดั งกล่ า ว ผู้ วิ จั ย จึ งเริ่ ม สื บ ค้ น งานวิ จั ย ที่
เปลือกหอย และอื่น ๆ ได้แก่ ประเทศจีน นอร์เวย์ เกี่ยวกับการพยากรณ์ปริมาณการส่งออกปลาหมึ ก
เวียดนาม สหรัฐอเมริกา อินเดีย แคนาดา ชิลี สวีเดน และผลิ ต ภั ณ ฑ์ พบว่ า สุ ภ าภรณ์ กอสู งเนิ น [2] ได้
เนเธอร์แลนด์ และอินโดนีเซีย ตามลาดับ [1] สาหรับ ศึ ก ษาการส่ ง ออกปลาหมึ ก แห้ ง ไปยั ง สาธารณรั ฐ
ประเทศไทยสามารถจับสัตว์น้าทะเลได้เป็นจานวน ประชาธิ ป ไตยประชาชนลาว โดยการศึ ก ษาครั้ งนี้
มากในแต่ละปีและมีการนาไปใช้เพื่อการบริโภคใน ไม่ ไ ด้ ใ ช้ วิ ธี ก ารพยากรณ์ ท างสถิ ติ ใ นการสร้ า งตั ว
รูปแบบต่าง ๆ กัน ทั้งการบริโภคสด และการนาเข้าสู่ แบบพยากรณ์ แต่เป็นเพียงการเก็บรวบรวมข้อ มู ล
ภาคอุตสาหกรรมการผลิตประเภทต่าง ๆ เช่น อาหาร เชิงคุณภาพเท่านั้น ดังนั้นผู้วิจัยจึงมีความสนใจที่จะ
ทะเลแช่เย็นแช่แข็ง อาหารทะเลกระป๋อง ทาเค็มและ ศึกษาการสร้างตัวแบบพยากรณ์ ปริมาณการส่งออก
ตากแห้ ง เป็ น ต้ น [2] โดยปลาหมึ ก เป็ น สั ต ว์ น้ า ปลาหมึก และผลิตภัณฑ์ด้ว ยวิ ธีก ารทางสถิ ติ ได้แก่
ประเภทหนึ่ ง ที่ มี ค วามส าคั ญ ทางเศรษฐกิ จ ของ วิธีบ็อกซ์-เจนกินส์ (Box-Jenkins method) วิธีการ
ประเทศไทยรองลงมาจากกุ้ ง ซึ่งกองควบคุมการค้า ปรับเรียบด้วยเส้ นโค้งเลขชี้กาลั งของวินเทอร์ แ บบ
สัตว์น้าและปัจจัยการผลิต กรมประมง ได้รายงานว่า บวก (Winters’ additive exponential smoothing
ผลิตภัณฑ์สัตว์น้าจาพวกปลาหมึกในรูปแบบต่าง ๆ ที่ method) และวิ ธี ก ารปรั บ เรี ย บด้ ว ยเส้ น โค้ ง เลขชี้
บริ โ ภคภายในประเทศและถู ก ส่ ง ออกไปยั ง ตลาด ก า ลั ง ข อ ง วิ น เ ท อ ร์ แ บ บ คู ณ (Winters’
ต่างประเทศมีปริมาณและมูลค่าเพิ่มขึ้นมาก สาหรับ multiplicative exponential smoothing method)
การส่ ง ออกปลาหมึ ก ผ่ า นทางด่ า นตรวจสั ต ว์ น้ า เนื่องจากได้พิจารณาจากลักษณะการเคลื่อนไหวของ
ท่ า อากาศยานสุว รรณภูมิ ใ นปี 2560 ส่ ว นใหญ่ เป็น ข้ อ มู ล ชุ ด ที่ 1 แล้ ว พบว่ า วิ ธี ก ารเหล่ า นี้ เ ป็ น วิ ธี ที่ มี
ปลาหมึ ก สดแช่ เ ย็ น โดยส่ ง ออกไปยั ง ประเทศ ความเหมาะสมกับอนุกรมเวลาชุดนี้มากกว่าวิธีก าร
เกาหลีใต้ คิดเป็นร้อยละ 97 ของปริมาณการส่งออก พยากรณ์อื่น ๆ เช่น วิธีการปรับเรียบด้วยเส้นโค้งเลข
ปลาหมึ ก ทั้ ง ปี [3] อย่ า งไรก็ ต าม จากการศึ ก ษา ชี้กาลังของโฮลต์ (Holt’s exponential smoothing
ปริมาณการส่งออกปลาหมึกและผลิตภัณฑ์เฉลี่ยต่อ method) วิ ธี ก ารปรั บ เรี ยบด้ว ยเส้ นโค้งเลขชี้กาลัง
เดือนจากเว็บไซต์ของสานักงานเศรษฐกิจการเกษตร ของบราวน์ (Brown’s exponential smoothing
ย้อนหลังตั้งแต่ปี 2554 ถึงปัจจุบันกลับพบว่า ปริมาณ method) วิธีการปรับเรียบด้วยเส้นโค้งเลขชี้กาลังที่มี
การส่งออกปลาหมึกและผลิตภัณฑ์มีแนวโน้ม ลดลง แนวโน้ ม แบบแดม (Damped trend exponential
และมีความผันผวนสูง โดยเฉพาะตั้งแต่ปี 2558 ถึงปี smoothing method) วิธีการปรับเรียบด้วยเส้นโค้ง
2561 ปริมาณการส่งออกลดลงเมื่อเทียบกับปีก่อนคิด เลขชี้กาลังที่มีฤดูกาลอย่างง่าย (Simple seasonal
เ ป็ น ร้ อ ย ล ะ 11.97, 13.33, 12.57 แ ล ะ 6.61 exponential smoothing method) แ ล ะ วิ ธี ก าร

 132  ปีที่ 13 ฉบับที่ 2 กรกฏาคม - ธันวาคม 2562


วารสารวิจัย

พยากรณ์ ร วม (Combined forecasting method) ชี้กาลังของวินเทอร์แบบบวก และวิธีการปรับเรียบ


เป็น ต้น หลังจากที่ได้ตัวแบบพยากรณ์แล้ว ผู้วิจัยจะ ด้วยเส้นโค้งเลขชี้กาลังของวินเทอร์แบบคูณ ข้อมูล
คัดเลือกตัวแบบพยากรณ์ที่มีประสิทธิภาพสูงสุด 1 ชุ ด ที่ 2 คื อ ข้ อ มู ล ตั้ ง แต่ เ ดื อ นตุ ล าคมถึ ง เดื อ น
ตั ว แบบ ด้ ว ยเกณฑ์ เ ปอร์ เ ซ็ น ต์ ค วามคลาดเคลื่ อ น พ ฤ ศ จิ ก า ย น 2 5 6 1 จ า น ว น 2 ค่ า ส า ห รั บ
สัมบูรณ์เฉลี่ย (Mean absolute percentage error, การเปรียบเทียบความถูกต้องของค่าพยากรณ์ โดยใช้
MAPE) และเกณฑ์รากที่สองของความคลาดเคลื่อน เกณฑ์ MAPE และ RMSE ที่ ต่ าที่ สุ ด โดยสาเหตุ ที่
ก า ลั ง ส อ ง เ ฉ ลี่ ย (Root mean squared error, ผู้วิจัยแบ่งข้อมูลชุดที่ 2 ไว้เพียง 2 ค่า เนื่องจากใน
RMSE) ที่ต่าที่สุด การทดลองวิเคราะห์ข้อมูลครั้งแรกได้เก็บข้อมูลชุดที่
ด้ ว ยเหตุ ผ ลของความผั น ผวนในปริ ม าณ 2 ไว้ จ านวน 11 ค่ า ตั้ ง แต่ เ ดื อ นมกราคมถึ ง เดื อ น
การส่งออกปลาหมึกและผลิตภัณฑ์ ดังกล่าว จึงเป็น พฤศจิกายน 2561 พบว่า ตัวแบบพยากรณ์ที่ได้จาก
ประเด็ น ที่ น่ า สนใจที่ ค วรมี ก ารศึ ก ษาถึ ง ปริ ม าณ ข้ อ มู ล ชุ ด ที่ 1 จ านวน 84 ค่ า ตั้ งแต่ เ ดื อ นมกราคม
การส่ ง ออกปลาหมึ ก และผลิ ต ภั ณ ฑ์ ใ นอนาคต 2554 ถึงเดือนธันวาคม 2560 มีประสิทธิภาพในการ
เพื่ อ ที่ จ ะหาแนวทางในการเพิ่ ม ศั ก ยภาพและขี ด พยากรณ์ข้อมูลชุดที่ 2 ไม่ดีเท่าที่ควร โดยมีค่า MAPE
ความสามารถของผู้ประกอบการการส่งออกปลาหมึก ของข้ อ มู ล ชุ ด ที่ 2 สู ง ถึ ง ร้ อ ยละ 32.61 และมี ค่ า
และผลิตภัณฑ์ของประเทศไทยให้สามารถแข่งขันกับ RMSE ของข้อมูลชุดที่ 2 สูงถึง 1,301,629 กิโลกรัม
ประเทศอื่น ๆ ได้มากยิ่งขึ้น รวมถึงเป็นแนวทางให้ การตรวจสอบว่ า อนุ ก รมเวลาปริ ม าณ
รั ฐ บาลสามารถออกนโยบายในการสนั บ สนุ น การส่งออกปลาหมึกและผลิตภัณฑ์มีส่วนประกอบ
การส่งออกปลาหมึกและผลิตภัณฑ์ได้อย่างเหมาะสม ของแนวโน้มหรือไม่ ดาเนินการดังนี้
ซึ่งจะนารายได้มาสู่ประเทศไทยมากยิ่งขึ้น และทาให้ 1. ตรวจสอบข้ อ สมมุ ติ (Assumption) คื อ
เกิดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศต่อไป อนุ ก รมเวลาในแต่ ล ะปี มี ก ารแจกแจงปรกติ โดยใช้
การทดสอบคอลโมโกรอฟ-สมีร์นอฟ (Kolmogorov-
2. วัสดุ อุปกรณ์ และวิธีการทดลอง Smirnov test)
การวิ จั ย ครั้ ง นี้ ด าเนิ น การสร้ า งตั ว แบบ 2. ต ร วจ ส อบ ค วา ม เ ท่ า กั น ของ ค วาม -
พยากรณ์ ด้ ว ยโปรแกรม SPSS โดยใช้ อ นุ ก รมเวลา แปรปรวนโดยใช้ ก ารทดสอบของเลวี น ภายใต้
ปริมาณการส่งออกปลาหมึกและผลิตภัณฑ์ (กิโลกรัม) การใช้มัธยฐาน (Levene’s test based on median)
จากเว็บไซต์ของสานักงานเศรษฐกิจการเกษตร [4] 3. เลือกใช้สถิติสาหรับการทดสอบค่าเฉลี่ ย
ตั้ ง แต่ เ ดื อ นมกราคม 2554 ถึ ง เดื อ นพฤศจิ ก ายน ของอนุกรมเวลาในแต่ละปี โดยถ้าอนุกรมเวลาในแต่
2561 จ านวน 95 ค่ า ผู้ วิ จั ย ได้แ บ่งข้ อ มู ลออกเป็น ละปีมีการแจกแจงปรกติและมีความแปรปรวนเท่ากัน
2 ชุด ชุดที่ 1 คือ ข้อมูลตั้งแต่เดือนมกราคม 2554 ถึง จะใช้สถิติอิงพารามิเตอร์ (Parametric statistics) ซึ่ง
เดือนกันยายน 2561 จานวน 93 ค่า สาหรับการสร้าง คื อ การวิ เ คราะห์ ค วามแปรปรวน (Analysis of
ตั ว แบบพยากรณ์ ด้ ว ยวิ ธี ก ารทางสถิ ติ 3 วิ ธี ได้ แ ก่ variance, ANOVA) แต่ถ้าอนุกรมเวลาในแต่ละปีไม่มี
วิธีบ็อกซ์-เจนกินส์ วิธีการปรับเรียบด้วยเส้นโค้งเลข การแจกแจงปรกติหรือมีความแปรปรวนไม่เ ท่ากั น

Vol.13 No.2 July - December 2019  133 


วารสารวิจัย

จะใช้ ส ถิ ติ ไ ม่ อิ ง พารามิ เ ตอร์ (Nonparametric ออกแล้ วมีนัยสาคัญ หมายความว่า ในแต่ละเดือ น


statistics) ซึ่งคือ การวิเคราะห์ความแปรปรวนทาง อนุ ก รมเวลาที่ ไ ม่ มี แ นวโน้ ม มี ค่ า เฉลี่ ย แตกต่ า งกั น
เดี ย วโดยล าดั บ ที่ ข องครั ส คอล-วอลลิ ส (Kruskal- นั่นคือ อนุกรมเวลามีส่วนประกอบของความผันแปร
Wallis’s one-way analysis of variance by rank) ตามฤดูกาล
ถ้าผลการทดสอบค่าเฉลี่ยของอนุกรมเวลาในแต่ละปี สั ญ ลั ก ษณ์ ท่ี ใ ช้ ส าหรั บ วิ ธี ก ารสร้ า งตั ว แบบ
มีนัยสาคัญ หมายความว่า ในแต่ละปีอนุกรมเวลามี พยากรณ์ในหัวข้อที่ 2.1 – 2.3 แสดงดังนี้
ค่ า เ ฉ ลี่ ย แ ต กต่ า งกั น นั่ น คื อ อนุ ก ร ม เ วล า มี
ส่วนประกอบของแนวโน้ม Yt แทนอนุกรมเวลา ณ เวลา t
การตรวจสอบว่ า อนุ ก รมเวลาปริ ม าณ  t แทนอนุ ก รมเวลาของความคลาด
การส่ งออกปลาหมึ กและผลิ ตภัณฑ์มี ความผันแปร เคลื่อนที่มีการแจกแจงปรกติและเป็นอิสระกันด้วย
ตามฤดูกาลหรือไม่ ดาเนินการดังนี้ ค่าเฉลี่ยเท่ากับศูนย์ และความแปรปรวนเท่ากันทุก
1. พิ จ ารณาว่ า อนุ ก รมเวลามี ส่ ว นประกอบ ช่วงเวลา
ของแนวโน้ ม หรื อ ไม่ ถ้ า มี ต้ อ งก าจั ด แนวโน้ ม ออก Ŷ แทนค่าพยากรณ์ ณ เวลา t + m โดย
t m

ก่อนที่จะทดสอบค่าเฉลี่ยของอนุกรมเวลาในแต่ละ ที่ m แทนจ านวนช่ ว งเวลาที่ ต้ อ งการพยากรณ์ ไ ป


เดือน ซึ่งวิธีการกาจัดแนวโน้มมี 2 วิธี คือ ถ้าพิจารณา ข้างหน้า
ที่ ก ราฟของอนุ ก รมเวลาเที ย บกั บ เวลาแล้ ว พบว่ า a , b และ Ŝ แทนค่าประมาณ ณ เวลา t
t t t

อนุ ก รมเวลามี ก ารเคลื่ อ นไหวหรื อ มี ก ารแกว่ ง ตั วที่ แสดงระยะตัด แกน Y, ความชั น ของแนวโน้ ม และ
ค่ อ นข้ า งคงที่ เ มื่ อ เวลาเปลี่ ย นแปลงไป กล่ า วได้ ว่ า ความผันแปรตามฤดูกาล ตามลาดับ
อนุกรมเวลามีความเหมาะสมกับตั วแบบบวก ควร  ,  และ  แทนค่ า คงตั ว การปรั บ เรี ย บ

กาจัดแนวโน้มออกด้วยการลบ แต่ถ้าอนุกรมเวลามี โดยที่ 0    1 , 0    1 และ 0    1


การเคลื่อนไหวหรือมีการแกว่งตัวที่เพิ่มขึ้นหรือลดลง t แทนช่ ว งเวลา ซึ่ งมี ค่ า ตั้ ง แต่ 1 ถึ ง n1
เมื่อเวลาเปลี่ยนแปลงไป กล่าวได้ว่า อนุกรมเวลามี เมื่อ n1 แทนจานวนข้อมูลในอนุกรมเวลาชุดที่ 1
ความเหมาะสมกั บตั ว แบบคูณ ควรก าจั ด แนวโน้ม s แทนจานวนคาบของฤดูกาล
ออกด้วยการหาร 2.1 การพยากรณ์โดยวิธีบ็อกซ์-เจนกินส์
2. ตรวจสอบข้อสมมุติ คือ อนุกรมเวลาในแต่ การพยากรณ์ โ ดยวิ ธี บ็ อ กซ์ - เจนกิ น ส์ มี
ละเดือนหลังจากกาจัดแนวโน้มออกแล้วมีการแจก ความเหมาะสมกับอนุกรมเวลาที่มีทั้งส่วนประกอบ
แจงปรกติ แ ละมี ค วามแปรปรวนเท่ า กั น หรื อ ไม่ ของแนวโน้ ม และความผั น แปรตามฤดู ก าล มี
เช่นเดียวกับข้อ 1 และ 2 ของการตรวจสอบแนวโน้ม ตั ว แ บ บ ใ น รู ป ทั่ ว ไ ป (General model) คื อ
3. เลือกใช้สถิติทดสอบเช่นเดียวกับข้อ 3 ของ SARIMA(p, d, q)(P, D, Q)s แสดงดังนี้ [5]
การตรวจสอบแนวโน้ม โดยถ้าผลการทดสอบค่าเฉลี่ย
ของอนุกรมเวลาในแต่ละเดือนหลังจากกาจัดแนวโน้ม

 134  ปีที่ 13 ฉบับที่ 2 กรกฏาคม - ธันวาคม 2562


วารสารวิจัย

p  B P  Bs  1  B 1  Bs  Yt ความผั น แปรตามฤดู ก าลต่ อ ค่ า แนวโน้ ม มี ค่ า คงที่


d D

   q  B  Q  Bs   t (1) กล่าวคือ อัตราส่วนของความผันแปรตามฤดูกาลต่อ


ค่ า แนวโน้ ม มี ค่ า ไม่ เ พิ่ ม ขึ้ น และไม่ ล ดลงตามเวลาที่
เมื่อ     B   B  แทนค่าคงตัว (Constant)
p P
s เปลี่ยนแปลงไป ตัวแบบพยากรณ์แสดงดังนี้ [6]
โดยที่  แทนค่ า เฉลี่ ย ของอนุ ก รมเวลาที่ ค งที่
(Stationary) Ŷt  m  a t  bt m  Sˆ t (2)
  B  1   B   B  …  B แ ท น
p 1 2
2
p
p

ตัวดาเนินการสหสัมพันธ์ในตัวอันดับ ที่ p กรณีไม่มี เมื่อ  


a t   Yt  Sˆ t s  1   a t 1  bt 1  ,

ฤดู ก าล (Non-seasonal autoregressive operator bt    a t  a t 1   1    bt 1 ,

of order p, AR(p)) Sˆ t    Yt  a t   1    Sˆ t s

  B   1   B   B  …  B
P
s
1
s
2
2s
P
Ps 2.3 การพยากรณ์โดยวิธีการปรับเรียบด้วย
แทนตัวดาเนินการสหสัมพันธ์ในตัวอันดับที่ P กรณีมี เส้นโค้งเลขชี้กาลังของวินเทอร์แบบคูณ
ฤดู ก าล (Seasonal autoregressive operator of การปรับเรียบด้วยเส้นโค้งเลขชี้กาลังของ
order P, SAR(P)) วินเทอร์แบบคูณมีความเหมาะสมกับอนุกรมเวลาที่มี
  B  1   B   B  …  B แ ท น
q 1 2
2
q
q ส่ ว นประกอบของแนวโน้ ม ที่ เ ป็ น เส้ น ตรงและมี
ตั ว ด าเนิ น การเฉลี่ ย เคลื่ อ นที่ อั น ดั บ ที่ q กรณี ไ ม่ มี ความผั น แปรตามฤดู ก าล โดยที่ อั ต ราส่ ว นของ
ฤดูกาล (Non-seasonal moving average operator of ความผันแปรตามฤดูกาลต่อค่าแนวโน้มมีค่าเพิ่ม ขึ้น
order q, MA(q)) หรื อ ลดลงตามเวลาที่ เ ปลี่ ย นแปลงไป ตั ว แบบ
  B   1   B   B  …  B
Q
s
1
s
2
2s
Q
Qs พยากรณ์แสดงดังนี้ [6]
แทนตัวดาเนินการเฉลี่ยเคลื่อนที่อันดับที่ Q กรณีมี
ฤดูกาล (Seasonal moving average operator of Ŷt 
m  a t  bt m  Sˆ t (3)
order Q, SMA(Q))
Yt
d และ D แทนลาดับที่ของการหาผลต่าง เมื่อ at    1    a t 1  b t 1  ,
Ŝt s
และผลต่างฤดูกาล ตามลาดับ
bt    a t  a t 1   1    bt 1 ,
B แทนตัวดาเนินการถอยหลัง (Backward Y
Sˆ t   t  1    Sˆ t s
operator) โดยที่ B Y  Y s
t t s
at

2.2 การพยากรณ์โดยวิธีการปรับเรียบด้วย 2.4 การเปรี ย บเที ย บความถู ก ต้ อ งของ


เส้นโค้งเลขชี้กาลังของวินเทอร์แบบบวก ค่าพยากรณ์
การปรับเรียบด้วยเส้นโค้งเลขชี้กาลังของ ก า ร วิ จั ย ค รั้ ง นี้ ไ ด้ คั ด เ ลื อกตั วแ บ บ
วินเทอร์แบบบวกมีความเหมาะสมกับอนุกรมเวลาที่มี พยากรณ์ ที่ เ หมาะสมกั บ อนุ ก รมเวลาปริ ม าณ
ส่ ว นประกอบของแนวโน้ ม ที่ เ ป็ น เส้ น ตรงและมี ก า ร ส่ ง อ อ ก ป ล า ห มึ ก แ ล ะ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ โ ด ย
ความผั น แปรตามฤดู ก าล โดยที่ อั ต ราส่ ว นของ การเปรียบเทียบค่าจริงของข้อมูลชุดที่ 2 ตั้งแต่เดือน

Vol.13 No.2 July - December 2019  135 


วารสารวิจัย

ตุลาคมถึงเดือนพฤศจิกายน 2561 กับค่าพยากรณ์ พบว่า อนุกรมเวลาชุดนี้มีส่วนประกอบของแนวโน้ม


จากวิธีการพยากรณ์ 3 วิธี ได้แก่ วิธีบ็อกซ์ -เจนกินส์ เพิ่มขึ้นเล็กน้อยในช่วงเดือนมกราคม 2554 ถึงเดือน
วิธีการปรับเรียบด้วยเส้นโค้งเลขชี้กาลังของวินเทอร์ ธั น วาคม 2557 หลั ง จากนั้ น พบว่ า อนุ ก รมเวลามี
แบบบวก และวิธีการปรับเรียบด้วยเส้นโค้งเลขชี้กาลัง แนวโน้มลดลงอย่างชัดเจน อีกทั้งอนุกรมเวลาชุดนี้ยัง
ของวิ น เทอร์ แ บบคู ณ จากนั้ น น าค่ า ความแตกต่ า ง มีความผันแปรตามฤดูกาลรวมอยู่ด้วย นอกเหนือจาก
ระหว่างค่าจริงและค่าพยากรณ์มาคานวณค่า MAPE การพิจารณากราฟของอนุกรมเวลาเทียบกับเวลาแล้ว
และ RMSE ซึ่ ง วิ ธี ก ารพยากรณ์ ที่ มี ค่ า MAPE และ ผู้ วิ จั ย ยั งได้ ตรว จสอบ ว่ า อนุ ก รม เว ลาชุ ด นี้ มี
RMSE ต่าที่สุด จัดเป็นวิธีที่มีประสิทธิภาพสูงสุด จึงมี ส่ ว นประกอบของแนวโน้ ม และความผั น แปรตาม
ความเหมาะสมกับอนุกรมเวลาชุดนี้ มากที่สุด เกณฑ์ ฤดูกาลจริงหรือไม่ ดังนี้
MAPE และ RMSE แสดงดังนี้ [6] ปริมาณการส่งออกปลาหมึกและผลิตภัณฑ์ใน
แต่ละปีไม่มีการแจกแจงปรกติ แต่มีความแปรปรวน
100 n 2 e t 1 n2 2 เท่ากัน ที่ระดับนัยสาคัญ 0.01 จึงตรวจสอบค่าเฉลี่ย
MAPE  
n 2 t 1 Yt
และ RMSE   et
n 2 t 1
ในแต่ ล ะปี โดยใช้ ส ถิ ติ ไ ม่ อิ ง พารามิ เ ตอร์ พบว่ า
(4) ปริมาณการส่งออกในแต่ละปีมีค่าเฉลี่ย แตกต่างกัน
อย่างมีนัยสาคัญที่ระดับ 0.01 (Kruskal-Wallis:  2

เมื่อ e ˆ
Yt  Yแทนความคลาดเคลื่ อ นจาก
t t
= 51.636, p-value < 0.0001) ห ม า ย ค ว า ม ว่ า
การพยากรณ์ ณ เวลา t อนุกรมเวลาชุดนี้มีส่วนประกอบของแนวโน้ม
Y แทนอนุกรมเวลา ณ เวลา t
t
ปริมาณการส่งออกปลาหมึกและผลิตภัณฑ์ใน
Ŷ แทนค่าพยากรณ์ ณ เวลา t
t
แต่ ล ะเดื อ นเมื่ อ ปรั บ แนวโน้ ม ออกด้ ว ยการหารมี
t แทนช่วงเวลา ซึ่งมีค่าตั้งแต่ 1 ถึง n2 โดยที่ การแจกแจงปรกติและมีความแปรปรวนเท่ากัน ที่
n2 แทนจานวนข้อมูลในอนุกรมเวลาชุดที่ 2 ระดับนัยสาคัญ 0.01 จึงตรวจสอบค่าเฉลี่ยในแต่ละ
เดื อ น โดยใช้ ส ถิ ติ อิ ง พารามิ เ ตอร์ พบว่ า ปริ ม าณ
3. ผลการทดลองและอภิปรายผล การส่งออกในแต่ละเดือนเมื่อปรับแนวโน้มออกด้วย
จากการพิจารณาลักษณะการเคลื่อนไหวของ การหารมีค่าเฉลี่ยแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญที่ระดับ
อนุ ก รมเวลาชุ ด ที่ 1 ซึ่ ง คื อ ปริ ม าณการส่ ง ออก 0.01 (ANOVA: F = 5.813, p-value < 0.0001)
ปลาหมึกและผลิตภัณฑ์ ตั้งแต่เดือนมกราคม 2554 หมายความว่า อนุกรมเวลาชุดนี้มีส่วนประกอบของ
ถึงเดือนกันยายน 2561 จานวน 93 ค่า ดังภาพที่ 1 ความผันแปรตามฤดูกาล

 136  ปีที่ 13 ฉบับที่ 2 กรกฏาคม - ธันวาคม 2562


วารสารวิจัย

ภาพที่ 1 ลั ก ษณะการเคลื่ อ นไหวของอนุ ก รมเวลาปริ ม าณการส่ ง ออกปลาหมึ ก และผลิ ต ภั ณ ฑ์ ตั้ ง แต่


เดือนมกราคม 2554 ถึงเดือนกันยายน 2561

3.1 ผลการพยากรณ์โดยวิธีบ็อกซ์-เจนกินส์ ความคลาดเคลื่ อ นจากการพยากรณ์ ที่ ร ะดั บ


เนื่องจากอนุกรมเวลาชุดนี้มีส่วนประกอบ นัยสาคัญ 0.01 พบว่า ความคลาดเคลื่อนมีการแจก
ของแนวโน้มและความผันแปรตามฤดูกาล ผู้วิจัยจึง แจงปรกติ (Kolmogorov-Smirnov Z = 0.984, p-
กาจัดแนวโน้มออกโดยการหาผลต่างลาดับที่ 1 (d = value = 0.287) มี ก ารเคลื่ อ นไหวเป็ น อิ ส ระกั น
1) และกาจัดความผันแปรตามฤดูกาลออกโดยการหา ( Runs test: Z = 0.225, p-value = 0.822) มี
ผ ล ต่ า ง ฤ ดู ก า ล ล า ดั บ ที่ 1 (D = 1) ไ ด้ กรา ฟ ค่าเฉลี่ยเท่ากับศูนย์ (t = 0.007, p-value = 0.994)
Autocorrelation function (ACF) แ ล ะ Partial และมีความแปรปรวนเท่ากันทุกช่วงเวลา (Levene
autocorrelation function ( PACF) ห ลั ง จ า ก statistic = 2.145, p-value = 0.028) ดังนั้นตัวแบบ
การแปลงข้อมูลแสดงดัง ภาพที่ 2 ซึ่งพบว่า อนุกรม SARIMA(2, 1, 1)(1, 1, 0)12 ไม่ มี พ จน์ ค่ า คงตั ว มี
เวลามี ลั ก ษณะคงที่ จึ ง ก าหนดตั ว แบบพยากรณ์ ที่ ความเหมาะสม ซึ่งจากสมการที่ (1) สามารถเขียน
เป็ น ไปได้ เ ริ่ ม ต้ น คื อ ตั ว แบบ SARIMA (3, 1, 2) เป็นตัวแบบได้ดังนี้
(1, 1, 1)12 พร้อมกับประมาณค่าพารามิเตอร์ โดยตัว
แบบพยากรณ์ ที่ มี พ ารามิ เ ตอร์ ทุ ก ตั ว มี นั ย ส าคั ญ ที่ 1   B   B 1   B  1  B 1  B  Y
1 2
2
1
12 12
t

ระดับ 0.01 มีค่า BIC ต่าที่สุด (BIC = 27.184) และมี  1  1B t


ค่ า สถิ ติ Ljung-Box Q ไม่ มี นั ย ส าคั ญ ที่ ร ะดั บ 0.01 1   B   B    B
1
12
1 1 1
13
 2 B2  21B14 

(Ljung-Box Q ณ lag 18 = 16.718, p-value =  1  B  B  B  Y


12 13
t

0.272) คือ ตัวแบบ SARIMA(2, 1, 1)(1, 1, 0)12 ไม่มี   t  1 t 1


พจน์ ค่ า คงตั ว เมื่ อ ตรวจสอบคุ ณ ลั ก ษณะของ

Vol.13 No.2 July - December 2019  137 


วารสารวิจัย

1  B12
 B  B13  1B12  1B24  1B13  1B25 จากการแทนค่าประมาณพารามิเตอร์ จะได้ตัวแบบ
1B  1B13  1B2  1B14 พยากรณ์แสดงดังนี้
11B13  11B25  11B14  11B26
Ŷt  0.06654Yt 1  0.45543Yt  2  0.47803Yt  3
2 B2  2 B14  2 B3  2 B15
0.647Yt 12  0.04305Yt 13
21B14  21B26  21B15  21B27  Yt
0.29466Yt 14  0.30929Yt 15
  t  1 t 1
0.353Yt  24  0.02349Yt  25
Yt  1  1  Yt 1   1  2  Yt 2  2Yt 3
0.16077Yt  26  0.16874Yt  27
 1  1  Yt 12  1  1 1  1  Yt 13
0.58932e t 1 (5)
  1  2 1  1  Yt 14  2 1  1  Yt 15
เมื่อ แทนค่าพยากรณ์ ณ เวลา t
Ŷt
1Yt  24  1  1  1Yt  25
Y แทนอนุกรมเวลา ณ เวลา t – j
  1  2  1Yt  26  21Yt 27  t  1t 1 t j

e แทนความคลาดเคลื่อนจากการพยากรณ์
t j

ณ เวลา t – j

ภาพที่ 2 กราฟ ACF และ PACF ของอนุกรมเวลาปริมาณการส่งออกปลาหมึกและผลิตภัณฑ์ เมื่อแปลงข้อมูล


ด้วยการหาผลต่างและผลต่างฤดูกาลลาดับที่ 1

3.2 ผลการพยากรณ์โดยวิธีการปรั บ เรี ย บ การพยากรณ์ ที่ ร ะดั บ นั ย ส าคั ญ 0.01 พบว่ า


ด้วยเส้นโค้งเลขชี้กาลังของวินเทอร์แบบบวก ค ว า ม ค ล า ด เ ค ลื่ อ น มี ก า ร แ จ ก แ จ ง ป ร ก ติ
จากการสร้างตัวแบบพยากรณ์โดยวิธีการ (Kolmogorov-Smirnov Z = 0.690, p-value =
ปรับเรียบด้วยเส้นโค้งเลขชี้กาลั งของวินเทอร์ แ บบ 0.727) มีการเคลื่อนไหวเป็นอิสระกัน (Runs test: Z
บวก พบว่า BIC มีค่าเท่ากับ 26.568 และมีค่าสถิติ = -0.937, p-value = 0.349) มีค่าเฉลี่ยเท่ากับศูนย์
Ljung-Box Q ไม่ มี นั ย ส าคั ญ ที่ ร ะดั บ 0.01 (Ljung- (t = 0.135, p-value = 0.893) และมีความแปรปรวน
Box Q ณ lag 18 = 20.280, p-value = 0.161) เมื่อ เท่ า กั น ทุ ก ช่ ว งเวลา (Levene statistic = 1.784,
ตรวจสอบคุ ณ ลั ก ษณะของความคลาดเคลื่ อ นจาก

 138  ปีที่ 13 ฉบับที่ 2 กรกฏาคม - ธันวาคม 2562


วารสารวิจัย

p-value = 0.074) ดั ง นั้ น ตั ว แบบพยากรณ์ ที่ ไ ด้ มี คุณลักษณะของความคลาดเคลื่อนจากการพยากรณ์


ความเหมาะสม ตัวแบบพยากรณ์แสดงดังนี้ ที่ ร ะดั บ นั ย ส าคั ญ 0.01 พบว่ า ความคลาดเคลื่ อน
มี ก ารแจกแจงปรกติ (Kolmogorov-Smirnov Z =
Ŷt  m   3,601,684.78404  25,382.07623m   Sˆ t 0.593, p-value = 0.873) มี ก ารเคลื่ อ นไหวเป็ น
(6) อิ ส ร ะ กั น ( Runs test: Z = -0.520, p-value =
0.603) มีค่าเฉลี่ยเท่ากับศูนย์ (t = -0.067, p-value
เมื่อ Ŷ แทนค่าพยากรณ์ ณ เวลา t + m โดยที่
t m = 0.946) และมีความแปรปรวนเท่ากันทุกช่วงเวลา
m = 1 แทนเดือนตุลาคม 2561 (Levene statistic = 1.984, p-value = 0.044)
Ŝ แทนค่ า ดั ช นี ฤ ดู ก าล รายละเอี ย ดแสดงดั ง
t ดังนั้นตัวแบบพยากรณ์ที่ได้มีความเหมาะสม ตัวแบบ
ตารางที่ 1 ซึ่ ง สามารถอธิ บ ายได้ ว่ า ปริ ม าณการ พยากรณ์แสดงดังนี้
ส่งออกปลาหมึกและผลิตภัณฑ์ของเดือนมีนาคมถึง
เดื อ นมิ ถุ น ายน และเดื อ นตุ ล าคมของทุ ก ปี มี ค่ า Ŷ 3,573,819.15467  24,886.28799m Sˆ
t m t

มากกว่าเดือนอื่น ๆ เนื่องจากมีค่าดัชนีฤดูกาลมากกว่า 0 (7)

ตารางที่ 1 ดั ช นี ฤ ดู ก าลของอนุ ก รมเวลาปริ ม าณ


เมื่อ Ŷ แทนค่าพยากรณ์ ณ เวลา t + m โดยที่
t m
การส่งออกปลาหมึกและผลิตภัณฑ์ จากวิธีการปรับ
m = 1 แทนเดือนตุลาคม 2561
เรียบด้วยเส้นโค้งเลขชี้กาลังของวินเทอร์แบบบวก
tŜ แทนค่ า ดั ช นี ฤ ดู ก าล รายละเอี ย ดแสดง
ดัชนี ดัชนี
เดือน เดือน ดั ง ตารางที่ 2 ซึ่ ง สามารถอธิ บ ายได้ ว่ า ปริ ม าณ
ฤดูกาล ฤดูกาล
การส่งออกปลาหมึกและผลิตภัณฑ์ของเดือนมีนาคม
ม.ค. -851,223 ก.ค. -198,123 ถึ งเดื อ นมิ ถุน ายน และเดือ นตุ ลาคมของทุ กปี มี ค่า
ก.พ. -386,391 ส.ค. -598,025 มากกว่าเดือนอื่น ๆ เนื่องจากมีค่าดัชนีฤดูกาลมากกว่า 1
มี.ค. 821,344 ก.ย. -285,239
เม.ย. 54,215 ต.ค. 348,383 ตารางที่ 2 ดั ช นี ฤ ดู ก าลของอนุ ก รมเวลาปริ ม าณ
พ.ค. 816,657 พ.ย. -89,044 การส่งออกปลาหมึกและผลิตภัณฑ์ จากวิธีการปรับ
มิ.ย. 645,889 ธ.ค. -278,411 เรียบด้วยเส้นโค้งเลขชี้กาลังของวินเทอร์แบบคูณ
ดัชนี ดัชนี
เดือน เดือน
3.3 ผลการพยากรณ์โดยวิธีการปรั บ เรี ย บ ฤดูกาล ฤดูกาล
ด้วยเส้นโค้งเลขชี้กาลังของวินเทอร์แบบคูณ ม.ค. 0.82067 ก.ค. 0.96400
จากการสร้างตัวแบบพยากรณ์โดยวิธีการ ก.พ. 0.92776 ส.ค. 0.88691
ปรับเรียบด้วยเส้นโค้งเลขชี้กาลังของวินเทอร์แบบคูณ มี.ค. 1.16841 ก.ย. 0.94229
พบว่า BIC มีค่าเท่ากับ 26.580 และมีค่าสถิติ Ljung- เม.ย. 1.01273 ต.ค. 1.06003
Box Q ไม่มีนัยสาคัญที่ระดับ 0.01 (Ljung-Box Q ณ พ.ค. 1.16783 พ.ย. 0.95155
lag 18 = 20.625, p-value = 0.149) เมื่อตรวจสอบ มิ.ย. 1.13810 ธ.ค. 0.91386

Vol.13 No.2 July - December 2019  139 


วารสารวิจัย

3.4 ผลการเปรี ยบเทีย บความถูกต้องของ วิ ธี บ็ อ ก ซ์ -เจนกิ น ส์ เ ป็ น วิ ธี ที่ มี ค วามแม่ น ย าในการ


ค่าพยากรณ์ พยากรณ์สูง เพราะมีการสร้างตัวแบบพยากรณ์โดยใช้
จากการใช้ตัวแบบพยากรณ์ของวิธีบ็อกซ์- ทั้ ง ข้ อ มู ล และค่ า คลาดเคลื่ อ นในอดี ต ซึ่ ง มี ห ลาย
เจนกินส์ ในสมการที่ (5) วิธีการปรับเรียบด้วยเส้นโค้ง ง า น วิ จั ย ที่ ยื น ยั น ผ ล ว่ า วิ ธี ก า ร นี้ เ ป็ น วิ ธี ที่ มี
เลขชี้กาลังของวินเทอร์แบบบวก ในสมการที่ (6) และ ความเหมาะสม เช่ น การศึ ก ษาของวรางคณา
วิธีการปรับเรียบด้วยเส้นโค้งเลขชี้กาลังของวินเทอร์ กี ร ติ วิ บู ล ย์ [7] ได้ ศึ ก ษาการพยากรณ์ ป ริ ม าณ
แบบคู ณ ในสมการที่ (7) ได้ ค่ า พยากรณ์ ส าหรั บ การส่ งออกยางคอมปาวด์ โดยวิ ธี บ็ อ กซ์ - เจนกิ น ส์
อนุ ก รมเวลาชุ ด ที่ 2 ซึ่ ง คื อ ปริ ม าณการส่ ง ออก วิ ธี ก ารปรั บ เรี ย บด้ ว ยเส้ น โค้ งเลขชี้ ก าลั งของโฮลต์
ปลาหมึกและผลิตภัณฑ์ ตั้งแต่เดือนตุลาคมถึงเดือน และวิ ธี ก ารปรั บ เรี ย บด้ ว ยเส้ น โค้ ง เลขชี้ ก าลั ง ที่ มี
พฤศ จิ ก า ย น 2561 แ ส ด งดั งต า ร า งที่ 3 ผล แ น วโ น้ ม แ บ บ แ ด ม ผ ล การศึ ก ษาพบว่ า วิ ธี บ็ อ กซ์ -
การเปรี ย บเที ย บความถู ก ต้ อ งระหว่ า งค่ า จริ ง และ เ จ น กิ น ส์ มี ค วามถู ก ต้ อ งในการพยากรณ์ มากที่ สุ ด
ค่ า พยากรณ์ พบว่ า วิ ธี บ็ อ กซ์ - เจนกิ น ส์ เ ป็ น วิ ธี ที่ มี การศึกษาของดนุสรณ์ ธนะปาละ, ธันวา เจริญศิริ และ
ประสิทธิภาพสูงสุด เนื่องจากมีค่า MAPE และ RMSE ชนาธิป โสภณพิมล [8] ได้ศึกษาการพยากรณ์ราคา
ต่ าที่ สุ ด หรื อ ให้ ค่ า พยากรณ์ ที่ มี ค วามแตกต่ า งกั บ สั บ ปะรดที่ ส่ ง เข้ า โรงงานด้ ว ยวิ ธี บ็ อ กซ์ - เจนกิ น ส์
ข้ อ มู ล จริ ง น้ อ ยที่ สุ ด โดยวิ ธี ก ารพยากรณ์ นี้ มี ผลการศึกษาพบว่าตัวแบบพยากรณ์ที่มีความถูกต้อง
ความผิดพลาดจากการพยากรณ์ เพียงร้อยละ 4.64 ในการพยากรณ์มากที่สุด คือ ตัวแบบ SARIMA (0, 1, 1)
( MAPE = 4.64) ห รื อ มี ค ว า ม ผิ ด พ ล า ด จ า ก (0, 1, 1)12 และการศึก ษาของวรางคณา เรีย นสุทธิ์
การพยากรณ์ 215,204 กิโลกรัม (RMSE = 215,204) และน้าอ้อย นิสัน [9] ได้ศึกษาการพยากรณ์ปริมาณ
ซึ่งทั้ง 2 เกณฑ์ที่ใช้ในการเปรียบเทียบความถูกต้อง การส่งออกไก่แปรรูป โดยวิธีบ็อกซ์ -เจนกินส์ วิธีการ
ของค่าพยากรณ์ให้ผลเป็นไปในทิศทางเดียวกัน จึงทา ปรั บ เรี ย บด้ ว ยเส้ น โค้ ง เลขชี้ ก าลั ง ของวิ น เทอร์
ให้น่าเชื่อถือได้มากยิ่งขึ้นว่าวิธีบ็อกซ์ -เจนกินส์เป็นวิธี แบบบวก วิธีการปรับเรียบด้วยเส้นโค้งเลขชี้กาลังของ
ที่ มี ค วามเหมาะสมกั บ อนุ ก รมเวลาชุ ด นี้ ม ากที่ สุ ด วิ น เ ทอร์ แ บ บ คู ณ แ ล ะ วิ ธี กา ร พย า กร ณ์ ร วม
สาหรับผลการศึกษาครั้งนี้ที่พบว่า วิธีบ็อกซ์-เจนกินส์ ผลการศึกษาพบว่า วิธีบ็อกซ์-เจนกินส์มีความถูกต้อง
เป็ น วิ ธี ที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพสู ง สุ ด อาจเนื่ อ งมาจาก ในการพยากรณ์มากที่สุด

ตารางที่ 3 ค่าจริงและค่าพยากรณ์ของปริมาณการส่งออกปลาหมึกและผลิตภัณฑ์ (กิโลกรัม) ตั้งแต่เดือนตุลาคม


ถึงเดือนพฤศจิกายน 2561 ค่า MAPE และ RMSE ของวิธีการพยากรณ์ที่ศึกษา
ปริมาณ ปริมาณการส่งออก จากการพยากรณ์โดยวิธี
ช่วงเวลา
การส่งออก บ็อกซ์-เจนกินส์ วินเทอร์แบบบวก วินเทอร์แบบคูณ
ต.ค. 2561 3,537,156 3,500,058 3,924,686 3,761,979
พ.ย. 2561 3,668,723 3,366,648 3,461,876 3,353,308
MAPE 4.64 8.30 7.48
RMSE 215,204 310,616 273,890

 140  ปีที่ 13 ฉบับที่ 2 กรกฏาคม - ธันวาคม 2562


วารสารวิจัย

เมื่ อ ใช้ ว ิธ ีบ ็อ กซ์ - เจนกิ น ส์ ใ นการพยากรณ์ พิ จ ารณาตั ว แปรเหล่า นี้ เ พื่ อ ใช้ ใ นการสร้า งตั วแบบ
ปริ ม าณการส่ งออกปลาหมึก และผลิต ภัณ ฑ์ ตั้ งแต่ พยากรณ์ให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น โดยการสร้าง
เดือนธันวาคม 2561 ถึงเดือนธันวาคม 2562 ได้ผล เป็นตัวแบบถดถอย (Regression model) ซึ่งผู้อ่าน
แสดงดังตารางที่ 4 และภาพที่ 3 ซึ่งพบว่า ปริมาณ สามารถศึกษาวิธีการสร้างตัวแบบลักษณะนี้ได้จาก
การส่งออกปลาหมึกและผลิตภัณฑ์ ยังคงมีแนวโน้ม Montgomery, Peck และ Vining [10] อีกทั้งเมื่อมี
ลดลง อย่างไรก็ตาม การเปลี่ยนแปลงของปริม าณ ปริ ม าณการส่ ง ออกปลาหมึ ก และผลิ ต ภั ณ ฑ์ ที่ เ ป็ น
การส่งออกปลาหมึกและผลิตภัณฑ์อาจเกิดจากหลาย ปัจจุบันมากยิ่งขึ้นหรือปริมาณการส่งออกมีความผั น
สาเหตุ เช่น สถานการณ์การผลิต สถานการณ์ตลาด ผวนเพิ่มขึ้น ผู้วิจัยควรนาข้อมูล มาปรับปรุง ตัวแบบ
ปริมาณความต้องการบริโภคภายในและต่างประเทศ เพื่อให้ได้ตัวแบบพยากรณ์ที่มีความเหมาะสมสาหรับ
สภาวะเศรษฐกิ จ การน าเข้ า และส่ ง ออกระหว่ า ง การพยากรณ์ค่าในอนาคตต่อไป
ประเทศ หรือปัจจัยอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ดังนั้นจึงควร

ตารางที่ 4 ค่าพยากรณ์ของปริมาณการส่งออกปลาหมึกและผลิตภัณฑ์ (กิโลกรัม) ตั้งแต่เดือนธันวาคม 2561 ถึง


เดือนธันวาคม 2562 โดยวิธีบ็อกซ์-เจนกินส์
ช่วงเวลา ค่าพยากรณ์ ช่วงเวลา ค่าพยากรณ์ ช่วงเวลา ค่าพยากรณ์
ธ.ค. 2561 3,326,869 พ.ค. 2562 4,083,162 ต.ค. 2562 2,954,628
ม.ค. 2562 3,124,350 มิ.ย. 2562 3,702,523 พ.ย. 2562 2,778,520
ก.พ. 2562 3,255,654 ก.ค. 2562 3,117,912 ธ.ค. 2562 2,820,509
มี.ค. 2562 3,792,140 ส.ค. 2562 2,909,699
เม.ย. 2562 3,100,761 ก.ย. 2562 2,833,075

ภาพที่ 3 การเปรี ย บเที ย บอนุ ก รมเวลาปริ ม าณการส่ ง ออกปลาหมึ ก และผลิ ต ภั ณ ฑ์ กั บ ค่ า พยากรณ์ จ าก


วิธีบ็อกซ์-เจนกินส์

Vol.13 No.2 July - December 2019 141 


วารสารวิจัย

4. สรุปผลการทดลอง [3] การวิเคราะห์เส้นทางการส่งออกปลาหมึกสด


การวิ จั ย ครั้ ง นี้ ไ ด้ น าเสนอวิ ธี ก ารสร้ า งและ แช่เ ย็น ไปยัง ประเทศเกาหลีใ ต้ . [Internet].
คัดเลือกตัวแบบพยากรณ์ที่เหมาะสมกับอนุกรมเวลา กรุง เทพมหานคร : กองควบคุม การค้า สัต ว์
ปริมาณการส่งออกปลาหมึกและผลิตภัณฑ์ โดยใช้ น้าและปัจ จัย การผลิต กรมประมง. ม.ป.ป.
ข้อมูลจากเว็บไซต์ของสานักงานเศรษฐกิจการเกษตร [เ ข ้า ถ ึง เ มื ่อ 4 ม ก ร า ค ม 2562]. จ า ก :
ตั้ ง แต่ เ ดื อ นมกราคม 2554 ถึ ง เดื อ นพฤศจิ ก ายน https://www4.fisheries.go.th/local/file
2561 จานวน 95 ค่า ผู้วิจัยได้ แบ่งข้อมูลออกเป็น 2 _document/20180226115600_1_file.
ชุด ชุดที่ 1 คือข้อมูลตั้งแต่เดือนมกราคม 2554 ถึง pdf
เดือนกันยายน 2561 จานวน 93 ค่า ส าหรับ การ [4] สถิติการส่งออกปลาหมึกและผลิตภัณฑ์ (รวม)
สร้า งตัว แบบพยากรณ์ด ้ว ย วิ ธี บ็ อ กซ์ - เจนกิ น ส์ ตั้งแต่ปี 2554 ถึง 2561. [Internet]. สานักงาน
วิธีการปรับเรียบด้วยเส้นโค้งเลขชี้กาลังของวินเทอร์ เศรษฐกิ จ การเกษตร : กรุ ง เทพมหานคร ;
แบบบวก และวิธีการปรับเรียบด้วยเส้นโค้งเลขชี้กาลัง 2561. [เข้ า ถึ ง เมื่ อ 4 มกราคม 2562]. จาก:
ของวินเทอร์แบบคูณ ชุดที่ 2 คือข้อมูลตั้งแต่เดื อ น http://impexp.oae.go.th/service/export.
ตุ ล าคมถึ ง เดื อ นพฤศจิ ก ายน 2561 จ านวน 2 ค่ า php?S_YEAR=2554&E_YEAR=2561&PROD
สาหรับการเปรียบเทียบความถูกต้องของค่าพยากรณ์ UCT_GROUP=5368&PRODUCT_ID=&wf_s
ด้วยเกณฑ์เปอร์เซ็นต์ความคลาดเคลื่อนสัมบูรณ์เฉลี่ย earch=&WF_SEARCH=Y
(MAPE) และเกณฑ์รากที่สองของความคลาดเคลื่อน [5] Box GEP, Jenkins GM, Reinsel GC. Time
กาลังสองเฉลี่ย (RMSE) ที่ต่าที่สุด ผลการศึกษาพบว่า Series Analysis: Forecasting and Control.
วิธีบ็อกซ์-เจนกินส์เป็นวิธีที่มีประสิทธิภาพสูงสุด 3rd ed. New Jersey: Prentice Hall; 1994.
[6] สมเกี ย รติ เกตุ เ อี่ ย ม. เทคนิ ค การพยากรณ์ .
5. อ้างอิง พิ ม พ์ ค รั้ งที่ 2. สงขลา: มหาวิ ท ยาลั ย ทั ก ษิ ณ ;
[1] Shanghai Yangqi อุ ต สาหกรรมและการค้ า 2548.
Corp. 10 ประเทศที่ มี ชื่ อ เสี ย งในการส่ ง ออก [7] วรางคณา กีรติวิบูลย์. การพยากรณ์ปริมาณการ
อาหารทะเล. [Internet]. Shanghai Yangqi ส่ งออกยางคอมปาวด์ . ว.วิ ท ยาศาสตร์ มศว.
Industry & Trade Corp ;2559 [เข้ า ถึ ง เมื่ อ 4 2557; 30(2): 41-56.
มกราคม 2562]. จาก http://th.fishroe.net [8] ดนุสรณ์ ธนะปาละ, ธันวา เจริญศิริ , ชนาธิป
/news/10-famous-seafood-exportingcountries โสภณพิ ม ล. การพยากรณ์ ร าคาสั บ ปะรด
-11005161. html ที่ ส่ ง เข้ า โรงงานด้ ว ยวิ ธี บ็ อ กซ์ - เจนกิ น ส์ .
[2] สุภาภรณ์ กอสูงเนิน. การส่งออกปลาหมึกแห้ง ว.วิทยาศาสตร์บูรพา 2559; 21(1):110-118.
ไปยังสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว.
วิทยานิพนธ์ป ริญญาโท. มหาวิทยาลัยบูรพา;
2558.

 142  ปีที่ 13 ฉบับที่ 2 กรกฏาคม - ธันวาคม 2562


วารสารวิจัย

[9] ว ร า ง ค ณ า เ รี ย น สุ ท ธิ์ , น้ า อ้ อ ย นิ สั น . [10] Montgomery DC, Peck EA, Vining GG.


การพยากรณ์ ป ริ ม าณการส่ ง ออกไก่ แ ปรรู ป . Introduction to Linear Regression
ว.มหาวิ ท ยาลั ย นเรศวร: วิ ท ยาศาสตร์ แ ละ Analysis. 4th ed. New York: John Wiley
เทคโนโลยี 2560; 25(2):140-152. and Sons; 2006.

Vol.13 No.2 July - December 2019  143 

You might also like