You are on page 1of 244

สวด​มนต์ภ​ าวนา

ทำ�วัตร​สวด​มนต์แ​ ปล
สวด​มนต์ภ​ าวนา
ท�ำวัตร​สวด​มนต์แ​ ปล
พิมพ์​แจก​เป็น​ธรรม​ทาน
สงวน​ลิขสิทธิ์ ห้าม​คัดล​ อก ตัดตอน หรือ​น�ำ​ไป​พิมพ์​จ�ำหน่าย
หาก​ท่าน​ใด​ประสงค์​จะ​พิมพ์​แจก​เป็น​ธรรม​ทาน โปรด​ติดต่อ
มูลนิธิ​ปัญญา​ประทีป หรือ โรงเรียนทอสี
๑๐๒๓/๔๖ ซอย​ปรีดี​พนม​ยงค์ ๔๑
สุขุมวิท ๗๑ เขต​วัฒนา กทม. ๑๐๑๑๐
โทร. ๐-๒๗๑๓-๓๖๗๔
www.panyaprateep.com, www.thawsischool.com

พิมพ์​ครั้ง​ที่ ๑ - ๔ ๒๕๔๙-๒๕๕๐ จ�ำนวน ๑๘,๕๐๐ เล่ม


ฉบับ​จัดร​ูป​เล่ม​ใหม่
พิมพ์​ครัง้ ​ท ี่ ๑ - ๗ เมษายน ๒๕๕๒ - มกราคม ๒๕๕๙
จ�ำนวน ๓๐,๐๐๐ เล่ม
พิมพ์​ครั้ง​ที่ ๘ มิถุนายน ๒๕๕๙
จ�ำนวน  ๕,๐๐๐ เล่ม

ที่ปรึกษาต้นฉบับ พระมหากีรติ ธีรปัญโญ


จัดท​ �ำ​โดย มูลนิธิ​ปัญญา​ประทีป

ด�ำเนินก​ าร​พิมพ์​โดย บริษัท คิว พริ้​นท์ แมเนจ​เม้น​ท์ จ�ำกัด


โทรศัพท์ ๐-๒๘๐๐-๒๒๙๒
ท�ำวัตร สวด​มนต์แ​ บบ​ชาว​พุทธ
พุทธ​ศาสนา เป็น​ศาสนา​แห่ง​การก​ระ​ทำ� ไม่ใช่​ศาสน์
แห่ง​การ​บวงสรวง​ออ้ นวอน​บนบาน​ศาล​กล่าว หาก​แต่​เป็น
ศาสน์​แห่ง​ปญ ั ญา อัน​เป็น​ปญ ั ญา​ท​เี่ กิด​ขนึ้ ​จาก​การก​ระ​ทำ�
ตาม​คำ� ​สงั่ ​สอน​ท​พี่ ระพุทธ​องค์​ตรัส​ไว้ ซึง่ ป​ญ ั ญา​น​เ้ี อง จะ​เป็น
สิ่ง​ที่​พัฒนา​จิตใจ​มนุษย์​ให้​พ้น​จาก​ความ​หลง​หรือ​อวิชชา
อันเ​ป็น​เหตุ​ของ​ความ​ทุกข์​ทั้ง​ปวง​ของ​ชีวิต
ทํา​วตั ร ใน​ท​นี่ ​หี้ มาย​ถงึ กา​รก​ระทํา​โดย​ตอ่ ​เนือ่ ง​เป็น
กิจวัตร ซึง่ ​เป็นการ​ฝกึ หัด อัน​จะ​ม​ผี ล​ตอ่ ​การ​เปลีย่ นแปลง
ทาง​จริต​นสิ ยั และ​เป็น​หนทาง​ให้​เกิด​คณ ุ ธรรม​ท​จี่ ำ� เป็น​ตอ่
การ​ดำ� รง​ชวี ติ เช่น ความ​ขยัน ความ​อดทน ความ​สำ� รวม
ระวัง ความ​ตงั้ ม​ นั่ ​แห่ง​จติ ​และ​ความ​ร​แู้ จ้ง​ใน​สจั ธรรม เป็นต้น
สวด​มนต์ หมาย​ถึง “การ​ศึกษา​เล่า​เรียน” ค�ำ​ว่า
“ศึกษา” ใน​ทาง​พทุ ธ​ศาสนา​ครอบคลุม​ไป​ถงึ ​การ​ปฏิบตั ​ดิ ว้ ย
คือ เมื่อ​ยัง​ไม่รู้ ก็เ​รียน​ให้​รู้ ฟัง​ให้​มาก ท่องจ�ำ พิจารณา
ไตร่ตรอง​สงิ่ ท​ ​ไ่ี ด้​เรียน ลง​ความ​เห็น​วา่ ​สงิ่ ​ใด​ถกู ​ตอ้ ง สิง่ ​ใด
ดีง​าม แล้ว​กต็​ ั้งใจ​ปฏิบัติ​ตาม​นั้นไ​ป
การ​ทำ� วัตร​สวด​มนต์​ท​จี่ ะ​ให้​ผล​ด​แี ก่​ผ​กู้ ระท�ำ​นนั้ ต้อง
ระลึก​ให้​ถกู ต​อ้ ง​วา ่ ไม่ใช่​เป็นการ​บวงสรวง​ออ้ นวอน หรือไ​ป
คิด​แต่ง​ตงั้ ​ให้​พระพุทธ​องค์​ตลอด​จน​พระ​ธรรม และ​พระ​สงฆ์
เป็น​ผู้รับ​รู้​และ​เป็น​ผู้​ที่​จะ​ดล​บันดาล​สิ่ง​ที่​ตน​ปรารถนา
ซึง่ ​จะ​กลาย​เป็นการ​กระท�ำ​ท​ใี่ กล้​ตอ่ ​ความ​งมงาย​ไร้​เหตุผล
อัน​มิใช่​วิสัย​ที่แท้​จริง​ของ​ชาว​พุทธ การ​ท�ำวัตร​สวด​มนต์
ควร​กระท�ำ​ใน​ลักษณะ​ของ​การ​ภาวนา คือ ท�ำ​กุศล​ธรรม
หรือ​สงิ่ ​ท​ถ่ี กู ​ตอ้ ง​ด​งี าม​ให้​เจริญ​ขนึ้ และ​ทำ� ​ใน​ลกั ษณะ​ของ
การ​ศึกษา​เรื่อง ศีล สมาธิ ปัญญา
การ​ทำ� วัตร​สวด​มนต์​เมือ่ ​ทำ� ​ดว้ ย​ความ​เคารพ​สำ� รวม
ระวัง บังคับ​กาย​กริ ยิ า​มารยาท​ให้​เรียบร้อย​เป็น​ปกติ วาจา
กล่าว​ใน​สิ่ง​ที่​ถูกต​ ้อง​ดงี​าม ส่วน​นจี้​ัดเ​ป็น “ศีล”
ขณะ​ส วด​ม นต์   ตั้ ง ​จิ ต ​จ ดจ่ อ ​อ ยู่ ​ใน​เนื้อ หา​แ ละ
ความ​หมาย​ของ​บท​ธรรม ท�ำให้​จิตท​ ิ้ง​อารมณ์​ต่างๆ มา​สู่
อารมณ์​เดียว​ที่​แน่วแ​ น่ ขณะ​เช่น​นั้นจ​ัดเ​ป็น “สมาธิ”
การ​ม​คี วาม​รสู้ กึ ​ตวั ​ทวั่ ​พร้อม มี​สติสมั ปชัญญะ​ซาบซึง้
อยู่​ใน​บท​ธรรม และ​เกิด​ความ​เข้าใจ​แจ่ม​แจ้ง ส่วน​นี้​คือ
“ปัญญา”
ขณะ​ทำ� วัตร​สวด​มนต์ เมือ่ ​ตงั้ ใจ​ศกึ ษา แก้ไข​ปรับปรุง
เปลีย่ น​ความ​คดิ ​ความ​เห็น​ให้​เป็น​ไป​ตาม​ธรรมะ​ท​ที่ อ่ ง​บน่ ​อยู่
จน​ใน​ขณะ​นนั้ ​จติ ใจ​เกิด​ความ​ผอ่ งใส สงบ เยือก​เย็น เป็น
สภาว​ธรรม​ปรากฏ​ขนึ้ ​ใน​ใจ​ของ​เรา ปรากฏการณ์​เช่น​น​กี้ ​จ็ ะ
คล้าย​กับว​่าเ​รา ได้พ​ บ​กับพ​ ระพุทธ​องค์ เพราะ​ธรรมะ​คือ
พระพุทธ​องค์ พระพุทธ​องค์​ทแี่ ท้​จริง​คอื ​ธรรมะ ดัง​ท​ที่ า่ น
ตรัส​ไว้ว​่า “ผูใ้​ด​เห็น​ธรรม ผูน้​ ั้นเ​ห็น​เรา”
ดัง​นนั้ การ​ศกึ ษา​ธรรมะ​ใน​ขณะ​ทำ� วัตร​สวด​มนต์ หาก
ไม่​ทำ� ​ดว้ ย​ใจ​ท​เี่ ลือ่ นลอย หรือ​จำ� ​ใจ​ทำ� ​แล้ว หาก​แต่​กระท�ำ
ด้วย​สติ​ปญ ั ญา ตัง้ ใจ​เรียน​ร ู้ ไตร่ตรอง​ตาม​เหตุผล แล้วน​ ำ�
ไป​ปฏิบตั ​อิ ย่าง​จริงจัง ย่อม​เป็น​บอ่ ​เกิดแ​ห่ง​การ​เปลีย่ นแปลง
ทาง​จติ ใจ จาก​ใจ​ท​สี่ กปรก​ไป​ส​ใู่ จ​ท​สี่ ะอาด จาก​ใจ​ท​มี่ ดื มัว
ไป​สู่​ใจ​ที่​สว่าง และ​จาก​ใจ​ที่​เร่าร้อน​ไป​สู่​ใจ​ที่​สงบ​ใน​ที่สุด
อัน​เป็น​สภาวะ​จิตใจ​ที่​พ้น​ทุกข์ ดัง​เช่น​ที่​พระพุทธ​องค์​ได้
ทรง​กระท�ำ​ให้​เรา​ได้เ​ห็น เป็น​ตัวอย่าง​แล้ว
สารบัญ
หน้า
ค�ำ​บูชา​พระ​รัตนตรัย ๑
บท​ท�ำวัตร​เช้า
- ท�ำวัตร​เช้า ๔
- ท​วัตต​ ิงส​ า​การ​ปาฐ​ะ (กาย​คต​ า​สติ) ๑๙
- บท​พิจารณา​สังขาร ๒๒
- อภิณห​ปัจจ​เวก​ขณ​ปาฐ​ะ ๒๕
- ภัท​เท​กรัตต​คาถา ๒๗
- บท​แผ่เ​มตตา ๒๙
- สัพ​พ​ปัตติท​ าน​คาถา (แผ่ส่วนบุญ) ๓๑
บท​พิจารณา​ส�ำหรับ​พระ​ภิกษุส​ ามเณร
- ตังข​ ณิกปัจจ​เวก​ขณ​ปาฐ​ะ ๓๓
- ธาตุป​ ัจจ​เวก​ขณ​ปาฐ​ะ ๓๗
- ปัพพ​ชิ​ตอ​ภิณหปัจ​เวก​ขณ​ปาฐ​ะ ๔๒
- สมณ​สัญญา ๔๖
บท​ท�ำวัตร​เย็น
- ท�ำวัตร​เย็น ๔๘
- สรณ​คมน​ปาฐ​ะ ๖๒
- เขมา​เขม​สรณ​ทีปิ​กค​ าถา ๖๓
- ปฐม​พุทธ​ภา​สิตค​ าถา ๖๕
- โอ​วาท​ปาฏิ​โมก​ข​คาถา ๖๖
- อริย​ธน​คาถา ๖๘
- ธัมม​คา​ร​วาทิ​คาถา ๖๙
หน้า
- ติล​ ักขณา​ทิ​คาถา ๗๑
- ภา​รสุตต​คาถา ๗๔
- ปัจฉิมพ​ ุ​ทโธ​วาท​ปาฐ​ะ ๗๕
- อุท​ทิส​สนาธิฏ​ฐาน​คาถา ๗๖
บท​ธรรม​ค�ำ​สอน
- ธัมม​จักก​ ัปป​ ​วัตต​ น​สุตต​ ป​ าฐ​ะ ๘๐
- อริยมรรค​มี​องค์​แปด ๙๕
- อา​นา​ปาน​สติส​ ูตร ๑๐๕
- มงคล​สูตร (ทาง​แห่ง​ความ​เจริญ) ๑๑๓
- ปราภ​วสุต​ ต​ปาฐ​ะ (ทาง​แห่ง​ความ​เสื่อม) ๑๑๙
- มิตต​ า​มิตต​ ค​ าถา ๑๒๓
- กรณียกิจ ๑๒๕
- อา​รัก​ขกัมมัฏ​ฐาน ๑๒๗
- อานิสงส์​เมตตา ๑๒๙
- จตุรปั​ ​ปมัญญา​โอภา​สน​ปาฐ​ะ ๑๓๒
- สา​ราณียธัมม​สุต​ตป​ าฐ​ะ ๑๓๕
- โค​ตมีส​ ุตต​ ป​ าฐ​ะ ๑๔๒
- สัง​เวค​อิ​ธชี​วิตค​ าถา ๑๔๗
- ธัม​มนิย​ าม​สูตร ๑๔๘
- อุปกิเลส ๑๖ ๑๕๓
บท​พิจารณา​ส�ำหรับ​ภิกษุส​ ามเณร
- อ​ตตี​ ปัจจ​เวก​ขณ​ปาฐ​ะ ๑๕๕
- ธัมม​ปหังส​นป​ าฐ​ะ ๑๕๙
หน้า
- สมณ​สัญญา ๓ ประการ ๑๖๕
- สามเณร​สิกขา ๑๖๘
บท​ธรรม​ส�ำหรับ​ภิกษุห​ ลัง​ฟัง​พระ​ปาฏิ​โมกข์
- สัจ​จกิร​ิ​ยคาถา ๑๗๓
- สี​ลุท​เท​ส​ปาฐะ ๑๗๔
- ตาย​นค​ าถา ๑๗๖
บท​อนุโมทนา
- อนุโ​ม​ทนา​รัม​ภค​ าถา ๑๗๘
- สามัญ​ญา​นโุ​มทนา​คาถา ๑๗๙
- โภชนา​ทา​นา​นโุ​มทนา​คาถา ๑๘๐
- อัคคัปป​ สาท​สุตต​ ค​ าถา ๑๘๑
- สัพ​พ​โรค​วนิ​ มิ​ ุตโ​ต ๑๘๓
- มงคล​จักรวาล​น้อย ๑๘๔
- กาล​ทาน​สุตต​ ค​ าถา ๑๘๗
- ติโ​ร​กุฑฑกัณฑ​ปัจฉิมภ​ าค ๑๘๙
- ภะ​วะ​ตสุ​ ัพ​พ์ ๑๙๑
บท​พิธีกรรม​บาง​อย่าง​ของ​พระ​ภิกษุ
- ค�ำขอ​ขมา ๑๙๒
- ค�ำอ​ ธิษฐาน​เข้า​พรรษา ๑๙๔
- ค�ำขอ​นิสัย ๑๙๕
- ค�ำป​ วารณา (ออก​พรรษา) ๑๙๗
หน้า
บท​พิธีกรรม​บาง​อย่าง​ของ​อุบาสก​อุบาสิกา
- ค�ำขอ​ไตร​สรณคมน์​และ​ศีล​ห้า ๑๙๙
- ค�ำป​ ระกาศ​อุโบสถ ๒๐๓
- ค�ำขอ​ไตร​สรณคมน์​และ​ศีล​แปด
ศีลอ​ ุโบสถ ๒๐๖
- ค�ำอ​ าราธนา​ธรรม
(อาราธนา​พระ​แสดง​ธรรม) ๒๑๑
- ค�ำถ​ วาย​ผ้าป่า ๒๑๒
- ค�ำถ​ วาย​ผ้า​กฐิน ๒๑๓
- ค�ำส​ าธุการ​หลัง​ฟัง​ธรรม ๒๑๔
- ค�ำล​ ากลับ​บ้าน ๒๑๖
- พิธีการ​ท�ำบุญ​บ้าน ๒๑๗
ค�ำบ​ ูชา​พระ​รัตนตรัย ๒๑๗
ค�ำอ​ าราธนา​เบญจศีล ๒๑๘
ค�ำอ​ าราธนา​พระ​ปริตร ๒๑๙
ค�ำถ​ วาย​สังฆทาน (อุทิศ​) ๒๒๐
ค�ำถ​ วาย​สังฆทาน (สามัญ) ๒๒๑
ค�ำถ​ วาย​สังฆทาน​อุทิศ​ให้​ผตู้​ าย ๒๒๒
ค�ำอ​ ป​โลก​นภ์​ ัตตาหาร ๒๒๓
- สิ่ง​ที่​ควร​ทราบ​ใน​พิธี​ท�ำบุญ ๒๒๕
- มนุษย์​เรา​เอ๋ย... ๒๒๗
- บท​พิจารณา​อาหาร ๒๒๙
คำ�บ​ ูชา​พระ​รัตนตรัย
โย โส ภะ​คะ​วา อะ​ระ​หัง สัมมา​สัม​พุ​ทโธ
พระ​ผู้​มี​พระ​ภาค​เจ้า​นั้นพ​ ระองค์​ใด
เป็น​พระ​อรหันต์ ดับเ​พลิง​กิเลส​เพลิง​ทุกข์​สิ้น​เชิง
ตรัสรู้​ชอบ​ได้โ​ดย​พระองค์​เอง
สฺ​วาก​ขา​โต เยน​ะ ภะ​คะ​วะ​ตา ธัม​โม
พระ​ธรรม​เป็น​ธรรม​อันพ​ ระ​ผมู้​ ี​พระ​ภาค​เจ้า
พระองค์​ใด ตรัส​ไว้ด​ ีแล้ว
สุ​ปะฏิ​ปันโ​น ยัสส​ ะ ภะ​คะ​วะ​โต สา​วะ​กะ​สังโฆ
พระ​สงฆ์​สาวก​ของ​พระ​ผมู้​ ี​พระ​ภาค​เจ้า
พระองค์​ใด ปฏิบัติ​ดีแล้ว
ตัมม​ ะ​ยัง ภะ​คะ​วันต​ ัง สะ​ธัมมัง สะ​สังฆั​ง, อิ​เมหิ
สักก​ า​เรหิ ยะ​ถา​ระ​หัง อา​โร​ปิ​เตหิ อะภิป​ ู​ชะ​ยา​มะ
ข้าพเจ้า​ทั้ง​หลาย ขอ​บูชา​อย่าง​ยิ่ง
ซึ่ง​พระ​ผมู้​ ี​พระ​ภาค​เจ้า พระองค์​นั้น
พร้อม​ทั้ง​พระ​ธรรม​และ​พระ​สงฆ์
ด้วย​เครื่อง​สักก​ า​ระ​ทั้ง​หลาย​เหล่า​นี้
อันย​ ก​ขึ้นต​ าม​สมควร​แล้วอ​ ย่างไร
สาธุ โน ภันเ​ต ภะ​คะ​วา สุจิ​ระ​ปะ​ริ​นิพ​พุ​โตปิ
ข้า​แต่พ​ ระองค์​ผเู้​จริญ 

1
พระ​ผู้​มี​พระ​ภาค​เจ้า แม้​ปรินิพพาน​นาน​แล้ว
ทรง​สร้าง​คณ ุ อ​นั ส​ ำ�เร็จป​ ระโยชน์ไ​ว้แ​ก่ข​า้ พเจ้าท​ ง้ั ห​ ลาย
ปัจฉิมา​ ชะ​นะ​ตา​นกุ​ ัมป​ ะ​มานะ​สา
ทรง​มี​พระหฤทัย​อนุเคราะห์​แก่พ​ วก​ข้าพเจ้า
อันเ​ป็น​ชน​รุ่น​หลัง
อิ​เม สักก​ าเร ทุ​คค​ ะ​ตะ​ปัณณา​กา​ระ​ภเู​ต ปะฏิคคัณหฺ​ า​ตุ
ขอ​พระ​ผู้​มี​พระ​ภาค​เจ้า
จง​รับ​เครื่อง​สักก​ า​ระ​อันเ​ป็น​บรรณาการ​ของ​คน​ยาก
ทั้ง​หลาย​เหล่า​นี้
อัม​ฺหา​กัง ทีฆะ​ร​ัต​ตัง หิตา​​ยะ สุขา​ยะ
เพื่อ​ประโยชน์แ​ ละ​ความ​สุข​แก่ข​ ้าพเจ้า​ทั้ง​หลาย
ตลอด​กาล​นาน​เทอญฯ

(พระสงฆ์กล่าวนำ�) อะ​ระ​หัง
(โยมกล่าวตาม) สัมมา​สัม​พุ​ทโธ ภะ​คะ​วา
พระ​ผู้​มี​พระ​ภาค​เจ้า เป็น​พระ​อรหันต์
ดับเ​พลิง​กิเลส​เพลิง​ทุกข์​สิ้น​เชิง
ตรัสรู้​ชอบ​ได้โ​ดย​พระองค์​เอง
พุทธั​ง ภะ​คะ​วันต​ ัง อะภิว​า​เท​มิ
ข้าพเจ้า​อภิวาท​พระ​ผมู้​ ี​พระ​ภาค​เจ้า
ผูร้​ู้ ผู้​ตื่น ผูเ้​บิก​บาน (กราบ)

2
(พระสงฆ์กล่าวนำ�) สฺ​วาก​ขา​โต
(โยมกล่าวตาม) ภะ​คะ​วะ​ตา ธัม​โม
พระ​ธรรม​เป็นธ​รรม​ทพ​่ี ระ​ผม​ู้ พ​ี ระ​ภาค​เจ้า ตรัสไ​ว้ด​ แี ล้ว
ธัมมัง นะ​มัส​สา​มิ
ข้าพเจ้า​นมัสการ​พระ​ธรรม (กราบ)
(พระสงฆ์กล่าวนำ�) สุ​ปะฏิ​ปัน​โน
(โยมกล่าวตาม) ภะ​คะ​วะ​โต สา​วะ​กะ​สังโฆ
พระ​สงฆ์​สาวก​ของ​พระ​ผมู้​ ี​พระ​ภาค​เจ้า ปฏิบัตดิ​ ีแล้ว
สังฆั​ง นะ​มา​มิ
ข้าพเจ้า​นอบน้อม​พระ​สงฆ์ (กราบ)

ปุพพ​ภาค​นม​การ
หันท​ ะ มะ​ยัง พุทธั​ส​สะ ภะ​คะ​วะ​โต ปุพพะ​ภา​คะ-
นะ​มะกา​รัง กะ​โร​มะ เส
นะ​โม ตัส​สะ ภะ​คะ​วะ​โต
ขอน​อบ​น้อม​แด่พ​ ระ​ผู้​มี​พระ​ภาค​เจ้า พระองค์​นั้น
อะ​ระ​หะ​โต
ซึ่ง​เป็น​ผไู้​กล​จาก​กิเลส
สัมมา​สัม​พุทธั​ส​สะ
ตรัสรู้​ชอบ​ได้โ​ดย​พระองค์​เอง
(๓ ครั้ง)
3
ทำ�วัตร​เช้า
พุทธ​าภิถตุ​ ิ
หันท​ ะ มะ​ยัง พุทธ​าภิถตุ​ ิง กะ​โร​มะ เส

โย โส ตะ​ถา​คะ​โต
พระ​ตถาคต​เจ้า​นั้นพ​ ระองค์​ใด
อะ​ระ​หัง
เป็น​ผู้​ไกล​จาก​กิเลส
สัมมา​สัม​พุ​ทโธ
เป็น​ผู้​ตรัสรู้​ชอบ​ได้โ​ดย​พระองค์​เอง
วิชชา​จะ​ระณะสัม​ปัน​โน
เป็น​ผู้​ถึงพ​ ร้อม​ด้วย​วิชชา​และ​จรณะ
สุ​คะ​โต
เป็น​ผู้​ไป​แล้วด​ ้วย​ดี
โลก​ะว​ิทู
เป็น​ผู้​รู้​โลก​อย่าง​แจ่มแ​ จ้ง
อะ​นุตต​ ะ​โร ปุ​ริ​สะ​ทัม​มะ​สา​ระถิ
เป็น​ผู้​สามารถ​ฝึกบ​ ุรุษ​ที่​สมควร​ฝึก​ได้
อย่าง​ไม่มี​ใคร​ยิ่ง​กว่า

4
สัตถา เทวะ​มะ​นสุ​ ​สานั​ง
เป็น​ครู​ผสู้​ อน​ของ​เทวดา​และ​มนุษย์ท​ ั้ง​หลาย
พุ​ทโธ
เป็น​ผรู้​ู้ ผู้​ตื่น ผูเ้​บิก​บาน​ด้วย​ธรรม
ภะ​คะ​วา
เป็น​ผมู้​ ี​ความ​จำ�เริญ​จำ�แนก​ธรรม​สั่ง​สอน​สัตว์
โย อิมัง โลกัง​ สะ​เทวะ​กัง สะ​มาระ​กัง สะ​พฺรัหฺมะ​กัง,
สัสสะ​มะณะ​พฺราหฺมะณิง ปะ​ชัง สะ​เทวะ​มะ​นสุ​ สัง
สะ​ยัง อะภิญญา สัจฉ​ ิกัตวฺ​า ปะ​เว​เท​สิ
พระ​ผู้​มี​พระ​ภาค​เจ้า​พระองค์​ใด
ได้ท​ รง​ทำ�ความ​ดบั ท​ กุ ข์ใ​ห้แ​ จ้งด​ ว้ ย​พระ​ปญ
ั ญา​อนั ย​ งิ่ ​
เอง​แล้ว
ทรง​สอน​โลก​นพี้​ ร้อม​ทั้ง​เทวดา​มาร​พรหม
และ​หมู่​สัตว์พ​ ร้อม​ทั้ง​สมณ​พราหมณ์
พร้อม​ทั้ง​เทวดา​และ​มนุษย์ใ​ห้​รู้​ตาม
โย ธัมมัง เท​เส​สิ
พระ​ผม​ู้ พ​ี ระ​ภาค​เจ้าพ​ ระองค์ใ​ด ทรง​แสดง​ธรรม​แล้ว
อาทิ​กัลยฺ​ าณัง
ไพเราะ​ใน​เบื้อง​ต้น
มัช​เฌกัลยฺ​ าณัง
ไพเราะ​ใน​ท่ามกลาง

5
ปะ​ริ​โย​สา​นะ​กัลยฺ​ าณัง
ไพเราะ​ใน​ที่สุด
สาต​ถัง สะพฺ​ยัญช​ ะ​นัง เก​วะ​ละ​ปะ​ริ​ปุณณัง
ปะ​ริ​สุทธั​ง พฺรัหฺมะ​จะ​ริ​ยัง ปะ​กา​เส​สิ
ทรง​ประกาศ​พรหมจรรย์ คือ​แบบ​แห่ง​การ​ปฏิบัติ
อันป​ ระเสริฐ​บริสุทธิ์​บริบูรณ์​สิ้น​เชิง
พร้อม​ทั้ง​อร​รถะ๑ พร้อม​ทั้ง​พยัญชนะ๒
ตะ​มะ​หัง ภะ​คะ​วันต​ ัง อะภิป​ ู​ชะ​ยา​มิ
ข้าพเจ้า​บูชา​อย่าง​ยิ่งเ​ฉพาะ​พระ​ผมู้​ ี​พระ​ภาค​เจ้า
พระองค์​นั้น
ตะ​มะ​หัง ภะ​คะ​วันต​ ัง สิระ​สา นะ​มา​มิ
ข้าพเจ้า​นอบน้อม​พระ​ผมู้​ ี​พระ​ภาค​เจ้า​พระองค์​นั้น
ด้วย​เศียร​เกล้า
(กราบ​ระลึก​พระพุทธ​คุณ)


คำ�​อธิบาย


หัวข้อ

6
ธัม​มา​ภิถตุ​ ิ
หันท​ ะ มะ​ยัง ธัมม​ า​ภิถตุ​ ิง กะ​โร​มะ เส

โย โส สฺ​วาก​ขา​โต ภะ​คะ​วะ​ตา ธัม​โม


พระ​ธรรม​นั้น​ใด
เป็น​สิ่ง​ที่​พระ​ผมู้​ ี​พระ​ภาค​เจ้า​ได้ต​ รัส​ไว้ด​ ีแล้ว
สันท​ ิฏฐิ​โก
เป็น​สิ่ง​ที่​ผศู้​ ึกษา​และ​ปฏิบัติ​พึง​เห็น​ได้ด​ ้วย​ตนเอง
อะ​กา​ลิ​โก
เป็น​สิ่ง​ที่​ปฏิบัติ​ได้แ​ ละ​ให้​ผล​ได้ไ​ม่​จำ�กัดก​ าล
เอ​หิปัส​สิ​โก
เป็น​สิ่ง​ที่​ควร​กล่าว​กับผ​ ู้​อื่นว​่าท​ ่าน​จง​มา​ดูเถิด
โอ​ปะ​นะ​ยโิ​ก
เป็น​สิ่ง​ที่​ควร​น้อม​เข้า​มา​ใส่​ตัว
ปัจจัตต​ ัง เวทิ​ตัพ​โพ วิญญูห​ ิ
เป็น​สิ่ง​ที่​ผรู้​ู้​กร็​ู้​ได้เ​ฉพาะ​ตน
ตะ​มะ​หัง ธัมมัง อะภิ​ปู​ชะ​ยา​มิ
ข้าพเจ้า​บูชา​อย่าง​ยิ่งเ​ฉพาะ​พระ​ธรรม​นั้น
ตะ​มะ​หัง ธัมมัง สิระ​สา นะ​มา​มิ
ข้าพเจ้า​นอบน้อม​พระ​ธรรม​นั้นด​ ้วย​เศียร​เกล้า
(กราบ​ระลึก​พระ​ธรรม​คุณ)

7
สังฆ​าภิถตุ​ ิ
หันท​ ะ มะ​ยัง สังฆ​าภิถตุ​ ิง กะ​โร​มะ เส

โย โส สุ​ปะฏิ​ปัน​โน ภะ​คะ​วะ​โต สา​วะ​กะ​สังโฆ


สงฆ์​สาวก​ของ​พระ​ผู้​มี​พระ​ภาค​เจ้า​นั้นห​ มู่​ใด
ปฏิบัติ​ดีแล้ว
อุ​ชุ​ปะฏิ​ปัน​โน ภะ​คะ​วะ​โต สา​วะ​กะ​สังโฆ
สงฆ์​สาวก​ของ​พระ​ผู้​มี​พระ​ภาค​เจ้า​หมู่​ใด
ปฏิบัติ​ตรง​แล้ว
ญา​ยะ​ปะฏิ​ปัน​โน ภะ​คะ​วะ​โต สา​วะ​กะ​สังโฆ
สงฆ์​สาวก​ของ​พระ​ผู้​มี​พระ​ภาค​เจ้า​หมู่​ใด
ปฏิบัติ​เพื่อ​รู้​ธรรม​เป็น​เครื่อง​ออก​จาก​ทุกข์​แล้ว
สามี​จิ​ปะฏิ​ปัน​โน ภะ​คะ​วะ​โต สา​วะ​กะ​สังโฆ
สงฆ์​สาวก​ของ​พระ​ผู้​มี​พระ​ภาค​เจ้า​หมู่​ใด
ปฏิบัติ​สมควร​แล้ว
ยะ​ทิ​ทัง
ได้แก่บ​ ุคคล​เหล่า​นคี้​ ือ
จัตต​ า​ริ ปุ​ริ​สะ​ยคุ​ า​นิ อัฏฐะ ปุ​ริ​สะ​ปุ​คค​ ะ​ลา
คูแ่​ ห่ง​บุรุษ​สี่​คู่ นับเ​รียง​ตัวบ​ ุรุษ​ได้แ​ ปด​บุรุษ๑

  สี่​คคู่​ ือ โสดา​ปัตติม​ รรค-โสดา​ปัตติผ​ ล, สก​ทา​คา​มิ​มรรค-สก​ทา​คา​มิ​ผล
อ​นาคา​มิ​มรรค-อ​นาคา​มิ​ผล, อร​หัตต​ มรรค-อร​หัตต​ ผ​ ล

8
เอ​สะ ภะ​คะ​วะ​โต สา​วะ​กะ​สังโฆ
นั่นแ​ หละ​สงฆ์​สาวก​ของ​พระ​ผมู้​ ี​พระ​ภาค​เจ้า
อา​หุ​เนย​โย
เป็น​สงฆ์​ควร​แก่ส​ ักก​ า​ระ​ที่​เขา​นำ�​มา​บูชา
ปา​หุ​เนย​โย
เป็น​สงฆ์​ควร​แก่ส​ ักก​ า​ระ​ที่​เขา​จัด​ไว้ต​ ้อนรับ
ทักข​ ิเณย​โย
เป็น​ผคู้​ วร​รับ​ทักษิณา​ทาน
อัญชะลิกะระณีโย
เป็น​ผทู้​ ี่​บุคคล​ทั่วไป​ควร​ทำ�​อัญชลี
อะ​นุตต​ ะรัง ปุ​ญญักเ​ขต​ตัง โลกั​ส​สะ
เป็น​เนื้อ​นา​บุญข​ อง​โลก ไม่มี​นา​บุญอ​ ื่น​ยิ่งก​ ว่า
ตะ​มะ​หัง สังฆั​ง อะภิป​ ู​ชะ​ยา​มิ
ข้าพเจ้า​บูชา​อย่าง​ยิ่งเ​ฉพาะ​พระ​สงฆ์​หมู่​นั้น
ตะ​มะ​หัง สังฆั​ง สิระ​สา นะ​มา​มิ
ข้าพเจ้า​นอบน้อม​พระ​สงฆ์​หมู่​นั้นด​ ้วย​เศียร​เกล้า
(กราบ​ระลึก​พระ​สังฆ​คุณ)

9
รตนัต​ ตยัปป​ ณาม​คาถา
หันท​ ะ มะ​ยัง ระ​ตะ​นัตต​ ะ​ยัปป​ ะณา​มะ​คาถา​โย เจ​วะ
สังเวคะ​ปะ​ริกิ​ตต​ ะ​นะ​ปาฐั​ญจ​ะ ภะณา​มะ เส

พุ​ทโธ สุ​สุ​ทโธ กะ​รุณา​มะ​หัณณะ​โว


พระพุทธเจ้า​ผู้​บริสุทธิ์​มี​พระ​กรุณา​ดุจห​ ้วง​มหรรณพ
โยจ​จันต​ ะ​สุทธั​พ​พะ​ระ​ญาณ​ะโล​จะ​โน
พระองค์ใ​ด​มต​ี า​คอื ญ ​ าณ​อนั ป​ ระเสริฐห​ มดจด​ถงึ ทีส​่ ดุ
โลกั​ส​สะ ปา​ปู​ปะ​กิเลส​ะฆ​ าต​ะ​โก
เป็น​ผู้​ฆ่าเ​สีย​ซึ่ง​บาป​และ​อุปกิเลส​ของ​โลก
วันทา​มิ พุทธั​ง อะ​หะ​มา​ทะ​เร​นะ ตัง
ข้าพเจ้า​ไหว้​พระพุทธเจ้า​พระองค์​นั้น​โดย​ใจ​เคารพ
เอื้อเฟื้อ
ธัม​โม ปะ​ที​โป วิ​ยะ ตัสส​ ะ สัตถุโ​น
พระ​ธรรม​ของ​พระ​ศาสดา​สว่าง​รุ่งเรือง​เปรียบ​ดวง
ประทีป
โย มัคคะ​ปา​กา​มะ​ตะ​เภท​ะภ​ ินน​ ะ​โก
จำ�แนก​ประเภท​คือม​ รรคผล​นิพพาน ส่วน​ใด
โลกุ​ตต​ ะ​โร โย จะ ตะ​ทัตถ​ ะ​ที​ปะ​โน
ซึ่ง​เป็น​ตัว​โลกุ​ตต​ ระ
และ​ส่วน​ใด​ที่​ชี้​แนว​แห่ง​โลกุ​ตต​ ระ​นั้น

10
วันทา​มิ ธัมมัง อะ​หะ​มา​ทะ​เร​นะ ตัง
ข้าพเจ้า​ไหว้​พระ​ธรรม​นั้น​โดย​ใจ​เคารพ​เอื้อเฟื้อ
สังโฆ สุ​เขต​ตาภฺย​ ะ​ตเิ​ขต​ตะ​สัญญิโ​ต
พระ​สงฆ์เ​ป็นน​ า​บญ ุ อ​นั ย​ง่ิ ใ​หญ่ก​ ว่าน​ า​บญ
ุ อ​นั ด​ ท​ี ง้ั ห​ ลาย
โย ทิฏฐะ​สัน​โต สุ​คะ​ตา​นโุ​พธ​ะ​โก
เป็น​ผู้​เห็น​พระ​นิพพาน ตรัสรู้​ตามพ​ระ​สุคต หมู่​ใด
โลลัป​ปะ​หี โน อะ​ริ​โย สุ​เมธ​ะโส

เป็นผ​ ลู้​ ะ​กเิ ลส​เครื่อง​โลเล​เป็นพ​ ระ​อริยเ​จ้าม​ ปี​ ัญญา​ดี


วันทา​มิ สังฆั​ง อะ​หะ​มา​ทะ​เร​นะ ตัง
ข้าพเจ้า​ไหว้​พระ​สงฆ์​หมู่​นั้น​โดย​ใจ​เคารพ​เอื้อเฟื้อ
อิจ​เจ​วะ​เม​กันต​ ะ​ภปิ​ ู​ชะ​เนย​ยะ​กัง, วัตถุต​ ต​ ะ​ยัง
วันท​ ะ​ยะ​ตา​ภิสั​งขะ​ตัง, ปุ​ญญัง มะ​ยา ยัง มะ​มะ
สัพ​พุ​ปัท​ทะ​วา, มา โหน​ตุ เว ตัสส​ ะ ปะ​ภาวะ​สิทธิ​ยา
บุญ​ใด​ที่​ข้าพเจ้า​ผไู้​หว้​อยูซ่​ ึ่ง​วัตถุส​ าม 
คือพ​ ระ​รัตนตรัยอ​ ัน​ควร​บูชา​ยิ่ง​โดย​ส่วน​เดียว 
ได้ก​ ระทำ�​แล้วเ​ป็น​อย่าง​ยิ่ง​เช่น​นี้ 
ขอ​อุปั​ทท​วะ๒ทั้ง​หลาย จง​อย่า​มี​แก่ข​ ้าพเจ้า​เลย
ด้วย​อำ�นาจ​ความ​สำ�เร็จ​อันเ​กิดจ​าก​บุญน​ ั้น


ออก​เสียง ฮี


ความ​ชั่ว

11
สัง​เวค​ปริกิ​ตต​ น​ปาฐ​ะ
อิธะ ตะ​ถา​คะ​โต โล​เก อุป​ปัน​โน
พระ​ตถาคต​เจ้า​เกิดข​ ึ้นแ​ ล้ว​ใน​โลก​นี้
อะ​ระ​หัง สัมมา​สัม​พุ​ทโธ
เป็น​ผู้​ไกล​จาก​กิเลส ตรัสรู้​ชอบ​ได้โ​ดย​พระองค์​เอง
ธัม​โม จะ เท​สิ​โต นิยยานิโ​ก
และ​พระ​ธรรม​ท​ท่ี รง​แสดง​เป็น​ธรรม​เครือ่ ง​ออก​จาก​ทกุ ข์
อุ​ปะ​สะ​มิ​โก ปะ​ริ​นิพพานิ​โก
เป็น​เครื่อง​สงบ​กิเลส เป็น​ไป​เพื่อ​ปรินิพพาน
สัม​โพธ​ะค​ ามี สุค​ ะ​ตัปป​ ะ​เวทิ​โต
เป็น​ไป​เพื่อ​ความ​รู้​พร้อม
เป็น​ธรรม​ที่​พระ​สุคต​ประกาศ
มะ​ยันต​ ัง ธัมมัง สุตฺ​วา เอวัง ชา​นา​มะ
พวก​เรา​เมื่อ​ได้ฟ​ ัง​ธรรม​นั้นแ​ ล้ว จึง​ได้ร​ู้​อย่าง​นวี้​่า
ชา​ติปิ ทุกข​ า
แม้​ความ​เกิดก​ เ็​ป็น​ทุกข์
ชะ​ราปิ ทุก​ขา
แม้​ความ​แก่ก​ เ็​ป็น​ทุกข์
มะ​ระณัมปิ ทุก​ขัง
แม้​ความ​ตาย​กเ็​ป็น​ทุกข์

12
โสก​ะป​ ะ​ริ​เท​วะ​ทุกข​ะ​โท​มะ​นัส​สุ​ปา​ยา​สาปิ ทุก​ขา
แม้​ความ​โศก​ความ​ร่ำ�ไร​รำ�พัน​ความ​ไม่​สบาย​กาย
ความ​ไม่​สบายใจ​ความ​คับแ​ ค้น​ใจ​กเ็​ป็น​ทุกข์
อัป​ปิเยหิ สัม​ปะ​โย​โค ทุก​โข
ความ​ประสบ​กับส​ ิ่ง​ไม่​เป็น​ที่รัก​ที่​พอใจ​กเ็​ป็น​ทุกข์
ปิเยหิ วิ​ป​ปะ​โย​โค ทุก​โข
ความ​พลัดพราก​จาก​สิ่ง​เป็น​ที่รัก​ที่​พอใจ​กเ็​ป็น​ทุกข์
ยัมปิจฉัง นะ ละภะ​ติ ตัมปิ ทุกข​ ัง
มี​ความ​ปรารถนา​สิ่ง​ใด​ไม่​ได้ส​ ิ่ง​นั้น นั่นก​ เ็​ป็น​ทุกข์
สังขิ​ตเ​ต​นะ ปัญจุป​ า​ทา​นักข​ ันธ​ า ทุกข​ า
ว่า​โดย​ย่ออ​ ุปาทาน​ขันธ์ท​ ั้ง​ห้า๑เป็น​ตัวท​ ุกข์
เสย​ยะ​ถที​ ัง
ได้แก่ส​ ิ่ง​เหล่า​นคี้​ ือ
รู​ปู​ปา​ทา​นักข​ ัน​โธ
ขันธ์อ​ ันเ​ป็น​ที่​ตั้ง​แห่ง​ความ​ยึดม​ ั่นค​ ือร​ูป
เวท​ะนูป​ า​ทา​นักข​ ัน​โธ
ขันธ์อ​ ันเ​ป็น​ที่​ตั้ง​แห่ง​ความ​ยึดม​ ั่นค​ ือเ​วทนา
สัญญูป​ า​ทา​นักข​ ัน​โธ
ขันธ์อ​ ันเ​ป็น​ที่​ตั้ง​แห่ง​ความ​ยึดม​ ั่นค​ ือส​ ัญญา

ขันธ์ห​ ้า คือ ส่วน​ประกอบ​ทั้ง​ห้า​ที่​รวม​กันเ​ป็น​ชีวิต คือ รูป (ร่างกาย) 

เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ (ส่วน​ทั้ง​สี่​นรี้​วม​เรียก​ว่า “จิตใจ”)

13
สังขารู​ปา​ทา​นักข​ ัน​โธ
ขันธ์อ​ ันเ​ป็น​ที่​ตั้งแ​ ห่ง​ความ​ยึดม​ ั่นค​ ือส​ ังขาร
วิญญาณูป​ า​ทา​นักข​ ัน​โธ
ขันธ์อ​ ันเ​ป็น​ที่​ตั้งแ​ ห่ง​ความ​ยึดม​ ั่นค​ ือว​ิญญาณ
เยสั​ง ปะ​ริ​ญญา​ยะ
เพื่อ​ให้​สาวก​กำ�หนด​รอบรู้​อุปาทาน​ขันธ์เ​หล่า​นเี้​อง
ธะ​ระมา​โน โส ภะ​คะ​วา
จึง​พระ​ผมู้​ ี​พระ​ภาค​เจ้า​นั้น เมื่อ​ยัง​ทรง​พระชนม์​อยู่
เอวัง พะ​หุ​ลัง สา​วะ​เก วิเ​นติ
ย่อม​ทรง​แนะนำ�​สาวก​ทั้ง​หลาย เช่น​นเี้​ป็น​ส่วน​มาก
เอวัง ภา​คา จะ ปะ​นัส​สะ ภะ​คะ​วะ​โต สา​วะ​เก​สุ
อะ​นสุ​ า​สะ​นี พะ​หุ​ลา ปะ​วัตต​ ะ​ติ
อนึ่ง​คำ�​สั่ง​สอน​ของ​พระ​ผู้​มี​พระ​ภาค​เจ้า​นั้น
ย่อม​เป็น​ไป​ใน​สาวก​ทั้ง​หลาย ส่วน​มาก
มี​ส่วน​คือก​ าร​จำ�แนก​อย่าง​นวี้​่า
รู​ปัง อะ​นิจจ​ัง
รูป​ไม่​เที่ยง
เวท​ะน​ า อะ​นิจจ​า
เวทนา​ไม่​เที่ยง
สัญญา อะ​นิจจ​า
สัญญา​ไม่​เที่ยง

14
สังขาร​า อะ​นิจจ​า
สังขาร​ไม่​เที่ยง
วิญญาณัง​ อะ​นิจจ​ัง
วิญญาณ​ไม่​เที่ยง
รู​ปัง อะนัตต​ า
รูป​ไม่ใช่​ตัวต​ น
เวท​ะน​ า อะนัตต​ า
เวทนา​ไม่ใช่​ตัวต​ น
สัญญา อะนัตต​ า
สัญญา​ไม่ใช่​ตัวต​ น
สังขาร​า อะนัตต​ า
สังขาร​ไม่ใช่​ตัวต​ น
วิญญาณัง​ อะนัตต​ า
วิญญาณ​ไม่ใช่​ตัวต​ น
สัพ​เพ สังขาร​า อะ​นิจจ​า
สังขาร​ทั้ง​หลาย​ทั้ง​ปวง​ไม่​เที่ยง
สัพ​เพ ธัม​มา อะนัตต​ า​ติ
ธรรม​ทั้ง​หลาย​ทั้ง​ปวง​ไม่ใช่​ตัวต​ น
ดังนี้
เต (ตา)๑ มะ​ยัง โอ​ติณณ​ า​มะ​หะ
พวก​เรา​ทั้ง​หลาย​เป็น​ผถู้​ ูกค​ รอบงำ�​แล้ว

หญิง​ว่า​ใน​วงเล็บ

15
ชาติย​ า
โดย​ความ​เกิด
ชะ​รา​มะ​ระ​เณ​นะ
โดย​ความ​แก่แ​ ละ​ความ​ตาย
โส​เกหิ ปะ​ริ​เท​เวหิ ทุก​เขหิ โท​มะ​นัสเ​สหิ อุ​ปา​ยา​เสหิ
โดย​ความ​โศก​ความ​ร่ำ�ไร​รำ�พัน​ความ​ไม่​สบาย​กาย
ความ​ไม่​สบายใจ​ความ​คับแ​ ค้น​ใจ​ทั้ง​หลาย
ทุก​โข​ติณณ ​า
เป็น​ผู้​ถูกค​ วาม​ทุกข์​หยั่ง​เอา​แล้ว
ทุกข​ะป​ ะ​เร​ตา
เป็น​ผู้​มี​ความ​ทุกข์​เป็น​เบื้อง​หน้า​แล้ว
อัป​เป​วะ​นา​มิ​มัส​สะ เก​วะ​ลัส​สะ ทุกขัก​ ข​ ันธ​ ัส​สะ
อันตะ​กิริยา ปัญญา​เย​ถา​ติ
ทำ�​ไฉน​การ​ทำ�​ที่สุด​แห่ง​กอง​ทุกข์​ทั้ง​สิ้นน​ ี้
จะ​พึง​ปรากฏ​ชัดแ​ ก่เ​รา​ได้ *

*
  โยมสวดเองให้ข้ามไปที่หน้า ๑๘

16
(สำ�หรับ​ภิกษุ​สามเณร​สวด)
จิร​ะ​ปะ​ริ​นิพ​พุ​ตัมปิ ตัง ภะ​คะ​วันต​ ัง อุท​ทิส​สะ
อะ​ระ​หันต​ ัง สัมมา​สัม​พุทธั​ง
เรา​ทั้ง​หลาย​อุทิศ​เฉพาะ​พระ​ผมู้​ ี​พระ​ภาค​เจ้า
ผูไ้​กล​จาก​กิเลส ตรัสรู้​ชอบ​ได้โ​ดย​พระองค์​เอง
แม้​ปรินิพพาน​นาน​แล้วพ​ ระองค์​นั้น
สัทธา อะ​คา​รัสฺ​มา อะนะ​คา​ริ​ยัง ปัพ​พะ​ชิ​ตา
เป็น​ผู้​มี​ศรัทธา​ออกบวช​จาก​เรือน
ไม่​เกี่ยวข้อง​ด้วย​เรือน​แล้ว
ตัสมฺ​ ิง ภะ​คะ​วะ​ติ พฺรัหฺมะ​จะ​ริ​ยัง จะ​รา​มะ
ประพฤติอ​ ยูซ่​ ึ่ง​พรหมจรรย์​ใน​พระ​ผู้​มี​พระ​ภาค​เจ้า
พระองค์​นั้น
ภิกข​ ู​นัง (สา​มะ​เณร​านัง ) สิกขา​สา​ชีวะ​สะ​มา​ปันน​ า

ถึงพ​ ร้อม​ด้วย​สิกขา​และ​ธรรม​เป็น​เครื่อง​เลี้ยง​ชีวิต
ของ​ภิกษุ (สามเณร ) ทั้ง​หลาย ๑

ตัง โน พฺรัหฺมะ​จะ​ริ​ยัง อิมัส​สะ เก​วะ​ลัส​สะ


ทุกขั​กข​ ันธ​ ัส​สะ อันตะ​กิริยา​ยะ สังว​ัตต​ ะ​ตุ
ขอ​ให้​พรหมจรรย์​ของ​เรา​ทั้ง​หลาย​นั้น
จง​เป็นไ​ป​เพือ่ ก​ าร​ทำ�​ทสี่ ดุ แ​ ห่งก​ อง​ทกุ ข์ท​ งั้ ส​ นิ้ น​ เ​ี้ ทอญ

สามเณร​ว่า​ใน​วงเล็บ

17
(สำ�หรับ​อุบาสก​อุบาสิกา​สวด)
จิร​ะ​ปะ​ริ​นิพ​พุ​ตัมปิ ตัง ภะ​คะ​วันต​ ัง สะ​ระณัง​คะ​ตา
เรา​ทั้ง​หลาย​ผถู้​ ึง​แล้วซ​ ึ่ง​พระ​ผู้​มี​พระ​ภาค​เจ้า
แม้​ปรินิพพาน​นาน​แล้วพ​ ระองค์​นั้นเ​ป็น​สรณะ
ธัมมัญจ​ะ สังฆัญ ​ จ​ะ
ถึงพ​ ระ​ธรรม​ด้วย​ถึงพ​ ระ​สงฆ์​ด้วย
ตัสส​ ะ ภะ​คะ​วะ​โต สา​สะ​นัง ยะ​ถา​สัตติ ยะ​ถา​พะ​ลัง
มะ​นะ​สิ​กะ​โร​มะ อะ​นปุ​ ะฏิปัช​ชา​มะ
จักท​ ำ�​ใน​ใจ​อยู่ ปฏิบัติ​ตาม​อยู่ ซึ่ง​คำ�​สั่ง​สอน
ของ​พระ​ผมู้​ ี​พระ​ภาค​เจ้า​นั้นต​ าม​สัตติกำ�ลัง ๑

สา สา โน ปะฏิ​ปัตติ
ขอ​ให้​ความ​ปฏิบัติ​นั้นๆ ของ​เรา​ทั้ง​หลาย
อิมัส​สะ เก​วะ​ลัส​สะ ทุกขัก​ ข​ ันธ​ ัส​สะ อันตะ​กิริยา​ยะ
สัง​วัตต​ ะ​ตุ
จง​เป็นไ​ป​เพือ่ ก​ าร​ทำ�​ทสี่ ดุ แ​ ห่งก​ อง​ทกุ ข์ท​ งั้ ส​ นิ้ น​ เ​ี้ ทอญ
(จบ​คำ�​ทำ�วัตร​เช้า)


ตามกำ�ลัง ตามความสามารถ

18
กาย​คต​ า​สติ
(การ​ระลึกอ​ ยู่​เสมอ​ว่าก​ าย​เป็น​สิ่ง​ปฏิกูล
และ​ไม่ใช่​เป็น​ของ​เรา​อย่าง​แท้จริง)
หันท​ ะ มะ​ยัง ทฺ​วัตต​ ิง​สา​กา​ระ​ปาฐั​ง ภะณา​มะ เส

อะ​ยัง โข เม กา​โย
กาย​ของ​เรา​นแี้​ ล
อุท​ธัง ปา​ทะ​ตะ​ลา
เบื้อง​บน​แต่พ​ ื้น​เท้า​ขึ้นม​ า
อะโธ เก​สะ​มัตถ​ ะ​กา
เบื้อง​ต่ำ�แ​ ต่ป​ ลาย​ผม​ลง​ไป
ตะ​จะ​ปะ​ริ​ยัน​โต
มี​หนัง​หุ้ม​อยูเ่​ป็น​ที่สุด​รอบ
ปู​โร นานั​ป​ปะ​กา​รัสสะ อะ​สุจิ​โน
เต็ม​ไป​ด้วย​ของ​ไม่​สะอาด​มี​ประการ​ต่างๆ
อัตถ​ ิ อิมัสฺ​มิง กาเย
มี​อยู่​ใน​กาย​นี้
เกสา คือผ​ ม​ทั้ง​หลาย
โลมา คือข​ น​ทั้ง​หลาย
นะ​ขา คือเ​ล็บ​ทั้ง​หลาย
ทันตา คือฟ​ ัน​ทั้ง​หลาย
19
ตะ​โจ หนัง
มังสั​ง เนื้อ
นะ​หา​รู เอ็น​ทั้ง​หลาย
อัฏฐี กระดูกท​ ั้ง​หลาย
อัฏฐิ​มิญชัง​ เยื่อ​ใน​กระดูก
วักก​ ัง ไต
หะ​ทะ​ยัง หัวใจ
ยะ​กะ​นัง ตับ
กิโล​มะ​กัง พังผืด
ปิ​หะ​กัง ม้าม
ปัป​ผา​สัง ปอด
อันต​ ัง ไส้​ใหญ่
อันต​ ะ​คุณงั​ สาย​รัด​ไส้
อุ​ทะ​ริ​ยัง อาหาร​ใหม่
กะ​รี​สัง อาหาร​เก่า
ปิตต​ ัง น้ำ�ดี
เส​มหัง น้ำ�เ​สลด
ปุพ​โพ น้ำ�เ​หลือง
โลหิตั​ง น้ำ�เ​ลือด
เสโท น้ำ�เ​หงื่อ
เมโท น้ำ�มันข​ ้น

20
อัสสุ น้ำ�ตา
วะ​สา น้ำ�มันเ​หลว
เขโฬ น้ำ�ลาย
สิง​คาณิก​ า น้ำ�มูก
ละ​สิ​กา น้ำ�มัน​ไขข้อ
มุตต​ ัง น้ำ�ม​ ูตร
มัตถ​ ะ​เก มัตถ​ ะ​ลุง​คัง เยื่อ​ใน​สมอง
เอ​วะ​มะ​ยัง เม กา​โย
กาย​ของ​เรา​นอี้​ ย่าง​นี้
อุท​ธัง ปา​ทะ​ตะ​ลา
เบื้อง​บน​แต่พ​ ื้น​เท้า​ขึ้นม​ า
อะโธ เก​สะ​มัตถ​ ะ​กา
เบื้อง​ต่ำ�แ​ ต่ป​ ลาย​ผม​ลง​ไป
ตะ​จะ​ปะ​ริ​ยัน​โต
มี​หนัง​หุ้ม​อยูเ่​ป็น​ที่สุด​รอบ
ปู​โร นานั​ป​ปะ​กา​รัสสะ อะ​สุจิ​โน
เต็มไ​ป​ด้วย​ของ​ไม่ส​ ะอาด​มปี​ ระการ​ตา่ งๆ อย่าง​นแ​ี้ ล

21
บท​พิจารณา​สังขาร
สัพ​เพ สังขาร​า อะ​นิจจ​า
สังขาร​คือ​ร่างกาย​จิตใจ แล​รูป​ธรรม​นามธรรม ๑

ทั้งหมด​ทั้ง​สิ้น มัน​ไม่​เที่ยง เกิด​ขึ้นแ​ ล้วด​ ับ​ไป


มี​แล้วห​ าย​ไป
สัพ​เพ สังขาร​า ทุกข​ า
สังขาร​คือร​่างกาย​จิตใจ แล​รูป​ธรรม​นามธรรม ๑

ทั้งหมด​ทั้ง​สิ้น มันเ​ป็น​ทุกข์​ทน​ยาก
เพราะ​เกิดข​ ึ้นแ​ ล้วแ​ ก่เ​จ็บ​ตาย​ไป
สัพ​เพ ธัม​มา อะนัตต​ า
สิ่ง​ทั้ง​หลาย​ทั้ง​ปวง ทั้ง​ที่​เป็น​สังขาร​แล​มิใช่​สังขาร
ทั้งหมด​ทั้ง​สิ้น ไม่ใช่​ตัว​ไม่ใช่​ตน ไม่​ควร​ถือว่า​เรา
ว่าข​ อง​เรา​ว่าต​ ัวว​่าต​ น​ของ​เรา
อะธุ​วัง ชีว​ติ​ ัง
ชีวิตเ​ป็น​ของ​ไม่​ยั่งยืน
ธุ​วัง มะ​ระณัง
ความ​ตาย​เป็น​ของ​ยั่งยืน


อ่าน​ว่า รูป-ธรรม นาม-ธรรม

22
อะ​วัสส​ ัง มะ​ยา มะ​ริ​ตัพ​พัง
อันเ​รา​จะ​พึง​ตาย​เป็น​แท้
มะ​ระณะ​ปะ​ริ​โย​สานั​ง เม ชี​วติ​ ัง
ชีวิตข​ อง​เรา​มี​ความ​ตาย​เป็น​ที่สุด​รอบ
ชี​วติ​ ัง เม อะ​นยิ​ ะ​ตัง
ชีวิตข​ อง​เรา​เป็น​ของ​ไม่​เที่ยง
มะ​ระณัง เม นิ​ยะ​ตัง
ความ​ตาย​ของ​เรา​เป็น​ของ​เที่ยง
วะ​ตะ
ควร​ที่​จะ​สังเวช
อะ​ยัง กา​โย
ร่างกาย​นี้
อะ​จริ​ัง
มิได้ต​ ั้งอ​ ยู่​นาน
อะ​เปต​ะว​ญ ิ​ ญาโณ
ครั้นป​ ราศจาก​วิญญาณ
ฉุฑโฑ
อันเ​ขา​ทิ้ง​เสีย​แล้ว
อะธิ​เส​ส​สะ​ติ
จักน​ อน​ทับ

23
ปะฐะ​วิง
ซึ่ง​แผ่นด​ ิน
กะลิงค​ ะ​รัง อิ​วะ
ประดุจด​ ังว​่าท​ ่อน​ไม้​และ​ท่อน​ฟืน
นิร​ัต​ถัง
หา​ประโยชน์​มิได้
อะ​นิจจ​า วะ​ตะ สังขาร​า
สังขาร​ทั้ง​หลาย​ไม่​เที่ยง​หนอ
อุป​ปา​ทะ​วะ​ยะ​ธัม​มิ​โน
มี​ความ​เกิดข​ ึ้นแ​ ล้วม​ ี​ความ​เสื่อม​ไป​เป็น​ธรรมดา
อุป​ปัช​ชิตวฺ​า นิร​ุชฌันต​ ิ
ครั้นเ​กิดข​ ึ้นแ​ ล้วย​ ่อม​ดับ​ไป
เต​สัง วู​ปะ​สะ​โม สุ​โข
ความ​เข้าไป​สงบ​ระงับ​สังขาร​ทั้ง​หลาย
เป็นสุข​อย่าง​ยิ่ง
ดังนี้

24
อภิ​ณฺหปัจจ​เวก​ขณ​ปาฐ​ะ
หันท​ ะ มะ​ยัง อะภิณหฺ​ ะ​ปัจ​จะ​เวก​ขะณะ​ปาฐั​ง
ภะณา​มะ เส

ชะ​รา​ธัม​โมมฺหิ๑ ชะ​รัง อะนะ​ตโี​ต (อะนะ​ตตี​ า)๒


เรา​ม​คี วาม​แก่เ​ป็น​ธรรมดา​จะ​ลว่ ง​พน้ ​ความ​แก่​ไป​ไม่​ได้
พฺยาธิิ​ธัม​โมมฺหิ๑ พฺ​ยา​ธิง อะนะ​ตโี​ต (อะนะ​ตตี​ า)๒
เรา​ม​คี วาม​เจ็บ​ไข้​เป็น​ธรรมดา​จะ​ลว่ ง​พน้ ​ความ​เจ็บ​ไข้
ไป​ไม่​ได้
มะ​ระณะธัม​โมมฺหิ๑ มะ​ระณัง อะนะ​ตโี​ต (อะนะ​ตี​ตา)๒
เรา​มี​ความ​ตาย​เป็น​ธรรมดา​จะ​ล่วง​พ้น​ความ​ตาย
ไป​ไม่​ได้
สัพ​เพหิ เม ปิเยหิ มะ​นา​เปหิ นานา​ภา​โว วิน​ า​ภา​โว
เรา​จะ​ละเว้นเ​ป็น​ต่างๆ คือว​่าเ​รา​จะ​ต้อง​พลัดพราก
จาก​ของ​รัก​ของ​เจริญใจ​ทั้ง​หลาย​ทั้ง​ปวง


ออกเสียง ธัม-โมม-มะ(ครึ่งเสียง)-หิ


หญิงว่าในวงเล็บ

25
กัมมัส​สะ​โกมฺหิ (กามฺ​หิ)๑ กัมม​ ะ​ทายา​โท (ทา)๑
กัมม​ ะ​โย​นิ กัมม​ ะ​พันธุ กัมม​ ะ​ปะฏิ​สะ​ระโณ (ณา)๑
เรา​มี​กรรม​เป็น​ของ​ของ​ตน มีก​ รรม​เป็น​ผใู้​ห้​ผล
มี​กรรม​เป็น​แดน​เกิด มีก​ รรม​เป็น​ผตู้​ ิดตาม
มี​กรรม​เป็น​ที่​พึ่ง​อาศัย
ยัง กัมมัง กะ​ริ​ส​สา​มิ กัลยฺ​ าณัง วา ปา​ปะกัง วา
ตัสส​ ะ​ทายา​โท (ทา)๑ ภะ​วสิ​ ​สา​มิ
เรา​ทำ�กรรม​อัน​ใด​ไว้ เป็นบ​ ุญห​ รือ​เป็น​บาป
เรา​จะ​เป็น​ทายาท คือ​ว่าเ​รา​จะ​ต้อง​ได้ร​ับ​ผล
ของ​กร​รม​นั้นๆ สืบไป
เอวัง อัมฺเหหิ อะภิณฺหัง ปัจ​จะ​เวก​ขิตัพ​พัง
เรา​ทั้ง​หลาย​ควร​พิจารณา​อย่าง​นที้​ ุกว​ันๆ เถิด


หญิง​ว่า​ใน​วงเล็บ

26
ภัท​เท​กรัตต​คาถา
หันท​ ะ มะ​ยัง ภัทเ​ท​กะรัตต​ ะ​คาถา​โย ภะณา​มะ เส

อะ​ตตี​ ัง นานฺว​า​คะ​เมย​ยะ นัปป​ ะฏิ​กังเ​ข อะ​นา​คะ​ตัง


บุคคล​ไม่​ควร​ตาม​คิดถึงส​ ิ่ง​ที่​ล่วง​ไป​แล้วด​ ้วย​อาลัย
และ​ไม่​พึง​พะวง​ถึงส​ ิ่ง​ที่​ยัง​ไม่​มา​ถึง
ยะ​ทะ​ตตี​ ัมป​ ะ​หีนนั​ ต​ ัง อัป​ปัตตัญจ​ะ อะ​นา​คะ​ตัง
สิ่ง​เป็น​อดีตก​ ล็​ ะ​ไป​แล้ว สิ่ง​เป็น​อนาคต​กย็​ ัง​ไม่​มา
ปัจ​จปุ​ ​ปันน​ ัญจ​ะ โย ธัมมัง ตัตถ​ ะ ตัตถ​ ะ วิป​ ัส​สะ​ติ,
อะสังหิ​รัง อะสัง​กปุ​ ​ปัง ตัง วิท​ ธา มะ​นุพฺ​รู​หะเย
ผูใ้​ด​เห็น​ธรรม​อันเ​กิดข​ ึ้นเ​ฉพาะ​หน้า​ในที่​นั้นๆ
อย่าง​แจ่มแ​ จ้ง ไม่​ง่อน​แง่นค​ ลอนแคลน
เขา​ควร​พอกพูน​อาการ​เช่น​นั้น​ไว้
อัชเช​วะ กิจจ​ะ​มา​ตัป​ปัง โก ชัญญา มะ​ระณัง สุเว
ความ​เพียร​เป็น​กิจท​ ี่​ต้อง​ทำ�​วันน​ ี้
ใคร​จะ​รู้​ความ​ตาย​แม้พ​ รุ่ง​นี้
นะ หิ โน สังค​ะร​ัน​เต​นะ มะ​หา​เส​เน​นะ มัจจุน​ า
เพราะ​การ​ผัดเ​พี้ยน​ต่อม​ ัจจุราช​ซึ่ง​มี​เสนา​มาก
ย่อม​ไม่มี​สำ�หรับ​เรา

27
เอวัง วิ​หาริ​มา​ตา​ปิง อะ​โหรั​ตต​ ะ​มะ​ตันท​ ิตงั​,
ตัง เว ภัทเ​ท​กะรัต​โต​ติ สัน​โต อา​จิกข​ ะ​เต มุนิ
มุนผี​ ู้​สงบ​ย่อม​กล่าว​เรียก​ผู้​มี​ความ​เพียร​อยู่​เช่น​นั้น
ไม่​เกียจคร้าน​ทั้ง​กลาง​วันก​ ลาง​คืนว​่า
“ผูเ้​ป็น​อยู่​แม้เ​พียง​ราตรี​เดียว​กน็​ ่าช​ ม”

28
บท​แผ่เ​มตตา
หันท​ ะ มะ​ยัง เมตตา​ผะ​ระณัง กะ​โร​มะ เส

อะหัง สุขิ​โต (สุขิ​ตา)๑ โหมิ


ขอ​ให้​ข้าพเจ้า​จง​เป็น​ผู้​ถึงส​ ุข
นิทท​ ุก​โข (นิท​ทุกข​ า)๑ โหมิ
จง​เป็น​ผไู้​ร้​ทุกข์
อะเว​โร (อะ​เวร​า)๑ โหมิ
จง​เป็น​ผไู้​ม่มี​เวร
อัพฺ​ยา​ปัชโฌ (อัพฺ​ยา​ปัชฌา)๑ โหมิ
จง​เป็น​ผไู้​ม่​เบียดเบียน​ซึ่ง​กันแ​ ละ​กัน
อะ​นีโฆ (อะ​นีฆา)๑ โหมิ
จง​เป็น​ผไู้​ม่มี​ทุกข์
สุขี อัต​ตานัง​ ปะ​ริ​หะ​รา​มิ
จง​รักษา​ตน​อยูเ่​ป็นสุข​เถิด
สัพ​เพ สัต​ตา สุขิ​ตา โหน​ตุ
ขอ​สัตว์ท​ ั้ง​หลาย​ทั้ง​ปวง​จง​เป็น​ผู้​ถึงค​ วาม​สุข
สัพ​เพ สัต​ตา อะ​เวร​า โหน​ตุ
ขอ​สัตว์ท​ ั้ง​หลาย​ทั้ง​ปวง​จง​เป็น​ผู้​ไม่มี​เวร

หญิง​ว่า​ใน​วงเล็บ

29
สัพ​เพ สัต​ตา อัพฺ​ยา​ปัชฌา โหน​ตุ
ขอ​สัตว์ท​ ั้ง​หลาย​ทั้ง​ปวง​จง​อย่า​ได้เ​บียดเบียน
ซึ่ง​กันแ​ ละ​กัน
สัพ​เพ สัต​ตา อะ​นีฆา โหน​ตุ
ขอ​สัตว์ท​ ั้ง​หลาย​ทั้ง​ปวง​จง​เป็น​ผู้​ไม่มี​ทุกข์
สัพ​เพ สัต​ตา สุขี อัตต​ านัง​ ปะ​ริ​หะ​รัน​ตุ
ขอ​สัตว์ท​ ั้ง​หลาย​ทั้ง​ปวง​จง​รักษา​ตน​อยูเ่​ป็นสุข​เถิด
สัพ​เพ สัต​ตา สัพพะ​ทุกข​ า ปะ​มุญจ​ันต​ ุ
ขอ​สัตว์ท​ ั้ง​หลาย​ทั้ง​ปวง​จง​พ้น​จาก​ทุกข์ท​ ั้ง​มวล
สัพ​เพ สัต​ตา ลัทธะสัม​ปัตติโ​ต มา วิค​ ัจฉ​ ันต​ ุ
ขอ​สัตว์ท​ ั้ง​หลาย​ทั้ง​ปวง​จง​อย่า​ได้พ​ ราก​จาก​สมบัติ
อันต​ น​ได้แ​ ล้ว
สัพ​เพ สัต​ตา กัมมัสส​ ะกา กัมม​ ะ​ทายา​ทา กัมม​ ะ
โย​นิ กัมม​ ะ​พันธุ กัมม​ ะ​ปะฏิ​สะ​ระณา
สัตว์ท​ ั้ง​หลาย​ทั้ง​ปวง​มี​กรรม​เป็น​ของ​ของ​ตน
มี​กรรม​เป็น​ผใู้​ห้​ผล มี​กรรม​เป็น​แดน​เกิด
มี​กรรม​เป็น​ผตู้​ ิดตาม มีก​ รรม​เป็น​ที่​พึ่ง​อาศัย
ยัง กัมมัง กะ​ริ​ส​สันติ, กัลยฺ​ าณัง วา ปา​ปะกัง วา
ตัสส​ ะ ทายา​ทา ภะ​วสิ​ ​สันติ
จักท​ ำ�กรรม​อัน​ใด​ไว้ เป็น​บุญห​ รือ​เป็น​บาป
จักต​ ้อง​เป็น​ผไู้​ด้ร​ับ​ผล​ของ​กร​รม​นั้นๆ สืบไป

30
สัพ​พ​ปัตติท​ าน​คาถา
หันท​ ะ มะ​ยัง สัพพะ​ปัตติท​ า​นะ​คาถา​โย ภะณา​มะ เส

ปุ​ญญัสส​ ิ​ทา​นิ กะ​ตัสส​ ะ ยานัญ ​ ญา​นิ กะ​ตา​นิ เม,


เต​สัญจ​ะ ภาคิโ​น โหน​ตุ สัตต​ านัน​ ต​ า​ป​ปะ​มาณะ​กา
สัตว์ท​ ั้ง​หลาย​ไม่มี​ที่สุด​ไม่มี​ประมาณ
จง​มี​ส่วน​แห่ง​บุญท​ ี่​ข้าพเจ้า​ได้ท​ ำ�​ใน​บัดนี้
และ​แห่ง​บุญอ​ ื่นท​ ี่​ได้ท​ ำ�​ไว้ก​ ่อน​แล้ว
เย ปิยา​ คุณะ​ว​ันต​ า จะ มัยห​ ัง มาตา​ปิตา​ทะ​โย,
ทิฏฐา เม จาปฺ​ยะ​ทิฏฐา วา อัญ​เญ มัชฌัต​ ต​ ะ​เวริ​โน
คือจ​ะ​เป็นส​ ัตว์เ​หล่าใ​ด ซึ่งเ​ป็นท​ ี่รักใ​คร่แ​ ละ​มบี​ ุญค​ ุณ
เช่น​มารดา​บิดา​ของ​ข้าพเจ้า​เป็นต้นก​ ด็​ ี
ที่​ข้าพเจ้า​เห็น​แล้วห​ รือ​ไม่​ได้เ​ห็น​กด็​ ี
สัตว์เ​หล่า​อื่นท​ ี่​เป็น​กลางๆ หรือ​เป็น​คเู่​วร​กันก​ ด็​ ี
สัตต​ า ติฏฐันต​ ิ โลกัส​ ฺ​มิง เตภุม​มา จะ​ตโุ​ย​นกิ​ า,
ปัญเ​จ​กะ​จะ​ตโุ​ว​กา​รา สัง​สะ​รัน​ตา ภะ​วาภะเว
สัตว์ท​ ั้ง​หลาย​ตั้ง​อยูใ่​น​โลก อยู่​ใน​ภูมทิ​ ั้ง​สาม
อยูใ่​น​กำ�เนิดท​ ั้ง​สี่ มี​ขันธ์ห​ ้า​ขันธ์ม​ ี​ขันธ์ข​ ันธ์เ​ดียว
มีข​นั ธ์ส​ข​่ี นั ธ์ กำ�ลังท​ อ่ ง​เทีย่ ว​อยูใ​่ น​ภพ​นอ้ ย​ภพ​ใหญ่ก​ด​็ ี

31
ญา​ตา เย ปัตติท​ านั​ม​เม อะ​นโุ​ม​ทัน​ตุ เต สะ​ยัง,
เย จิม​ ัง นัป​ปะ​ชานัน​ ต​ ิ เท​วา เต​สัง นิ​เวท​ะย​ ุง
สัตว์เ​หล่า​ใด​รู้​ส่วน​บุญท​ ี่​ข้าพเจ้า​แผ่ใ​ห้​แล้ว
สัตว์เ​หล่า​นั้นจ​ง​อนุโมทนา​เอง​เถิด
ส่วน​สัตว์เ​หล่า​ใด​ยัง​ไม่รู้​ส่วน​บุญน​ ี้
ขอ​เทวดา​ทั้ง​หลาย จง​บอก​สัตว์เ​หล่า​นั้น​ให้​รู้
มะ​ยา ทินน​ า​นะ ปุญ ​ ญานัง อะ​นโุ​ม​ทะนะ​เหตุ​นา,
สัพ​เพ สัต​ตา สะ​ทา โหน​ตุ อะ​เวร​า สุข​ะช​ ี​วโิ​น,
เขมั​ป​ปะ​ทัญจ​ะ ปัปโ​ปน​ตุ เต​สา​สา สิชฌะ​ตัง สุภา
เพราะ​เหตุท​ ​ไ่ี ด้​อนุโมทนา​สว่ น​บญ ุ ​ท​ข่ี า้ พเจ้า​แผ่​ให้แล้ว
สัตว์ท​ ง้ั ห​ ลาย​ทง้ั ป​ วง จง​เป็นผ​ไ​ู้ ม่มเ​ี วร อยูเ​่ ป็นสุขท​ กุ เ​มือ่
จง​ถงึ ​บท​อนั ​เกษม กล่าว​คอื ​พระ​นพิ พาน
ความ​ปรารถนา​ท​ด่ี ​งี าม​ของ​สตั ว์​เหล่า​นน้ั ​จง​สำ�เร็จ​เถิด

32
ตัง​ขณิกปัจจ​เวก​ขณ​ปาฐ​ะ
หันท​ ะ มะ​ยัง ตังข​ ะณิก​ ะ​ปัจ​จะ​เวก​ขะณะ​ปาฐั​ง
ภะณา​มะ เส

ปะฏิ​สังข​า โยนิโส จี​วะ​รัง ปะฏิ​เส​วา​มิ


เรา​ย่อม​พิจารณา​โดย​แยบคาย​แล้วน​ ุ่ง​ห่ม​จีวร
ยา​วะ​เทวะ สีตสั​ ​สะ ปะฏิ​ฆาต​า​ยะ
เพียง​เพื่อ​บำ�บัด​ความ​หนาว
อุณฺ​หัส​สะ ปะฏิ​ฆาต​า​ยะ
เพื่อ​บำ�บัด​ความ​ร้อน
ฑังสะ​มะ​กะ​สะ​วาตา​ตะ​ปะ​สิ​ริง​สะ​ปะ​สัมผัส​สานั​ง
ปะฏิ​ฆาต​า​ยะ
เพื่อ​บำ�บัด​สัมผัส​อัน​เกิดจ​าก​เหลือบ​ยุง​ลม​แดด
และ​สัตว์เ​ลื้อย​คลาน​ทั้ง​หลาย
ยา​วะ​เทวะ หิริ​โก​ปิ​นะ ปะฏิจฉา​ทะ​นัตถ​ ัง
และ​เพียง​เพื่อ​ปกปิดอ​ วัยวะ​อัน​ให้​เกิดค​ วาม​ละอาย
ปะฏิ​สังข​า โยนิโส ปิณฑะ​ปา​ตัง ปะฏิ​เส​วา​มิ
เรา​ย่อม​พิจารณา​โดย​แยบคาย​แล้วฉ​ ันบ​ ิณฑบาต
เน​วะ ทฺว​ายะ
ไม่​ให้​เป็น​ไป​เพื่อ​ความ​เพลิดเพลิน​สนุกสนาน

33
นะ มะ​ทา​ยะ
ไม่​ให้​เป็น​ไป​เพื่อ​ความ​เมามัน​เกิดก​ ำ�ลัง​พลัง​ทาง​กาย
นะ มัณฑ​ะน​ า​ยะ
ไม่​ให้​เป็น​ไป​เพื่อ​ประดับ
นะ วิภสู​ ะ​นา​ยะ
ไม่​ให้​เป็น​ไป​เพื่อ​ตกแต่ง
ยา​วะ​เทวะ อิมัส​สะ กายัส​ ​สะ ฐิตยิ​ า
แต่ใ​ห้​เป็น​ไป​เพียง​เพื่อ​ความ​ตั้ง​อยูไ่​ด้แ​ ห่ง​กาย​นี้
ยา​ปะ​นา​ยะ
เพื่อ​ความ​เป็น​ไป​ได้ข​ อ​งอัตต​ภาพ
วิห​ ิง​สุ​ปะ​ระ​ตยิ​ า
เพื่อ​ความ​สิ้น​ไป​แห่ง​ความ​ลำ�บาก​ทาง​กาย
พฺรัหฺมะ​จะ​ริ​ยา​นคุ​ ค​ ะ​หา​ยะ
เพื่อ​อนุเคราะห์​แก่ก​ าร​ประพฤติพ​ รหมจรรย์
อิ​ติ ปุร​าณัญ​จะ เวท​ะนัง ปะฏิหัง​ขา​มิ
ด้วย​การ​ทำ�​อย่าง​นี้
เรา​ย่อม​ระงับ​เสีย​ได้ซ​ ึ่ง​ทุกขเวทนา​เก่า คือค​ วาม​หิว
นะ​วัญจ​ะ เวท​ะนัง นะ อุปป​ า​เท​ส​สา​มิ
และ​ไม่​ทำ�​ทุกขเวทนา​ใหม่​ให้​เกิดข​ ึ้น

34
ยาตฺร​า จะ เม ภะ​วสิ​ ​สะ​ติ อะนะ​วัชชะ​ตา จะ
ผา​สุ​วหิ​ า​โร จา​ติ
อนึ่งค​ วาม​เป็น​ไป​โดย​สะดวก​แห่​งอัตต​ภาพ​นดี้​ ้วย
ความ​เป็น​ผู้​หา​โทษ​มิได้ด​ ้วย
และ​ความ​เป็น​อยูโ่​ดย​ผาสุกด​ ้วย จักม​ ี​แก่เ​รา
ดังนี้
ปะฏิ​สังข​า โยนิโส เส​นา​สะ​นัง ปะฏิ​เส​วา​มิ
เรา​ย่อม​พิจารณา​โดย​แยบคาย​แล้ว​ใช้สอย​เสนาสนะ
ยา​วะ​เทวะ สีตสั​ ​สะ ปะฏิ​ฆาต​า​ยะ
เพียง​เพื่อ​บำ�บัด​ความ​หนาว
อุณฺ​หัส​สะ ปะฏิ​ฆาต​า​ยะ
เพื่อ​บำ�บัด​ความ​ร้อน
ฑังสะ​มะ​กะ​สะ​วาตา​ตะ​ปะ​สิ​ริง​สะ​ปะ​สัมผัส​สานั​ง
ปะฏิ​ฆาต​า​ยะ
เพื่อ​บำ�บัด​สัมผัส​อัน​เกิดจ​าก​เหลือบ​ยุง​ลม​แดด
และ​สัตว์เ​ลื้อย​คลาน​ทั้ง​หลาย
ยา​วะ​เทวะ อุตปุ​ ะ​ริ​ส​สะ​ยะ วิโ​น​ทะ​นัง
ปะฏิสัล​ลา​นา​รามั​ตถ​ ัง
เพียง​เพือ่ ​บรรเทา​อนั ตราย​อนั ​จะ​พงึ ​ม​จี าก​ดนิ ​ฟา้ ​อากาศ
และ​เพื่อ​ความ​เป็น​ผยู้​ ินดีอ​ ยูไ่​ด้ใ​น​ที่​หลีก​เร้น
สำ�หรับ​ภาวนา

35
ปะฏิ​สังข​า โยนิโส คิลาน​ะปัจจ​ะ​ยะ​เภสัช​ชะ​ปะ​ริก​ขา​รัง
ปะฏิ​เส​วา​มิ
เรา​ยอ่ ม​พจิ ารณา​โดย​แยบคาย​แล้วบ​ ริโภค​เภสัชบ​ ริขาร
อันเ​กื้อกูล​แก่ค​ นไข้
ยา​วะ​เทวะ​อุป​ปัน​นานัง​ เวย​ยา​พาธิ​กานัง​ เวท​ะน​ านัง​
ปะฏิ​ฆาต​า​ยะ
เพียง​เพื่อ​บำ�บัด​ทุกขเวทนา​อันบ​ ังเกิด​ขึ้นแ​ ล้ว
มี​อาพาธ​ต่างๆ เป็น​มูล
อัพฺ​ยา​ปัชฌะ​ปะ​ระ​มะตา​ยา​ติ
เพื่อ​ความ​เป็น​ผไู้​ม่มี​โรค​เบียดเบียน​เป็น​อย่าง​ยิ่ง
ดังนี้

36
ธาตุป​ ัจจ​เวก​ขณ​ปาฐ​ะ
หันท​ ะ มะ​ยัง ธาตุป​ ัจ​จะ​เวก​ขะณะ​ปาฐั​ง ภะณา​มะ เส

ยะ​ถา​ปัจ​จะ​ยัง ปะ​วัตต​ ะ​มานัง​ ธาตุม​ ัตตะ​เม​เว​ตัง


สิ่ง​เหล่า​นนี้​ เี่​ป็น​สักว่าธ​ าตุต​ าม​ธรรมชาติ​เท่านั้น
กำ�ลัง​เป็น​ไป​ตาม​เหตุ​ตาม​ปัจจัยอ​ ยูเ่​นือง​นิจ
ยะ​ทิ​ทัง จี​วะ​รัง ตะ​ทุ​ปะ​ภุญช​ะ​โก จะ ปุค​ ค​ ะโล
สิ่ง​เหล่า​นคี้​ ือจ​ีวร และ​คน​ผู้​ใช้สอย​จีวร​นั้น
ธาตุม​ ัตตะ​โก
เป็น​สักว่าธ​ าตุต​ าม​ธรรมชาติ
นิส​ ​สัต​โต
มิได้เ​ป็น​สัตว​ะ​อันย​ ั่งยืน
นิชช​ ี​โว
มิได้เ​ป็น​ชีวะ​อันเ​ป็น​บุรุษ​บุคคล
สุญ​โญ
ว่าง​เปล่า​จาก​ความ​หมาย​แห่ง​ความ​เป็น​ตัวต​ น
สัพ​พา​นิ ปะ​นะ อิม​ า​นิ จีว​ะ​รา​นิ อะ​ชิ​คุจฉ​ ะ​นยี​ า​นิ
ก็จ​ีวร​ทั้งหมด​นี้ ไม่เ​ป็น​ของ​น่าเ​กลียด​มา​แต่เ​ดิม
อิมัง ปูติ​กา​ยัง ปัตวฺ​า
ครั้นม​ า​ถูกเ​ข้า​กับก​ าย​อันเ​น่า​อยูเ่​ป็น​นิจน​ แี้​ ล้ว

37
อะ​ตวิ​ยิ​ ะ ชิค​ ุจฉ​ ะ​นยี​ า​นิ ชา​ยันต​ ิ
ย่อม​กลาย​เป็น​ของ​น่าเ​กลียด​อย่าง​ยิ่ง​ไป​ด้วย​กัน
ยะ​ถา​ปัจ​จะ​ยัง ปะ​วัตต​ ะ​มานัง​ ธาตุม​ ัตตะ​เม​เว​ตัง
สิ่ง​เหล่า​นนี้​ เี่​ป็น​สักว่าธ​ าตุต​ าม​ธรรมชาติ​เท่านั้น
กำ�ลัง​เป็น​ไป​ตาม​เหตุ​ตาม​ปัจจัยอ​ ยู่​เนือง​นิจ
ยะ​ทิ​ทัง ปิณฑะ​ปา​โต ตะ​ทุ​ปะ​ภุญช​ะ​โก จะ ปุค​ ค​ ะโล
สิง่ ​เหล่า​น​ค้ี อื ​บณิ ฑบาต และ​คน​ผ​บู้ ริโภค​บณ ิ ฑบาต​นน้ั
ธาตุม​ ัตตะ​โก
เป็น​สักว่าธ​ าตุต​ าม​ธรรมชาติ
นิส​ ​สัต​โต
มิได้เ​ป็น​สัตว​ะ​อันย​ ั่งยืน
นิชช​ ี​โว
มิได้เ​ป็น​ชีวะ​อันเ​ป็น​บุรุษ​บุคคล
สุญ​โญ
ว่าง​เปล่า​จาก​ความ​หมาย​แห่ง​ความ​เป็น​ตัวต​ น
สัพ​โพ ปะ​นา​ยัง ปิณฑะ​ปา​โต อะ​ชิ​คุจฉ​ ะ​นโี​ย
ก็บ​ ณ ิ ฑบาต​ทงั้ หมด​นี้ ไม่เ​ป็นข​อง​นา่ เ​กลียด​มา​แต่เ​ดิม
อิมัง ปูติ​กา​ยัง ปัตวฺ​า
ครั้นม​ า​ถูกเ​ข้า​กับก​ าย​อันเ​น่า​อยูเ่​ป็น​นิจน​ แี้​ ล้ว
อะ​ตวิ​ยิ​ ะ ชิค​ ุจฉ​ ะ​นโี​ย ชา​ยะ​ติ
ย่อม​กลาย​เป็น​ของ​น่าเ​กลียด​อย่าง​ยิ่ง​ไป​ด้วย​กัน

38
ยะ​ถา​ปัจ​จะ​ยัง ปะ​วัตต​ ะ​มานัง​ ธาตุม​ ัตตะ​เม​เว​ตัง
สิ่ง​เหล่า​นนี้​ เี่​ป็น​สักว่าธ​ าตุต​ าม​ธรรมชาติ​เท่านั้น
กำ�ลัง​เป็น​ไป​ตาม​เหตุ​ตาม​ปัจจัยอ​ ยูเ่​นือง​นิจ
ยะ​ทิ​ทัง เส​นา​สะ​นัง ตะ​ทุ​ปะ​ภุญช​ะ​โก จะ ปุค​ ค​ ะโล
สิง่ เ​หล่าน​ ค​ี้ อื เ​สนาสนะ และ​คน​ผใ​ู้ ช้สอย​เสนาสนะ​นนั้
ธาตุม​ ัตตะ​โก
เป็น​สักว่าธ​ าตุต​ าม​ธรรมชาติ
นิส​ ​สัต​โต
มิได้เ​ป็น​สัตว​ะ​อันย​ ั่งยืน
นิชช​ ี​โว
มิได้เ​ป็น​ชีวะ​อันเ​ป็น​บุรุษ​บุคคล
สุญ​โญ
ว่าง​เปล่า​จาก​ความ​หมาย​แห่ง​ความ​เป็น​ตัวต​ น
สัพ​พา​นิ ปะ​นะ อิม​ า​นิ เสนา​สะ​นา​นิ อะ​ชิ​คุจฉ​ ะ​นยี​ า​นิ
ก็​เสนาสนะ​ทง้ั หมด​น้ี ไม่​เป็น​ของ​นา่ ​เกลียด​มา​แต่​เดิม
อิมัง ปูติ​กา​ยัง ปัตวฺ​า
ครั้นม​ า​ถูกเ​ข้า​กับก​ าย​อันเ​น่า​อยูเ่​ป็น​นิจน​ แี้​ ล้ว
อะ​ตวิ​ยิ​ ะ ชิค​ ุจฉ​ ะ​นยี​ า​นิ ชา​ยันต​ ิ
ย่อม​กลาย​เป็น​ของ​น่าเ​กลียด​อย่าง​ยิ่ง​ไป​ด้วย​กัน

39
ยะ​ถา​ปัจ​จะ​ยัง ปะ​วัตต​ ะ​มานัง​ ธาตุม​ ัตตะ​เม​เว​ตัง
สิ่ง​เหล่า​นนี้​ เี่​ป็น​สักว่าธ​ าตุต​ าม​ธรรมชาติ​เท่านั้น
กำ�ลัง​เป็น​ไป​ตาม​เหตุ​ตาม​ปัจจัยอ​ ยูเ่​นือง​นิจ
ยะ​ทิ​ทัง คิลาน​ะปัจจ​ะ​ยะ​เภสัช​ชะ​ปะ​ริกข​ า​โร
ตะ​ทุ​ปะ​ภุญช​ะ​โก จะ ปุค​ ค​ ะโล
สิ่ง​เหล่า​นคี้​ ือเ​ภสัช​บริขาร​อันเ​กื้อกูล​แก่ค​ นไข้
และ​คน​ผู้​บริโภค​เภสัช​บริขาร​นั้น
ธาตุม​ ัตตะ​โก
เป็น​สักว่าธ​ าตุต​ าม​ธรรมชาติ
นิส​ ​สัต​โต
มิได้เ​ป็น​สัตว​ะ​อันย​ ั่งยืน
นิชช​ ี​โว
มิได้เ​ป็น​ชีวะ​อันเ​ป็น​บุรุษ​บุคคล
สุญ​โญ
ว่าง​เปล่า​จาก​ความ​หมาย​แห่ง​ความ​เป็น​ตัวต​ น
สัพ​โพ ปะ​นา​ยัง คิลาน​ะปัจจ​ะ​ยะ​เภสัช​ชะ​ปะ​ริก​ขา​โร
อะ​ชิ​คุจฉ​ ะ​นโี​ย
ก็ค​ ิลาน​เภสัช​บริขาร​ทั้งหมด​นี้
ไม่​เป็น​ของ​น่าเ​กลียด​มา​แต่เ​ดิม
อิมัง ปูติ​กา​ยัง ปัตวฺ​า
ครั้นม​ า​ถูกเ​ข้า​กับก​ าย​อันเ​น่า​อยูเ่​ป็น​นิจน​ แี้​ ล้ว

40
อะ​ตวิ​ยิ​ ะ ชิค​ ุจฉ​ ะ​นโี​ย ชา​ยะ​ติ
ย่อม​กลาย​เป็น​ของ​น่าเ​กลียด​อย่าง​ยิ่ง​ไป​ด้วย​กัน

41
ปัพพ​ชิ​ตอ​ภิณฺหปัจจ​เวก​ขณ​ปาฐ​ะ
หัน​ทะ มะ​ยัง ปัพ​พะ​ชิ​ตะ​อะภิณฺ​หะปัจจ​เวก​ขะณะ​ปาฐั​ง
ภะณา​มะ เส

ทะ​สะ อิ​เม ภิกขะเว ธัมม​ า


ดูก​ ่อน​ภิกษุท​ ั้ง​หลาย
ธรรม​ทั้ง​หลาย​สิบ​ประการ​เหล่า​นี้ มีอ​ ยู่
ปัพ​พะ​ชิ​เต​นะ อะภิณฺหัง ปัจจ​ะ​เวก​ขิตัพ​พา
เป็น​ธรรม​ที่​บรรพชิต​พึง​พิจารณา​โดย​แจ่มช​ ัด
อยูเ่​นือง​นิจ
กะ​ตะ​เม ทะ​สะ
ธรรม​ทั้ง​หลาย​สิบ​ประการ​นั้นเ​ป็น​อย่างไร​เล่า
เววัณณ ​ ิยัมหิ อัชฌูป​ ะ​คะ​โต​ติ,
ปัพ​พะ​ชิ​เต​นะ อะภิณฺหัง ปัจจ​ะ​เวก​ขิตัพ​พัง
คือบ​ รรพชิตพ​ งึ พ​ จิ ารณา​โดย​แจ่มช​ดั อยูเ​่ นือง​นจิ ว​า

เรา​เป็น​ผเู้​ข้า​ถึงเ​ฉพาะ​แล้ว ซึ่ง​วรรณะ​อันต​ ่าง
อันว​ิเศษ ดังนี้
ปะ​ระ​ปะฏิ​พัทธ​า เม ชี​วกิ​ า​ติ,
ปัพ​พะ​ชิ​เต​นะ อะภิณฺหัง ปัจจ​ะ​เวก​ขิตัพ​พัง
บรรพชิต​พึง​พิจารณา​โดย​แจ่มช​ ัด อยูเ่​นือง​นิจว​่า
การ​เลี้ยง​ชีวิตข​ อง​เรา เนื่อง​เฉพาะ​แล้วด​ ้วย​ผอู้​ ื่น
ดังนี้
42
อัญ​โญ เม อากัป​โป กะ​ระณี​โย​ติ,
ปัพ​พะ​ชิ​เต​นะ อะภิณฺหัง ปัจจ​ะ​เวก​ขิตัพ​พัง
บรรพชิต​พึง​พิจารณา​โดย​แจ่มช​ ัด อยูเ่​นือง​นิจว​่า
ระเบียบ​การ​ปฏิบตั ​อิ ย่าง​อน่ื ที​เ่ รา​จะ​ตอ้ ง​ทำ� ม​อี ยู่
ดังนี้
กัจจ​ิ นุ โข เม อัตตา สีล​ ะ​โต นะ อุป​ ะ​วะ​ทะ​ตตี​ ิ,
ปัพ​พะ​ชิ​เต​นะ อะภิณฺหัง ปัจจ​ะ​เวก​ขิตัพ​พัง
บรรพชิต​พึง​พิจารณา​โดย​แจ่มช​ ัด อยูเ่​นือง​นิจว​่า
เมือ่ ก​ ล่าว​โดย​ศลี เรา​ยอ่ ม​ตำ�หนิต​ เ​ิ ตียน​ตนเอง​ไม่ไ​ด้
มิใช่​หรือ ดังนี้
กัจ​จิ นุ โข มัง อะ​น​วุ จิ ​จะ วิญญู สะ​พรฺ หั มฺ ะ​จารี สี​ละ​โต นะ
อุ​ปะ​วะ​ทนั ​ต​ตี ,ิ ปัพ​พะ​ช​เิ ต​นะ อะภิณหฺ งั ปัจ​จะ​เวก​ขติ พั ​พงั
บรรพชิต​พึง​พิจารณา​โดย​แจ่มช​ ัด อยูเ่​นือง​นิจว​่า
เมื่อ​กล่าว​โดย​ศีล เพื่อน​ส​พรหมจารี​ที่​เป็น​วิญญูชน
ใคร่ครวญ​แล้ว ย่อม​ตำ�หนิต​ เิ​ตียน​เรา​ไม่​ได้
มิใช่​หรือ ดังนี้
สัพ​เพหิ เม ปิเยหิ มะ​นา​เปหิ นานา​ภา​โว วิน​ า​ภา​โว​ติ,
ปัพ​พะ​ชิ​เต​นะ อะภิณฺหัง ปัจจ​ะ​เวก​ขิตัพ​พัง
บรรพชิต​พึง​พิจารณา​โดย​แจ่มช​ ัด อยูเ่​นือง​นิจว​่า
ความ​พลัดพราก​จาก​ของ​รัก​ของ​ชอบใจ​ทั้ง​สิ้น
จักม​ ี​แก่เ​รา ดังนี้

43
กัมมัส​สะ​โกมฺหิ กัมม​ ะ​ทายา​โท กัม​มะ​โย​นิ
กัมม​ ะ​พันธุ กัมม​ ะ​ปะฏิ​สะ​ระโณ ยัง กัมมัง กะ​ริ​ส​สา​มิ
กัลยฺ​ าณัง วา ปา​ปะกัง วา ตัสส​ ะ​ทายา​โท ภะ​วสิ​ ​สามี​ติ,
ปัพ​พะ​ชิ​เต​นะ อะภิณฺหัง ปัจจ​ะ​เวก​ขิตัพ​พัง
บรรพชิต​พึง​พิจารณา​โดย​แจ่มช​ ัด อยูเ่​นือง​นิจว​่า
เรา​เป็น​ผมู้​ ี​กรรม​เป็น​ของ​ตน
มี​กรรม​ที่​ต้อง​รับ​ผล​เป็น​มรดก​ตกทอด
มี​กรรม​เป็น​ที่​กำ�เนิด มีก​ รรม​เป็น​เผ่า​พันธุ์
มี​กรรม​เป็น​ที่​พึ่ง​อาศัย เรา​ทำ�กรรม​ใด​ไว้ ดีก​ ็ตาม
ชั่วก​ ็ตาม เรา​จักเ​ป็น​ผู้รับ​ผล​ตกทอด​แห่ง​กรรม​นั้น
ดังนี้
กะ​ถัมภ​ ูตสั​ ​สะ เม รัต​ตนิ​ ทิว​า วีต​ ปิ​ ะ​ตันต​ ตี​ ิ,
ปัพ​พะ​ชิ​เต​นะ อะภิณฺหัง ปัจจ​ะ​เวก​ขิตัพ​พัง
บรรพชิต​พึง​พิจารณา​โดย​แจ่มช​ ัด อยูเ่​นือง​นิจว​่า
วันค​ ืนล​ ่วง​ไป ล่วง​ไป ใน​เมื่อ​เรา​กำ�ลัง​เป็น​อยู่
ใน​สภาพ​เช่น​ไร ดังนี้
กัจจ​ิ นุ​โข​หัง สุญ​ญา​คาเร อะภิ​ระมา​มี​ติ,
ปัพ​พะ​ชิ​เต​นะ อะภิณฺหัง ปัจจ​ะ​เวก​ขิตัพ​พัง
บรรพชิต​พึง​พิจารณา​โดย​แจ่มช​ ัด อยูเ่​นือง​นิจว​่า
เรา​ย่อม​ยินดีใ​น​โรง​เรือน​อันส​ งัด อยู่​หรือ​หนอ
ดังนี้

44
อัตถ​ ิ นุโ​ข เม อุ​ตต​ ะ​ริ​มะ​นสุ​ ​สะ​ธัม​มา
อะ​ละ​มะ​ริ​ยะ​ญาณ​ะทัส​สะ​นะ​วเิ​สโส อะธิ​คะ​โต
โสหัง ปัจฉิ​เม กาเล สะ​พฺรัหฺมะ​จา​รีหิ ปุฏ​โฐ
นะ มังกุ ภะ​วสิ​ ​สามี​ติ,
ปัพ​พะ​ชิ​เต​นะ อะภิณฺหัง ปัจจ​ะ​เวก​ขิตัพ​พัง
บรรพชิต​พึง​พิจารณา​โดย​แจ่มช​ ัด อยูเ่​นือง​นิจว​่า
ญาณ​ทัศนะ​อันว​ิเศษ ควร​แก่พ​ ระ​อริย​เจ้า
อันย​ งิ่ ก​ ว่าว​สิ ยั ธ​รรมดา​ของ​มนุษย์ ทีเ​่ รา​ได้บ​ รรลุแ​ล้ว
เพื่อเ​รา​จะ​ไม่เ​ป็นผ​ เู้​ก้อเ​ขิน เมื่อถ​ กู เ​พื่อน​สพ​ รหมจารี
ด้วย​กนั ถ​ าม​ใน​ภาย​หลัง มีอ​ ยูแ​่ ก่เ​รา​หรือไ​ม่ ดังนี้
อิ​เม โข ภิกขะเว ทะ​สะ ธัมม​ า
ดูก​ ่อน​ภิกษุท​ ั้ง​หลาย
ธรรม​ทั้ง​หลาย​สิบ​ประการ​เหล่า​นแี้​ ล
ปัพ​พะ​ชิ​เต​นะ อะภิณฺหัง ปัจจ​ะ​เวก​ขิตัพ​พา
เป็น​ธรรม​ที่​บรรพชิต​พึง​พิจารณา​โดย​แจ่มช​ ัด
อยูเ่​นือง​นิจ
อิ​ติ
ด้วย​อาการ​อย่าง​นแี้​ ล

45
สมณ​สัญญา
หันท​ ะ มะ​ยัง สะ​มะณะ​สัญญา​ปาฐั​ง ภะณา​มะ เส

สะ​มะณา สะ​มะณา​ติ โว ภิกขะเว ชะ​โน สัญช​ า​นา​ติ


ดูก​ ่อน​ภิกษุท​ ั้ง​หลาย
มหาชน​เขา​ย่อม​รู้จักเ​ธอ​ทั้ง​หลาย​ว่าเ​ป็น​สมณะ
ตุมฺเห จะ ปะ​นะ เก ตุมฺเหหิ ปุฏ​ฐา สะ​มา​นา
ก็แ​ หละ​เธอ​ทั้งห​ ลาย​เล่า เมื่อถ​ ูกถ​ าม​ว่าท​ ่าน​เป็นอ​ ะไร
สะ​มะณัมห​ า​ติ ปะฏิช​ า​นา​ถะ
พวก​เธอ​กย็​ ่อม​ปฏิญญา​ว่า เรา​เป็น​สมณะ
เต​สัง โว ภิกขะเว เอวัง สะ​มัญญานัง สะ​ตัง
ดูก​ ่อน​ภิกษุท​ ั้ง​หลาย
เมื่อ​พวก​เธอ​นั้นม​ ีชื่อ​ว่าส​ มณะ​อยู่​อย่าง​นี้
เอวัง ปะฏิญญานัง สะ​ตัง
ทั้ง​ปฏิญญา​ตัวว​่า เป็นส​ มณะ​อยู่​อย่าง​นี้
ยา สะ​มะณะ​สามี​จปิ​ ะฏิ​ปะ​ทา
ข้อ​ปฏิบัติ​อย่าง​ใด เป็น​ความ​สมควร​แก่ส​ มณะ
ตัง ปะฏิ​ปะ​ทัง ปะฏิปัช​ชิ​ส​สา​มะ
เรา​จะ​ปฏิบัติ​ซึ่ง​ข้อ​ปฏิบัติ​อย่าง​นั้น
เอ​วัน​โน
เมื่อ​การ​ปฏิบัติ​ของ​เรา​อย่าง​นี้ มีอ​ ยู่
46
อะ​ยัง อัม​หา​กัง สะ​มัญญา จะ สัจจ​า ภะ​วสิ​ ​สะ​ติ
ปะฏิญญา จะ ภูต​ า
ทั้ง​ชื่อ​ทั้ง​ความ​ปฏิญญา​ของ​เรา​นกี้​ จ็​ักเ​ป็น​จริง​ได้
เยสั​ญจ​ะ มะ​ยัง จีว​ะ​ระ ปิณฑะ​ปา​ตะ เสนาสนะ-
คิลาน​ะปัจจ​ะ​ยะ​เภสัช​ชะ​ปะ​ริก​ขาเร ปะ​ริ​ภุญช​า​มะ
อนึ่ง เรา​บริโภค​จีวร​บิณฑบาต​เสนาสนะ
และ​คิลาน​ะเ​ภสัช​บริขาร​ของ​ชน​เหล่า​ใด
เต​สันเ​ต กา​รา อัมฺเหสุ มะ​หัป​ผะ​ลา ภะ​วสิ​ ​สันติ
มะ​หา​นสิ​ ัง​สา
ความ​อุปการะ​ของ​เขา​เหล่า​นั้น​ใน​เรา​ทั้ง​หลาย
ก็จ​ักม​ ี​ผล​ใหญ่ มี​อานิสงส์​ใหญ่
อัม​หา​กัญเ​จ​วา​ยัง ปัพ​พัช​ชา อะวัญฌา ภะ​วสิ​ ​สะ​ติ
อนึ่ง การ​บรรพชา​ของ​เรา​กจ็​ัก​ไม่​เป็น​หมันเ​ปล่า
สะ​ผะ​ลา สะ​อุ​ทะ​ระ​ยา​ติ
แต่จ​ักเ​ป็น​บรรพชา​ที่​มี​ผล เป็น​บรรพชา​ที่​มี​กำ�ไร
เอวั​ญหิ โว ภิกขะเว สิกขิตัพพ​ ัง
ดูก​ ่อน​ภิกษุท​ ั้ง​หลาย
เธอ​ทั้ง​หลาย​พึง​ศึกษา​สำ�เหนียก​อย่าง​นแี้​ ล

47
ทำ�วัตร​เย็น
(คำ�​บูชา​พระ​และ​ปุพพ​ภาค​นม​การ
ใช้​อย่าง​เดียว​กับค​ ำ�ท​ ำ�วัตร​เช้า)

พุทธ​า​นสุ​ ​สติ
หันท​ ะ มะ​ยัง พุทธ​า​นสุ​ ​สะ​ตนิ​ ะ​ยัง กะ​โร​มะ เส

ตัง โข ปะ​นะ ภะ​คะ​วันต​ ัง เอวัง กัลฺ​ยาโณ


กิตติส​ ัท​โท อัพภุค​คะ​โต
ก็ก​ ิตติศัพท์อ​ ันง​าม​ของ​พระ​ผมู้​ ี​พระ​ภาค​เจ้า​นั้น
ได้ฟ​ ุ้ง​ไป​แล้วอ​ ย่าง​นวี้​่า
อิ​ติปิ โส ภะ​คะ​วา
เพราะ​เหตุ​อย่าง​นี้ๆ พระ​ผมู้​ ี​พระ​ภาค​เจ้า​นั้น
อะ​ระ​หัง
เป็น​ผู้​ไกล​จาก​กิเลส
สัมมา​สัม​พุ​ทโธ
เป็น​ผู้​ตรัสรู้​ชอบ​ได้โ​ดย​พระองค์​เอง
วิชชา​จะ​ระณะสัม​ปัน​โน
เป็น​ผู้​ถึงพ​ ร้อม​ด้วย​วิชชา​และ​จรณะ
สุ​คะ​โต
เป็น​ผู้​ไป​แล้วด​ ้วย​ดี
48
โลก​ะว​ิทู
เป็น​ผู้​รู้​โลก​อย่าง​แจ่มแ​ จ้ง
อนุต​ ต​ ะ​โร ปุ​ริ​สะ​ทัม​มะ​สา​ระถิ
เป็น​ผู้​สามารถ​ฝึกบ​ ุรุษ​ที่​สมควร​ฝึก​ได้
อย่าง​ไม่มี​ใคร​ยิ่ง​กว่า
สัตถา เทวะ​มะ​นสุ​ ​สานั​ง
เป็น​ครู​ผู้​สอน​ของ​เทวดา​และ​มนุษย์ท​ ั้ง​หลาย
พุ​ทโธ
เป็น​ผู้​รู้ ผู้​ตื่น ผูเ้​บิก​บาน​ด้วย​ธรรม
ภะ​คะ​วา​ติ
เป็น​ผู้​มี​ความ​จำ�เริญ​จำ�แนก​ธรรม​สั่ง​สอน​สัตว์
ดังนี้

49
พุทธ​าภิ​คตี​ ิ
หันท​ ะ มะ​ยัง พุทธ​าภิ​คตี​ ิง กะ​โร​มะ เส

พุทธฺ​วาระ​หันต​ ะ​วะ​ระ​ตา​ทิ​คุณา​ภยิ​ ุต​โต


พระพุทธเจ้า​ประกอบ​ด้วย​คุณ
มี​ความ​ประเสริฐ​แห่ง​อรหันต​คุณเ​ป็นต้น
สุทธ​าภิ​ญาณ​ะก​ ะ​รุณาหิ สะ​มา​คะ​ตัต​โต
มี​พระองค์​อันป​ ระกอบ​ด้วย​พระ​ญาณ
และ​พระ​กรุณา​อันบ​ ริสุทธิ์
โพ​เธ​สิ โย สุ​ชะ​นะ​ตัง กะ​มะ​ลัง​วะ สูโ​ร
พระองค์​ใด​ทรง​กระทำ�​ชน​ที่​ดใี​ห้​เบิก​บาน
ดุจอ​ าทิตย์ท​ ำ�​บัว​ให้​บาน
วันท​ า​มะ​หัง ตะ​มะ​ระณัง สิระ​สา ชิ​เน​นทัง
ข้าพเจ้า​ไหว้​พระ​ชินส​ ีห์​ผไู้​ม่มี​กิเลส​พระองค์​นั้น
ด้วย​เศียร​เกล้า
พุ​ทโธ โย สัพ​พะ​ปาณี​นัง สะ​ระณัง เข​มะ​มุตต​ ะ​มัง
พระพุทธเจ้า​พระองค์​ใด​เป็น​สรณะ​อัน​เกษม​สูงสุด
ของ​สัตว์ท​ ั้ง​หลาย
ปะฐะ​มา​นสุ​ ​สะ​ติฏฐ​านั​ง วันทา​มิ ตัง สิ​เร​นะ​หัง
ข้าพเจ้า​ไหว้​พระพุทธเจ้า​พระองค์​นั้น
อันเ​ป็นท​ ต​ี่ งั้ แ​ห่งค​ วาม​ระลึกอ​ งค์ท​ ห​ี่ นึง่ ด​ ว้ ย​เศียร​เกล้า

50
พุทธั​ส​สา​หัสฺ​มิ ทาโส (ทาสี)๑ วะ
พุ​ทโธ เม สา​มิ​กิสส​ ะ​โร
ข้าพเจ้า​เป็น​ทาส​ของ​พระพุทธเจ้า
พระพุทธเจ้า​เป็น​นาย​มี​อิสระ​เหนือ​ข้าพเจ้า
พุ​ทโธ ทุกขั​ส​สะ ฆาต​า จะ วิธา​ตา จะ หิตสั​ ​สะ เม
พระพุทธเจ้า​เป็น​เครื่อง​กำ�จัดท​ ุกข์
และ​ทรง​ไว้ซ​ ึ่ง​ประโยชน์แ​ ก่ข​ ้าพเจ้า
พุทธั​ส​สา​หัง นิยย​ า​เท​มิ สะ​รี​รัญ​ชี​วติ​ ัญจ​ทิ​ ัง
ข้าพเจ้า​มอบ​กาย​ถวาย​ชีวิตน​ แี้​ ด่พ​ ระพุทธเจ้า
วันท​ ัน​โต​หัง (วัน​ทันต​ หี​ ัง)๑ จะ​ริ​ส​สา​มิ, พุทธั​ส​เส​วะ
สุ​โพธิ​ตัง
ข้าพเจ้า​ผู้​ไหว้​อยูจ่​ักป​ ระพฤติต​ าม
ซึ่ง​ความ​ตรัสรู้​ดขี​ อง​พระพุทธเจ้า
นัตถิ เม สะ​ระณัง อัญ​ญัง พุ​ทโธ เม สะ​ระณัง วะ​รัง
สรณะ​อื่นข​ อง​ข้าพเจ้า​ไม่มี
พระพุทธเจ้า​เป็น​สรณะ​อันป​ ระเสริฐ​ของ​ข้าพเจ้า
เอ​เต​นะ สัจจะ​วัชเ​ชน​ะ วัฑเฒย​ยัง สัตถุ สา​สะเน
ด้วย​การ​กล่าว​คำ�​สัตย์น​ ี้
ข้าพเจ้า​พึง​เจริญ​ใน​พระ​ศาสนา​ของ​พระ​ศาสดา

หญิง​ว่า​ใน​วงเล็บ

51
พุทธั​ง เม วันท​ ะ​มา​เน​นะ (วันท​ ะ​มา​นา​ยะ)๑
ยัง ปุ​ญญัง ปะ​สุ​ตัง อิธะ
ข้าพเจ้า​ผู้​ไหว้​อยูซ่​ ึ่ง​พระพุทธเจ้า
ได้ข​ วนขวาย​บุญ​ใด​ใน​บัดนี้
สัพ​เพปิ อันตะ​รา​ยา เม มา​เห​สุง ตัส​สะ เต​ชะ​สา
อันตราย​ทั้ง​ปวง​อย่า​ได้ม​ ี​แก่ข​ ้าพเจ้า
ด้วย​เดช​แห่ง​บุญน​ ั้น
(หมอบ​กราบ​ลง)
กา​เยน​ะ วาจา​ยะ วะ เจ​ตะ​สา วา
ด้วย​กาย​กด็​ ดี​ ้วย​วาจา​กด็​ ดี​ ้วย​ใจ​กด็​ ี
พุ​ทเธ กุกมั​ มัง ปะ​กะตัง มะ​ยา ยัง
กรรม​น่าต​ เิ​ตียน​อัน​ใด​ที่​ข้าพเจ้า​กระทำ�​แล้ว
ใน​พระพุทธเจ้า
พุ​ทโธ ปะฏิคคัณฺห​ ะ​ตุ อัจจ​ะ​ยันต​ ัง
ขอ​พระพุทธเจ้า​จง​งด​ซึ่ง​โทษ​ล่วง​เกินอ​ ันน​ ั้น
กา​ลัน​ตะเร สัง​วะ​ริ​ตุง วะ พุท​ เธ
เพื่อ​การ​สำ�รวม​ระวัง​ใน​พระพุทธเจ้า​ใน​กาล​ต่อ​ไป


หญิง​ว่า​ใน​วงเล็บ

52
ธัม​มา​นสุ​ ​สติ
หันท​ ะ มะ​ยัง ธัมม​ า​นสุ​ ​สะ​ตนิ​ ะ​ยัง กะ​โร​มะ เส

สฺ​วาก​ขา​โต ภะ​คะ​วะ​ตา ธัม​โม


พระ​ธรรม​เป็น​สง่ิ ​ท​พ่ี ระ​ผ​มู้ ​พี ระ​ภาค​เจ้า​ได้​ตรัส​ไว้ด​ แี ล้ว
สันท​ ิฏฐิ​โก
เป็น​สิ่ง​ที่​ผศู้​ ึกษา​และ​ปฏิบัติ​พึง​เห็น​ได้ด​ ้วย​ตนเอง
อะ​กา​ลิ​โก
เป็น​สิ่ง​ที่​ปฏิบัติ​ได้แ​ ละ​ให้​ผล​ได้ไ​ม่​จำ�กัดก​ าล
เอ​หิปัส​สิ​โก
เป็น​สิ่ง​ที่​ควร​กล่าว​กับผ​ ู้​อื่นว​่าท​ ่าน​จง​มา​ดูเถิด
โอ​ปะ​นะ​ยโิ​ก
เป็น​สิ่ง​ที่​ควร​น้อม​เข้า​มา​ใส่​ตัว
ปัจจัตต​ ัง เวทิ​ตัพ​โพ วิญญูห​ ี๑ ติ
เป็น​สิ่ง​ที่​ผรู้​ู้​กร็​ู้​ได้เ​ฉพาะ​ตน
ดังนี้


ออก​เสียง ฮี

53
ธัม​มา​ภคิ​ ตี​ ิ
หันท​ ะ มะ​ยัง ธัมม​ า​ภคิ​ ตี​ ิง กะ​โร​มะ เส

สฺ​วาก​ขา​ตะ​ตา​ทิ​คุณะ​​โยคะ​วะ​เสนะ เสย​โย
พระ​ธรรม​เป็น​สิ่ง​ที่​ประเสริฐ​เพราะ​ประกอบ​ด้วย​คุณ
คือค​ วาม​ที่​พระ​ผมู้​ ี​พระ​ภาค​เจ้า ตรัส​ไว้ด​ ีแล้วเ​ป็นต้น
โย มัคคะ​ปา​กะ​ปะ​ริ​ยัตต​ วิ​โิ​มก​ขะเภ​โท
เป็นธ​ รรม​อนั จ​ำ�แนก​เป็นม​ รรคผล​ปริยตั แ​ิ ละ​นพิ พาน
ธัม​โม กุ​โลก​ะป​ ะ​ตะ​นา ตะ​ทะ​ธาริ​ธารี
เป็นธ​รรม​ทรง​ไว้ซ​ง่ึ ผ​ทู้ รง​ธรรม​จาก​การ​ตก​ไป​สโ​ู่ ลก​ทช​่ี ว่ั
วันท​ า​มะ​หัง ตะ​มะ​หะ​รัง วะ​ระ​ธัมมะ​เม​ตัง
ข้าพเจ้า​ไหว้​พระ​ธรรม​อันป​ ระเสริฐ​นั้น
อันเ​ป็น​เครื่อง​ขจัดเ​สีย​ซึ่ง​ความ​มืด
ธัม​โม โย สัพ​พะ​ปาณี​นัง สะ​ระณัง เข​มะ​มุตต​ ะ​มัง
พระ​ธรรม​ใด​เป็นส​รณะ​อนั เ​กษม​สงู สุดข​อง​สตั ว์ท​ง้ั ห​ ลาย
ทุ​ตยิ​ า​นสุ​ ​สะ​ติฏฐ​านั​ง วันทา​มิ ตัง สิ​เร​นะ​หัง
ข้าพเจ้า​ไหว้​พระ​ธรรม​นั้น
อันเ​ป็นท​ ต​่ี งั้ แ​ห่งค​ วาม​ระลึกอ​ งค์ท​ ส​ี่ อง​ดว้ ย​เศียร​เกล้า

54
ธัมมัส​สา​หัสฺ​มิ ทาโส (ทาสี)๑ วะ
ธัม​โม เม สา​มิ​กิส​สะ​โร
ข้าพเจ้า​เป็น​ทาส​ของ​พระ​ธรรม
พระ​ธรรม​เป็น​นาย​มี​อิสระ​เหนือ​ข้าพเจ้า
ธัม​โม ทุกขั​ส​สะ ฆาต​า จะ วิธา​ตา จะ หิตสั​ ​สะ เม
พระ​ธรรม​เป็น​เครื่อง​กำ�จัดท​ ุกข์
และ​ทรง​ไว้ซ​ ึ่ง​ประโยชน์แ​ ก่ข​ ้าพเจ้า
ธัมมัส​สา​หัง นิยย​ า​เท​มิ สะ​รี​รัญช​ ี​วติ​ ัญจ​ทิ​ ัง
ข้าพเจ้า​มอบ​กาย​ถวาย​ชีวิตน​ แี้​ ด่พ​ ระ​ธรรม
วันท​ ัน​โต​หัง (วัน​ทันต​ หี​ ัง)๑ จะ​ริ​ส​สา​มิ, ธัมมัส​เส​วะ
สุ​ธัมมะ​ตัง
ข้าพเจ้า​ผู้​ไหว้​อยูจ่​ักป​ ระพฤติต​ าม
ซึ่ง​ความ​เป็น​ธรรม​ดขี​ อง​พระ​ธรรม
นัตถิ เม สะ​ระณัง อัญ​ญัง ธัม​โม เม สะ​ระณัง วะ​รัง
สรณะ​อื่นข​ อง​ข้าพเจ้า​ไม่มี
พระ​ธรรม​เป็น​สรณะ​อันป​ ระเสริฐ​ของ​ข้าพเจ้า
เอ​เต​นะ สัจจะ​วัชเ​ชน​ะ วัฑเฒย​ยัง สัตถุ สา​สะเน
ด้วย​การ​กล่าว​คำ�​สัตย์น​ ี้
ข้าพเจ้า​พึง​เจริญ​ใน​พระ​ศาสนา​ของ​พระ​ศาสดา

หญิง​ว่า​ใน​วงเล็บ

55
ธัมมัง เม วันท​ ะ​มา​เน​นะ (วันท​ ะ​มา​นา​ยะ)๑
ยัง ปุ​ญญัง ปะ​สุ​ตัง อิธะ
ข้าพเจ้า​ผู้​ไหว้​อยูซ่​ ึ่ง​พระ​ธรรม
ได้ข​ วนขวาย​บุญ​ใด​ใน​บัดนี้
สัพ​เพปิ อันตะ​รา​ยา เม มา​เห​สุง ตัส​สะ เต​ชะ​สา
อันตราย​ทั้ง​ปวง​อย่า​ได้ม​ ี​แก่ข​ ้าพเจ้า
ด้วย​เดช​แห่ง​บุญน​ ั้น
(หมอบ​กราบ​ลง)
กา​เยน​ะ วาจา​ยะ วะ เจ​ตะ​สา วา
ด้วย​กาย​กด็​ ดี​ ้วย​วาจา​กด็​ ดี​ ้วย​ใจ​กด็​ ี
ธัม​เม กุกมั​ มัง ปะ​กะตัง มะ​ยา ยัง
กรรม​นา่ ต​เ​ิ ตียน​อนั ใ​ด​ทข​่ี า้ พเจ้าก​ระทำ�​แล้วใ​น​พระ​ธรรม
ธัมโ​ม ปะฏิคคัณฺ​หะ​ตุ อัจจ​ะ​ยันต​ ัง
ขอ​พระ​ธรรม​จง​งด​ซึ่ง​โทษ​ล่วง​เกินอ​ ัน​นั้น
กา​ลัน​ตะเร สัง​วะ​ริ​ตุง วะ ธัมเ​ม
เพื่อ​การ​สำ�รวม​ระวัง​ใน​พระ​ธรรม​ใน​กาล​ต่อ​ไป


หญิง​ว่า​ใน​วงเล็บ

56
สังฆ​า​นสุ​ ​สติ
หันท​ ะ มะ​ยัง สังฆ​า​นสุ​ ​สะ​ตนิ​ ะ​ยัง กะ​โร​มะ เส

สุ​ปะฏิ​ปันโ​น ภะ​คะ​วะ​โต สา​วะ​กะ​สังโฆ


สงฆ์​สาวก​ของ​พระ​ผู้​มี​พระ​ภาค​เจ้า​หมู่​ใด
ปฏิบัติ​ดีแล้ว
อุ​ชุ​ปะฏิ​ปัน​โน ภะ​คะ​วะ​โต สา​วะ​กะ​สังโฆ
สงฆ์​สาวก​ของ​พระ​ผู้​มี​พระ​ภาค​เจ้า​หมู่​ใด
ปฏิบัติ​ตรง​แล้ว
ญา​ยะ​ปะฏิ​ปัน​โน ภะ​คะ​วะ​โต สา​วะ​กะ​สังโฆ
สงฆ์​สาวก​ของ​พระ​ผู้​มี​พระ​ภาค​เจ้า​หมู่​ใด
ปฏิบัติ​เพื่อ​รู้​ธรรม​เป็น​เครื่อง​ออก​จาก​ทุกข์​แล้ว
สามี​จิ​ปะฏิ​ปัน​โน ภะ​คะ​วะ​โต สา​วะ​กะ​สังโฆ
สงฆ์​สาวก​ของ​พระ​ผู้​มี​พระ​ภาค​เจ้า​หมู่​ใด
ปฏิบัติ​สมควร​แล้ว
ยะ​ทิ​ทัง
ได้แก่บ​ ุคคล​เหล่า​นคี้​ ือ
จัตต​ า​ริ ปุ​ริ​สะ​ยคุ​ า​นิ อัฏฐะ ปุ​ริ​สะ​ปุ​คค​ ะ​ลา
คูแ่​ ห่ง​บุรุษ​สี่​คู่ นับเ​รียง​ตัวบ​ ุรุษ​ได้แ​ ปด​บุรุษ
เอ​สะ ภะ​คะ​วะ​โต สา​วะ​กะ​สังโฆ
นั่นแ​ หละ​สงฆ์​สาวก​ของ​พระ​ผมู้​ ี​พระ​ภาค​เจ้า

57
อา​หุ​เนย​โย
เป็น​สงฆ์​ควร​แก่ส​ ักก​ า​ระ​ที่​เขา​นำ�​มา​บูชา
ปา​หุ​เนย​โย
เป็น​สงฆ์​ควร​แก่ส​ ักก​ า​ระ​ที่​เขา​จัด​ไว้ต​ ้อนรับ
ทักข​ ิเณย​โย
เป็น​ผู้​ควร​รับ​ทักษิณา​ทาน
อัญชะลิกะระณีโย
เป็น​ผู้​ที่​บุคคล​ทั่วไป​ควร​ทำ�​อัญชลี
อะ​นุตต​ ะรัง ปุ​ญญักเ​ขต​ตัง โลกั​ส​สา​ติ
เป็น​เนื้อ​นา​บุญข​ อง​โลก ไม่มี​นา​บุญอ​ ื่น​ยิ่งก​ ว่า
ดังนี้

58
สังฆ​าภิ​คตี​ ิ
หันท​ ะ มะ​ยัง สังฆ​าภิค​ ตี​ ิง กะ​โร​มะ เส

สัท​ธัมมะ​โช สุ​ปะฏิ​ปัตติค​ ุณา​ทิ​ยุต​โต


พระ​สงฆ์​ที่​เกิด​โดย​พระ​สัทธรรม ประกอบ​ด้วย​คุณ
มี​ความ​ปฏิบัติ​ดเี​ป็นต้น
โยฏฐัพพิโธ อะ​ริ​ยะ​ปุ​คค​ ะ​ละ​สังฆ​ะเ​สฏโฐ
เป็น​หมู่​แห่ง​พระ​อริยบุคคล​อันป​ ระเสริฐ​แปด​จำ�พวก
สี​ลา​ทิ​ธัมมะ​ปะ​วะ​รา​สะ​ยะ​กา​ยะ​จิต​โต
มี​กาย​และ​จิตอ​ ันอ​ าศัยธ​ รรม​มี​ศีลเ​ป็นต้นอ​ ันบ​ วร
วันท​ า​มะ​หัง ตะ​มะ​ริ​ยา​นะ​คะณัง สุส​ ุทธั​ง
ข้าพเจ้า​ไหว้​หมู่​แห่ง​พระ​อริย​เจ้า​เหล่า​นั้น
อันบ​ ริสุทธิ์​ด้วย​ดี
สังโฆ โย สัพ​พะ​ปาณี​นัง สะ​ระณัง เข​มะ​มุตต​ ะ​มัง
พระ​สงฆ์​หมู่​ใด​เป็น​สรณะ​อันเ​กษม​สูงสุด​ของ​สัตว์
ทั้ง​หลาย
ตะ​ตยิ​ า​นสุ​ ​สะ​ติฏฐ​านั​ง วันทา​มิ ตัง สิ​เร​นะ​หัง
ข้าพเจ้า​ไหว้​พระ​สงฆ์​หมู่​นั้น
อันเ​ป็นท​ ต​ี่ งั้ แ​ห่งค​ วาม​ระลึกอ​ งค์ท​ ส​ี่ าม​ดว้ ย​เศียร​เกล้า

59
สังฆั​ส​สา​หัสฺ​มิ ทาโส (ทาสี)๑ วะ
สังโฆ เม สา​มิ​กิสส​ ะ​โร
ข้าพเจ้า​เป็น​ทาส​ของ​พระ​สงฆ์ พระ​สงฆ์​เป็น​นาย
มี​อิสระ​เหนือ​ข้าพเจ้า
สังโฆ ทุกขั​ส​สะ ฆาต​า จะ วิธา​ตา จะ หิตสั​ ​สะ เม
พระ​สงฆ์​เป็น​เครื่อง​กำ�จัดท​ ุกข์
และ​ทรง​ไว้ซ​ ึ่ง​ประโยชน์แ​ ก่ข​ ้าพเจ้า
สังฆั​ส​สา​หัง นิยย​ า​เท​มิ สะ​รี​รัญ​ชี​วติ​ ัญจ​ทิ​ ัง
ข้าพเจ้า​มอบ​กาย​ถวาย​ชีวิตน​ แี้​ ด่พ​ ระ​สงฆ์
วันท​ ัน​โต​หัง (วัน​ทันต​ หี​ ัง)๑ จะ​ริ​ส​สา​มิ,
สังฆั​สโส​ปะฏิ​ปันน​ ะ​ตัง
ข้าพเจ้า​ผู้​ไหว้​อยูจ่​ักป​ ระพฤติต​ าม
ซึ่ง​ความ​ปฏิบัติ​ดขี​ อง​พระ​สงฆ์
นัตถิ เม สะ​ระณัง อัญ​ญัง สังโฆ เม สะ​ระณัง วะ​รัง
สรณะ​อื่นข​ อง​ข้าพเจ้า​ไม่มี
พระ​สงฆ์​เป็น​สรณะ​อันป​ ระเสริฐ​ของ​ข้าพเจ้า
เอ​เต​นะ สัจจะ​วัชเ​ชน​ะ วัฑเฒย​ยัง สัตถุ สา​สะเน
ด้วย​การ​กล่าว​คำ�​สัตย์น​ ี้
ข้าพเจ้า​พึง​เจริญ​ใน​พระ​ศาสนา​ของ​พระ​ศาสดา


หญิง​ว่า​ใน​วงเล็บ

60
สังฆั​ง เม วันท​ ะ​มา​เน​นะ (วันท​ ะ​มา​นา​ยะ)๑,
ยัง ปุ​ญญัง ปะ​สุ​ตัง อิธะ
ข้าพเจ้า​ผู้​ไหว้​อยูซ่​ ึ่ง​พระ​สงฆ์
ได้ข​ วนขวาย​บุญ​ใด​ใน​บัดนี้
สัพ​เพปิ อันตะ​รา​ยา เม มา​เห​สุง ตัส​สะ เต​ชะ​สา
อันตราย​ทั้ง​ปวง​อย่า​ได้ม​ ี​แก่ข​ ้าพเจ้า
ด้วย​เดช​แห่ง​บุญน​ ั้น
(หมอบ​กราบ​ลง)
กา​เยน​ะ วาจา​ยะ วะ เจ​ตะ​สา วา
ด้วย​กาย​กด็​ ดี​ ้วย​วาจา​กด็​ ดี​ ้วย​ใจ​กด็​ ี
สังเฆ กุกมั​ มัง ปะ​กะตัง มะ​ยา ยัง
กรรม​นา่ ต​ เ​ิ ตียน​อนั ใ​ด​ทข​่ี า้ พเจ้าก​ ระทำ�​แล้วใ​น​พระ​สงฆ์
สังโฆ ปะฏิคคัณหฺ​ ะ​ตุ อัจจ​ะ​ยันต​ ัง
ขอ​พระ​สงฆ์​จง​งด​ซึ่ง​โทษ​ล่วง​เกินอ​ ัน​นั้น
กา​ลันต​ ะเร สัง​วะ​ริ​ตุง วะ สังเฆ
เพื่อ​การ​สำ�รวม​ระวัง​ใน​พระ​สงฆ์​ใน​กาล​ต่อ​ไป
(จบ​คำ�​ทำ�วัตร​เย็น)


หญิง​ว่า​ใน​วงเล็บ

61
สรณ​คมน​ปาฐ​ะ
หันท​ ะ มะ​ยัง ติส​ ะ​ระณะ​คะ​มะ​นะ​ปาฐั​ง ภะณา​มะ เส

พุทธั​ง สะ​ระณัง คัจฉา​มิ


ข้าพเจ้า​ถือเ​อา​พระพุทธเจ้า​เป็น​สรณะ
ธัมมัง สะ​ระณัง คัจฉา​มิ
ข้าพเจ้า​ถือเ​อา​พระ​ธรรม​เป็น​สรณะ
สังฆั​ง สะ​ระณัง คัจฉา​มิ
ข้าพเจ้า​ถือเ​อา​พระ​สงฆ์​เป็น​สรณะ
ทุ​ตยิ​ ัมปิ พุทธั​ง สะ​ระณัง คัจฉา​มิ
แม้​ครั้ง​ที่​สอง​ข้าพเจ้า​ถือเ​อา​พระพุทธเจ้า​เป็น​สรณะ
ทุ​ตยิ​ ัมปิ ธัมมัง สะ​ระณัง คัจฉา​มิ
แม้​ครั้ง​ที่​สอง​ข้าพเจ้า​ถือเ​อา​พระ​ธรรม​เป็น​สรณะ
ทุ​ตยิ​ ัมปิ สังฆั​ง สะ​ระณัง คัจฉา​มิ
แม้​ครั้ง​ที่​สอง​ข้าพเจ้า​ถือเ​อา​พระ​สงฆ์​เป็น​สรณะ
ตะ​ตยิ​ ัมปิ พุทธั​ง สะ​ระณัง คัจฉา​มิ
แม้​ครั้ง​ที่​สาม​ข้าพเจ้า​ถือเ​อา​พระพุทธเจ้า​เป็น​สรณะ
ตะ​ตยิ​ ัมปิ ธัมมัง สะ​ระณัง คัจฉา​มิ
แม้​ครั้ง​ที่​สาม​ข้าพเจ้า​ถือเ​อา​พระ​ธรรม​เป็น​สรณะ
ตะ​ตยิ​ ัมปิ สังฆั​ง สะ​ระณัง คัจฉา​มิ
แม้​ครั้ง​ที่​สาม​ข้าพเจ้า​ถือเ​อา​พระ​สงฆ์​เป็น​สรณะ
62
เขมา​เขม​สรณ​ทีปิ​กค​ าถา
หันท​ ะ มะ​ยัง เขมา​เข​มะ​สะ​ระณะ​ทีปิ​กะ​คาถา​โย
ภะณา​มะ เส

พะ​หุง เว สะ​ระณัง ยันต​ ิ ปัพ​พะ​ตา​นิ วะ​นา​นิ จะ,


อา​รา​มะ​รุกข​ะเ​จตฺย​ า​นิ มะ​นสุ​ ​สา ภะ​ยะ​ตัชช​ ิ​ตา
มนุษย์เ​ป็น​อันม​ าก เมื่อ​เกิดม​ ี​ภัยค​ ุกคาม​แล้ว
ก็ถ​ ือเ​อา​ภูเขา​บ้าง ป่า​ไม้​บ้าง
อาราม​และ​รุกข​เจดียบ์​ ้าง เป็น​สรณะ
เนตัง​ โข สะ​ระณัง เขมั​ง, เนตัง​ สะ​ระณะ​มุตต​ ะ​มัง,
เนตัง​ สะ​ระณะ​มา​คัมม​ ะ สัพพะ​ทุกข​ า ปะ​มุจจ​ะ​ติ
นั่นม​ ิใช่​สรณะ​อันเ​กษม​เลย นั่นม​ ิใช่​สรณะ​อัน​สูงสุด
เขา​อาศัย​สรณะ​นน่ั ​แล้ว ย่อม​ไม่​พน้ ​จาก​ทกุ ข์​ทง้ั ​ปวง​ได้
โย จะ พุทธัญ ​ จ​ะ ธัมมัญจ​ะ สังฆัญ ​ จ​ะ สะ​ระณัง​คะ​โต,
จัตต​ า​ริ อะ​ริ​ยะ​สัจ​จา​นิ สัมมัป​ปัญญา​ยะ ปัสส​ ะ​ติ
ส่วน​ผู้​ใด​ถือเ​อา​พระพุทธ​พระ​ธรรม​พระ​สงฆ์
เป็น​สรณะ​แล้ว เห็น​อริยสัจ​คอื ​ความ​จริง​อนั ​ประเสริฐ​ส่ี
ด้วย​ปัญญา​อันช​ อบ

63
ทุกข​ ัง ทุกข​ะส​ ะ​มุ​ป​ปา​ทัง ทุกขั​ส​สะ จะ อะ​ตกิ​ กะมัง,
อะ​ริ​ยัญจ​ัฏฐัง​คิกงั​ มัคค​ ัง ทุกข​ ู​ปะ​สะ​มะ​คา​มิ​นัง
คือเ​ห็น​ความ​ทุกข์ เหตุ​ให้​เกิดท​ ุกข์
ความ​ก้าว​ล่วง​ทุกข์​เสีย​ได้ และ​หนทาง​มี​องค์​แปด
อันป​ ระเสริฐ​เครื่อง​ถึงค​ วาม​ระงับ​ทุกข์
เอ​ตัง โข สะ​ระณัง เขมั​ง, เอ​ตัง สะ​ระณะ​มุตต​ ะ​มัง,
เอ​ตัง สะ​ระณะ​มา​คัมม​ ะ สัพพะ​ทุกข​ า ปะ​มุจจ​ะ​ติ
นัน่ แ​ หละ​เป็นส​ รณะ​อนั เ​กษม นัน่ เ​ป็นส​ รณะ​อนั ส​ งู สุด
เขา​อาศัยส​ รณะ​นั่นแ​ ล้ว ย่อม​พ้น​จาก​ทุกข์​ทั้ง​ปวง​ได้

64
ปฐม​พุทธ​ภา​สิตค​ าถา
หันท​ ะ มะ​ยัง ปะฐะ​มะ​พุทธะ​ภา​สิ​ตะ​คาถา​โย ภะณา​มะ เส

อะเน​กะ​ชา​ตสิ​ ังสารั​ง สัน​ธา​วสิ​ สัง อะ​นิพ​พิสัง


เมือ่ เ​รา​ยงั ไ​ม่พ​ บ​ญาณ ได้แ​ ล่นท​ อ่ ง​เทีย่ ว​ไป​ใน​สงสาร
เป็น​อเนก​ชาติ
คะ​หะ​กา​รัง คะ​เว​สัน​โต ทุกข​ า ชาติ ปุ​นัปป​ ุ​นัง
แสวงหา​อยู​ซ่ ง่ึ ​นาย​ชา่ ง​ปลูก​เรือน คือ​ตณ ั หา​ผ​สู้ ร้าง​ภพ
การ​เกิดท​ ุกค​ ราว​เป็น​ทุกข์​ร่ำ�ไป
คะ​หะ​กา​ระกะ ทิฏโฐ​สิ ปุ​นะ เคหัง​ นะ กา​หะ​สิ
นีแ่​ น่ะน​ าย​ช่าง​ปลูก​เรือน เรา​รู้จักเ​จ้า​เสีย​แล้ว
เจ้า​จะ​ทำ�​เรือน​ให้​เรา​ไม่​ได้อ​ ีกต​ ่อ​ไป
สัพ​พา เต ผา​สุ​กา ภัคค​ า คะ​หะ​กูฏงั​ วิส​ ังขะ​ตัง
โครง​เรือน​ทั้งหมด​ของ​เจ้า​เรา​หักเ​สีย​แล้ว
ยอด​เรือน​เรา​กร็​ื้อ​เสีย​แล้ว
วิส​ ังขาร​ะค​ ะ​ตัง จิตต​ ัง ตัณหา​นัง ขะ​ยะ​มัชฌ​ะค​ า
จิตข​ อง​เรา​ถึง​แล้วซ​ ึ่ง​สภาพ​ที่​อะไร​ปรุง​แต่ง​ไม่​ได้อ​ ีก
ต่อ​ไป มัน​ได้ถ​ ึงแ​ ล้วซ​ ึ่ง​ความ​สิ้น​ไป​แห่ง​ตัณหา๑


คือ ถึงน​ ิพพาน

65
โอ​วาท​ปาฏิ​โมก​ข​คาถา
หันท​ ะ มะ​ยัง โอ​วา​ทะ​ปาฏิ​โมก​ขะ​คาถา​โย ภะณา​มะ เส

สัพ​พะ​ปาปั​ส​สะ อะ​กะ​ระณัง
การ​ไม่​ทำ�บาป​ทั้ง​ปวง
กุส​ ะ​ลัส​สู​ปะ​สัม​ปะ​ทา
การ​ทำ�​กุศล​ให้​ถึง​พร้อม
สะ​จิตต​ ะ​ปะ​ริ​โย​ทะ​ปะ​นัง
การ​ชำ�ระ​จิตข​ อง​ตน​ให้​ขาว​รอบ
เอ​ตัง พุทธ​า​นะ​สา​สะ​นัง
ธรรม ๓ อย่าง​นเี้​ป็น​คำ�​สั่ง​สอน​ของ​พระพุทธเจ้า
ทั้ง​หลาย
ขันต​ ปี​ ะ​ระ​มัง ตะ​โป ตี​ติกข​ า
ขันติค​อื ค​ วาม​อด​กลัน้ เ​ป็นธ​รรม​เครือ่ ง​เผา​กเิ ลส​อย่าง​ยง่ิ
นิพพานั​ง ปะ​ระ​มัง วะ​ทัน​ติ พุทธ​า
ผูร้​ู้​ทั้ง​หลาย​กล่าว​พระ​นิพพาน​ว่าเ​ป็น​ธรรม​อัน​ยิ่ง
นะ หิ ปัพพ​ ะ​ชิ​โต ปะ​รู​ปะ​ฆาตี
ผูก้​ ำ�จัดส​ ัตว์อ​ ื่นอ​ ยูไ่​ม่​ชื่อ​ว่าเ​ป็น​บรรพชิต​เลย
สะ​มะโณ โห​ติ ปะ​รัง วิ​เหฐะ​ยัน​โต
ผูท้​ ำ�​สัตว์อ​ ื่น​ให้​ลำ�บาก​อยูไ่​ม่​ชื่อ​ว่าเ​ป็น​สมณะ​เลย

66
อะนูป​ ะ​วา​โท อะนู​ปะ​ฆา​โต
การ​ไม่​พูดร​้าย การ​ไม่​ทำ�ร้าย
ปาฏิ​โมก​เข จะ สัง​วะ​โร
การ​สำ�รวม​ใน​ปาฏิ​โมกข์
มัตตัญญุต​ า จะ ภัตต​ ัสฺ​มิง
ความ​เป็น​ผู้​รู้​ประมาณ​ใน​การ​บริโภค
ปันต​ ัญจ​ะ สะ​ยะ​นา​สะ​นัง
การ​นอน​การ​นั่ง​ใน​ที่​อันส​ งัด
อะธิ​จิตเ​ต จะ อา​โย​โค
ความ​หมั่น​ประกอบ​ใน​การ​ทำ�​จิต​ให้​ยิ่ง
เอ​ตัง พุทธ​า​นะ​สา​สะ​นัง
ธรรม ๖ อย่าง​นเ​้ี ป็นค​ ำ�​สง่ั ส​อน​ของ​พระพุทธเจ้าท​ง้ั ห​ ลาย

67
อริย​ธน​คาถา
หันท​ ะ มะ​ยัง อะ​ริ​ยะธะ​นะ​คาถา​โย ภะณา​มะ เส

ยัสส​ ะ สัทธา ตะ​ถา​คะ​เต อะ​จะ​ลา สุ​ปะ​ติฏฐ​ิต​า


ศรัทธา​ใน​พระ​ตถาคต​ของ​ผใ​ู้ ด​ตง้ั ม​ น่ั อ​ ย่าง​ดไ​ี ม่ห​ วัน่ ไ​หว
สี​ลัญจ​ะ ยัสส​ ะ กัลยฺ​ าณัง อะ​ริ​ยะ​กันตัง ปะ​สัง​สิ​ตัง
และ​ศีลข​ อง​ผใู้​ด​งดงาม
เป็น​ที่​สรรเสริญ​ที่​พอใจ​ของ​พระ​อริย​เจ้า
สังเฆ ปะ​สาโท ยัส​สัตถิ อุช​ ุ​ภูตญ ั​ จ​ะ ทัสส​ ะ​นัง
ความ​เลื่อมใส​ของ​ผใู้​ด​มี​ใน​พระ​สงฆ์
และ​ความ​เห็น​ของ​ผใู้​ด​ตรง
อะ​ทะ​ลิ​ท​โท​ติ ตัง อาหุ อะ​โมฆั​นตัสส​ ะ ชี​วติ​ ัง
บัณฑิต​กล่าว​เรียก​เขา​ผนู้​ ั้นว​่าค​ น​ไม่​จน
ชีวิตข​ อง​เขา​ไม่​เป็น​หมัน
ตัสมฺ​ า สัท​ธัญจ​ะ สีล​ ัญจ​ะ ปะ​สา​ทัง ธัมมะ​ทัส​สะ​นัง,
อะ​นยุ​ ุญเช​ถะ เมธาวี สะ​รัง พุทธ​า​นะ​สา​สะ​นัง
เพราะ​ฉะนั้น เมื่อร​ะลึก​ได้ถ​ ึงค​ ำ�​สั่ง​สอน
ของ​พระพุทธเจ้า​อยู่ ผูม้​ ี​ปัญญา​ควร​ก่อสร้าง​ศรัทธา
ศีล ความ​เลื่อมใส และ​ความ​เห็น​ธรรม​ให้​เนืองๆ

68
ธัมม​คา​ร​วาทิ​คาถา
หันท​ ะ มะ​ยัง ธัมมะ​คา​ระ​วาทิค​ าถา​โย ภะณา​มะ เส

เย จะ อะ​ตตี​ า สัมพ​ ุทธ​า เย จะ พุทธ​า อะ​นา​คะ​ตา,


โย เจ​ตะ​ระหิ สัม​พุ​ทโธ พะ​หุนน​ ัง โสก​ะน​ า​สะ​โน
พระพุทธเจ้า​บรรดา​ที่​ล่วง​ไป​แล้วด​ ้วย
ที่​ยัง​ไม่​มา​ตรัสรู้​ด้วย และ​พระพุทธเจ้า​ผขู้​ จัด​โศก
ของ​มหาชน​ใน​กาล​บัดนีด้​ ้วย
สัพ​เพ สัท​ธัมมะ​คะ​รุ​โน วิห​ ะ​ริง​สุ วิห​ า​ติ จะ,
อะ​ถาปิ วิห​ ะ​ริ​ส​สันติ เอ​สา พุทธ​า​นะ​ธัมมะ​ตา
พระพุทธเจ้า​ทง้ั ​ปวง​นน้ั ​ทกุ ​พระองค์​เคารพ​พระ​ธรรม
ได้​เป็น​มา​แล้ว​ดว้ ย กำ�ลัง​เป็น​อยู​ด่ ว้ ย และ​จกั ​เป็น​ดว้ ย
เพราะ​ธรรมดา​ของ​พระพุทธเจ้าท​ง้ั ห​ ลาย​เป็นเ​ช่นน​ น้ั เ​อง
ตัสมฺ​ า หิ อัตตะ​กา​เม​นะ มะ​หัตต​ ะ​มะ​ภิ​กังข​ ะ​ตา,
สัทธัม​โม คะ​รุ​กา​ตัพ​โพ สะ​รัง พุทธ​า​นะ​สา​สะ​นัง
เพราะ​ฉะนัน้ บุคคล​ผ​รู้ กั ​ตน หวังอ​ ยู​เ่ ฉพาะ​คณ ุ ​เบือ้ ง​สงู
เมื่อ​ระลึก​ได้ถ​ ึงค​ ำ�​สั่ง​สอน​ของ​พระพุทธเจ้า​อยู่
จง​ทำ�ความ​เคารพ​พระ​ธรรม
นะ หิ ธัม​โม อะธัม​โม จะ อุโภ สะ​มะ​วปิ​ ากิโ​น
ธรรม​และ​อธรรม​จะ​ม​ผี ล​เหมือน​กนั ​ทง้ั ​สอง​อย่าง​หามิได้

69
อะธัม​โม นิ​ระยัง เนติ ธัม​โม ปา​เปติ สุ​คะ​ติง
อธรรม​ย่อม​นำ�​ไป​นรก ธรรม​ย่อม​นำ�​ให้​ถึงส​ ุคติ
ธัม​โม หะเว รัก​ขะ​ติ ธัมมะ​จา​ริง
ธรรม​แหละ​ย่อม​รักษา​ผู้​ประพฤติธ​ รรม​เป็น​นิจ
ธัม​โม สุ​จิณโณ สุข​ะม​ า​วะ​หา​ติ
ธรรม​ที่​ประพฤติด​ ีแล้วย​ ่อม​นำ�​สุข​มา​ให้​ตน
เอ​สา​นสิ​ ังโส ธัม​เม สุ​จิณเณ
นีเ่​ป็น​อานิสงส์​ใน​ธรรม​ที่​ตน​ประพฤติด​ ีแล้ว

70
ติล​ ักขณา​ทิ​คาถา
หันท​ ะ มะ​ยัง ติล​ ักขะ​ณาทิ​คาถา​โย ภะณา​มะ เส

สัพ​เพ สังขาร​า อะ​นิจจ​า​ติ ยะ​ทา ปัญญา​ยะ ปัสส​ ะ​ติ


เมือ่ ใ​ด​บคุ คล​เห็นด​ ว้ ย​ปญั ญา​วา
่ สังขาร​ทง้ั ป​ วง​ไม่เ​ทีย่ ง
อะ​ถะ นิพพิน​ ทะ​ติ ทุกเ​ข เอ​สะ มัค​โค วิส​ ุทธิ​ยา
เมื่อ​นั้นย​ ่อม​เหนื่อย​หน่าย​ใน​สิ่ง​ที่​เป็น​ทุกข์​ที่​ตน​หลง
นั่นแ​ หละ​เป็น​ทาง​แห่ง​พระ​นิพพาน
อันเ​ป็น​ธรรม​หมดจด
สัพ​เพ สังขาร​า ทุกข​ า​ติ ยะ​ทา ปัญญา​ยะ ปัสส​ ะ​ติ
เมือ่ ใ​ด​บคุ คล​เห็นด​ ว้ ย​ปญ
ั ญา​วา
่ สังขาร​ทง้ั ป​ วง​เป็นท​ กุ ข์
อะ​ถะ นิพพิน​ ทะ​ติ ทุกเ​ข เอ​สะ มัค​โค วิส​ ุทธิ​ยา
เมื่อ​นั้นย​ ่อม​เหนื่อย​หน่าย​ใน​สิ่ง​ที่​เป็น​ทุกข์​ที่​ตน​หลง
นั่นแ​ หละ​เป็น​ทาง​แห่ง​พระ​นิพพาน
อันเ​ป็น​ธรรม​หมดจด
สัพ​เพ ธัม​มา อะนัตต​ า​ติ ยะ​ทา ปัญญา​ยะ ปัสส​ ะ​ติ
เมื่อ​ใด​บุคคล​เห็น​ด้วย​ปัญญา​ว่า
ธรรม​ทั้ง​ปวง​เป็น​อนัตตา

71
อะ​ถะ นิพพิน​ ทะ​ติ ทุกเ​ข เอ​สะ มัค​โค วิส​ ุทธิ​ยา
เมื่อ​นั้นย​ ่อม​เหนื่อย​หน่าย​ใน​สิ่ง​ที่​เป็น​ทุกข์​ที่​ตน​หลง
นั่นแ​ หละ​เป็น​ทาง​แห่ง​พระ​นิพพาน
อันเ​ป็น​ธรรม​หมดจด
อัปปะ​กา เต มะ​นสุ​ ​เส​สุ เย ชะ​นา ปา​ระ​คา​มิ​โน
ใน​หมู่​มนุษย์ท​ ั้ง​หลาย
ผูท้​ ี่​ถึง​ฝั่ง​แห่ง​พระ​นิพพาน​มี​น้อย​นัก
อะ​ถา​ยัง อิ​ตะ​รา ปะ​ชา ตีระ​เม​วา​นธุ​ า​วะ​ติ
หมู่​มนุษย์น​ อก​นั้นย​ ่อม​วิ่งเ​ลาะ​อยู่​ตาม​ฝั่ง​ใน​นี่เอง
เย จะ โข สัม​มะ​ทักข​ า​เต ธัมเ​ม ธัม​มา​นวุ​ัตต​ โิ​น
ก็ช​ น​เหล่า​ใด​ประพฤติส​ มควร​แก่ธ​ รรม
ใน​ธรรม​ที่​ตรัส​ไว้ช​ อบ​แล้ว
เต ชะ​นา ปา​ระ​เม​ส​สันติ มัจจุเ​ธย​ยัง สุ​ทุ​ตต​ ะรัง
ชน​เหล่า​นั้นจ​ักถ​ ึงฝ​ ั่ง​แห่ง​พระ​นิพพาน
ข้าม​พ้น​บ่วง​แห่ง​มัจจุ๑ที่​ข้าม​ได้ย​ าก​นัก
กัณฺหัง ธัมมัง วิ​ป​ปะ​หา​ยะ สุกก​ ัง ภา​เว​ถะ ปัณฑิโ​ต
จง​เป็น​บัณฑิต​ละ​ธรรม​ดำ�​เสีย แล้วเ​จริญ​ธรรม​ขาว


มัจจุ คือ กิเลศมาร

72
โอ​กา อะ​โน​กะ​มา​คัมม​ ะ วิเ​ว​เก ยัตถ​ ะ ทูร​ะ​มัง,
ตัตรฺ​า​ภริ​ะ​ตมิ​ ิ​จเ​ฉย​ยะ หิตวฺ​า กา​เม อะกิญจ​ะ​โน
จง​มา​ถึงที่​ไม่มี​น้ำ� จาก​ที่​มี​น้ำ�
จง​ละ​กาม​เสีย เป็น​ผไู้​ม่มี​ความ​กังวล
จง​ยินดีเ​ฉพาะ​ต่อพ​ ระ​นิพพาน
อันเ​ป็น​ที่​สงัด​ซึ่ง​สัตว์ย​ ินดีไ​ด้โ​ดย​ยาก

73
ภา​รสุตต​คาถา
หันท​ ะ มะ​ยัง ภาระ​สุตตะ​คาถา​โย ภะณา​มะ เส

ภารา หะเว ปัญจัก​ ข​ ันธ​ า


ขันธ์ท​ ั้ง​ห้า​เป็น​ของ​หนักเ​น้อ
ภาระ​หา​โร จะ ปุ​คค​ ะโล
บุคคล​แหละ​เป็น​ผู้​แบก​ของ​หนักพ​ า​ไป
ภา​รา​ทานั​ง ทุก​ขัง โล​เก
การ​แบก​ถือข​ อง​หนักเ​ป็น​ความ​ทุกข์​ใน​โลก
ภา​ระ​นกิ​ เ​ข​ปะ​นัง สุ​ขัง
การ​สลัด​ของ​หนักท​ ิ้ง​ลง​เสีย​เป็น​ความ​สุข
นิกขิปิตวฺ​า คะ​รุง ภา​รัง
พระ​อริย​เจ้า​สลัด​ทิ้ง​ของ​หนักล​ ง​เสีย​แล้ว
อัญญ​ ัง ภา​รัง อะ​นาทิ​ยะ
ทั้ง​ไม่​หยิบ​ฉวย​เอา​ของ​หนักอ​ ัน​อื่นข​ ึ้นม​ า​อีก
สะ​มูลั​ง ตัณฺหัง อัพ​พุฬฺ​หะ
ก็เ​ป็น​ผถู้​ อน​ตัณหา​ขึ้น​ได้ก​ ระทั่ง​ราก
นิจฉ​ า​โต ปะ​ริ​นิพ​พุ​โต
เป็น​ผู้​หมด​สิ่ง​ปรารถนา​ดับส​ นิท​ไม่มี​ส่วน​เหลือ

74
ปัจฉิมพ​ ุ​ทโธ​วาท​ปาฐ​ะ
หันท​ ะ มะ​ยัง ปัจฉิมะ​พ​ ุ​ทโธ​วา​ทะ​ปาฐั​ง ภะณา​มะ เส

หันท​ ะทา​นิ ภิกขะเว อา​มันต​ ะ​ยา​มิ โว


ดู​กอ่ น​ภกิ ษุ​ทง้ั ​หลาย บัดนี้ เรา​ขอ​เตือน​ทา่ น​ทง้ั ​หลาย​วา่
วะ​ยะ​ธัม​มา สังขาร​า
สังขาร​ทั้ง​หลาย​มี​ความ​เสื่อม​ไป​เป็น​ธรรมดา
อัปปะ​มา​เท​นะ สัมป​ า​เท​ถะ
ท่าน​ทั้ง​หลาย​จง​ทำ�ความ​ไม่​ประมาท​ให้​ถึง​พร้อม​เถิด
อะ​ยัง ตะ​ถา​คะ​ตัสส​ ะ ปัจฉิมา​ วาจา
นีเ่​ป็น​พระ​วาจา​มี​ใน​ครั้ง​สุดท้าย​ของ​พระ​ตถาคต​เจ้า

75
อุท​ทิส​สนาธิฏ​ฐาน​คาถา
หันท​ ะ มะ​ยัง อุท​ทิส​สะ​นา​ธิฏ​ฐานะ​คาถา​โย ภะณา​มะ เส

อิ​มิ​นา ปุญ​ ญะกัมเ​ม​นะ


ด้วย​บุญน​ อี้​ ุทิศ​ให้
อุปั​ชฌา​ยา คุณตุ​ ต​ ะ​รา
อุปัชฌาย์ผ​ ู้​เลิศ​คุณ
อา​จะ​ริ​ยูปะ​กา​รา จะ
แล​อาจารย์​ผเู้​กื้อ​หนุน
มาตา ปิตา จะ ญา​ตะ​กา
ทั้ง​พ่อ​แม่​แล​ปวง​ญาติ
สุริโย จันทิมา ราชา
สูรย์​จันทร์​และ​ราชา
คุณะ​ว​ันต​ า นะ​ราปิ จะ
ผู้ทรง​คุณห​ รือ​สูง​ชาติ
พฺรัหฺมะ​มา​รา จะ อินท​ า จะ
พรหม​มาร​และ​อินท​ ราช
โลก​ะป​ า​ลา จะ เทวะ​ตา
ทั้ง​ทวย​เทพ​และ​โลกบาล
ยะ​โม มิต​ตา มะ​นสุ​ ​สา จะ
ยมราช​มนุษย์ม​ ิตร
76
มัชฌัต​ ต​ า เวริก​ าปิ จะ
ผูเ้​ป็นก​ลาง​ผจู้​้อง​ผลาญ
สัพ​เพ สัต​ตา สุขี โหน​ตุ
ขอ​ให้​เป็นสุข​ศานต์ท​ ุกท​ ั่วห​ น้า​อย่า​ทุกข์​ทน
ปุ​ญญา​นิ ปะ​กะ​ตา​นิ เม
บุญผ​ อง​ที่​ข้า​ทำ�​จง​ช่วย​อำ�นวย​ศุภผ​ ล
สุ​ขัง จะ ติว​ิธงั​ เทน​ตุ
ให้​สุข​สาม​อย่าง๑ล้น
ขิป​ปัง ปา​เป​ถะ โว​มะ​ตัง
ให้​ลุ​ถึงน​ ิพพาน​พลัน
อิ​มิ​นา ปุญ
​ ญะกัมเ​ม​นะ
ด้วย​บุญน​ ที้​ ี่​เรา​ทำ�
อิ​มิ​นา อุทท​ ิ​เสนะ จะ
แล​อุทิศ​ให้​ปวง​สัตว์
ขิป​ปา​หัง สุ​ละเภ เจ​วะ
เรา​พลัน​ได้ซ​ ึ่ง​การ​ตัด
ตัณฺหปุ​ า​ทา​นะ​เฉ​ทะ​นัง
ตัวต​ ัณหา​อุปาทาน
เย สันต​ าเน หินา​ ธัม​มา
สิ่งชั่วในดวงใจ

ทิพย​สุข (=เสพ​สุข), พรหม​สุข (=สงบ​สุข), อริย​สุข (=สละ​สุข)

77
ยา​วะ นิพพาน​ะ​โต มะ​มัง
กว่าเ​รา​จะ​ถึงน​ ิพพาน
นัสส​ ัน​ตุ สัพพะ​ทา เย​วะ
มลาย​สิ้นจ​าก​สันดาน
ยัตถ​ ะ ชา​โต ภะเว ภะเว
ทุกๆ ภพ​ที่​เรา​เกิด
อุชุ​จิตต​ ัง สะ​ตปิ​ ัญญา
มี​จิตต​รง​และ​สติท​ ั้ง​ปัญญา​อันป​ ระเสริฐ
สัลเล​โข วิ​ริ​ยัมห​ ิน​า
พร้อม​ทั้ง​ความ​เพียร​เลิศ​เป็น​เครื่อง​ขูดก​ ิเลส​หาย
มา​รา ละ​ภันต​ ุ โน​กา​สัง
โอกาส​อย่า​พึง​มี​แก่ห​ มู่​มาร​สิ้น​ทั้ง​หลาย
กา​ตุญจ​ะ วิร​ิ​เยสุ เม
เป็น​ช่อง​ประทุษร้าย​ทำ�ลาย​ล้าง​ความ​เพียร​จม
พุทธ​า​ทิป​ะว​ะ​โร นา​โถ
พระพุทธ​ผบู้​ วร​นาถ
ธัม​โม นา​โถ วะ​รุตต​ ะ​โม
พระ​ธรรม​ที่​พึ่ง​อุดม
นา​โถ ปัจเจก​ะพ​ ุ​ทโธ จะ
พระ​ปัจเจก​ะพ​ ุทธ​สม-

78
สังโฆ นา​โถ​ตต​ ะ​โร มะ​มัง
ทบ​พระ​สงฆ์​ที่​พึ่ง​ผยอง
เต​โสต​ตะ​มา​นภุ​ า​เวน​ะ
ด้วย​อานุภาพ​นั้น
มา​โร​กา​สัง ละ​ภันต​ ุ มา
ขอ​หมู่​มาร​อย่า​ได้ช​ ่อง
ทะ​สะ​ปุ​ญญา​นภุ​ า​เวน​ะ๑
ด้วย​เดช​บุญท​ ั้ง​สิบ​ป้อง
มา​โร​กา​สัง ละ​ภันต​ ุ มา
อย่า​เปิด​โอกาส​แก่ม​ าร เทอญ


บุญก​ ิริยา​วัตถุ ๑๐
  ข้อ​ปฏิบัติ​ที่​ช่วย​ชำ�ระ​จิตใจ​ให้​ปราศจาก​ความ​โลภ โกรธ หลง
เพื่อ​บรรเทา​และ​กำ�จัดท​ ุกข์​ใน​ชีวิต
๑. ทาน - การ​ให้ เสีย​สละ เอื้อเฟื้อ​เผื่อ​แผ่ ทั้ง​วัตถุท​ าน (ปัจจัย ๔)
และ​อภัยทาน
๒. ศีล - ควบคุมก​ ารก​ระ​ทำ�​ทาง​กาย วาจา ให้เ​รียบร้อย​เป็น​ปกติ
ไม่​เบียดเบียน​ตน​และ​คน​อื่น
๓. ภาวนา - อบรม​จิต​ให้​สงบ และ​เกิดป​ ัญญา​รู้​แจ้ง​เห็น​จริง​ใน​อริยสัจ
๔. อปจายน​ะ - อ่อนน้อม​ถ่อม​ตน​อยูเ่​สมอ
๕. เวย​ยา​วัจจะ - ช่วย​เหลือ​เกื้อกูล​ใน​กิจท​ ี่​ถูกต​ ้อง​ดงี​าม​แก่เ​พื่อน​และ​สังคม
๖. ปัตติท​ า​นะ - แผ่เ​มตตา​และ​บุญก​ ุศล​ที่​ตน​ได้ท​ ำ�​แก่ส​ รรพ​สัตว์ท​ ั้ง​หลาย
๗. ปัตต​ า​นโุ​มทนา - อนุโมทนา​พลอย​ยินดีก​ ับค​ วาม​ดขี​ อง​ผอู้​ ื่น
๘. ธรรม​สวนะ - การ​ฟัง​หรือ​ศึกษา​ธรรมะ​อยู่​เสมอ
๙. ธรรม​เทศนา - แนะนำ�​ข้อ​ธรรม​ที่​ตน​ได้ศ​ ึกษา​และ​ปฏิบัติ​มา​ให้​แก่ผ​ อู้​ ื่น
๑๐. ทิฏฐุ​ชุกมั​ ​มะ - อบรม​ความ​คิดเ​ห็น​ให้​ถูกต​ ้อง​กับห​ ลัก​ธรรม​ใน​พุทธ​ศาสนา เช่น
เชื่อ​เรื่อง​อริยสัจ, กรรม ทำ�​ดี...ดี!  ทำ�​ชั่ว...ชั่ว! เป็นต้น

79
ธัมม​จักก​ ัปป​ ​วัตต​ น​สุตต​ ป​ าฐ​ะ
หันท​ ะ มะ​ยัง ธัมมะ​จักก​ ัปป​ ะ​วัตต​ ะ​นะ​สุตต​ ะ​ปาฐั​ง
ภะณา​มะ เส

ทฺเว​เม ภิกขะเว อันต​ า


ดูก​ ่อน​ภิกษุท​ ั้ง​หลาย
ที่สุด​แห่ง​การก​ระ​ทำ�​สอง​อย่าง​เหล่า​นี้ มีอ​ ยู่
ปัพ​พะ​ชิ​เต​นะ นะ เส​วติ​ ัพ​พา
เป็น​สิ่ง​ที่​บรรพชิต​ไม่​ควร​ข้อง​แวะ​เลย
โย จา​ยัง กา​เม​สุ กา​มะ​สุขั​ล​ลิ​กา​นโุ​ย​โค
นีค​้ อื ก​ าร​ประกอบ​ตน​พวั พันอ​ ยูด​่ ว้ ย​ความ​ใคร่ใ​น​กาม
ทั้ง​หลาย
หี​โน๑
เป็น​ของ​ต่ำ�ท​ ราม
คัมโ​ม
เป็น​ของ​ชาว​บ้าน
โป​ถุชช​ ะ​นโิ​ก
เป็น​ของ​คน​ชั้นป​ ุถุชน


หี​โน อ่าน​ว่า ฮีโ​น

80
อะนะ​ริ​โย
ไม่ใช่​ข้อ​ปฏิบัติ​ของ​พระ​อริย​เจ้า
อะนัตถ​ ะ​สัญหิ​โต
ไม่​ประกอบ​ด้วย​ประโยชน์​เลย นีอ้​ ย่าง​หนึ่ง
โย จา​ยัง อัตต​ ะ​กลิ​ ะ​มะ​ถา​นโุ​ย​โค
อีกอ​ ย่าง​หนึง่ ค​ อื ก​ าร​ประกอบ​การ​ทรมาน​ตน​ให้ล​ ำ�บาก
ทุก​โข
เป็น​สิ่ง​นำ�​มา​ซึ่ง​ทุกข์
อะนะ​ริ​โย
ไม่ใช่​ข้อ​ปฏิบัติ​ของ​พระ​อริย​เจ้า
อะนัตถ​ ะ​สัญหิ​โต
ไม่​ประกอบ​ด้วย​ประโยชน์​เลย
เอ​เต เต ภิกขะเว อุโภ อันเต อะ​นปุ​ ะ​คัมม​ ะ
มัชฌิมา ปะฏิ​ปะ​ทา
ดูก​ ่อน​ภิกษุท​ ั้ง​หลาย ข้อ​ปฏิบัติ​เป็น​ทาง​สาย​กลาง
ไม่​เข้าไป​หา​ที่สุด​แห่ง​การก​ระ​ทำ�​สอง​อย่าง​นั้น มีอ​ ยู่
ตะ​ถา​คะ​เต​นะ อะ​ภิสั​ม​พุทธ​า
เป็น​ข้อ​ปฏิบัติ​ที่​ตถาคต​ได้ต​ รัสรู้​พร้อม​เฉพาะ​แล้ว
จักขุก​ ะ​ระณี
เป็น​เครื่อง​กระทำ�​ให้​เกิดจ​ักษุ

81
ญาณ​ะก​ ะ​ระณี
เป็น​เครื่อง​กระทำ�​ให้​เกิดญ ​ าณ
อุ​ปะ​สะ​มา​ยะ
เพื่อ​ความ​สงบ
อะภิญญา​ยะ
เพื่อ​ความ​รู้​ยิ่ง
สัม​โพธ​า​ยะ
เพื่อ​ความ​รู้​พร้อม
นิพพาน​า​ยะ สังว​ัตต​ ะ​ติ
เป็น​ไป​เพื่อ​นิพพาน
กะ​ตะ​มา จะ สา ภิกขะเว มัชฌิมา ปะฏิป​ ะ​ทา
ดูก​ ่อน​ภิกษุท​ ั้ง​หลาย
ข้อ​ปฏิบัติ​เป็น​ทาง​สาย​กลาง​นั้นเ​ป็น​อย่างไร​เล่า
อะ​ยะ​เม​วะ อะ​ริ​โย อัฏฐั​งคิ​โก มัค​โค
ข้อ​ปฏิบัติ​เป็น​ทาง​สาย​กลาง​นั้นค​ ือ
ข้อ​ปฏิบัติ​เป็น​หนทาง​อันป​ ระเสริฐ
ประกอบ​ด้วย​องค์​แปด​ประการ​นเี้​อง
เสย​ยะ​ถที​ ัง
ได้แก่ส​ ิ่ง​เหล่า​นี้ คือ
สัมมา​ทิฏฐิ
ความ​เห็น​ชอบ

82
สัมมา​สัง​กัปโ​ป
ความ​ดำ�ริ​ชอบ
สัมมา​วาจา
การ​พูดจา​ชอบ
สัมมา​กัมม​ ันโ​ต
การ​ทำ�การ​งาน​ชอบ
สัมมา​อา​ชี​โว
การ​เลี้ยง​ชีวิตช​ อบ
สัมมา​วา​ยา​โม
ความ​พากเพียร​ชอบ
สัมมา​สะ​ติ
ความ​ระลึก​ชอบ
สัมมา​สะ​มาธิ
ความ​ตั้งใจ​มั่นช​ อบ
อะ​ยัง โข สา ภิกขะเว มัชฌิมา ปะฏิป​ ะ​ทา
ดูก​ ่อน​ภิกษุท​ ั้ง​หลาย นีแ้​ ล​คือข​ ้อ​ปฏิบัติ
เป็น​ทาง​สาย​กลาง
ตะ​ถา​คะ​เต​นะ อะ​ภิสั​ม​พุทธ​า
เป็น​ข้อ​ปฏิบัติ​ที่​ตถาคต​ได้ต​ รัสรู้​พร้อม​เฉพาะ​แล้ว
จักขุก​ ะ​ระณี
เป็น​เครื่อง​กระทำ�​ให้​เกิดจ​ักษุ

83
ญาณ​ะก​ ะ​ระณี
เป็น​เครื่อง​กระทำ�​ให้​เกิดญ ​ าณ
อุ​ปะ​สะ​มา​ยะ
เพื่อ​ความ​สงบ
อะภิญญา​ยะ
เพื่อ​ความ​รู้​ยิ่ง
สัม​โพธ​า​ยะ
เพื่อ​ความ​รู้​พร้อม
นิพพาน​า​ยะ สังว​ัตต​ ะ​ติ
เป็น​ไป​เพื่อ​นิพพาน
อิ​ทัง โข ปะ​นะ ภิกขะเว ทุกข​ ัง อะ​ริ​ยะ​สัจ​จัง
ดูก​ ่อน​ภิกษุท​ ั้ง​หลาย ก็อ​ ริยสัจ​คือ​ทุกข์​นี้ มีอ​ ยู่
ชา​ติปิ ทุกข​ า
คือค​ วาม​เกิดก​ เ็​ป็น​ทุกข์
ชะ​ราปิ ทุก​ขา
ความ​แก่ก​ เ็​ป็น​ทุกข์
มะ​ระณัมปิ ทุก​ขัง
ความ​ตาย​กเ็​ป็น​ทุกข์
โสก​ะป​ ะ​ริ​เท​วะ​ทุกข​ะ​โท​มะ​นัส​สุ​ปา​ยา​สาปิ ทุก​ขา
ความ​โศก​ความ​ร่ำ�ไร​รำ�พัน​ความ​ไม่​สบาย​กาย
ความ​ไม่​สบายใจ​ความ​คับแ​ ค้น​ใจ​กเ็​ป็น​ทุกข์

84
อัป​ปิเยหิ สัม​ปะ​โย​โค ทุก​โข
ความ​ประสบ​กับส​ ิ่ง​ไม่​เป็น​ที่รัก​ที่​พอใจ​กเ็​ป็น​ทุกข์
ปิเยหิ วิ​ป​ปะ​โย​โค ทุก​โข
ความ​พลัดพราก​จาก​สิ่ง​เป็น​ที่รัก​ที่​พอใจ​กเ็​ป็น​ทุกข์
ยัมปิจฉัง นะ ละภะ​ติ ตัมปิ ทุกข​ ัง
มี​ความ​ปรารถนา​สิ่ง​ใด​ไม่​ได้ส​ ิ่ง​นั้น นั่นก​ เ็​ป็น​ทุกข์
สังขิ​ตเ​ต​นะ ปัญจุป​ า​ทา​นักข​ ันธ​ า ทุกข​ า
ว่า​โดย​ย่ออ​ ุปาทาน​ขันธ์ท​ ั้ง​ห้า​เป็น​ตัวท​ ุกข์
อิ​ทัง โข ปะ​นะ ภิกขะเว ทุกข​ะส​ ะ​มุ​ทะ​โย อะ​ริ​ยะ​สัจ​จัง
ดูก​ ่อน​ภิกษุท​ ั้ง​หลาย
ก็อ​ ริยสัจ​คือ​เหตุ​ให้​เกิดท​ ุกข์​นี้ มีอ​ ยู่
ยา​ยัง ตัณหา
นีค้​ ือต​ ัณหา
โป​โนพภะ​วกิ​ า
อันเ​ป็น​เครื่อง​ทำ�ให้​มี​การ​เกิดอ​ ีก
นันทิร​าคะ​สะ​หะ​คะ​ตา
อันป​ ระกอบ​อยูด​่ ว้ ย​ความ​กำ�หนัดด​ว้ ย​อำ�นาจ​ความ​เพลิน
ตัตรฺ​ะ ตัตรฺ​า​ภินนั​ ทิน​ ี
เป็น​เครื่อง​ทำ�ให้​เพลิน​อย่าง​ยิ่ง​ใน​อา​รมณ์​นั้นๆ

85
เสย​ยะ​ถที​ ัง
ได้แก่ต​ ัณหา​เหล่า​นี้ คือ
กา​มะ​ตัณหา
ตัณหา​ใน​กาม
ภะ​วะ​ตัณหา
ตัณหา​ใน​ความ​มี​ความ​เป็น
วิภะ​วะ​ตัณหา
ตัณหา​ใน​ความ​ไม่มี​ไม่​เป็น
อิ​ทัง โข ปะ​นะ ภิกขะเว ทุกข​ะน​ โิ​รโธ อะ​ริ​ยะ​สัจ​จัง
ดูก​ ่อน​ภิกษุท​ ั้ง​หลาย
ก็อ​ ริยสัจ​คือ​ความ​ดับ​ไม่​เหลือ​แห่ง​ทุกข์​นี้ มีอ​ ยู่
โย ตัสส​ า​เย​วะ ตัณหา​ยะ อะ​เส​สะ​วิราคะ​นโิ​รโธ
นีค้​ ือค​ วาม​ดับส​ นิท​เพราะ​จาง​ไป​โดย​ไม่มี​เหลือ​ของ
ตัณหา​นั้นน​ ั่นเอง
จา​โค
เป็น​ความ​สลัด​ทิ้ง
ปะฏิ​นสิ​ ​สัค​โค
เป็น​ความ​สละ​คืน
มุตติ
เป็น​ความ​ปล่อย

86
อะ​นา​ละ​โย
เป็น​ความ​ทำ�​ไม่​ให้​มี​ที่​อาศัยซ​ ึ่ง​ตัณหา​นั้น
อิ​ทัง โข ปะ​นะ ภิกขะเว ทุกข​ะน​ โิ​รธ​ะค​ า​มิ​นี
ปะฏิ​ปะ​ทา อะ​ริ​ยะ​สัจ​จัง
ดูก​ ่อน​ภิกษุท​ ั้ง​หลาย ก็อ​ ริยสัจ​คือ​ข้อ​ปฏิบัติ
ที่​ทำ�​สัตว์ใ​ห้​ลุ​ถึงค​ วาม​ดับ​ไม่​เหลือ​แห่ง​ทุกข์​นี้ มีอ​ ยู่
อะ​ยะ​เม​วะ อะ​ริ​โย อัฏฐั​งคิ​โก มัค​โค
นีค้​ ือข​ ้อ​ปฏิบัติ​เป็น​หนทาง​อันป​ ระเสริฐ
ประกอบ​ด้วย​องค์​แปด​ประการ
เสย​ยะ​ถที​ ัง
ได้แก่ส​ ิ่ง​เหล่า​นี้ คือ
สัมมา​ทิฏฐิ
ความ​เห็น​ชอบ
สัมมา​สัง​กัปโ​ป
ความ​ดำ�ริ​ชอบ
สัมมา​วาจา
การ​พูดจา​ชอบ
สัมมา​กัมม​ ันโ​ต
การ​ทำ�การ​งาน​ชอบ
สัมมา​อา​ชี​โว
การ​เลี้ยง​ชีวิตช​ อบ

87
สัมมา​วา​ยา​โม
ความ​พากเพียร​ชอบ
สัมมา​สะ​ติ
ความ​ระลึก​ชอบ
สัมมา​สะ​มาธิ
ความ​ตั้งใจ​มั่นช​ อบ
อิ​ทัง ทุก​ขัง อะ​ริ​ยะ​สัจ​จันต​ ิ เม ภิกขะเว, ปุพ​ ​เพ
อะนะ​นสุ​ ​สุ​เต​สุ ธัม​เม​สุ, จักขุง​ อุ​ทะ​ปาทิ, ญาณั​ง อุ​ทะ​
ปาทิ, ปัญญา อุท​ ะ​ปาทิ, วิชชา อุ​ทะ​ปาทิ,
อา​โล​โก อุ​ทะ​ปาทิ
ดูก​ ่อน​ภิกษุท​ ั้ง​หลาย จักษุเ​กิดข​ ึ้นแ​ ล้วแ​ ก่เ​รา
ญาณ​เกิดข​ ึ้นแ​ ล้วแ​ ก่เ​รา ปัญญา​เกิดข​ ึ้นแ​ ล้วแ​ ก่เ​รา
วิชชา​เกิด​ขน้ึ ​แล้ว​แก่​เรา แสง​สว่าง​เกิด​ขน้ึ ​แล้ว​แก่​เรา
ใน​ธรรม​ทเ​่ี รา​ไม่​เคย​ฟงั ​มา​แต่​กอ่ น ว่า​อริยสัจ​คอื ​ทกุ ข์
เป็น​อย่าง​นอี้​ ย่าง​นี้
ดังนี้
ตัง โข ปะ​นทิ​ ัง ทุก​ขัง อะ​ริ​ยะ​สัจ​จัง ปะ​ริญเญย​ยันต​ ิ
ว่าก​ อ็​ ริยสัจ​คือท​ ุกข์​นั้นแล เป็นส​ ิ่ง​ที่​ควร​กำ�หนด​รู้
ดังนี้

88
ตัง โข ปะ​นทิ​ ัง ทุก​ขัง อะ​ริ​ยะ​สัจ​จัง ปะ​ริ​ญญา​ตันติ
ว่า​ก​อ็ ริยสัจ​คอื ​ทกุ ข์​นน้ั แล เรา​กำ�หนด​ร​ไู้ ด้​แล้ว
ดังนี้
อิ​ทัง ทุกข​ะส​ ะ​มุ​ทะ​โย อะ​ริ​ยะ​สัจ​จันต​ ิ เม ภิกขะเว,
ปุ​พ​เพ อะนะ​นสุ​ ​สุ​เต​สุ ธัม​เม​สุ, จักขุง​ อุ​ทะ​ปาทิ,
ญาณัง​ อุ​ทะ​ปาทิ, ปัญญา อุท​ ะ​ปาทิ, วิชชา อุ​ทะ​ปาทิ,
อา​โล​โก อุ​ทะ​ปาทิ
ดูก​ ่อน​ภิกษุท​ ั้ง​หลาย จักษุเ​กิดข​ ึ้นแ​ ล้วแ​ ก่เ​รา
ญาณ​เกิดข​ ึ้นแ​ ล้วแ​ ก่เ​รา ปัญญา​เกิดข​ ึ้นแ​ ล้วแ​ ก่เ​รา
วิชชา​เกิด​ขน้ึ ​แล้ว​แก่​เรา แสง​สว่าง​เกิด​ขน้ึ แ​ ล้ว​แก่​เรา
ใน​ธรรม​ที่​เรา​ไม่​เคย​ฟัง​มา​แต่ก​ ่อน ว่าอ​ ริยสัจ​คือ
เหตุ​ให้​เกิดท​ ุกข์ เป็น​อย่าง​นอี้​ ย่าง​นี้
ดังนี้
ตัง โข ปะ​นทิ​ ัง ทุกข​ะส​ ะ​มุ​ทะ​โย อะ​ริ​ยะ​สัจ​จัง
ปะ​หา​ตัพพ​ ัน​ติ
ว่าก​ อ็​ ริยสัจ​คือเ​หตุ​ให้​เกิดท​ ุกข์​นั้นแล
เป็น​สิ่ง​ที่​ควร​ละ​เสีย
ดังนี้

89
ตัง โข ปะ​นทิ​ ัง ทุกข​ะส​ ะ​มุ​ทะ​โย อะ​ริ​ยะ​สัจ​จัง ปะ​หีนนั​ ต​ ิ
ว่าก​ อ็​ ริยสัจ​คือเ​หตุ​ให้​เกิดท​ ุกข์​นั้นแล
เรา​ละ​ได้แ​ ล้ว
ดังนี้
อิ​ทัง ทุกข​ะน​ โิ​รโธ อะ​ริ​ยะ​สัจ​จันต​ ิ เม ภิกขะเว,
ปุ​พ​เพ อะนะ​นสุ​ ​สุ​เต​สุ ธัม​เม​สุ, จักขุง​ อุ​ทะ​ปาทิ,
ญาณัง​ อุ​ทะ​ปาทิ, ปัญญา อุท​ ะ​ปาทิ,
วิชชา อุ​ทะ​ปาทิ, อา​โล​โก อุ​ทะ​ปาทิ
ดูก​ ่อน​ภิกษุท​ ั้ง​หลาย จักษุเ​กิดข​ ึ้นแ​ ล้วแ​ ก่เ​รา
ญาณ​เกิดข​ ึ้นแ​ ล้วแ​ ก่เ​รา ปัญญา​เกิดข​ ึ้นแ​ ล้วแ​ ก่เ​รา
วิชชา​เกิดข​ ึ้นแ​ ล้วแ​ ก่เ​รา แสง​สว่าง​เกิดข​ ึ้นแ​ ล้วแ​ ก่เ​รา
ใน​ธรรม​ทเ​ี่ รา​ไม่เ​คย​ฟงั ม​ า​แต่ก​อ่ น ว่าอ​ ริยสัจค​ อื ค​ วาม
ดับ​ไม่​เหลือ​แห่ง​ทุกข์ เป็น​อย่าง​นอี้​ ย่าง​นี้
ดังนี้
ตัง โข ปะ​นทิ​ ัง ทุกข​ะน​ โิ​รโธ อะ​ริ​ยะ​สัจ​จัง
สัจ​ฉกิ​ า​ตัพ​พัน​ติ
ว่าก​ อ็​ ริยสัจ​คือค​ วาม​ดับ​ไม่​เหลือ​แห่ง​ทุกข์​นั้นแล
เป็น​สิ่ง​ที่​ควร​ทำ�ให้​แจ้ง
ดังนี้

90
ตัง โข ปะ​นทิ​ ัง ทุกข​ะน​ โิ​รโธ อะ​ริ​ยะ​สัจ​จัง
สัจ​ฉกิ​ ะ​ตันติ
ว่าก​ อ็​ ริยสัจ​คือค​ วาม​ดับ​ไม่​เหลือ​แห่ง​ทุกข์​นั้นแล
เรา​ทำ�ให้​แจ้ง​ได้แ​ ล้ว
ดังนี้
อิ​ทัง ทุกข​ะน​ โิ​รธ​ะค​ า​มิ​นี ปะฏิป​ ะ​ทา อะ​ริ​ยะ​สัจ​จันต​ ิ
เม ภิกขะเว, ปุพ​ ​เพ อะนะ​นสุ​ ​สุ​เต​สุ ธัม​เม​สุ,
จักขุง​ อุ​ทะ​ปาทิ, ญาณั​ง อุ​ทะ​ปาทิ, ปัญญา อุท​ ะ​ปาทิ,
วิชชา อุ​ทะ​ปาทิ, อา​โล​โก อุ​ทะ​ปาทิ
ดูก​ ่อน​ภิกษุท​ ั้ง​หลาย จักษุเ​กิดข​ ึ้นแ​ ล้วแ​ ก่เ​รา
ญาณ​เกิดข​ ึ้นแ​ ล้วแ​ ก่เ​รา ปัญญา​เกิดข​ ึ้นแ​ ล้วแ​ ก่เ​รา
วิชชา​เกิดข​ ึ้นแ​ ล้วแ​ ก่เ​รา แสง​สว่าง​เกิดข​ ึ้นแ​ ล้วแ​ ก่เ​รา
ใน​ธรรม​ที่​เรา​ไม่​เคย​ฟัง​มา​แต่ก​ ่อน ว่าอ​ ริยสัจ​คือ
ข้อ​ปฏิบัติ​ที่​ทำ�​สัตว์ใ​ห้​ลุ​ถึง​ความ​ดับ​ไม่​เหลือ​แห่ง​ทุกข์
เป็น​อย่าง​นอี้​ ย่าง​นี้
ดังนี้

91
ตัง โข ปะ​นทิ​ ัง ทุกข​ะน​ โิ​รธ​ะค​ า​มิ​นี ปะฏิป​ ะ​ทา
อะ​ริ​ยะ​สัจ​จัง ภา​เวตัพ​พัน​ติ
ว่าก​ อ็​ ริยสัจ​คือข​ ้อ​ปฏิบัติ
ที่​ทำ�​สัตว์ใ​ห้​ลุ​ถึงค​ วาม​ดับ​ไม่​เหลือ​แห่ง​ทุกข์​นั้นแล
เป็น​สิ่ง​ที่​ควร​ทำ�ให้​เกิดม​ ี
ดังนี้
ตัง โข ปะ​นทิ​ ัง ทุกข​ะน​ โิ​รธ​ะค​ า​มิ​นี ปะฏิป​ ะ​ทา
อะ​ริ​ยะ​สัจ​จัง ภา​วติ​ ันติ
ว่าก​ อ็​ ริยสัจ​คือข​ ้อ​ปฏิบัติ
ที่​ทำ�​สัตว์ใ​ห้​ลุ​ถึงค​ วาม​ดับ​ไม่​เหลือ​แห่ง​ทุกข์​นั้นแล
เรา​ทำ�ให้​เกิดม​ ี​ได้แ​ ล้ว
ดังนี้
ยา​วะ​กีวัญจ​ะ เม ภิกขะเว อิ​เม​สุ จะ​ตสู​ ุ อะ​ริ​ยะ​สัจ​เจ​สุ,
เอ​วันต​ ปิ​ ะ​ริ​วัฏฏัง ทฺ​วา​ทะ​สา​กา​รัง ยะ​ถา​ภตู​ ัง
ญาณ​ะทัส​สะ​นัง นะ สุว​สิ​ ุทธั​ง อะโห​สิ
ดูก​ ่อน​ภิกษุท​ ั้ง​หลาย
เมื่อ​ใด ปัญญา​เครื่อง​รู้​เห็น​ตาม​ที่​เป็น​จริง
มี​ปริ​วัฏฏ์​สาม​มี​อาการ​สิบ​สอง​เช่น​นั้น
ใน​อริยสัจ​ทั้ง​สี่​เหล่า​นี้
ยังไ​ม่เ​ป็นข​อง​บริสทุ ธิห​์ มดจด​ดว้ ย​ดแ​ี ก่เ​รา​อยูเ​่ พียง​ใด

92
เน​วะ ตา​วา​หัง ภิกขะเว สะ​เทวะ​เก โล​เก สะ​มาระ​เก
สะ​พฺรัหฺมะ​เก, สัสสะ​มะณะ​พฺราหฺมะณิ​ยา ปะ​ชา​ยะ
สะ​เทวะ​มะ​นสุ​ ​สา​ยะ, อะ​นุตต​ ะรัง สัมมา​สัมโพธิ​ง
อะ​ภิสั​ม​พุ​ทโธ ปัจจัญญา​สิง
ดูก​ ่อน​ภิกษุท​ ั้ง​หลาย ตลอด​การ​เพียง​นั้น
เรา​ยัง​ไม่​ปฏิญญา​ว่า​ได้ต​ รัสรู้​พร้อม​เฉพาะ​แล้ว
ซึ่ง​อนุต​ ต​รสัม​มา​สัมโพธิ​ญาณ
ใน​โลก​พร้อม​ทั้ง​เทวโลก​มาร​โลก​พรหม​โลก ๑
ใน​หมู่​สัตว์พ​ ร้อม​ทั้ง​สมณ​พราหมณ์
พร้อม​ทั้ง​เทวดา​และ​มนุษย์
ยะ​โต จะ โข เม ภิกขะเว, อิเ​ม​สุ จะ​ตสู​ ุ อะ​ริ​ยะ​สัจ​เจ​สุ,
เอ​วันต​ ปิ​ ะ​ริ​วัฏฏัง ทฺ​วา​ทะ​สา​กา​รัง ยะ​ถา​ภตู​ ัง
ญาณ​ะทัส​สะ​นัง สุ​วสิ​ ุทธั​ง อะโห​สิ
ดูก​ ่อน​ภิกษุท​ ั้ง​หลาย
เมื่อ​ใด ปัญญา​เครื่อง​รู้​เห็น​ตาม​ที่​เป็น​จริง
มี​ปริ​วัฏฏ์​สาม​มี​อาการ​สิบ​สอง​เช่น​นั้น​ใน​อริยสัจ​ทั้ง​สี่
เหล่า​นี้ เป็นข​ อง​บริสุทธิ์​หมดจด​ด้วย​ดแี​ ก่เ​รา


ออก​เสียง​ว่า เท-วะ-โลก  มา-ระ-โลก  พรหม-มะ-โลก

93
อะ​ถา​หัง ภิกขะเว สะ​เทวะ​เก โล​เก สะ​มาระ​เก
สะ​พฺรัหฺมะ​เก, สัสสะ​มะณะ​พฺราหฺมะณิ​ยา ปะ​ชา​ยะ
สะ​เทวะ​มะ​นสุ​ ​สา​ยะ, อะ​นุตต​ ะรัง สัมมา​สัมโพธิ​ง
อะ​ภิสั​ม​พุ​ทโธ ปัจจัญญา​สิง
ดูก​ ่อน​ภิกษุท​ ั้ง​หลาย
เมื่อ​นั้น เรา​ปฏิญญา​ว่า​ได้ต​ รัสรู้​พร้อม​เฉพาะ​แล้ว
ซึ่ง​อนุต​ ต​รสัม​มา​สัมโพธิ​ญาณ ใน​โลก​พร้อม​ทั้ง
เทวโลก​มาร​โลก​พรหม​โลก ๑ ใน​หมู่​สัตว์พ​ ร้อม​ทั้ง
สมณ​พราหมณ์ พร้อม​ทั้ง​เทวดา​และ​มนุษย์
ญาณัญ ​ จ​ะ ปะ​นะ เม ภิกขะเว ทัสส​ ะ​นัง อุ​ทะ​ปาทิ
ดูก​ ่อน​ภิกษุท​ ั้ง​หลาย
ก็ญ ​ าณ​และ​ทัส​สนะ​ได้เ​กิดข​ ึ้นแ​ ล้วแ​ ก่เ​รา
อะ​กปุ​ ​ปา เม วิมุตติ
ว่าค​ วาม​หลุด​พ้น​ของ​เรา​ไม่​กลับ​กำ�เริบ
อะ​ยะ​มันต​ มิ​ า ชาติ
ความ​เกิดน​ เี้​ป็น​ความ​เกิดค​ รั้ง​สุดท้าย
นัตถิท​ า​นิ ปุน​ ัพภะ​โว​ติ
บัดนีค้​ วาม​เกิดอ​ ีกย​ ่อม​ไม่มี
ดังนี้

ออก​เสียง​ว่า เท-วะ-โลก  มา-ระ-โลก  พรหม-มะ-โลก

94
อริยมรรค​มี​องค์​แปด
หันท​ ะ มะ​ยัง อะ​ริ​ยัฏฐัง​คิกะ​ม​ ัคค​ ะ​ปาฐั​ง ภะณา​มะ เส

อะ​ยะ​เม​วะ อะ​ริ​โย อัฏฐั​งคิ​โก มัค​โค


หนทาง​นแี้​ ล เป็น​หนทาง​อันป​ ระเสริฐ
ซึ่ง​ประกอบ​ด้วย​องค์​แปด
เสย​ยะ​ถที​ ัง
ได้แก่ส​ ิ่ง​เหล่า​นคี้​ ือ
สัมมา​ทิฏฐิ
ความ​เห็น​ชอบ
สัมมา​สัง​กัปโ​ป
ความ​ดำ�ริ​ชอบ
สัมมา​วาจา
การ​พูดจา​ชอบ
สัมมา​กัมม​ ันโ​ต
การ​ทำ�การ​งาน​ชอบ
สัมมา​อา​ชี​โว
การ​เลี้ยง​ชีวิตช​ อบ
สัมมา​วา​ยา​โม
ความ​พากเพียร​ชอบ

95
สัมมา​สะ​ติ
ความ​ระลึก​ชอบ
สัมมา​สะ​มาธิ
ความ​ตั้งใจ​มั่นช​ อบ
กะ​ตะ​มา จะ ภิกขะเว สัมมา​ทิฏฐิ
ดูก​ ่อน​ภิกษุท​ ั้ง​หลาย ความ​เห็น​ชอบ​เป็น​อย่างไร​เล่า
ยัง โข ภิกขะเว ทุกเ​ข ญาณั​ง
ดู​กอ่ น​ภกิ ษุ​ทง้ั ​หลาย ความ​ร​อู้ นั ​ใด เป็น​ความ​ร​ใู้ น​ทกุ ข์
ทุกข​ะส​ ะ​มุ​ทะเย ญาณัง​
เป็น​ความ​รู้​ใน​เหตุ​ให้​เกิดท​ ุกข์
ทุกข​ะน​ โิ​รเธ ญาณั​ง
เป็น​ความ​รู้​ใน​ความ​ดับแ​ ห่ง​ทุกข์
ทุกข​ะน​ โิ​รธ​ะค​ า​มิ​นยิ​ า ปะฏิป​ ะ​ทา​ยะ ญาณัง​
เป็น​ความ​รู้​ใน​ทาง​ดำ�เนิน​ให้​ถึงค​ วาม​ดับแ​ ห่ง​ทุกข์
อะ​ยัง วุจจ​ะ​ติ ภิกขะเว สัมมา​ทิฏฐิ
ดูก​ ่อน​ภิกษุท​ ั้ง​หลาย
อันน​ เี้​รา​กล่าว​ว่า ความ​เห็น​ชอบ
กะ​ตะ​โม จะ ภิกขะเว สัมมา​สัง​กัปโ​ป
ดูก​ ่อน​ภิกษุท​ ั้ง​หลาย ความ​ดำ�ริ​ชอบ​เป็น​อย่างไร​เล่า
เนกขัม​มะสัง​กัป​โป
ความ​ดำ�ริ​ใน​การ​ออก​จาก​กาม

96
อัพฺ​ยา​ปา​ทะ​สัง​กัปโ​ป
ความ​ดำ�ริ​ใน​การ​ไม่​มุ่ง​ร้าย
อะ​วหิ​ ิงสา​สัง​กัปโ​ป
ความ​ดำ�ริ​ใน​การ​ไม่​เบียดเบียน
อะ​ยัง วุจจ​ะ​ติ ภิกขะเว สัมมา​สัง​กัปโ​ป
ดูก​ อ่ น​ภกิ ษุท​ งั้ ห​ ลาย อันน​ เ​ี้ รา​กล่าว​วา
่ ความ​ดำ�ริช​อบ
กะ​ตะ​มา จะ ภิกขะเว สัมมา​วาจา
ดูก​ ่อน​ภิกษุท​ ั้ง​หลาย การ​พูดจา​ชอบ​เป็น​อย่างไร​เล่า
มุสา​วา​ทา เวร​ะม​ ะณี
เจตนา​เป็น​เครื่อง​เว้นจ​าก​การ​พูด​ไม่​จริง
ปิ​สุณ​า​ยะ วาจา​ยะ เวร​ะม​ ะณี
เจตนา​เป็น​เครื่อง​เว้นจ​าก​การ​พูดส​ ่อ​เสียด
ผะ​รุ​สา​ยะ วาจา​ยะ เวร​ะม​ ะณี
เจตนา​เป็น​เครื่อง​เว้นจ​าก​การ​พูดห​ ยาบ
สัมผัป​ปะ​ลา​ปา เวร​ะม​ ะณี
เจตนา​เป็น​เครื่อง​เว้นจ​าก​การ​พูดเ​พ้อ​เจ้อ
อะ​ยัง วุจจ​ะ​ติ ภิกขะเว สัมมา​วาจา
ดูก​ อ่ น​ภกิ ษุท​ งั้ ห​ ลาย อันน​ เ​ี้ รา​กล่าว​วา
่ การ​พดู จา​ชอบ
กะ​ตะ​โม จะ ภิกขะเว สัมมา​กัมม​ ัน​โต
ดูก​ ่อน​ภิกษุท​ ั้ง​หลาย
การ​ทำ�การ​งาน​ชอบ​เป็น​อย่างไร​เล่า

97
ปาณา​ติปา​ตา เวร​ะม​ ะณี
เจตนา​เป็น​เครื่อง​เว้นจ​าก​การ​ฆ่า
อะ​ทินน​ า​ทา​นา เวร​ะม​ ะณี
เจตนา​เป็นเ​ครือ่ ง​เว้นจ​าก​การ​ถอื เ​อา​สงิ่ ของ​ทเ​ี่ จ้าของ
ไม่​ได้ใ​ห้​แล้ว
กา​เม​สุ​มิจฉา​จา​รา เวร​ะม​ ะณี
เจตนา​เป็น​เครื่อง​เว้นจ​าก​การ​ประพฤติ​ผิด​ใน​กาม
ทั้ง​หลาย
อะ​ยัง วุจจ​ะ​ติ ภิกขะเว สัมมา​กัมม​ ัน​โต
ดูก​ ่อน​ภิกษุท​ ั้ง​หลาย อัน​นเี้​รา​กล่าว​ว่า
การ​ทำ�การ​งาน​ชอบ
กะ​ตะ​โม จะ ภิกขะเว สัมมา​อา​ชี​โว
ดู​กอ่ น​ภกิ ษุ​ทง้ั ​หลาย การ​เลีย้ ง​ชวี ติ ​ชอบ​เป็น​อย่างไร​เล่า
อิธะ ภิกขะเว อะ​ริ​ยะ​สา​วะ​โก
ดูก​ ่อน​ภิกษุท​ ั้ง​หลาย
สาวก​ของ​พระ​อริย​เจ้า​ใน​ธรรม​วินัยน​ ี้
มิจฉา​อา​ชี​วัง ปะ​หา​ยะ
ละ​การ​เลี้ยง​ชีวิตท​ ี่​ผิดเ​สีย
สัมมา​อา​ชี​เวน​ะ ชีว​กิ​ ัง กัปเ​ปติ
ย่อม​สำ�เร็จ​ความ​เป็น​อยู่​ด้วย​การ​เลี้ยง​ชีวิตท​ ี่​ชอบ

98
อะ​ยัง วุจจ​ะ​ติ ภิกขะเว สัมมา​อา​ชี​โว
ดูก​ ่อน​ภิกษุท​ ั้ง​หลาย
อันน​ เี้​รา​กล่าว​ว่า การ​เลี้ยง​ชีวิตช​ อบ
กะ​ตะ​โม จะ ภิกขะเว สัมมา​วา​ยา​โม
ดูก​ ่อน​ภิกษุท​ ั้ง​หลาย
ความ​พากเพียร​ชอบ​เป็น​อย่างไร​เล่า
อิธะ ภิกขะเว ภิกขุ
ดูก​ ่อน​ภิกษุท​ ั้ง​หลาย ภิกษุใ​น​ธรรม​วินัยน​ ี้
อะ​นปุ​ ​ปันน​ านัง​ ปา​ปะ​กานัง​ อะ​กสุ​ ะ​ลานั​ง ธัม​มานัง​
อะ​นปุ​ ​ปา​ทา​ยะ, ฉันท​ ัง ชะ​เนติ, วายะ​มะ​ติ,
วิร​ิ​ยัง อา​ระภะ​ติ, จิตต​ ัง ปัคคัณห​ า​ติ ปะทะ​หะ​ติ
ย่อม​ทำ�ความ​พอใจ​ให้​เกิดข​ ึ้น
ย่อม​พยายาม ปรารภ​ความ​เพียร ประคอง​ตั้ง​จิต​ไว้
เพือ่ จ​ะ​ยงั อ​กุศล​ธรรม​อนั เ​ป็นบ​ าป​ทย​่ี งั ไ​ม่เ​กิดไ​ม่ใ​ห้เ​กิดข​น้ึ
อุป​ปันน​ านัง​ ปา​ปะ​กานัง​ อะ​กสุ​ ะ​ลานั​ง ธัม​มานั​ง
ปะ​หา​นา​ยะ, ฉันท​ ัง ชะ​เนติ, วายะ​มะ​ติ,
วิร​ิ​ยัง อา​ระภะ​ติ, จิตต​ ัง ปัคคัณห​ า​ติ ปะทะ​หะ​ติ
ย่อม​ทำ�ความ​พอใจ​ให้​เกิดข​ ึ้น
ย่อม​พยายาม ปรารภ​ความ​เพียร ประคอง​ตั้ง​จิต​ไว้
เพื่อ​จะ​ละ​อกุศล​ธรรม​อันเ​ป็น​บาป​ที่​เกิดข​ ึ้นแ​ ล้ว

99
อะ​นปุ​ ​ปันน​ านัง​ กุส​ ะ​ลานั​ง ธัม​มานัง​ อุป​ปา​ทา​ยะ,
ฉันท​ ัง ชะ​เนติ, วายะ​มะ​ติ, วิร​ิ​ยัง อา​ระภะ​ติ,
จิตต​ ัง ปัคคัณห​ า​ติ ปะทะ​หะ​ติ
ย่อม​ทำ�ความ​พอใจ​ให้​เกิดข​ ึ้น
ย่อม​พยายาม ปรารภ​ความ​เพียร ประคอง​ตั้ง​จิต​ไว้
เพื่อ​จะ​ยัง​กุศล​ธรรม​ที่​ยัง​ไม่​เกิด​ให้​เกิดข​ ี้​น
อุป​ปันน​ านัง​ กุส​ ะ​ลานั​ง ธัม​มานัง​ ฐิติ​ยา,
อะสัม​โม​สา​ยะ, ภิยโย​ภา​วายะ, เว​ปุ​ล​ลา​ยะ,
ภาวะ​นา​ยะ ปา​ริ​ปู​ริ​ยา, ฉันท​ ัง ชะ​เนติ, วายะ​มะ​ติ,
วิร​ิ​ยัง อา​ระภะ​ติ, จิตต​ ัง ปัคคัณห​ า​ติ ปะทะ​หะ​ติ
ย่อม​ทำ�ความ​พอใจ​ให้​เกิดข​ ึ้น
ย่อม​พยายาม ปรารภ​ความ​เพียร ประคอง​ตั้ง​จิต​ไว้
เพื่อ​ความ​ตั้ง​อยู่ ความ​ไม่​เลอะ​เลือน
ความ​งอกงาม​ยิ่ง​ขึ้น ความ​ไพบูลย์ ความ​เจริญ
ความ​เต็ม​รอบ แห่ง​กุศล​ธรรม​ที่​เกิดข​ ึ้นแ​ ล้ว
อะ​ยัง วุจจ​ะ​ติ ภิกขะเว สัมมา​วา​ยา​โม
ดูก​ ่อน​ภิกษุท​ ั้ง​หลาย
อันน​ เี้​รา​กล่าว​ว่า ความ​พากเพียร​ชอบ
กะ​ตะ​มา จะ ภิกขะเว สัมมา​สะ​ติ
ดูก​ อ่ น​ภกิ ษุท​ งั้ ห​ ลาย ความ​ระลึกช​อบ​เป็นอ​ ย่างไร​เล่า

100
อิธะ ภิกขะเว ภิกขุ
ดูก​ ่อน​ภิกษุท​ ั้ง​หลาย ภิกษุใ​น​ธรรม​วินัยน​ ี้
กาเย กา​ยา​นปุ​ ัส​สี วิห​ ะ​ระ​ติ
ย่อม​เป็น​ผพู้​ ิจารณา​เห็น​กาย​ใน​กาย​อยู่​เป็น​ประจำ�
อา​ตาปี สัม​ปะ​ชา​โน สะ​ตมิ​ า, วิเ​นย​ยะ โล​เก
อะภิชฌา​โท​มะ​นัสสัง
มี​ความ​เพียร​เครื่อง​เผา​กิเลส มี​สัมปชัญญะ มี​สติ
ถอน​ความ​พอใจ​และ​ความ​ไม่พ​ อใจ​ใน​โลก​ออก​เสียไ​ด้
เวท​ะน​ า​สุ เวท​ะน​ า​นปุ​ ัส​สี วิห​ ะ​ระ​ติ
ย่อม​เป็น​ผู้​พิจารณา​เห็น​เวทนา​ใน​เวทนา​ทั้ง​หลาย
อยูเ่​ป็น​ประจำ�
อา​ตาปี สัม​ปะ​ชา​โน สะ​ตมิ​ า, วิเ​นย​ยะ โล​เก
อะภิชฌา​โท​มะ​นัสสัง
มี​ความ​เพียร​เครื่อง​เผา​กิเลส มี​สัมปชัญญะ มี​สติ
ถอน​ความ​พอใจ​และ​ความ​ไม่พ​ อใจ​ใน​โลก​ออก​เสียไ​ด้
จิตเ​ต จิตต​ า​นปุ​ ัส​สี วิห​ ะ​ระ​ติ
ย่อม​เป็น​ผพู้​ ิจารณา​เห็น​จิต​ใน​จิตอ​ ยูเ่​ป็น​ประจำ�
อา​ตาปี สัม​ปะ​ชา​โน สะ​ตมิ​ า, วิเ​นย​ยะ โล​เก
อะภิชฌา​โท​มะ​นัสสัง
มี​ความ​เพียร​เครื่อง​เผา​กิเลส มี​สัมปชัญญะ มีส​ ติ
ถอน​ความ​พอใจ​และ​ความ​ไม่พ​ อใจ​ใน​โลก​ออก​เสีย​ได้

101
ธัม​เม​สุ ธัม​มา​นปุ​ ัส​สี วิห​ ะ​ระ​ติ
ย่อม​เป็น​ผพู้​ ิจารณา​เห็น​ธรรม​ใน​ธรรม​ทั้ง​หลาย
อยูเ่​ป็น​ประจำ�
อา​ตาปี สัม​ปะ​ชา​โน สะ​ตมิ​ า, วิเ​นย​ยะ โล​เก
อะภิชฌา​โท​มะ​นัสสัง
มี​ความ​เพียร​เครื่อง​เผา​กิเลส มี​สัมปชัญญะ มี​สติ
ถอน​ความ​พอใจ​และ​ความ​ไม่พ​ อใจ​ใน​โลก​ออก​เสียไ​ด้
อะ​ยัง วุจจ​ะ​ติ ภิกขะเว สัมมา​สะ​ติ
ดูก​อ่ น​ภกิ ษุท​ ง้ั ห​ ลาย อันน​ เ​้ี รา​กล่าว​วา
่ ความ​ระลึกช​อบ
กะ​ตะ​โม จะ ภิกขะเว สัมมา​สะ​มาธิ
ดูก​อ่ น​ภกิ ษุท​ง้ั ห​ ลาย ความ​ตง้ั ใจ​มน่ั ช​อบ​เป็นอ​ ย่างไร​เล่า
อิธะ ภิกขะเว ภิกขุ
ดูก​ ่อน​ภิกษุท​ ั้ง​หลาย ภิกษุใ​น​ธรรม​วินัยน​ ี้
วิวิจเ​จ​วะ กา​เมหิ
สงัด​แล้วจ​าก​กาม​ทั้ง​หลาย
วิวิจจ​ะ อะ​กสุ​ ะ​เลหิ ธัม​เมหิ
สงัด​แล้วจ​าก​ธรรม​ที่​เป็น​อกุศล​ทั้ง​หลาย
สะ​วติ​ ักก​ ัง สะ​วจิ​า​รัง วิ​เวก​ะช​ ัง ปีติ​สุ​ขัง ปะฐะมัง
ฌานัง​ อุ​ปะ​สัมปัช​ชะ วิห​ ะ​ระ​ติ
เข้า​ถงึ ​ปฐมฌาน ประกอบ​ดว้ ย​วติ ก​วจิ าร มี​ปตี ​แิ ละ​สขุ
อันเ​กิดจ​าก​วิเวก แล้วแ​ ล​อยู่

102
วิต​ ักกะ​วจิ​า​รานั​ง วูป​ ะ​สะ​มา
เพราะ​ความ​ที่​วิตก​วิจาร​ทั้ง​สอง​ระงับ​ลง
อัชฌัตต​ ัง สัม​ปะ​สา​ทะ​นัง เจ​ตะโส, เอ​โก​ทิ​ภา​วัง,
อะ​วติ​ ักก​ ัง อะ​วจิ​า​รัง, สะ​มา​ธิ​ชัง ปีติ​สุ​ขัง ทุ​ตยิ​ ัง
ฌานัง​ อุ​ปะ​สัมปัช​ชะ วิห​ ะ​ระ​ติ
เข้า​ถึงท​ ุติยฌ ​ าน เป็นเ​ครื่อง​ผ่องใส​แห่ง​ใจ​ภายใน
ให้​สมาธิ​เป็น​ธรรม​อนั ​เอก​ผดุ ​ม​ขี น้ึ ไม่ม​วี ติ ก​ไม่ม​วี จิ าร
มี​แต่ป​ ีตแิ​ ละ​สุข​อันเ​กิดจ​าก​สมาธิ แล้ว​แล​อยู่
ปีตยิ​ า จะ วิร​าคา
อนึ่ง​เพราะ​ความ​จาง​คลาย​ไป​แห่ง​ปีติ
อุ​เปก​ขะ​โก จะ วิห​ ะ​ระ​ติ, สะ​โต จะ สัมป​ ะ​ชา​โน
ย่อม​เป็น​ผอู้​ ยูอ่​ ุเบกขา มี​สติแ​ ละ​สัมปชัญญะ
สุขั​ญจ​ะ กา​เยน​ะ ปะฏิสังเว​เท​ติ
และ​ย่อม​เสวย​ความ​สุข​ด้วย​นาม​กาย
ยันต​ ัง อะ​ริ​ยา อา​จิกข​ ันติ, อุเ​ปก​ขะ​โก สะ​ตมิ​ า
สุข​ะว​หิ​ า​รี​ติ
ชนิดท​ ี่​พระ​อริย​เจ้า​ทั้ง​หลาย ย่อม​กล่าว​สรรเสริญ
ผูน้​ ั้นว​่า เป็นผ​ ู้​อยูอ่​ ุเบกขา มี​สติ​อยูเ่​ป็น​ปกติส​ ุข
ดังนี้
ตะ​ตยิ​ ัง ฌานัง​ อุ​ปะ​สัมปัช​ชะ วิห​ ะ​ระ​ติ
เข้า​ถึงต​ ติยฌ ​ าน แล้วแ​ ล​อยู่

103
สุขั​ส​สะ จะ ปะ​หา​นา
เพราะ​ละ​สุข​เสีย​ได้
ทุกขั​ส​สะ จะ ปะ​หา​นา
และ​เพราะ​ละ​ทุกข์​เสีย​ได้
ปุ​พ​เพ​วะ โสม​ะนัสส​ ะ​โท​มะ​นัส​สานั​ง อัตถ​ ัง​คะ​มา
เพราะ​ความ​ดับ​ไป​แห่ง​โสมนัส​และ​โทมนัส​ทั้ง​สอง
ใน​กาล​ก่อน
อะ​ทุกข​ะม​ ะ​สุ​ขัง อุ​เปก​ขา​สะ​ติปา​ริ​สุ​ทธิ​ง,
จะ​ตตุ​ ถ​ ัง ฌานัง​ อุ​ปะ​สัมปัช​ชะ วิห​ ะ​ระ​ติ
เข้า​ถึงจ​ตุตถ​ฌาน ไม่มที​ ุกข์ไ​ม่มี​สุข มี​แต่ค​ วาม​ที่​สติ
เป็น​ธรรมชาติ​บริสุทธิ์​เพราะ​อุเบกขา แล้ว​แล​อยู่
อะ​ยัง วุจจ​ะ​ติ ภิกขะเว สัมมา​สะ​มาธิ
ดูก​ ่อน​ภิกษุท​ ั้ง​หลาย อัน​นเี้​รา​กล่าว​ว่า
ความ​ตั้งใจ​มั่นช​ อบ

104
อา​นา​ปาน​สติส​ ูตร
หันท​ ะ มะ​ยัง อา​นา​ปานะ​สะ​ตปิ​ าฐั​ง ภะณา​มะ เส

อา​นา​ปานะ​สะ​ติ ภิกขะเว ภา​วติ​ า พะ​หุ​ลี​กะ​ตา


ดูก​ ่อน​ภิกษุท​ ั้ง​หลาย
อา​นา​ปาน​สติอ​ ัน​บุคคล​เจริญ​แล้วท​ ำ�ให้​มาก​แล้ว
มะ​หัป​ผะ​ลา โห​ติ มะ​หา​นสิ​ ัง​สา
ย่อม​มี​ผล​ใหญ่ มี​อานิสงส์​ใหญ่
อา​นา​ปานะ​สะ​ติ ภิกขะเว ภา​วติ​ า พะ​หุ​ลี​กะ​ตา
ดูก​ ่อน​ภิกษุท​ ั้ง​หลาย
อา​นา​ปาน​สติอ​ ัน​บุคคล​เจริญ​ทำ�ให้​มาก​แล้ว
จัตต​ า​โร สะ​ตปิ​ ัฏ​ฐาเน ปะ​ริ​ปู​เรน​ติ
ย่อม​ทำ�​สติ​ปัฏ​ฐาน​ทั้ง​สี่​ให้​บริบูรณ์
จัตต​ า​โร สะ​ตปิ​ ัฏ​ฐาน​า ภา​วติ​ า พะ​หุ​ลี​กะ​ตา
สติป​ ัฏ​ฐาน​ทั้ง​สี่​อันบ​ ุคคล​เจริญ​ทำ�ให้​มาก​แล้ว
สัตตะ โพชฌังเค ปะ​ริ​ปู​เรน​ติ
ย่อม​ทำ�​โพชฌงค์​ทั้ง​เจ็ด​ให้​บริบูรณ์
สัตตะ โพชฌังค​ า ภา​วติ​ า พะ​หุ​ลี​กะ​ตา
โพชฌงค์​ทั้ง​เจ็ดอ​ ัน​บุคคล​เจริญ​ทำ�ให้​มาก​แล้ว
วิชชา วิมุตต​ ิง ปะ​ริ​ปู​เรน​ติ
ย่อม​ทำ�​วิชชา​และ​วมิ​ ุตใิ​ห้​บริบูรณ์
105
กะ​ถัง ภา​วติ​ า จะ ภิกขะเว อา​นา​ปานะ​สะ​ติ,
กะ​ถัง พะ​หุ​ลี​กะ​ตา
ดูก​ ่อน​ภิกษุท​ ั้ง​หลาย
ก็อ​ า​นา​ปาน​สติอ​นั บ​ คุ คล​เจริญท​ ำ�ให้ม​ าก​แล้วอ​ ย่างไร​เล่า
มะ​หัป​ผะ​ลา โห​ติ มะ​หา​นสิ​ ัง​สา
จึง​มี​ผล​ใหญ่ มี​อานิสงส์​ใหญ่
อิธะ ภิกขะเว ภิกขุ
ดูก​ ่อน​ภิกษุท​ ั้ง​หลาย ภิกษุใ​น​ธรรม​วินัยน​ ี้
อะรัญญะ​คะ​โต วา
ไป​แล้วส​ ู่​ป่า​ก็ตาม
รุกข​ะม​ ูล​ะค​ ะ​โต วา
ไป​แล้วส​ ู่​โคน​ไม้​ก็ตาม
สุญญ ​ า​คา​ระ​คะ​โต วา
ไป​แล้วส​ ู่​เรือน​ว่าง​ก็ตาม
นิส​ ี​ทะ​ติ ปัลล​ ัง​กัง อา​ภุชิ​ตวฺ​า
นั่ง​คขู้​ า​เข้า​มา​โดย​รอบ​แล้ว
อุ​ชุง กา​ยัง ปะณิธา​ยะ, ปะ​ริ​มุ​ขัง สะ​ติง อุ​ปัฏ​ฐะ​เปตฺ​วา
ตั้ง​กาย​ตรง ดำ�รง​สติม​ ั่น
โส สะ​โต วะ อัสสะ​สะ​ติ, สะ​โต ปัส​สะ​สะ​ติ
ภิกษุน​ ั้น เป็นผ​ มู้​ ี​สติอ​ ยูน่​ ั้นเ​ทียว
หายใจ​เข้า มี​สติอ​ ยู่ หายใจ​ออก

106
ทีฆงั​ วา อัสสะ​สัน​โต, ทีฆงั​ อัสสะ​สามี​ติ ปะ​ชา​นา​ติ
ภิกษุน​ ั้น เมื่อห​ ายใจ​เข้า​ยาว ก็ร​ู้สึก​ตัวท​ ั่วถ​ ึงว่า
เรา​หายใจ​เข้า​ยาว ดังนี้
ทีฆงั​ วา ปัส​สะ​สัน​โต, ทีฆงั​ ปัส​สะ​สามี​ติ ปะ​ชา​นา​ติ
เมื่อ​หายใจ​ออก​ยาว ก็ร​ู้สึก​ตัวท​ ั่วถ​ ึงว่า
เรา​หายใจ​ออก​ยาว ดังนี้
รัส​สัง วา อัสสะ​สัน​โต, รัส​สัง อัสสะ​สามี​ติ ปะ​ชา​นา​ติ
ภิกษุน​ ั้น เมื่อห​ ายใจ​เข้า​สั้น ก็ร​ู้สึก​ตัวท​ ั่วถ​ ึงว่า
เรา​หายใจ​เข้า​สั้น ดังนี้
รัส​สัง วา ปัส​สะ​สัน​โต, รัส​สัง ปัส​สะ​สามี​ติ ปะ​ชา​นา​ติ
เมื่อ​หายใจ​ออก​สั้น ก็ร​ู้สึก​ตัวท​ ั่วถ​ ึงว่า
เรา​หายใจ​ออก​สั้น ดังนี้
สัพพะ​กา​ยะ​ปะฏิสัง​เวที อัส​สะ​สิ​ส​สามี​ติ สิกขะ​ติ
ภิกษุน​ ั้น ย่อม​ทำ�​ใน​บท​ศึกษา​ว่า
เรา​เป็น​ผรู้​ู้​พร้อม​เฉพาะ​ซึ่ง​กาย​ทั้ง​ปวง
จักห​ ายใจ​เข้า ดังนี้
สัพพะ​กา​ยะ​ปะฏิสัง​เวที ปัส​สะ​สิ​ส​สามี​ติ สิกขะ​ติ
ย่อม​ทำ�​ใน​บท​ศึกษา​ว่า
เรา​เป็น​ผรู้​ู้​พร้อม​เฉพาะ​ซึ่ง​กาย​ทั้ง​ปวง
จักห​ ายใจ​ออก ดังนี้

107
ปัสสัมภะ​ยัง กา​ยะ​สังขารั​ง อัส​สะ​สิ​ส​สามี​ติ สิกขะ​ติ
ภิกษุน​ ั้น ย่อม​ทำ�​ใน​บท​ศึกษา​ว่า
เรา​เป็น​ผทู้​ ำ�​กาย​สังขาร​ให้​รำ�งับ​อยู่
จักห​ ายใจ​เข้า ดังนี้
ปัสสัมภะ​ยัง กา​ยะ​สังขารั​ง ปัส​สะ​สิ​ส​สามี​ติ สิกขะ​ติ
ย่อม​ทำ�​ใน​บท​ศึกษา​ว่า
เรา​เป็น​ผทู้​ ำ�​กาย​สังขาร​ให้​รำ�งับ​อยู่
จักห​ ายใจ​ออก ดังนี้
ปี​ตปิ​ ะฏิสัง​เวที อัส​สะ​สิ​ส​สามี​ติ สิกขะ​ติ
ภิกษุน​ ั้น ย่อม​ทำ�​ใน​บท​ศึกษา​ว่า
เรา​เป็นผ​ ร​ู้ พ​ู้ ร้อม​เฉพาะ​ซงึ่ ป​ ตี ิ จักห​ ายใจ​เข้า ดังนี้
ปี​ตปิ​ ะฏิสัง​เวที ปัส​สะ​สิ​ส​สามี​ติ สิกขะ​ติ
ย่อม​ทำ�​ใน​บท​ศึกษา​ว่า
เรา​เป็น​ผู้​รู้​พร้อม​เฉพาะ​ซึ่ง​ปีติ
จัก​หายใจ​ออก ดังนี้
สุข​ะป​ ะฏิสัง​เวที อัส​สะ​สิ​ส​สามี​ติ สิกขะ​ติ
ภิกษุน​ ั้น ย่อม​ทำ�​ใน​บท​ศึกษา​ว่า
เรา​เป็นผ​ ร​ู้ พ​ู้ ร้อม​เฉพาะ​ซงึ่ ส​ ขุ จักห​ ายใจ​เข้า ดังนี้
สุข​ะป​ ะฏิสัง​เวที ปัส​สะ​สิ​ส​สามี​ติ สิกขะ​ติ
ย่อม​ทำ�​ใน​บท​ศึกษา​ว่า
เรา​เป็นผ​ ร​ู้ พ​ู้ ร้อม​เฉพาะ​ซงึ่ ส​ ขุ จักห​ ายใจ​ออก ดังนี้

108
จิตต​ ะ​สังขาร​ะป​ ะฏิสัง​เวที อัส​สะ​สิ​ส​สามี​ติ สิกขะ​ติ
ภิกษุน​ ั้น ย่อม​ทำ�​ใน​บท​ศึกษา​ว่า
เรา​เป็น​ผรู้​ู้​พร้อม​เฉพาะ​ซึ่ง​จิตต​สังขาร
จักห​ ายใจ​เข้า ดังนี้
จิตต​ ะ​สังขาร​ะป​ ะฏิสัง​เวที ปัส​สะ​สิ​ส​สามี​ติ สิกขะ​ติ
ย่อม​ทำ�​ใน​บท​ศึกษา​ว่า
เรา​เป็น​ผรู้​ู้​พร้อม​เฉพาะ​ซึ่ง​จิตต​สังขาร
จักห​ ายใจ​ออก ดังนี้
ปัสสัมภะ​ยัง จิตต​ ะ​สังขารั​ง อัส​สะ​สิ​ส​สามี​ติ สิกขะ​ติ
ภิกษุน​ ั้น ย่อม​ทำ�​ใน​บท​ศึกษา​ว่า
เรา​เป็น​ผทู้​ ำ�​จิตต​สังขาร​ให้​รำ�งับ​อยู่
จักห​ ายใจ​เข้า ดังนี้
ปัสสัมภะ​ยัง จิตต​ ะ​สังขารั​ง ปัส​สะ​สิ​ส​สามี​ติ สิกขะ​ติ
ย่อม​ทำ�​ใน​บท​ศึกษา​ว่า
เรา​เป็น​ผทู้​ ำ�​จิตต​สังขาร​ให้​รำ�งับ​อยู่
จักห​ ายใจ​ออก ดังนี้
จิตต​ ะ​ปะฏิสัง​เวที อัส​สะ​สิ​ส​สามี​ติ สิกขะ​ติ
ภิกษุน​ ั้น ย่อม​ทำ�​ใน​บท​ศึกษา​ว่า
เรา​เป็น​ผ​รู้ ​พู้ ร้อม​เฉพาะ​ซง่ึ ​จติ จัก​หายใจ​เข้า ดังนี้
จิตต​ ะ​ปะฏิสัง​เวที ปัส​สะ​สิ​ส​สามี​ติ สิกขะ​ติ
ย่อม​ทำ�​ใน​บท​ศึกษา​ว่า
เรา​เป็น​ผ​รู้ ​พู้ ร้อม​เฉพาะ​ซง่ึ ​จติ จัก​หายใจ​ออก ดังนี้
109
อะภิป​ปะ​โม​ทะ​ยัง จิตต​ ัง อัส​สะ​สิ​ส​สามี​ติ สิกขะ​ติ
ภิกษุน​ ั้น ย่อม​ทำ�​ใน​บท​ศึกษา​ว่า
เรา​เป็น​ผทู้​ ำ�​จิต​ให้​ปราโมทย์​ยิ่ง​อยู่
จักห​ ายใจ​เข้า ดังนี้
อะภิป​ปะ​โม​ทะ​ยัง จิตต​ ัง ปัส​สะ​สิ​ส​สามี​ติ สิกขะ​ติ
ย่อม​ทำ�​ใน​บท​ศึกษา​ว่า
เรา​เป็น​ผทู้​ ำ�​จิต​ให้​ปราโมทย์​ยิ่ง​อยู่
จักห​ ายใจ​ออก ดังนี้
สะ​มา​ทะ​หัง จิตต​ ัง อัส​สะ​สิ​ส​สามี​ติ สิกขะ​ติ
ภิกษุน​ ั้น ย่อม​ทำ�​ใน​บท​ศึกษา​ว่า
เรา​เป็น​ผทู้​ ำ�​จิต​ให้​ตั้งม​ ั่นอ​ ยู่ จักห​ ายใจ​เข้า ดังนี้
สะ​มา​ทะ​หัง จิตต​ ัง ปัส​สะ​สิ​ส​สามี​ติ สิกขะ​ติ
ย่อม​ทำ�​ใน​บท​ศึกษา​ว่า
เรา​เป็น​ผทู้​ ำ�​จิต​ให้​ตั้งม​ ั่นอ​ ยู่ จักห​ ายใจ​ออก ดังนี้
วิโ​ม​จะ​ยัง จิตต​ ัง อัส​สะ​สิ​ส​สามี​ติ สิกขะ​ติ
ภิกษุน​ ั้น ย่อม​ทำ�​ใน​บท​ศึกษา​ว่า
เรา​เป็น​ผทู้​ ำ�​จิต​ให้​ปล่อย​อยู่ จักห​ ายใจ​เข้า ดังนี้
วิโ​ม​จะ​ยัง จิตต​ ัง ปัส​สะ​สิ​ส​สามี​ติ สิกขะ​ติ
ย่อม​ทำ�​ใน​บท​ศึกษา​ว่า
เรา​เป็น​ผทู้​ ำ�​จิต​ให้​ปล่อย​อยู่ จักห​ ายใจ​ออก ดังนี้

110
อะ​นิจจ​า​นปุ​ ัส​สี อัส​สะ​สิ​ส​สามี​ติ สิกขะ​ติ
ภิกษุน​ ั้น ย่อม​ทำ�​ใน​บท​ศึกษา​ว่า
เรา​เป็น​ผตู้​ าม​เห็น​ซึ่ง​ความ​ไม่​เที่ยง​อยูเ่​ป็น​ประจำ�
จักห​ ายใจ​เข้า ดังนี้
อะ​นิจจ​า​นปุ​ ัส​สี ปัส​สะ​สิ​ส​สามี​ติ สิกขะ​ติ
ย่อม​ทำ�​ใน​บท​ศึกษา​ว่า
เรา​เป็น​ผตู้​ าม​เห็น​ซึ่ง​ความ​ไม่​เที่ยง​อยูเ่​ป็น​ประจำ�
จักห​ ายใจ​ออก ดังนี้
วิร​า​คา​นปุ​ ัส​สี อัส​สะ​สิ​ส​สามี​ติ สิกขะ​ติ
ภิกษุน​ ั้น ย่อม​ทำ�​ใน​บท​ศึกษา​ว่า
เรา​เป็น​ผตู้​ าม​เห็น​ซึ่ง​ความ​จาง​คลาย​อยู่​เป็น​ประจำ�
จักห​ ายใจ​เข้า ดังนี้
วิร​า​คา​นปุ​ ัส​สี ปัส​สะ​สิ​ส​สามี​ติ สิกขะ​ติ
ย่อม​ทำ�​ใน​บท​ศึกษา​ว่า
เรา​เป็น​ผตู้​ าม​เห็น​ซึ่ง​ความ​จาง​คลาย​อยู่​เป็น​ประจำ�
จักห​ ายใจ​ออก ดังนี้
นิโ​รธ​า​นปุ​ ัส​สี อัส​สะ​สิ​ส​สามี​ติ สิกขะ​ติ
ภิกษุน​ ั้น ย่อม​ทำ�​ใน​บท​ศึกษา​ว่า
เรา​เป็น​ผตู้​ าม​เห็น​ซึ่ง​ความ​ดับ​ไม่​เหลือ​อยูเ่​ป็น​ประจำ�
จักห​ ายใจ​เข้า ดังนี้

111
นิโ​รธ​า​นปุ​ ัส​สี ปัส​สะ​สิ​ส​สามี​ติ สิกขะ​ติ
ย่อม​ทำ�​ใน​บท​ศึกษา​ว่า
เรา​เป็น​ผตู้​ าม​เห็น​ซึ่ง​ความ​ดับ​ไม่​เหลือ​อยูเ่​ป็น​ประจำ�
จักห​ ายใจ​ออก ดังนี้
ปะฏิ​นสิ​ ​สัค​คา​นปุ​ ัส​สี อัส​สะ​สิ​ส​สามี​ติ สิกขะ​ติ
ภิกษุน​ ั้น ย่อม​ทำ�​ใน​บท​ศึกษา​ว่า
เรา​เป็น​ผตู้​ าม​เห็น​ซึ่ง​ความ​สลัด​คืนอ​ ยู่​เป็น​ประจำ�
จักห​ ายใจ​เข้า ดังนี้
ปะฏิ​นสิ​ ​สัค​คา​นปุ​ ัส​สี ปัส​สะ​สิ​ส​สามี​ติ สิกขะ​ติ
ย่อม​ทำ�​ใน​บท​ศึกษา​ว่า
เรา​เป็น​ผตู้​ าม​เห็น​ซึ่ง​ความ​สลัด​คืนอ​ ยู่​เป็น​ประจำ�
จักห​ ายใจ​ออก ดังนี้
เอวัง ภา​วติ​ า โข ภิกขะเว อา​นา​ปานะ​สะ​ติ เอวัง
พะ​หุ​ลี​กะ​ตา
ดู​กอ่ น​ภกิ ษุ​ทง้ั ​หลาย อา​นา​ปาน​สติ​อนั ​บคุ คล​เจริญ​แล้ว
ทำ�ให้​มาก​แล้ว อย่าง​นแี้​ ล
มะ​หัป​ผะ​ลา โห​ติ มะ​หา​นสิ​ ัง​สา
ย่อม​มี​ผล​ใหญ่ มี​อานิสงส์​ใหญ่
อิ​ติ
ด้วย​ประการ​ฉะนีแ้​ ล

112
มงคล​สูตร
(ทาง​แห่ง​ความ​เจริญ)
หันท​ ะ มะ​ยัง มัง​คะ​ละ​สุตต​ ะ​ปาฐั​ง ภะณา​มะ เส

พะ​หู เท​วา มะ​นสุ​ ​สา จะ มัง​คะ​ลา​นิ อะ​จินต​ะย​ ุง


อา​กังข​ ะ​มา​นา โสต​ถานัง​ พฺ​รูหิ มัง​คะ​ละ​มุตต​ ะ​มัง
บุคคล​ผหู้​ นึ่ง​ได้ก​ ราบทูล​ถาม​พระ​ผู้​มี​พระ​ภาค​เจ้า​ว่า
หมู่​เทวดา​และ​มนุษย์ท​ ั้ง​หลาย มุ่ง​หมายความ​เจริญ
ก้าวหน้าแ​ ล้ว แต่ส​ ิ่ง​ใด​เล่า​คือม​ งคล​อันแ​ ท้จริง
ขอ​พระองค์​ทรง​บอก​ทาง​มงคล​อันส​ ูงสุด​เถิด
พระ​ผู้​มี​พระ​ภาค​เจ้า​ทรง​ตรัส​ตอบ​ดังนีว้​่า
อะ​เส​วะ​นา จะ พา​ลานั​ง
การ​ไม่​คบ​คน​พาล
ปัณฑิ​ตานัญ ​ จ​ะ เส​วะ​นา
การ​คบ​บัณฑิต
ปูชา จะ ปู​ชะ​นยี​ านัง​
การ​บูชา​ต่อบ​ ุคคล​ที่​ควร​บูชา
เอ​ตัมมัง​คะ​ละ​มุตต​ ะ​มัง
กิจเ​หล่า​นเี้​ป็น​มงคล​อัน​สูงสุด
ปะฏิ​รู​ปะ​เท​สะ​วาโส จะ
การ​อยู่​ใน​ประเทศ​อันส​ มควร
113
ปุ​พ​เพ จะ กะ​ตะ​ปุ​ญญะ​ตา
การ​เป็น​ผทู้​ ำ�บุญ​ไว้ใ​น​กาล​ก่อน
อัตตะ​สัมมา​ปะณิธิ จะ
การ​ตั้ง​ตน​ไว้ช​ อบ
เอ​ตัมมัง​คะ​ละ​มุตต​ ะ​มัง
กิจเ​หล่า​นเี้​ป็น​มงคล​อัน​สูงสุด
พาหุ​สัจ​จัญจ​ะ
การ​เป็น​ผไู้​ด้ยิน​ได้ฟ​ ัง​มาก
สิ​ปปัญจ​ะ
การ​มี​ศิลปวิทยา
วิน​ ะ​โย จะ สุส​ ิกขิ​โต
วินัยท​ ี่​ศึกษา​ดีแล้ว
สุภา​สิ​ตา จะ ยา วาจา
วาจา​ที่​เป็น​สุภาษิต
เอ​ตัมมัง​คะ​ละ​มุตต​ ะ​มัง
กิจเ​หล่า​นเี้​ป็น​มงคล​อัน​สูงสุด
มาตา​ปิตอุ​ ุ​ปัฏ​ฐานั​ง
การ​บำ�รุง​เลี้ยง​มารดา​บิดา
ปุตตะ​ทา​รัสสะ สังค​ะโห
การ​สงเคราะห์​บุตร​และ​ภรรยา

114
อะ​นา​กุลา จะ กัมม​ ันตา
การ​งาน​ที่​ไม่​ยุ่งเหยิง​สับสน
เอ​ตัมมัง​คะ​ละ​มุตต​ ะ​มัง
กิจเ​หล่า​นเี้​ป็น​มงคล​อัน​สูงสุด
ทานั​ญจ​ะ
การ​บำ�เพ็ญ​ทาน
ธัมมะ​จะ​ริ​ยา จะ
การ​ประพฤติธ​ รรม
ญา​ตะ​กานัญ ​ จ​ะ สังค​ะโห
การ​สงเคราะห์​หมู่​ญาติมิตร
อะนะ​วัชช​ า​นิ กัมม​ า​นิ
การ​งาน​อันป​ ราศจาก​โทษ
เอ​ตัมมัง​คะ​ละ​มุตต​ ะ​มัง
กิจเ​หล่า​นเี้​ป็น​มงคล​อัน​สูงสุด
อาระ​ตี วิร​ะ​ตี ปา​ปา
การ​งด​เว้นจ​าก​บาปกรรม
มัช​ชะ​ปา​นา จะ สัญญะ​โม
การ​เหนี่ยว​รั้ง​ใจ​ไว้ไ​ม่​ดื่มน​ ้ำ�เมา
อัปปะ​มา​โท จะ ธัม​เม​สุ
การ​ไม่​ประมาท​ใน​ธรรม​ทั้ง​หลาย

115
เอ​ตัมมัง​คะ​ละ​มุตต​ ะ​มัง
กิจเ​หล่า​นเี้​ป็น​มงคล​อัน​สูงสุด
คา​ระ​โว จะ
ความ​เคารพ​อ่อนน้อม
นิว​า​โต จะ
ความ​อ่อนน้อม​ถ่อม​ตัว​ไม่​เย่อ​หยิ่ง
สันต​ ุฏฐี จะ
ความ​สันโดษ​ยินดีใ​น​ของ​ที่​มี​อยู่
กะ​ตัญญุต​ า
ความ​เป็น​คน​กตัญญู
กา​เลน​ะ ธัมมัส​สะ​วะ​นัง
การ​ฟัง​ธรรม​ตาม​กาล
เอ​ตัมมัง​คะ​ละ​มุตต​ ะ​มัง
กิจเ​หล่า​นเี้​ป็น​มงคล​อัน​สูงสุด
ขันต​ ี จะ
ความ​อดทน
โส​วะ​จัส​สะ​ตา
ความ​เป็น​คน​ว่าง​่าย​สอน​ง่าย
สะ​มะณานัญจ​ะ ทัสส​ ะ​นัง
การ​ได้พ​ บ​สมณะ​ผู้​สงบ​จาก​กิเลส

116
กา​เลน​ะ ธัมมะ​สากัจฉา
การ​สนทนา​ธรรม​กันต​ าม​กาล
เอ​ตัมมัง​คะ​ละ​มุตต​ ะ​มัง
กิจเ​หล่า​นเี้​ป็น​มงคล​อัน​สูงสุด
ตะ​โป จะ
มี​ความ​เพียร​เผา​กิเลส
พฺรัหฺมะ​จะ​ริ​ยัญจ​ะ
การ​ประพฤติพ​ รหมจรรย์
อะ​ริ​ยะ​สัจ​จา​นะ ทัสส​ ะ​นัง
การ​เห็น​อริยสัจ
นิพพาน​ะส​ ัจ​ฉกิ​ ิริยา จะ
การ​ทำ�ให้​แจ้ง​ซึ่ง​พระ​นิพพาน
เอ​ตัมมัง​คะ​ละ​มุตต​ ะ​มัง
กิจเ​หล่า​นเี้​ป็น​มงคล​อัน​สูงสุด
ผุฏฐัส​สะ โลก​ะธัมเ​มหิ จิต​ตัง ยัสส​ ะ นะ กัมป​ ะ​ติ
จิตข​ อง​ผใู้​ด​อัน​โลกธรรม๑ทั้ง​หลาย​ถูกต​ ้อง​แล้ว
ไม่​หวั่น​ไหว
อะ​โสกั​ง
เป็น​จิต​ไม่​เศร้า​โศก

อ่าน​ว่า  โลก-กะ-ธรรม

117
วิร​ะ​ชัง
เป็น​จิต​ไร้​ธุลี​กิเลส
เขมั​ง
เป็น​จิตอ​ ันเ​กษมศานต์
เอ​ตัมมัง​คะ​ละ​มุตต​ ะ​มัง
กิจเ​หล่า​นเี้​ป็น​มงคล​อัน​สูงสุด
เอ​ตา​ทิ​สา​นิ กัตวฺ​า​นะ สัพ​พัตถ​ ะ​มะ​ปะ​ราชิ​ตา,
สัพ​พัต​ถะ โสตถิง​ คัจฉ​ ันต​ ิ
ตันเ​ต​สัง มัง​คะ​ละ​มุตต​ ะ​มัง
หมู่​มนุษย์ท​ ั้ง​หลาย
ถ้า​ได้ก​ ระทำ�​มงคล​ทั้ง ๓๘ ประการ​นใี้​ห้​มี​ใน​ตน​แล้ว
จะ​เป็น​ผไู้​ม่​พ่าย​แพ้๑ใน​ที่​ทั้ง​ปวง

ย่อม​ถึงค​ วาม​สวัสดีใ​น​ทุกส​ ถาน


ทัง้ หมด​นเ​้ี ป็นม​ งคล คือเ​หตุใ​ห้ถ​งึ ค​ วาม​เจริญก​า้ วหน้า
อันส​ ูงสุด​ของ​มนุษย์ท​ ั้ง​หลาย​โดย​แท้
อิ​ติ
ด้วย​ประการ​ฉะนีแ้​ ล


ไม่​ถูกอ​ กุศล​ธรรม​ครอบงำ�

118
ปราภ​วสุต​ ต​ปาฐ​ะ
(ทาง​แห่ง​ความ​เสื่อม)
หันท​ ะ มะ​ยัง ปะ​ราภะ​วะ​สุต​ตะ​ปาฐั​ง ภะณา​มะ เส

สุวิชา​โน ภะ​วัง โห​ติ


ผู้เจริญเรารู้ได้ง่าย
สุวิชา​โน ปะ​ราภะ​โว
ผู้เสื่อมเราก็รู้ได้ง่าย
ธัมมะ​กา​โม ภะ​วัง โห​ติ
ผูใ้​คร่​ธรรม​เป็น​ผเู้​จริญ
ธัมมะ​เท​ส​สี ปะ​ราภะ​โว
ผูเ้​กลียด​ชัง​ธรรม​เป็น​ผเู้​สื่อม
อะ​สันต​ ัสส​ ะ ปิยา​ โหน​ติ นะ สันเ​ต กุร​ุ​เต ปิยงั​,
อะ​สะ​ตัง ธัมมัง โร​เจ​ติ ตัง ปะ​ราภะ​วะ​โต มุ​ขัง
เขา​นั้นท​ ำ�ความ​รัก​ใน​อ​สัตบุรุษ๑
ไม่​ทำ�ความ​รัก​ใน​สัตบุรุษ๒
เขา​ชอบใจ​ธร​รม​ใน​อ​สัตบุรุษ
ข้อ​นั้นเ​ป็น​ทาง​แห่ง​ความ​เสื่อม

อ่าน​ว่า อะ - สัด - บุ - ห​รุด

อ่าน​ว่า สัด - บุ - ห​รุด

119
นิทท​ าสี​ลี สะ​ภา​สี​ลี อะ​นุฏฐา​ตา จะ โย นะ​โร,
อะ​ละโส โกธะ​ปัญญา​โน ตัง ปะ​ราภะ​วะ​โต มุข​ ัง
ผูใ้​ด​เป็น​ผชู้​ อบ​นอน​หลับ ชอบ​พูด​คุย ไม่ข​ ยัน
เกียจคร้าน​การ​งาน และ​เป็น​คน​มัก​โกรธ
ข้อ​นั้นเ​ป็น​ทาง​แห่ง​ความ​เสื่อม
โย มา​ตะรัง ปิ​ตะรัง วา ชิณณะ​กัง คะ​ตะ​โยพ​พะ​นัง,
ปะ​หุ​สัน​โต นะ ภะ​ระ​ติ ตัง ปะ​ราภะ​วะ​โต มุ​ขัง
ผูใ้​ด​มี​ความ​สามารถ​อยู่ ไม่​เลี้ยง​ดบู​ ิดา​มารดา ผูช้​ รา
อันม​ ว​ี ยั ห​ นุม่ ผ​า่ น​ไป​แล้ว ข้อน​ น้ั เ​ป็นท​ าง​แห่งค​ วาม​เสือ่ ม
โย พฺราหฺมะณัง สะ​มะณัง วา อัญ​ญงั วาปิ วะณิพ​พะ​กงั ,
มุสา​วา​เท​นะ วัญเ​จ​ติ ตัง ปะ​ราภะ​วะ​โต มุ​ขัง
ผูใ้​ด​หลอก​ลวง​สมณะ​พราหมณ์
หลอก​แม้ว​ณิพก​คน​ขอทาน​อื่น​ใด​ด้วย​มุสา​วาท
ข้อ​นั้นเ​ป็น​ทาง​แห่ง​ความ​เสื่อม
ปะ​หุตะ​ว​ติ​ ​โต ปุ​ริโส สะ​หิรัญ​โญ สะ​โภ​ชะ​โน,
เอ​โก ภุญช​ะต​ ิ สา​ธู​นิ ตัง ปะ​ราภะ​วะ​โต มุ​ขัง
ผูใ้​ด​มี​ทรัพย์​มี​เงิน มี​ของ​เหลือ​กินเ​หลือ​ใช้
เขา​บริโภค​สิ่ง​ที่​ดีๆ นั้นแ​ ต่ผ​ เู้​ดียว
ข้อ​นั้นเ​ป็น​ทาง​แห่ง​ความ​เสื่อม

120
ชา​ตถิ​ ัทโธ ธะ​นะ​ถัทโธ โค​ตต​ ะ​ถัทโธ จะ โย นะ​โร,
สัญญา​ตมิ​ ะ​ตมิ​ ัญเญ​ติ ตัง ปะ​ราภะ​วะ​โต มุข​ ัง
ผูใ้​ด​หยิ่ง​เพราะ​ชาติก​ ำ�เนิด หยิ่งเ​พราะ​ทรัพย์
หยิ่ง​เพราะ​โคตร แล้วด​ หู​ มิ่น​ซึ่ง​ญาติข​ อง​ตน
ข้อ​นั้นเ​ป็น​ทาง​แห่ง​ความ​เสื่อม
อิตถีธ​ ุต​โต สุรา​ธุต​โต อักข​ะธ​ ุต​โต จะ โย นะ​โร,
ลัทธัง ลัทธัง วิ​นา​เส​ติ ตัง ปะ​ราภะ​วะ​โต มุ​ขัง
ผูใ้​ด​เป็น​นักเลง​หญิง นักเลง​สุรา และ​นักเลง
เล่น​การ​พนัน เขา​ได้ท​ ำ�ลาย​ทรัพย์​ที่​หา​ได้ม​ า
ให้​พินาศ​ฉิบหาย​ไป ข้อ​นั้นเ​ป็น​ทาง​แห่ง​ความ​เสื่อม
เสหิ ทา​เรหิ อะ​สันต​ ุฏโฐ เวสิยา​สุ ปะ​ทุส​สะ​ติ,
ทุส​สะ​ติ ปะ​ระ​ทา​เร​สุ ตัง ปะ​ราภะ​วะ​โต มุ​ขัง
ผูใ​้ ด​ไม่พ​ อใจ​รกั ใ​คร่ใ​น​ภรรยา​ตน กลับไ​ป​เทีย่ ว​ซกุ ซน
กับห​ ญิง​แพศยา และ​ลอบ​ทำ�​ชู้​กับภ​ รรยา​ของ​ผู้​อื่น
ข้อ​นั้นเ​ป็น​ทาง​แห่ง​ความ​เสื่อม
อะ​ตตี​ ะ​โยพ​พะ​โน โปโส อา​เนติ ติมพ​ ะ​รุต​ถะ​นิง,
ตัสส​ า อิสสา นะ สุ​ป​ปะ​ติ ตัง ปะ​ราภะ​วะ​โต มุ​ขัง
ชาย​แก่ผ​ มู้​ ี​วัยห​ นุ่มผ​ ่าน​ไป​แล้ว
ได้น​ ำ�​หญิง​สาว​น้อย​มา​เป็น​ภรรยา เขา​นอน​ไม่​หลับ
เพราะ​ความ​หึง​หวง​และ​ห่วง​อาลัย​ใน​หญิง​นั้น
ข้อ​นั้นเ​ป็น​ทาง​แห่ง​ความ​เสื่อม

121
อิตถิง โสณ​ฑิง วิกริ​ิณิง ปุ​ริ​สัง วาปิ ตา​ทิสัง,
อิส​สะ​ริ​ยัสฺ​มิง ฐะ​เปติ ตัง ปะ​ราภะ​วะ​โต มุข​ ัง
ชาย​ใด​ตง้ั ​หญิง​นกั เลง​ใช้​จา่ ย​สรุ ยุ่ สุรา่ ย​มา​เป็น​แม่​เรือน
และ​หรือ​หญิง​ใด​ตั้งช​ าย​นักเลง​ใช้​จ่าย​สุรุ่ยสุร่าย
มา​เป็น​พ่อ​เรือน ข้อ​นั้นเ​ป็น​ทาง​แห่ง​ความ​เสื่อม
อัป​ปะ​โภ​โค มะ​หา​ตัณฺโห ขัตต​ ิเย ชา​ยะ​เต กุเล,
โส จะ รัช​ชัง ปัตถะ​ยะ​ติ ตัง ปะ​ราภะ​วะ​โต มุ​ขัง
ผูใ้​ด​มี​โภค​ะน​ ้อย แต่ม​ ี​ความ​อยาก​ใหญ่
เกิดในตระกูลกษัตริย์ ปรารถนา​ราช​สมบัติ
ข้อ​นั้นเ​ป็น​ทาง​แห่ง​ความ​เสื่อม
เอ​เต ปะ​ราภะเว โล​เก ปัณฑิ​โต สะ​มะ​เวก​ขิ​ยะ,
อะ​ริ​โย ทัส​สะ​นะ​สัม​ปัน​โน สะ โล​เก ภะ​ชะ​เต สิ​วัง
ผูเ้​ป็น​บัญฑิตส​ ม​บูรณ์​ด้วย​ทัส​สนะ​อัน​ประเสริฐ
ได้เ​ห็น​เหตุ​แห่ง​ความ​เสื่อม​ทั้ง​หลาย​เหล่า​นั้นช​ ัดแ​ ล้ว
ท่าน​ย่อม​ละเว้นส​ ิ่ง​เหล่า​นเี้​สีย เมื่อ​เป็น​เช่น​นั้น
ท่าน​จึง​พบ​และ​เสพ​แต่โ​ลก​ซึ่ง​มี​แต่ค​ วาม​เจริญ
อิ​ติ
ดังนีแ้​ ล

122
มิตต​ า​มิตต​ ค​ าถา
หันท​ ะ มะ​ยัง มิตต​ า​มิตต​ ะ​คาถา​โย ภะณา​มะ เส
อัญญะ​ทัตถ​ หุ​ ะ​โร มิต​โต
มิตร​ปอกลอก๑นำ�​ไป​ทาง​เสื่อม​อย่าง​เดียว
โย จะ มิต​โต วะ​จปี​ ะ​ระ​โม
มิตร​ใด​ดแี​ ต่พ​ ูด๒
อะ​นปุ​ ​ปิยญ
ั​ จ​ะ โย อาหุ
มิตร​ใด​กล่าว​คำ�​ประจบ๓
อะ​ปา​เยสุ จะ โย สะ​ขา
มิตร​ใด​เป็น​เพื่อน​ชวน​ฉิบหาย๔
เอ​เต อะ​มิตเ​ต จัตต​ า​โร อิ​ติ วิญ
​ ญา​ยะ ปัณฑิโ​ต
บัณฑิต​พิจารณา​เห็น​ว่า คน​ทั้ง ๔ จำ�พวก​นี้
มิใช่​มิตร​แล้ว
อาระ​กา ปะ​ริ​วัชเ​ชย​ยะ
พึง​หลีก​เลี่ยง​เสีย​ให้​ห่าง​ไกล
มัคค​ ัง ปะฏิภะ​ยัง ยะ​ถา
เหมือน​คน​เดินท​ าง เว้น​ทาง​อัน​มี​ภัยเ​สีย​ฉะนั้น

คิดเ​อาแต่​ได้ฝ​ ่าย​เดียว, ยอม​เสีย​น้อย หวังเ​อา​ให้​มาก, เมื่อ​ตัวม​ ี​ภัย จึงม​ า​ช่วย​ทำ�​กิจ​ของ​เพื่อน,
คบ​เพื่อน เพราะ​เห็น​แก่ผ​ ล​ประโยชน์

ดีแ​ ต่ย​ ก​ของ​หมด​แล้วม​ า​พูด, ดีแ​ ต่อ​ ้าง​ของ​ยัง​ไม่มี​มา​พูด, สงเคราะห์​ด้วย​สิ่ง​หา​ประโยชน์ม​ ิได้,
เมื่อ​เพื่อน​มี​กิจ อ้าง​เหตุ​ขัดข้อง

จะ​ทำ�​ชั่วก​ เ็​ออออ, จะ​ทำ�​ดกี​ เ็​ออออ, ต่อ​หน้า​สรรเสริญ, ลับ​หลัง​นินทา

เพื่อน​ดื่มน​ ้ำ�เมา, เพื่อน​เที่ยว​กลาง​คืน, เพื่อน​ดกู​ าร​ละ​เล่น, เพื่อน​เล่น​การ​พนัน

123
อุ​ปะ​กา​โร จะ โย มิต​โต
ส่วน​มิตร​ใด​มี​อุปการะ๑
สุข​ะท​ ุก​โข จะ โย สะ​ขา
เพื่อน​ใด​ร่วม​ทุกข์​ร่วม​สุข๒กัน​ได้
อัตถ​ ักข​ า​ยี จะ โย มิต​โต
มิตร​ใด​แนะ​ประโยชน์ใ​ห๓้
โย จะ มิตต​ า​นกุ​ ัมป​ ะ​โก
และ​มิตร​ใด​มี​น้ำ�ใจ​อนุเคราะห์​เอ็นดู​ซึ่ง​มิตร๔
เอ​เตปิ มิตเ​ต จัตต​ า​โร อิ​ติ วิญ
​ ญา​ยะ ปัณฑิโ​ต
บัณฑิต​พิจารณา​เห็น​ว่า คน​ทั้ง ๔ จำ�พวก​นี้
เป็น​มิตรแท้​จริง​แล้ว
สักก​ ัจจ​ัง ปะ​ยริ​ุ​ปา​เสย​ยะ
พึง​เข้าไป​คบหา​โดย​เคารพ
มาตา ปุ​ตต​ ังว​ะ โอ​ระ​สัง
ให้​เหมือน​มารดา​กับบ​ ุตร​อันเ​ป็น​โอรส ฉะนั้น


เพื่อน​ประมาท ช่วย​รักษา​เพื่อน, เพื่อน​ประมาท ช่วย​รักษา​ทรัพย์สิน​เพื่อน, เมื่อ​มี​ภัย พึ่ง​พำ�นัก​ได้,
มี​กิจจ​ำ�เป็น ช่วย​ออก​ทรัพย์​ให้​เกินก​ ว่าท​ ี่​ออกปาก

บอก​ความ​ลับ​แก่เ​พื่อน, ปิดค​ วาม​ลับ​ของ​เพื่อน, มี​ภัยอ​ ันตราย ไม่​ทิ้ง, แม้​ชีวิตก​ ส็​ ละ​ให้​ได้

จะ​ทำ�​ชว่ั คอย​หา้ ม, คอย​แนะนำ� ให้​ตง้ั ​ใน​ความ​ด,ี  ให้​ได้​ฟงั  สิง่ ​ท​ไ่ี ม่เ​คย​ฟงั , บอก​ทาง​สขุ ​ทาง​สวรรค์​ให้

ทุกข์ ทุกข์ด​ ว้ ย, สุข สุขด​ ว้ ย, เขา​ตเ​ิ ตียน​เพือ่ น ช่วย​ยบั ยัง้ แ​ก้ใ​ห้, เขา​สรรเสริญเ​พือ่ น ช่วย​เสริมส​ นับสนุน

124
กรณียกิจ
หันท​ ะ มะ​ยัง กะ​ระณี​ยะ​กิจจะ​คาถา​โย ภะณา​มะ เส

กะ​ระณี​ยะ​มัตถ​ ะ​กสุ​ ะ​เลน​ะ ยันต​ ัง สันต​ ัง ปะ​ทัง


อะ​ภิส​ะเ​มจ​จะ
อัน​บคุ คล​ผ​ฉู้ ลาด​ใน​ประโยชน์ พึงท​ ำ�​กจิ ​ท​ท่ี า่ น​ผ​บู้ รรลุ​ถงึ
ซึ่ง​ทาง​อันส​ งบ​ได้ก​ ระทำ�​แล้ว
สัก​โก
พึง​เป็น​ผอู้​ งอาจ
อุ​ชู จะ
เป็น​ผู้​ซื่อตรง
สุ​หุ​ชู จะ
เป็น​ผู้​ซื่อตรง​อย่าง​ดดี​ ้วย
สุ​วะ​โจ จัส​สะ
เป็น​ผู้​ว่าง​่าย​สอน​ง่าย
มุทุ
เป็น​ผู้​อ่อน​โยน
อะนะ​ตมิ​ านี
เป็น​ผู้​ไม่​ดหู​ มิ่น​ผอู้​ ื่น
สันต​ สุ​ ​สะ​โก จะ
เป็น​ผู้​ยินดีด​ ้วย​ของ​อันม​ ี​อยูแ่​ ล้ว
125
สุภ​ะ​โร จะ
เป็น​ผู้​เลี้ยง​ง่าย
อัปปะ​กิจ​โจ จะ
เป็น​ผู้​มี​กิจการ​พอ​ประมาณ
สัล​ละ​หุ​กะ​วุตต​ ิ
ประพฤติต​ น​เป็น​ผู้​เบา​กาย​เบา​จิต
สันต​ นิ​ ทฺร​ิ​โย จะ
มี​อินทรีย์​อันส​ งบ​รำ�งับ
นิป​ ะ​โก จะ
มี​ปัญญา​รักษา​ตน​ได้
อัป​ปะ​คัพโภ
เป็น​ผู้​ไม่​คะนอง​กาย​วาจา
กุเ​ล​สุ อะนะ​นคุ​ ิทโธ
เป็น​ผู้​ไม่​ติดพัน​ใน​สกุล​ทั้ง​หลาย
นะ จะ ขุทท​ ัง สะ​มา​จะเร กิญจ​ิ
เยน​ะ วิญญู ปะเร อุป​ ะ​วะ​เทย​ยุง
วิญญูชน​พึง​ตเิ​ตียน​ชน​เหล่า​อื่น​ได้
ด้วย​การก​ระ​ทำ�​อย่าง​ใด เรา​ไม่พ​ งึ ก​ ระทำ�​การ​อย่าง​นนั้
แม้​เพียง​นิดห​ นึ่ง​แล

126
อา​รัก​ขกัมมัฏ​ฐาน
หัน​ทะ มะ​ยงั อา​รกั ข​ะกัมมัฏ​ฐานะ คาถา​โย ภะณา​มะ เส

พุทธ​า​นสุ​ ​สะ​ติ เมตตา จะ อะ​สุภ​ะ มะ​ระณัส​สะ​ติ,


อิจ​จมิ​ า จะ​ตรุ​า​รักขา กา​ตัพพ​ า จะ วิป​ ัส​สะ​นา
กัมมัฏ​ฐาน​ทั้ง ๔ นี้​คือ :-
พุทธ​า​นสุ​ ​สติ การ​ระลึกถ​งึ พ​ ระคุณข​อง​พระพุทธเจ้า
เมตตา การ​ปรารถนา​ให้​ผอู้​ ื่นเ​ป็นสุข
อสุภ​ะ การ​พิจารณา​กาย​ให้​เห็น​เป็น
ของ​ไม่​งาม
มรณั​ส​สติ การ​ระลึก​ถึงค​ วาม​ตาย
การ​ปฏิบตั ​ภิ าวนา​ทง้ั ๔ นี้ ชือ่ ​วา ่ อา​รกั ​ขกัมมัฏ​ฐาน
และ​วิปัสสนา​อันพ​ ึง​บำ�เพ็ญ
วิส​ ุทธ​ะธ​ ัมมะ​สัน​ตา​โน อะ​นุตต​ ะ​รา​ยะ โพธิ​ยา,
โยคะ​โต จะ ปะ​โพธ​า จะ พุท​ โธ พุ​ทโธ​ติ ญา​ยะ​เต
พระพุทธเจ้า​ทรง​มี​พระทัย​ที่​บริบูรณ์
ด้วย​พระ​ธรรม​อนั บ​ ริสทุ ธิ์ ทรง​เป็นผ​ ร​ู้ ผ​ู้ ต​ู้ นื่ ผ​ เ​ู้ บิกบ​ าน
มี​พระ​ปัญญา​ตรัสรู้​ธรรม​อันย​ อด​เยี่ยม
ทรง​ชกั นำ�​สง่ั ส​ อน​หมูม​่ นุษย์ใ​ห้ด​ ำ�เนินช​วี ติ อ​ ย่าง​ถกู ต​ อ้ ง

127
นะ​รา​นะ​ระ​ตริ​ัจฉา​นะ​เภท​า สัตต​ า สุเ​ข​สิ​โน,
สัพ​เพปิ สุขิ​โน โหน​ตุ สุขติ​ ัตต​ า จะ เข​มิ​โน
สัตว์ท​ ั้ง​หลาย ทั้ง​มนุษย์อ​ มนุษย์แ​ ละ​ดิรัจฉาน
ต่าง​เป็น​ผแู้​ สวงหา​ความ​สุข​ด้วย​กันท​ ั้ง​นั้น
ขอ​สัตว์ท​ ั้ง​หลาย​เหล่า​นั้น จง​เป็น​ผู้​มี​ความ​สุข
และ​เป็นผ​ม​ู้ ค​ี วาม​เบิกบ​ าน เพราะ​ถงึ ซ​ง่ึ ค​ วาม​สขุ น​ น้ั เ​ถิด
เก​สะ​โลมา​ทิ​ฉะ​วานัง​ อะ​ยะ​เม​วะ สะ​มุ​ส​สะ​โย,
กา​โย สัพ​โพปิ เช​คุจ​โฉ วัณณ ​ าทิ​โต ปะฏิ​กกุโล
กาย​นี้​แล เป็น​ที่​รวม​แห่ง​ซากศพ มี​ผม​ขน​เป็นต้น
ซึ่ง​ล้วน​แต่​เป็น​ของ​น่า​เบื่อ​หน่าย เป็น​ของ​ปฏิกูล
โดย​มี​สี​และ​กลิ่นอ​ ัน​น่าเ​กลียด​เป็นต้น
ชี​วติ​ นิ​ ทฺร​ิ​ยปุ​ ัจ​เฉ​ทะ สังข​า​ตะ​มะ​ระณัง สิ​ยา,
สัพ​เพสั​ง​ปีธะ ปาณี​นัง ตัณหิ ธุว​ัง นะ ชีว​ติ​ ัง
ความ​ตาย​คือค​ วาม​แตก​สลาย​แห่ง​ชีวิต
จะ​มี​แก่ส​ ัตว์ท​ ั้งหมด​ทั้ง​สิ้น​ใน​โลก​นี้
เพราะ​ว่าค​ วาม​ตาย​เป็น​ของ​เที่ยง
ชีวิตค​ วาม​เป็น​อยูเ่​ป็น​ของ​ไม่​เที่ยง ดังนี้​แล

128
อานิสงส์​เมตตา
หันท​ ะ มะ​ยัง เมตตา​เอกา​ทะ​สา​นสิ​ ัง​สะ คาถา​โย
ภะณา​มะ เส

เมตตา​ยะ ภิกขะเว เจ​โต​วิมุตติย​ า


ดูก​ ่อน​ภิกษุท​ ั้ง​หลาย
เมตตา​อันเ​ป็น​ไป​เพื่อ​ความ​หลุด​พ้น​แห่ง​จิตน​ ี้
อา​เส​วติ​ า​ยะ ภา​วติ​ า​ยะ
อันบ​ ุคคล​บำ�เพ็ญ​จน​คุ้นแ​ ล้ว ทำ�ให้​มาก​แล้ว
พะ​หุ​ลี​กะ​ตา​ยะ ยานีก​ ะ​ตา​ยะ
ทำ�ให้​มาก​คือช​ ำ�นาญ ให้​เป็น​ยวดยาน​ของ​ใจ
วัตถุก​ ะ​ตา​ยะ อะ​นุฏฐ​ิต​า​ยะ
ทำ�ให้​เป็น​ที่​อยูข่​ อง​ใจ ตั้ง​ไว้เ​ป็น​นิตย์
ปะ​ริ​จติ​ า​ยะ สุส​ ะ​มารั​ทธา​ยะ
อันบ​ ุคคล​สั่งสม​อบรม​แล้ว บำ�เพ็ญ​ดีแล้ว
เอกา​ทะ​สา​นสิ​ ัง​สา ปาฏิ​กังขา
ย่อม​มี​อานิสงส์​สิบ​เอ็ด​ประการ
กะ​ตะ​เม เอกา​ทะ​สะ
อานิสงส์​สิบ​เอ็ด​ประการ​อะไร​บ้าง

129
(๑) สุ​ขัง สุ​ปะ​ติ
คือผ​ ู้​เจริญ​เมตตา​จิตน​ ั้น หลับอ​ ยูก่​ เ็​ป็นสุข​สบาย
(๒) สุ​ขัง ปะฏิ​พุชฌะ​ติ
ตื่นข​ ึ้นก​ เ็​ป็นสุข​สบาย
(๓) นะ ปา​ปะกัง สุ​ปินัง ปัส​สะ​ติ
ไม่​ฝันร​้าย
(๔) มะ​นสุ​ ​สานั​ง ปิ​โย โห​ติ
เป็น​ที่รัก​ของ​เหล่า​มนุษย์ท​ ั้ง​หลาย
(๕) อะ​มะ​นสุ​ ​สานั​ง ปิ​โย โห​ติ
เป็น​ที่รัก​ของ​เหล่า​อมนุษย์ท​ ั่วไป
(๖) เทวะ​ตา รักข​ ันติ
เทวดา​ย่อม​คุ้มครอง​รักษา
(๗) นา​ส​สะ อัคคิ วา วิส​ ัง วา สัตถ​ ัง วา กะ​มะ​ติ
ไฟ​กด็​ ียา​พิษ​กด็​ ศี​ ัสตรา​กด็​ ี ย่อม​ทำ�​อันตราย​ไม่​ได้
(๘) ตุว​ะฏัง จิตต​ ัง สะ​มา​ธิ​ยะ​ติ
จิตย​ ่อม​เป็น​สมาธิ​ได้ร​วดเร็ว
(๙) มุข​ะว​ัณ​โณ วิ​ป​ปะ​สี​ทะ​ติ
ผิวห​ น้า​ย่อม​ผ่องใส
(๑๐) อะสัม​มุฬฺโห กา​ลัง กะ​โร​ติ
เป็น​ผู้​ไม่​ลุ่ม​หลง​ทำ�​กาลกิริยา​ตาย

130
(๑๑) อุ​ตต​ ะ​ริง อัป​ปะฏิ​วิชฌัน​โต
พฺรัหฺมะ​โลกู​ปะ​โค โห​ติ
เมื่อ​ยังไ​ม่​บรรลุ​คุณว​ิเศษ​อันย​ ิ่งๆ ขึ้น​ไป
ย่อม​เป็น​ผเู้​ข้า​ถึงพ​ รหม​โลก​แล
เมตตา​ยะ ภิกขะเว เจ​โต​วิมุตติย​ า
ดูก​ ่อน​ภิกษุท​ ั้ง​หลาย
เมตตา​อันเ​ป็น​ไป​เพื่อ​ความ​หลุด​พ้น​แห่ง​จิตน​ ี้
อา​เส​วติ​ า​ยะ ภา​วติ​ า​ยะ
อันบ​ ุคคล​บำ�เพ็ญ​จน​คุ้นแ​ ล้ว ทำ�ให้​มาก​แล้ว
พะ​หุ​ลี​กะ​ตา​ยะ ยานีก​ ะ​ตา​ยะ
ทำ�ให้​มาก​คือช​ ำ�นาญ ให้​เป็น​ยวดยาน​ของ​ใจ
วัตถุก​ ะ​ตา​ยะ อะ​นุฏฐ​ิต​า​ยะ
ทำ�ให้​เป็น​ที่​อยูข่​ อง​ใจ ตั้ง​ไว้เ​ป็น​นิตย์
ปะ​ริ​จติ​ า​ยะ สุส​ ะ​มารั​ทธา​ยะ
อันบ​ ุคคล​สั่งสม​อบรม​แล้ว บำ�เพ็ญ​ดีแล้ว
อิ​เม เอกา​ทะ​สา​นสิ​ ัง​สา ปาฏิ​กังขา
ย่อม​มี​อานิสงส์​สิบ​เอ็ด​ประการ
อิ​ติ
อย่าง​นแี้​ ล

131
จตุรปั​ ​ปมัญญา​โอภา​สน​ปาฐ​ะ
หันท​ ะ มะ​ยัง จตุรปั​ ​ปะ​มัญญา​โอภา​สะ​นะ​ปาฐั​ง
ภะณา​มะ เส

เมตตา สะ​หะ​คะ​เต​นะ เจ​ตะ​สา เอ​กัง ทิสัง ผริตวฺ​า


วิห​ ะ​ระ​ติ ตะ​ถา ทุต​ ยิ​ ัง ตะ​ถา ตะ​ตยิ​ ัง ตะ​ถา จตุตถัง​
อิ​ติ อุทธ​ ะ​มะโธ ติร​ิ​ยัง สัพ​พะธิ สัพ​พัต​ตะ​ตา​ยะ
สัพ​พา​วันต​ ัง โลกั​ง  เมตตา สะ​หะ​คะ​เต​นะ เจ​ตะ​สา
วิป​ ุ​เลน​ะ มะ​หัค​คะ​เต​นะ อัปป​ ะ​มา​เณ​นะ อะเวเร​นะ
อัพฺ​ยา​ปัชเฌ​นะ ผริตวฺ​า วิห​ ะ​ระ​ติ
มี​เมตตา​จิตแ​ ผ่ไ​ป ตลอด​ทิศท​ ี่ ๑ ทิศท​ ี่ ๒ ทิศท​ ี่ ๓
ทิศท​ ี่ ๔ ทิศ​เบื้อง​บน ทิศเ​บื้อง​ล่าง ทิศ​โดย​รอบ
แผ่ไ​ป​ตลอด ทั่ว​โลก​ทุกห​ มู่​เหล่า ใน​ที่​ทุกส​ ถาน
ด้วย​เมตตา​จิต​อัน​ไพบูลย์ เป็น​มหัคค​ตะ ไม่มี​ประมาณ
ไม่มี​เวร ไม่มี​ความ​เบียดเบียน ดังนีอ้​ ยู่
กรุณา สะ​หะ​คะ​เต​นะ เจ​ตะ​สา เอ​กัง ทิสัง ผริตฺ​วา
วิห​ ะ​ระ​ติ ตะ​ถา ทุต​ ยิ​ ัง ตะ​ถา ตะ​ตยิ​ ัง ตะ​ถา จตุตถัง​
อิ​ติ อุทธ​ ะ​มะโธ ติร​ิ​ยัง สัพ​พะธิ สัพ​พัต​ตะ​ตา​ยะ
สัพ​พา​วันต​ ัง โลกั​ง กรุณา สะ​หะ​คะ​เต​นะ เจ​ตะ​สา
วิป​ ุ​เลน​ะ มะ​หัค​คะ​เต​นะ อัปป​ ะ​มา​เณ​นะ อะเวเร​นะ
อัพฺ​ยา​ปัชเฌ​นะ ผริตวฺ​า วิห​ ะ​ระ​ติ
132
มี​กรุณา​จิตแ​ ผ่ไ​ป ตลอด​ทิศท​ ี่ ๑ ทิศท​ ี่ ๒ ทิศท​ ี่ ๓
ทิศท​ ี่ ๔ ทิศ​เบื้อง​บน ทิศเ​บื้อง​ล่าง ทิศ​โดย​รอบ
แผ่ไ​ป​ตลอด ทั่ว​โลก​ทุกห​ มู่​เหล่า ใน​ที่​ทุกส​ ถาน
ด้วย​กรุณา​จิตอ​ ัน​ไพบูลย์ เป็น​มหัคค​ตะ ไม่มปี​ ระมาณ
ไม่มี​เวร ไม่มี​ความ​เบียดเบียน ดังนีอ้​ ยู่
มุทิตา สะ​หะ​คะ​เต​นะ เจ​ตะ​สา เอ​กัง ทิสัง ผริตฺ​วา
วิห​ ะ​ระ​ติ ตะ​ถา ทุต​ ยิ​ ัง ตะ​ถา ตะ​ตยิ​ ัง ตะ​ถา จตุตถัง​
อิ​ติ อุทธ​ ะ​มะโธ ติร​ิ​ยัง สัพ​พะธิ สัพ​พัต​ตะ​ตา​ยะ
สัพ​พา​วันต​ ัง โลกั​ง  มุทิตา สะ​หะ​คะ​เต​นะ เจ​ตะ​สา
วิป​ ุ​เลน​ะ มะ​หัค​คะ​เต​นะ อัปป​ ะ​มา​เณ​นะ อะเวเร​นะ
อัพฺ​ยา​ปัชเฌ​นะ ผริตวฺ​า วิห​ ะ​ระ​ติ
มี​มุทิตา​จิตแ​ ผ่ไ​ป ตลอด​ทิศท​ ี่ ๑ ทิศท​ ี่ ๒ ทิศท​ ี่ ๓
ทิศท​ ี่ ๔ ทิศ​เบื้อง​บน ทิศเ​บื้อง​ล่าง ทิศ​โดย​รอบ
แผ่ไ​ป​ตลอด ทั่ว​โลก​ทุกห​ มู่​เหล่า ใน​ที่​ทุกส​ ถาน
ด้วย​มุทิตา​จิตอ​ ัน​ไพบูลย์ เป็น​มหัคค​ตะ ไม่มปี​ ระมาณ
ไม่มี​เวร ไม่มี​ความ​เบียดเบียน ดังนีอ้​ ยู่
อุ​เปก​ขา สะ​หะ​คะ​เต​นะ เจ​ตะ​สา เอ​กัง ทิสัง ผริตวฺ​า
วิห​ ะ​ระ​ติ ตะ​ถา ทุต​ ยิ​ ัง ตะ​ถา ตะ​ตยิ​ ัง ตะ​ถา จตุตถัง​
อิ​ติ อุทธ​ ะ​มะโธ ติร​ิ​ยัง สัพ​พะธิ สัพ​พัต​ตะ​ตา​ยะ
สัพ​พา​วันต​ ัง โลกั​ง  อุ​เปก​ขา สะ​หะ​คะ​เต​นะ เจ​ตะ​สา
วิป​ ุ​เลน​ะ มะ​หัค​คะ​เต​นะ อัปป​ ะ​มา​เณ​นะ อะเวเร​นะ
133
อัพฺ​ยา​ปัชเฌ​นะ ผริตวฺ​า วิห​ ะ​ระ​ตตี​ ิ
มี​อุเบกขา​จิตแ​ ผ่ไ​ป ตลอด​ทิศท​ ี่ ๑ ทิศท​ ี่ ๒ ทิศท​ ี่ ๓
ทิศท​ ี่ ๔ ทิศ​เบื้อง​บน ทิศเ​บื้อง​ล่าง ทิศ​โดย​รอบ
แผ่ไ​ป​ตลอด ทั่ว​โลก​ทุกห​ มู่​เหล่า ใน​ที่​ทุกส​ ถาน
ด้วย​อุเบกขา​จิตอ​ ัน​ไพบูลย์ เป็น​มหัคค​ตะ ไม่มปี​ ระมาณ
ไม่มี​เวร ไม่มี​ความ​เบียดเบียน ดังนีอ้​ ยู่

134
สา​ราณียธัมม​สุตต​ ป​ าฐ​ะ
หันท​ ะ มะ​ยัง สา​ราณี​ยะ​ธัมมะ​สุตต​ ะ​ปาฐั​ง ภะณา​มะ เส

ฉะ​ยเิ​ม ภิกขะเว ธัมม​ า สา​ราณี​ยา


ดูก​ ่อน​ภิกษุท​ ั้ง​หลาย ธรรม ๖ ประการ​นี้
เป็น​สาราณีย​ธรรม ธรรม​เครื่อง​ระลึกถ​ ึงกัน
ปิยะ​กะ​ระณา คะ​รุ​กะ​ระณา สังค​ะห​ า​ยะ
สร้าง​ความ​รัก ก่อค​ วาม​เคารพ เพื่อ​สงเคราะห์​กัน
อะ​ววิ​า​ทา​ยะ สา​มัคค​ ยิ​ า เอกีภ​ า​วายะ สังว​ัตต​ ันติ
เพื่อ​ไม่​วิวาท​กัน เพื่อ​ความ​สามัคคี
เป็น​อัน​หนึ่ง​อันเ​ดียวกัน
กะ​ตะ​เม ฉะ
ธรรม ๖ ประการ​นั้นเ​ป็น​อย่างไร​เล่า
อิธะ ภิกขะเว ภิกขุโ​น
ดูก​ ่อน​ภิกษุท​ ั้ง​หลาย ภิกษุใ​น​ธรรม​วินัยน​ ี้
เม​ตต​ ัง กา​ยะ​กัมมัง ปัจ​จปุ​ ัฏ​ฐิตงั​ โห​ติ
เข้าไป​ตั้งก​ ายกรรม​ประกอบ​ด้วย​เมตตา
สะ​พฺรัหฺมะ​จารี​สุ อา​วิ เจ​วะ ระโห จะ
ใน​เพื่อน​พรหมจารี​ทั้ง​หลาย ทั้ง​ต่อห​ น้า​และ​ลับ​หลัง
อะยัมปิ ธัม​โม สา​ราณี​โย
แม้ข​อ้ น​ ก​ี้ เ​็ ป็นส​ าราณียธ​รรม ธรรม​เครือ่ ง​ระลึกถ​งึ กัน
135
ปิยะ​กะ​ระโณ คะ​รุ​กะ​ระโณ สังค​ะห​ า​ยะ
สร้าง​ความ​รัก ก่อค​ วาม​เคารพ เพื่อ​สงเคราะห์​กัน
อะ​ววิ​า​ทา​ยะ สา​มัคค​ ยิ​ า เอกี​ภา​วายะ สังว​ัตต​ ะ​ติ
เพื่อ​ไม่​วิวาท​กัน เพื่อ​ความ​สามัคคี
เป็น​อัน​หนึ่ง​อันเ​ดียวกัน

ปุ​นะ จะ ปะ​รัง ภิกขะเว ภิกขุโ​น


อีกป​ ระการ​หนึ่ง ภิกษุใ​น​ธรรม​วินัยน​ ี้
เม​ตต​ ัง วะ​จกี​ ัมมัง ปัจจ​ุ​ปัฏ​ฐิตั​ง โห​ติ
เข้าไป​ตั้งว​จีก​ รรม​ประกอบ​ด้วย​เมตตา
สะ​พฺรัหฺมะ​จารี​สุ อา​วิ เจ​วะ ระโห จะ
ใน​เพื่อน​พรหมจารี​ทั้ง​หลาย ทั้ง​ต่อห​ น้า​และ​ลับ​หลัง
อะยัมปิ ธัม​โม สา​ราณี​โย
แม้ข​อ้ น​ ก​ี้ เ​็ ป็นส​ าราณียธ​รรม ธรรม​เครือ่ ง​ระลึกถ​งึ กัน
ปิยะ​กะ​ระโณ คะ​รุ​กะ​ระโณ สังค​ะห​ า​ยะ
สร้าง​ความ​รัก ก่อค​ วาม​เคารพ เพื่อ​สงเคราะห์​กัน
อะ​ววิ​า​ทา​ยะ สา​มัคค​ ยิ​ า เอกี​ภา​วายะ สังว​ัตต​ ะ​ติ
เพื่อ​ไม่​วิวาท​กัน เพื่อ​ความ​สามัคคี
เป็น​อัน​หนึ่ง​อันเ​ดียวกัน

136
ปุ​นะ จะ ปะ​รัง ภิกขะเว ภิกขุโ​น
อีกป​ ระการ​หนึ่ง ภิกษุใ​น​ธรรม​วินัยน​ ี้
เม​ตต​ ัง มะ​โน​กัมมัง ปัจจ​ปุ​ ัฏ​ฐิตงั​ โห​ติ
เข้าไป​ตั้งม​ โนกรรม​ประกอบ​ด้วย​เมตตา
สะ​พฺรัหฺมะ​จารี​สุ อา​วิ เจ​วะ ระโห จะ
ใน​เพื่อน​พรหมจารี​ทั้ง​หลาย ทั้ง​ต่อห​ น้า​และ​ลับ​หลัง
อะยัมปิ ธัม​โม สา​ราณี​โย
แม้ข​อ้ น​ ก​ี้ เ​็ ป็นส​ าราณียธ​รรม ธรรม​เครือ่ ง​ระลึกถ​งึ กัน
ปิยะ​กะ​ระโณ คะ​รุ​กะ​ระโณ สังค​ะห​ า​ยะ
สร้าง​ความ​รัก ก่อค​ วาม​เคารพ เพื่อ​สงเคราะห์​กัน
อะ​ววิ​า​ทา​ยะ สา​มัคค​ ยิ​ า เอกีภ​ า​วายะ สังว​ัตต​ ะ​ติ
เพื่อ​ไม่​วิวาท​กัน เพื่อ​ความ​สามัคคี
เป็น​อัน​หนึ่ง​อันเ​ดียวกัน

ปุ​นะ จะ ปะ​รัง ภิกขะเว ภิกขุโ​น


อีกป​ ระการ​หนึ่ง ภิกษุใ​น​ธรรม​วินัยน​ ี้
เย เต ลา​ภา ธัมม​ ิ​กา ธัมมะ​ลัทธา
แบ่งป​ นั ล​ าภ​ทป​่ี ระกอบ​ดว้ ย​ธรรม ทีไ​่ ด้ม​ า​อย่าง​ถกู ต​ อ้ ง
อันต​ ะ​มะโส ปัตตะ​ปะ​ริ​ยา​ปันน​ ะ​มัตตัมปิ
แม้​ของ​เล็ก​น้อย​เพียง​อาหาร​บิณฑบาต

137
ตะ​ถา​รู​เปหิ ลา​เภหิ อัป​ปะฏิ​วภิ​ ัตต​ ะ​โภคี โห​ติ
ไม่​จำ�เพาะ​เจาะจง​ผู้​นั้นผ​ นู้​ ี้
สี​ละ​วันเ​ตหิ สะ​พฺรัหฺมะ​จา​รีหิ สาธารณะ​โภคี
แต่​บริโภค​รว่ ม​กนั ​กบั ​เพือ่ น​พรหมจารี​ทง้ั ​หลาย ผู​ม้ ​ศี ลี
อะยัมปิ ธัม​โม สา​ราณี​โย
แม้ข​อ้ น​ ก​ี้ เ​็ ป็นส​ าราณียธ​รรม ธรรม​เครือ่ ง​ระลึกถ​งึ กัน
ปิยะ​กะ​ระโณ คะ​รุ​กะ​ระโณ สังค​ะห​ า​ยะ
สร้าง​ความ​รัก ก่อค​ วาม​เคารพ เพื่อ​สงเคราะห์​กัน
อะ​ววิ​า​ทา​ยะ สา​มัคค​ ยิ​ า เอกี​ภา​วายะ สังว​ัตต​ ะ​ติ
เพื่อ​ไม่​วิวาท​กัน เพื่อ​ความ​สามัคคี
เป็น​อัน​หนึ่ง​อันเ​ดียวกัน

ปุ​นะ จะ ปะ​รัง ภิกขะเว ภิกขุ


อีกป​ ระการ​หนึ่ง ภิกษุใ​น​ธรรม​วินัยน​ ี้
ยา​นิ ตา​นิ สีล​ า​นิ
เป็น​ผู้​มี​ศีล
อะ​ขัณฑ​า​นิ อะฉิทท​ า​นิ
ไม่​ขาด ไม่​ทะลุ
อะ​สะ​พะ​ลา​นิ อะกัมม​ า​สา​นิ
ไม่​ด่าง ไม่​พร้อย

138
ภุชิ​ส​สา​นิ วิญญูป​ ะ​สัตถา​นิ
เป็น​ไท อัน​วิญญูชน​สรรเสริญ
อะ​ปะ​รามั​ฏ​ฐานิ สะ​มา​ธิสัง​วัตต​ ะ​นกิ​ า​นิ
อันต​ ัณหา​ทิฐิ​แตะ​ต้อง​ไม่​ได้ เป็น​ไป​พร้อม​เพื่อ​สมาธิ
ตะ​ถา​รู​เป​สุ สี​เล​สุ สี​ละ​สามัญ​ญะ​คะ​โต วิห​ ะ​ระ​ติ
สะ​พฺรัหฺมะ​จา​รีหิ
มี​ศีล​เช่น​นั้นเ​สมอ​กัน กับเ​พื่อน​พรหมจารี​ทั้ง​หลาย
อา​วิ เจ​วะ ระโห จะ
ทั้ง​ต่อห​ น้า​และ​ลับ​หลัง
อะยัมปิ ธัม​โม สา​ราณี​โย
แม้ข​อ้ น​ ก​ี้ เ​็ ป็นส​ าราณียธ​รรม ธรรม​เครือ่ ง​ระลึกถ​งึ กัน
ปิยะ​กะ​ระโณ คะ​รุ​กะ​ระโณ สังค​ะห​ า​ยะ
สร้าง​ความ​รัก ก่อค​ วาม​เคารพ เพื่อ​สงเคราะห์​กัน
อะ​ววิ​า​ทา​ยะ สา​มัคค​ ยิ​ า เอกี​ภา​วายะ สังว​ัตต​ ะ​ติ
เพื่อ​ไม่​วิวาท​กัน เพื่อ​ความ​สามัคคี
เป็น​อัน​หนึ่ง​อันเ​ดียวกัน

ปุ​นะ จะ ปะ​รัง ภิกขะเว ภิกขุ


อีกป​ ระการ​หนึ่ง ภิกษุใ​น​ธรรม​วินัยน​ ี้
ยา​ยัง ทิฏฐิ อะ​ริ​ยา นิยยานิก​ า
ทิฐิ​อันป​ ระเสริฐ​ใด เป็น​เครื่อง​นำ�​สัตว์อ​ อก​จาก​ทุกข์

139
นิยย​ า​ติ ตักกะ​รัสสะ สัมมา​ทุกขั​กขะ​ยา​ยะ
ย่อม​นำ�​ผก​ู้ ระทำ�​ตาม​ไป เพือ่ ค​ วาม​สน้ิ แ​ห่งท​ กุ ข์โ​ดย​ชอบ
ตะ​ถา​รู​ปา​ยะ ทิฏฐิ​ยา ทิฏฐิ​สามัญ​ญะ​คะ​โต วิห​ ะ​ระ​ติ
สะ​พฺรัหฺมะ​จา​รีหิ
มี​ทิฐิ​เช่น​นั้นเ​สมอ​กัน กับเ​พื่อน​พรหมจารี​ทั้ง​หลาย
อา​วิ เจ​วะ ระโห จะ
ทั้ง​ต่อห​ น้า​และ​ลับ​หลัง
อะยัมปิ ธัม​โม สา​ราณี​โย
แม้ข​อ้ น​ ก​ี้ เ​็ ป็นส​ าราณียธ​รรม ธรรม​เครือ่ ง​ระลึกถ​งึ กัน
ปิยะ​กะ​ระโณ คะ​รุ​กะ​ระโณ สังค​ะห​ า​ยะ
สร้าง​ความ​รัก ก่อค​ วาม​เคารพ เพื่อ​สงเคราะห์​กัน
อะ​ววิ​า​ทา​ยะ สา​มัคค​ ยิ​ า เอกีภ​ า​วายะ สังว​ัตต​ ะ​ติ
เพื่อ​ไม่​วิวาท​กัน เพื่อ​ความ​สามัคคี
เป็น​อัน​หนึ่ง​อันเ​ดียวกัน

อิ​เม โข ภิกขะเว
ดูก​ ่อน​ภิกษุท​ ั้ง​หลาย
ฉะ ธัมม​ า สา​ราณี​ยา
ธรรม ๖ ประการ​เหล่า​นี้ เป็นส​ าราณีย​ธรรม
ธรรม​เครื่อง​ระลึก​ถึงกัน

140
ปิยะ​กะ​ระณา คะ​รุ​กะ​ระณา สังค​ะห​ า​ยะ
สร้าง​ความ​รัก ก่อค​ วาม​เคารพ เพื่อ​สงเคราะห์​กัน
อะ​ววิ​า​ทา​ยะ สา​มัคค​ ยิ​ า เอกี​ภา​วายะ สังว​ัตต​ ันต​ ตี​ ิ
เพื่อ​ไม่​วิวาท​กัน เพื่อ​ความ​สามัคคี
เป็น​อัน​หนึ่ง​อันเ​ดียวกัน ดังนีแ้​ ล

141
โค​ตมีส​ ุตต​ ป​ าฐ​ะ
หันท​ ะ มะ​ยัง โค​ตะ​มี​สุต​ตะ​ปาฐั​ง ภะณา​มะ เส

สาธุ เม ภัน​เต ภะ​คะ​วา, สังขิ​ตเ​ต​นะ ธัมมัง เท​เสตุ


ยะ​มะ​หัง ภะ​คะ​วะ​โต ธัมมัง สุตฺ​วา
พระพุทธเจ้า​ข้า พระ​ธรรม​ใด
ของ​พระ​ผมู้​ ี​พระ​ภาค​เจ้า ที่​ข้า​พระองค์​ได้ส​ ดับ​แล้ว
เอกา วูป​ ะ​กัฏฐา อัปปะ​มัตตา, อา​ตา​ปิ​นิง ปะ​สิตตั​ ต​ า
วิห​ ะ​เรย​ยันต​ ิ
จะ​พึง​เป็น​ผเู้​ดียว​หลีก​ออก​แล้ว เป็นผ​ ไู้​ม่​ประมาท
มีค​ วาม​เพียร มีต​ น​สง่ ไ​ป​แล้วอ​ ยู่ ขอ​พระ​ผม​ู้ พ​ี ระ​ภาค​เจ้า
ทรง​แสดง​ธรรม​นั้นแ​ ก่ข​ ้า​พระองค์​โดย​ย่อเ​ถิด
เย โข ตะ​วัง โค​ตะ​มิ ธัม​เม ชา​เนย​ยา​สิ
พระ​ผู้​มี​พระ​ภาค​เจ้า​ตรัส​ว่า ดูก​ ่อน​พระนาง​โค​ตมี
เธอ​พึง​รู้​ธรรม​เหล่า​ใด​แล
อิ​เม ธัม​มา สะ​ราคา​ยะ สังว​ัตต​ ันติ
ว่าธ​ รรม​เหล่า​นี้ เป็น​ไป​เพื่อ​ความ​กำ�หนัดย​ ้อมใจ
โน วิร​าคา​ยะ
มิใช่​เพื่อ​ความ​คลาย​กำ�หนัด
สังโยค​า​ยะ สังว​ัตต​ ันติ
เป็น​ไป​เพื่อ​ความ​ประกอบ​ทุกข์
142
โน วิส​ ังโยค​า​ยะ
มิใช่​เพื่อ​ปราศจาก​ความ​ประกอบ​ทุกข์
อา​จะ​ยา​ยะ สังว​ัตต​ ันติ
เป็น​ไป​เพื่อ​ความ​สั่งสม​กอง​กิเลส
โน อะ​ปะ​จะ​ยา​ยะ
มิใช่​เพื่อ​ความ​ไม่​สั่งสม​กอง​กิเลส
มะ​หิจ​ฉะ​ตา​ยะ สังว​ัตต​ ันติ
เป็น​ไป​เพื่อ​ความ​อยาก​ใหญ่
โน อัป​ปิจ​ฉะ​ตา​ยะ
มิใช่​เพื่อ​ความ​อยาก​อันน​ ้อย
อะ​สันต​ ุฏฐิ​ยา สัง​วัตต​ ันติ
เป็น​ไป​เพื่อ​ความ​ไม่​สันโดษ
โน สันต​ ุฏฐิ​ยา
มิใช่​เพื่อ​ความ​สันโดษ
สังค​ะณิก​ า​ยะ สังว​ัตต​ ันติ
เป็น​ไป​เพื่อ​ความ​คลุกคลีด​ ้วย​หมู่​คณะ
โน ปะ​วเิ​วก​า​ยะ
มิใช่​เพื่อ​ความ​สงัด​จาก​หมู่​คณะ
โกสัช​ชา​ยะ สังว​ัตต​ ันติ
เป็น​ไป​เพื่อ​ความ​เกียจคร้าน

143
โน วิร​ิ​ยา​รัมภา​ยะ
มิใช่​เพื่อ​ปรารภ​ความ​เพียร
ทุพภะ​ระ​ตา​ยะ สังว​ัตต​ ันติ
เป็น​ไป​เพื่อ​ความ​เป็น​คน​เลี้ยง​ยาก
โน สุภ​ะร​ะ​ตา​ยา​ติ
มิใช่​เพื่อ​ความ​เป็น​คน​เลี้ยง​ง่าย
เอ​กัง​เสนะ โค​ตะ​มิ ธาเรย​ยา​สิ
ดูก​ ่อน​พระนาง​โค​ตมี เธอ​พึง​ทรง​จำ�​ไว้โ​ดย​ส่วน​เดียว
เนโส ธัม​โม เนโส วิ​นะ​โย เนตัง​ สัตถุส​ า​สะ​นันต​ ิ
ว่าน​ ไี่​ม่ใช่​ธรรม นี่​ไม่ใช่​วินัย
หา​ใช่​คำ�​สั่ง​สอน​ของ​พระ​ศาสดา​ไม่
เย จะ โข ตะ​วัง โค​ตะ​มิ ธัม​เม ชา​เนย​ยา​สิ
ดูก​ ่อน​พระนาง​โค​ตมี เธอ​พึง​รู้​ธรรม​เหล่า​ใด​แล
อิ​เม ธัม​มา วิร​าคา​ยะ สังว​ัตต​ ันติ
ว่าธ​ รรม​เหล่า​นี้ เป็น​ไป​เพื่อ​ความ​คลาย​กำ�หนัด
โน สะ​ราคา​ยะ
มิใช่​เพื่อ​ความ​กำ�หนัด
วิส​ ังโยค​า​ยะ สังว​ัตต​ ันติ
เป็น​ไป​เพื่อ​ปราศจาก​ความ​ประกอบ​ทุกข์
โน สังโยค​า​ยะ
มิใช่​เพื่อ​ความ​ประกอบ​ทุกข์

144
อะ​ปะ​จะ​ยา​ยะ สังว​ัตต​ ันติ
เป็น​ไป​เพื่อ​ความ​ไม่​สั่งสม​กอง​กิเลส
โน อา​จะ​ยา​ยะ
มิใช่​เพื่อ​ความ​สั่งสม​กอง​กิเลส
อัป​ปิจ​ฉะ​ตา​ยะ สังว​ัตต​ ันติ
เป็น​ไป​เพื่อ​ความ​อยาก​อันน​ ้อย
โน มะ​หิจ​ฉะ​ตา​ยะ
มิใช่​เพื่อ​ความ​อยาก​ใหญ่
สันต​ ุฏฐิ​ยา สัง​วัตต​ ันติ
เป็น​ไป​เพื่อ​ความ​สันโดษ
โน อะ​สันต​ ุฏฐิ​ยา
มิใช่​เพื่อ​ความ​ไม่​สันโดษ
ปะ​วเิ​วก​า​ยะ สังว​ัตต​ ันติ
เป็น​ไป​เพื่อ​ความ​สงัด​จาก​หมู่​คณะ
โน สังค​ะณิก​ า​ยะ
มิใช่​เพื่อ​ความ​คลุกคลีด​ ้วย​หมู่​คณะ
วิร​ิ​ยา​รัมภา​ยะ สังว​ัตต​ ันติ
เป็น​ไป​เพื่อ​ปรารภ​ความ​เพียร
โน โกสัช​ชา​ยะ
มิใช่​เพื่อ​ความ​เกียจคร้าน

145
สุภ​ะร​ะ​ตา​ยะ สังว​ัตต​ ันติ
เป็น​ไป​เพื่อ​ความ​เป็น​คน​เลี้ยง​ง่าย
โน ทุพภะ​ระ​ตา​ยะ
มิใช่​เพื่อ​ความ​เป็น​คน​เลี้ยง​ยาก
เอ​กัง​เสนะ โค​ตะ​มิ ธาเรย​ยา​สิ
ดูก​ ่อน​พระนาง​โค​ตมี เธอ​พึง​ทรง​จำ�​ไว้โ​ดย​ส่วน​เดียว
เอโส ธัม​โม เอโส วิ​นะ​โย เอ​ตัง สัตถุส​ า​สะ​นันต​ ิ
ว่าน​ เี่​ป็น​ธรรม นี่​เป็น​วินัย
นีเ่​ป็น​คำ�​สั่ง​สอน​ของ​พระ​ศาสดา ดังนีแ้​ ล

146
สัง​เวค​อิ​ธชี​วิตค​ าถา
หันท​ ะ มะ​ยัง สังเวคะ​อิธะ​ชี​วติ​ ะ คาถา​โย ภะณา​มะ เส
อัปปะ​มา​ยุ มะ​นสุ​ ​สานั​ง หิเฬย​ยะ​นัง สุ​โป​ริโส
อายุ​ของ​หมู่​มนุษย์น​ นี้​ ้อย​นัก
ผูใ้​คร่​คุณง​าม​ความ​ดพี​ ึง​ดหู​ มิ่น​อายุ​ที่​น้อย​นิดน​ ี้
จะ​เรย​ยะ ทิตต​ ะ​สี​โส​วะ นัตถิ มัจจุส​ ​สะ นา​คะ​โม
พึงร​บี ป​ ระพฤติต​ น​ให้เ​หมือน​คน​ถกู ไ​ฟ​ไหม้บ​ น​ศรี ษะ​เถิด
เพราะ​ความ​ตาย​จะ​ไม่​มา​ถึงเ​รา​นั้น​ไม่มี
อัจ​จะ​ยันต​ ิ อะ​โหรั​ตต​ า ชีว​ติ​ ัง อุป​ ะ​รุชฌะ​ติ
วันค​ ืนก​ ล็​ ่วง​เลย​ไป ชีวิตก​ ใ็​กล้​สู่​ความ​ตาย
อา​ยขุ​ ี​ยะ​ติ มัจจ​านัง​ กุนน​ ะ​ที​นัง วา อุท​ ะ​กันต​ ิ
อายุ​ของ​สัตว์ท​ ั้ง​หลาย​ย่อม​สิ้น​ไป
เหมือน​น้ำ�​ใน​แม่น้ำ�น​ ้อย​ไห​ลบ่อยๆ ย่อม​หมด​สิ้น​ไป
นะ เห​วะ ติฏฐัง นา​สี​นัง นะ สะ​ยานัง​ นะ ปัตถะ​คุง
อายุ​สังขาร​จะ​พลอย​ประมาท​ไป​กับม​ นุษย์ท​ ั้ง​หลาย
ที่​ยืนเ​ดินน​ ั่ง​นอน​อยู่​กห็​ าไม่
ตัสมฺ​ า อิธะ ชี​วติ​ ะ​เส​เส
เพราะ​เหตุ​นั้นแล ชีวิตท​ ี่​ยัง​เหลือ​อยูน่​ ี้
กิจจะ​กะ​โร สิ​ยา นะ​โร นะ จะ มัชเ​ช​ติ
พึง​รีบ​กระทำ�​ความ​ดตี​ าม​หน้าที่​ของ​ตน
อย่า​ได้ป​ ระมาท​เลย
147
ธัม​มนิย​ าม​สูตร
หันท​ ะ มะ​ยัง ธัมมะ​นยิ​ า​มะ​สุตต​ ะ​ปาฐั​ง ภะณา​มะ เส

อุป​ปา​ทา วา ภิกขะเว ตะ​ถา​คะ​ตานัง​ อะ​นปุ​ ​ปา​ทา วา


ตะ​ถา​คะ​ตานัง​
ดูก​อ่ น​ภกิ ษุท​ งั้ ห​ ลาย เพราะ​เหตุท​ พ​ี่ ระ​ตถาคต​ทงั้ ห​ ลาย
จะ​บังเกิด​ขึ้นก​ ็ตาม จะ​ไม่​บังเกิด​ขึ้นก​ ็ตาม
ฐิต​า วะ สา ธาตุ
ธรรมธาตุ​นั้น ย่อม​ตั้ง​อยูแ่​ ล้วน​ ั่นเ​ทียว
ธัมมัฏ​ฐิต​ะต​ า
คือค​ วาม​ตั้ง​อยูแ่​ ห่ง​ธรรมดา
ธัมมะ​นยิ​ า​มะตา
คือค​ วาม​เป็น​กฎ​ตายตัวแ​ ห่ง​ธรรมดา
สัพ​เพ สังขาร​า อะ​นิจจ​า​ติ
ว่าส​ ังขาร​ทั้ง​หลาย​ทั้ง​ปวง​ไม่​เที่ยง
ดังนี้
ตัง ตะ​ถา​คะ​โต อะ​ภิสั​ม​พุชฌะ​ติ อะ​ภิส​ะเ​ม​ติ
ตถาคต​ย่อม​รู้​พร้อม​เฉพาะ
ย่อม​ถึงพ​ ร้อม​เฉพาะ​ซึ่ง​ธรรมธาตุ​นั้น
อะ​ภิสั​ม​พุชฌิตวฺ​า อะ​ภิส​ะเ​มตฺ​วา
ครั้นร​ู้​พร้อม​เฉพาะ​แล้ว ถึงพ​ ร้อม​เฉพาะ​แล้ว
148
อา​จิกข​ ะ​ติ เท​เส​ติ
ย่อม​บอก ย่อม​แสดง
ปัญญะ​เปติ ปัฏ​ฐะ​เปติ
ย่อม​บัญญัติ ย่อม​ตั้งข​ ึ้น​ไว้
วิว​ะ​ระ​ติ วิภะ​ชะ​ติ
ย่อม​เปิด​เผย ย่อม​จำ�แนก​แจกแจง
อุ​ตต​ านีก​ ะ​โร​ติ
ย่อม​ทำ�ให้​เป็น​เหมือน​การ​หงาย​ของ​ที่​คว่ำ�
สัพ​เพ สังขาร​า อะ​นิจจ​า​ติ
ว่าส​ ังขาร​ทั้ง​หลาย​ทั้ง​ปวง​ไม่​เที่ยง
ดังนี้
อุป​ปา​ทา วา ภิกขะเว ตะ​ถา​คะ​ตานัง​ อะ​นปุ​ ​ปา​ทา วา
ตะ​ถา​คะ​ตานัง​
ดูก​อ่ น​ภกิ ษุท​ งั้ ห​ ลาย เพราะ​เหตุท​ พ​ี่ ระ​ตถาคต​ทงั้ ห​ ลาย
จะ​บังเกิด​ขึ้นก​ ็ตาม จะ​ไม่​บังเกิด​ขึ้นก​ ็ตาม
ฐิต​า วะ สา ธาตุ
ธรรมธาตุ​นั้น ย่อม​ตั้งอ​ ยูแ่​ ล้วน​ ั่นเ​ทียว
ธัมมัฏ​ฐิต​ะต​ า
คือค​ วาม​ตั้ง​อยูแ่​ ห่ง​ธรรมดา
ธัมมะ​นยิ​ า​มะตา
คือค​ วาม​เป็น​กฎ​ตายตัวแ​ ห่ง​ธรรมดา

149
สัพ​เพ สังขาร​า ทุกข​ า​ติ
ว่าส​ ังขาร​ทั้ง​หลาย​ทั้ง​ปวง​เป็น​ทุกข์
ดังนี้
ตัง ตะ​ถา​คะ​โต อะ​ภิสั​ม​พุชฌะ​ติ อะ​ภิส​ะเ​ม​ติ
ตถาคต​ย่อม​รู้​พร้อม​เฉพาะ
ย่อม​ถึงพ​ ร้อม​เฉพาะ​ซึ่ง​ธรรมธาตุ​นั้น
อะ​ภิสั​ม​พุชฌิตวฺ​า อะ​ภิส​ะเ​มตฺ​วา
ครั้นร​ู้​พร้อม​เฉพาะ​แล้ว ถึงพ​ ร้อม​เฉพาะ​แล้ว
อา​จิกข​ ะ​ติ เท​เส​ติ
ย่อม​บอก ย่อม​แสดง
ปัญญะ​เปติ ปัฏ​ฐะ​เปติ
ย่อม​บัญญัติ ย่อม​ตั้งข​ ึ้น​ไว้
วิว​ะ​ระ​ติ วิภะ​ชะ​ติ
ย่อม​เปิด​เผย ย่อม​จำ�แนก​แจกแจง
อุ​ตต​ านีก​ ะ​โร​ติ
ย่อม​ทำ�ให้​เป็น​เหมือน​การ​หงาย​ของ​ที่​คว่ำ�
สัพ​เพ สังขาร​า ทุกข​ า​ติ
ว่าส​ ังขาร​ทั้ง​หลาย​ทั้ง​ปวง​เป็น​ทุกข์
ดังนี้

150
อุป​ปา​ทา วา ภิกขะเว ตะ​ถา​คะ​ตานัง​ อะ​นปุ​ ​ปา​ทา วา
ตะ​ถา​คะ​ตานัง​
ดูก​อ่ น​ภกิ ษุท​ งั้ ห​ ลาย เพราะ​เหตุท​ พ​ี่ ระ​ตถาคต​ทงั้ ห​ ลาย
จะ​บังเกิด​ขึ้นก​ ็ตาม จะ​ไม่​บังเกิด​ขึ้นก​ ็ตาม
ฐิต​า วะ สา ธาตุ
ธรรมธาตุ​นั้น ย่อม​ตั้ง​อยูแ่​ ล้วน​ ั่นเ​ทียว
ธัมมัฏ​ฐิต​ะต​ า
คือค​ วาม​ตั้ง​อยูแ่​ ห่ง​ธรรมดา
ธัมมะ​นยิ​ า​มะตา
คือค​ วาม​เป็น​กฎ​ตายตัวแ​ ห่ง​ธรรมดา
สัพ​เพ ธัม​มา อะนัตต​ า​ติ
ว่าธ​ รรม​ทั้ง​หลาย​ทั้ง​ปวง​เป็น​อนัตตา
ดังนี้
ตัง ตะ​ถา​คะ​โต อะ​ภิสั​ม​พุชฌะ​ติ อะ​ภิส​ะเ​ม​ติ
ตถาคต​ย่อม​รู้​พร้อม​เฉพาะ
ย่อม​ถึงพ​ ร้อม​เฉพาะ​ซึ่ง​ธรรมธาตุ​นั้น
อะ​ภิสั​ม​พุชฌิตวฺ​า อะ​ภิส​ะเ​มตฺ​วา
ครั้นร​ู้​พร้อม​เฉพาะ​แล้ว ถึงพ​ ร้อม​เฉพาะ​แล้ว
อา​จิกข​ ะ​ติ เท​เส​ติ
ย่อม​บอก ย่อม​แสดง

151
ปัญญะ​เปติ ปัฏ​ฐะ​เปติ
ย่อม​บัญญัติ ย่อม​ตั้งข​ ึ้น​ไว้
วิว​ะ​ระ​ติ วิภะ​ชะ​ติ
ย่อม​เปิด​เผย ย่อม​จำ�แนก​แจกแจง
อุ​ตต​ านีก​ ะ​โร​ติ
ย่อม​ทำ�ให้​เป็น​เหมือน​การ​หงาย​ของ​ที่​คว่ำ�
สัพ​เพ ธัม​มา อะนัตต​ า​ติ
ว่าธ​ รรม​ทั้ง​หลาย​ทั้ง​ปวง​เป็น​อนัตตา
ดังนี้.

152
อุปกิเลส ๑๖
หันท​ ะ มะ​ยัง โสฬะ​สะ​อุ​ปะ​กิเลส​ะค​ าถา​โย ภะณา​มะ เส
อะภิชฌา​วสิ​ ะ​มะ​โลโภ  ความ​โลภ​เพ่ง​เล็ง​อยาก​ได้ข​ อง​เขา
โทโส ความ​ประทุษร้าย​เขา
โกโธ ความ​โกรธ​เคือง​เขา
อุ​ปะ​นาโห ความ​ผูกเ​วร​หมาย​มั่นก​ ัน
มัก​โข ความ​ลบหลู่​คุณเ​ขา
การ​ลบล้าง​ปิดซ​ ่อน​คุณค่าค​ วาม​ดขี​ อง​ผู้​อื่น
ปะ​ลาโส ความ​ตีเสมอ ยก​ตัวข​ ึ้นเ​ทียม​เขา
เอา​ตัวข​ ึ้นต​ ั้งข​ วาง​ไว้ไ​ม่​ยอม​ให้​ใคร​ดกี​ ว่าต​ น
อิสสา ความ​ริษยา​เขา
มัจฉะ​ริ​ยัง ความ​ตระหนีห่​ วงแหน แบ่ง​แยก​กีดกัน
เรื่อง​ที่​อยูอ่​ าศัย ท้อง​ถิ่นด​ ินแ​ ดน
เรื่อง​การ​ได้ล​ าภ​ผล​ประโยชน์
เรื่อง​พงศ์​เผ่า​เหล่ากอ ชาติพันธุ์​พวก​พ้อง
เรื่อง​ชนชั้นว​รรณะ​สี​ผิว และ​เรื่อง
วิชา​ความ​รู้ ผล​สำ�เร็จ​ทาง​ภมู ธิ รรมภูมปิ ญ ั ญา
มายา ความ​เป็น​คน​เจ้า​เล่ห์​เจ้า​กล
สา​เถย​ยัง ความ​โอ้อวด​ตัว​ให้​ยิ่ง​กว่าค​ ุณท​ ี่​มี​อยู่
ถัมโภ ความ​แข็ง​กระด้าง​ดื้อด​ ึง
เมื่อ​เขา​สั่ง​สอน​ว่าก​ ล่าว​โดย​ธรรม​โดย​ชอบ
สา​รัม​โภ ความ​ปรารภ​ไม่​ยอม​ตาม
153
หาเหตุ​ผล​มา​อ้าง​ทุ่ม​เถียง​ต่างๆ
เมื่อ​ขณะ​เขา​ว่าก​ ล่าว​โดย​ธรรม​โดย​ชอบ
มา​โน ความ​เย่อ​หยิ่ง​ถือเ​รา​ถือเ​ขา ถือตัวถ​ ือต​ น
อะ​ตมิ​ า​โน ความ​ดูถูกล​ ่วง​เกินผ​ อู้​ ื่น
มะ​โท ความ​เมา​หลง​ใน​ร่างกาย​ที่​ทรุด​โทรม
ด้วย​ความ​ชรา​มี​อยูท่​ ุกว​ันๆ
สำ�คัญว​่าย​ ัง​หนุ่ม​สาว​อยู่ มัวห​ ลง​ไป
เมา​หลง​ใน​ร่างกาย​ที่​ป่วย​ไข้​อยูเ่​ป็น​นิจ
ต้อง​กินย​ า​คือ​ข้าว​น้ำ�ท​ ุกเ​ช้า​ค่ำ�
สำ�คัญว​่า​ไม่มี​โรค​เป็นสุข​สบาย มัวห​ ลง​ไป
เมา​หลง​ใน​ชีวิตท​ ี่​เป็น​ของ​ไม่​เที่ยง
อาจ​ดับ​ไป​ดั่ง​ประทีป​จุด​ไว้ใ​น​ที่​แจ้ง​ฉะนั้น
สำ�คัญว​่าจ​ะ​ไม่​ตาย มัวห​ ลง​ไป
ปะ​มา​โท ความ​ประมาท การ​เป็น​อยูอ่​ ย่าง​ขาด​สติ
ดำ�เนินช​ ีวิตถ​ ลำ�​ลง​ไป​ใน​ทาง​เสื่อม
ละเลย​หน้าที่​ที่​พึง​รับ​ผิดช​ อบ
ปล่อย​โอกาส​สำ�หรับ​ความ​ดงี​าม
และ​ความ​เจริญ​ก้าวหน้า​ให้​ผ่าน​ไป
ไม่​ตระหนัก​ใน​สง่ิ ​ท​พ่ี งึ ​ทำ�​และ​พงึ ​เว้น ประมาท​ไป
อุปกิเลส​เครื่อง​เศร้า​หมองใจ ๑๖ ข้อ​นี้ มี​อยู่​ใน​ผใู้​ด 
จิตข​ อง​ผนู้​ ั้นย​ ่อม​ขุ่นม​ ัว รับ​คุณธรรม​ได้ย​ าก 
ดุจผ​ ้า​เปรอะ​เปื้อน​สกปรก ย้อม​ให้​ดไี​ม่​ได้ ดังนีแ้​ ล

154
อ​ตตี​ ปัจจ​เวก​ขณ​ปาฐ​ะ
หันท​ ะ มะ​ยัง อะ​ตตี​ ะ​ปัจ​จะ​เวก​ขะณะ​ปาฐั​ง ภะณา​มะ เส

อัช​ชะ มะ​ยา อะปัจจ​ะ​เวก​ขิตวฺ​า


ยัง จีว​ะ​รัง ปะ​ริ​ภุตต​ ัง
จีวร​ใด​อัน​เรา​นุ่ง​ห่ม​แล้ว​ไม่ทัน​พิจารณา​ใน​วันน​ ี้
ตัง ยา​วะ​เทวะ สีตสั​ ​สะ ปะฏิฆ​ าต​า​ยะ
จีวร​นั้นเ​รา​นุ่งห​ ่ม​แล้วเ​พียง​เพื่อ​บำ�บัด​ความ​หนาว
อุณฺ​หัส​สะ ปะฏิ​ฆาต​า​ยะ
เพื่อ​บำ�บัด​ความ​ร้อน
ฑังสะ​มะ​กะ​สะ​วาตา​ตะ​ปะ​สิ​ริง​สะ​ปะ​สัมผัส​สานั​ง
ปะฏิ​ฆาต​า​ยะ
เพื่อ​บำ�บัด​สัมผัส​อัน​เกิดจ​าก​เหลือบ​ยุง​ลม​แดด
และ​สัตว์เ​ลื้อย​คลาน​ทั้ง​หลาย
ยา​วะ​เทวะ หิริ​โก​ปิ​นะ​ปะฏิจฉา​ทะ​นัตถ​ ัง
และ​เพียง​เพื่อ​ปกปิดอ​ วัยวะ​อัน​ให้​เกิดค​ วาม​ละอาย
อัช​ชะ มะ​ยา อะปัจจ​ะ​เวก​ขิตวฺ​า
โย ปิณฑะ​ปา​โต ปะ​ริ​ภุต​โต
บิณฑบาต​ใด​อันเ​รา​ฉันแ​ ล้ว​ไม่ทัน​พิจารณา​ใน​วันน​ ี้

155
โส เน​วะ ทะ​วายะ
บิณฑบาต​นั้นเ​รา​ฉันแ​ ล้ว​ไม่ใช่​เป็น​ไป
เพื่อ​ความ​เพลิดเพลิน​สนุกสนาน
นะ มะ​ทา​ยะ
ไม่ใช่​เป็น​ไป​เพื่อ​ความ​เมามัน​เกิดก​ ำ�ลัง​พลัง​ทาง​กาย
นะ มัณฑ​ะน​ า​ยะ
ไม่ใช่​เป็น​ไป​เพื่อ​ประดับ
นะ วิภสู​ ะ​นา​ยะ
ไม่ใช่​เป็น​ไป​เพื่อ​ตกแต่ง
ยา​วะ​เทวะ อิมัส​สะ กายัส​ ​สะ ฐิตยิ​ า
แต่ใ​ห้​เป็น​ไป​เพียง​เพื่อ​ความ​ตั้ง​อยูไ่​ด้แ​ ห่ง​กาย​นี้
ยา​ปะ​นา​ยะ
เพื่อ​ความ​เป็น​ไป​ได้ข​ อ​งอัตต​ภาพ
วิห​ ิง​สุ​ปะ​ระ​ตยิ​ า
เพื่อ​ความ​สิ้น​ไป​แห่ง​ความ​ลำ�บาก​ทาง​กาย
พฺรัหฺมะ​จะ​ริ​ยา​นคุ​ ค​ ะ​หา​ยะ
เพื่อ​อนุเคราะห์​แก่ก​ าร​ประพฤติพ​ รหมจรรย์
อิ​ติ ปุร​าณัญ​จะ เวท​ะนัง ปะฏิหัง​ขา​มิ
ด้วย​การ​ทำ�​อย่าง​นี้
เรา​ย่อม​ระงับ​เสีย​ได้ซ​ ึ่ง​ทุกขเวทนา​เก่า​คือค​ วาม​หิว

156
นะ​วัญจ​ะ เวท​ะนัง นะ อุปป​ า​เท​ส​สา​มิ
และ​ไม่​ทำ�​ทุกขเวทนา​ใหม่​ให้​เกิดข​ ึ้น
ยาตฺร​า จะ เม ภะ​วสิ​ ​สะ​ติ อะนะ​วัชชะ​ตา จะ
ผา​สุ​วหิ​ า​โร จา​ติ
อนึ่ง ความ​เป็น​ไป​โดย​สะดวก​แห่​งอัตต​ภาพ​นดี้​ ้วย
ความ​เป็น​ผู้​หา​โทษ​มิได้ด​ ้วย
และ​ความ​เป็น​อยูโ่​ดย​ผาสุกด​ ้วย จักม​ ี​แก่เ​รา
ดังนี้
อัช​ชะ มะ​ยา อะปัจจ​ะ​เวก​ขิตวฺ​า
ยัง เส​นา​สะ​นัง ปะ​ริ​ภุตต​ ัง
เสนาสนะ​ใด​อนั ​เรา​ใช้สอย​แล้ว​ไม่ทนั ​พจิ ารณา​ใน​วนั ​น้ี
ตัง ยา​วะ​เทวะ สีตสั​ ​สะ ปะฏิฆ​ าต​า​ยะ
เสนาสนะ​นน้ั เ​รา​ใช้สอย​แล้วเ​พียง​เพือ่ บ​ ำ�บัดค​ วาม​หนาว
อุณฺ​หัส​สะ ปะฏิ​ฆาต​า​ยะ
เพื่อ​บำ�บัด​ความ​ร้อน
ฑังสะ​มะ​กะ​สะ​วาตา​ตะ​ปะ​สิ​ริง​สะ​ปะ​สัมผัส​สานั​ง
ปะฏิ​ฆาต​า​ยะ
เพื่อ​บำ�บัด​สัมผัส​อัน​เกิดจ​าก​เหลือบ​ยุง​ลม​แดด
และ​สัตว์เ​ลื้อย​คลาน​ทั้ง​หลาย

157
ยา​วะ​เทวะ อุตปุ​ ะ​ริ​ส​สะ​ยะ​วโิ​น​ทะ​นัง
ปะฏิสัล​ลา​นา​รามั​ตถ​ ัง
เพียง​เพือ่ ​บรรเทา​อนั ตราย​อนั ​จะ​พงึ ม​ ​จี าก​ดนิ ​ฟา้ ​อากาศ
และ​เพื่อ​ความ​เป็น​ผยู้​ ินดีอ​ ยูไ่​ด้ใ​น​ที่​หลีก​เร้น
สำ�หรับ​ภาวนา
อัช​ชะ มะ​ยา อะปัจจ​ะ​เวก​ขิตวฺ​า
โย คิลาน​ะปัจจ​ะ​ยะ​เภสัช​ชะ​ปะ​ริก​ขา​โร ปะ​ริ​ภุต​โต
คิลาน​ะเ​ภสัช​บริขาร​ใด​อันเ​รา​บริโภค​แล้ว
ไม่ทัน​พิจารณา​ใน​วันน​ ี้
โส ยา​วะ​เทวะ อุป​ปันน​ านัง​ เวย​ยา​พาธิ​กานัง​
เวท​ะน​ านัง​ ปะฏิ​ฆาต​า​ยะ
คิลาน​ะเ​ภสัช​บริขาร​นั้นเ​รา​บริโภค​แล้ว
เพียง​เพื่อ​บำ�บัด​ทุกขเวทนา​อันบ​ ังเกิด​ขึ้นแ​ ล้ว
มี​อาพาธ​ต่างๆ เป็น​มูล
อัพฺ​ยา​ปัชฌะ​ปะ​ระ​มะตา​ยา​ติ
เพื่อ​ความ​เป็น​ผไู้​ม่มี​โรค​เบียดเบียน​เป็น​อย่าง​ยิ่ง
ดังนี้

158
ธัมม​ปหังส​นป​ าฐ​ะ
หันท​ ะ มะ​ยัง ธัมมะ​ปะหัง​สะ​นะ​สะ​มา​ทะ​ปะ​นา​ทิว​ะจ​ะนะ
ปาฐั​ง ภะณา​มะ เส

เอวัง สฺ​วาก​ขา​โต ภิกขะเว มะ​ยา ธัม​โม


ดูก​ ่อน​ภิกษุท​ ั้ง​หลาย
ธรรม เป็น​ธรรม​อันเ​รา​กล่าว​ดีแล้ว อย่าง​นี้
อุ​ตต​ า​โน
เป็น​ธรรม​อัน​ทำ�ให้​เป็น​ดุจข​ อง​คว่ำ�ท​ ี่​หงาย​แล้ว
วิว​ะโฏ
เป็น​ธรรม​อัน​ทำ�ให้​เป็น​ดุจข​ อง​ปิดท​ ี่​เปิด​แล้ว
ปะ​กา​สิ​โต
เป็น​ธรรม​อัน​เรา​ตถาคต​ประกาศ​ก้อง​แล้ว
ฉินน​ ะ​ปิโล​ตโิ​ก
เป็น​ธรรม​มี​ส่วน​ขี้​ริ้ว​อันเ​รา​ตถาคต​เฉือน​ออก
หมด​สิ้น​แล้ว
เอวัง สฺ​วาก​ขา​เต โข ภิกขะเว มะ​ยา ธัมเ​ม
ดูก​ ่อน​ภิกษุท​ ั้ง​หลาย
เมื่อ​ธรรม​นเี้​ป็น​ธรรม​อันเ​รา​กล่าว​ดีแล้ว อย่าง​นี้
อะ​ลัง เอ​วะ
ย่อม​เป็นการ​สมควร​แล้วน​ ั่นเ​ทียว
159
สัทธา ปัพ​พะ​ชิ​เต​นะ กุล​ ะ​ปุตเ​ต​นะ วิร​ิ​ยัง อา​ระ​ภติ​ ุง
ที่​กุลบุตร​ผบู้​ วช​แล้วด​ ้วย​ศรัทธา
จะ​พึง​ปรารภ​การก​ระ​ทำ�ความ​เพียร
กามัง​ ตะ​โจ จะ นะ​หา​รุ จะ อัฏฐิ จะ อะ​วะ​สิ​ส​สะตุ
ด้วย​การ​อธิษฐาน​จิตว​่า
แม้​หนัง​เอ็น​กระดูกเ​ท่านั้น​จักเ​หลือ​อยู่
สะ​รีเร อุ​ปะ​สุ​ส​สะตุ มังสะ​โลหิตั​ง
เนื้อ​และ​เลือด​ใน​สรีระ​นจี้​ักเ​หือดแห้ง​ไป​ก็ตาม​ที
ยันต​ ัง ปุ​ริ​สะ​ถา​เม​นะ ปุร​ิ​สะ​วริ​ิ​เยน​ะ
ปุ​ริ​สะ​ปะ​รักก​ ะ​เม​นะ ปัตตัพพ​ ัง
ประโยชน์ใ​ด​อันบ​ ุคคล​จะ​พึง​ลุ​ถึง​ได้ด​ ้วย​กำ�ลัง
ด้วย​ความ​เพียร ความ​บาก​บั่นข​ อง​บุรุษ
นะ ตัง อะ​ปา​ปุณิตวฺ​า ปุร​ิ​สัสสะ วิร​ิ​ยัส​สะ สัณฐานั​ง
ภะ​วสิ​ ​สะ​ตตี​ ิ
ถ้าย​ ัง​ไม่​บรรลุ​ประโยชน์​นั้นแ​ ล้ว
จักห​ ยุดค​ วาม​เพียร​ของ​บุรุษ​เสีย​เป็น​ไม่มี
ดังนี้
ทุกข​ ัง ภิกขะเว กุส​ ี​โต วิห​ ะ​ระ​ติ
ดู​กอ่ น​ภกิ ษุ​ทง้ั ​หลาย คน​ผ​เู้ กียจคร้าน​ยอ่ ม​อยู​เ่ ป็น​ทกุ ข์
โว​กิณโณ ปา​ปะ​เกหิ อะ​กสุ​ ะ​เลหิ ธัม​เมหิ
ระคน​อยูด่​ ้วย​อกุศล​ธรรม​อัน​ลามก​ทั้ง​หลาย​ด้วย

160
มะ​หันต​ ัญ จะ สะ​ทัตถ​ ัง ปะ​ริ​หา​เปติ
ย่อม​ทำ�​ประโยชน์อ​ ัน​ใหญ่​หลวง​ของ​ตน​ให้​เสื่อม​ด้วย
อา​รัทธะ​วริ​ิ​โย จะ โข ภิกขะเว สุข​ ัง วิ​หะ​ระ​ติ
ดูก​ ่อน​ภิกษุท​ ั้ง​หลาย บุคคล​ผมู้​ ี​ความ​เพียร
อันป​ รารภ​แล้ว ย่อม​อยูเ่​ป็นสุข
ปะ​วิวิตโ​ต ปา​ปะ​เกหิ อะ​กสุ​ ะ​เลหิ ธัม​เมหิ
สงัด​แล้วจ​าก​อกุศล​ธรรม​อันล​ ามก​ทั้ง​หลาย​ด้วย
มะ​หันต​ ัญจ​ะ สะ​ทัตถ​ ัง ปะ​ริ​ปู​เร​ติ
ย่อม​ทำ�​ประโยชน์อ​นั ใ​หญ่ห​ ลวง​ของ​ตน​ให้บ​ ริบรู ณ์ด​ ว้ ย
นะ ภิกขะเว หีเ​น​นะ อัคคัสส​ ะ ปัตติ โห​ติ
ดูก​ ่อน​ภิกษุท​ ั้ง​หลาย การ​บรรลุ​ธรรม​อันเ​ลิศ
ด้วย​การก​ระ​ทำ�​อัน​เลว ย่อม​มี​ไม่​ได้เ​ลย
อัคเ​คน​ะ จะ โข อัคคัสส​ ะ ปัตติ โห​ติ
แต่ก​ าร​บรรลุ​ธรรม​อันเ​ลิศ ด้วย​การก​ระ​ทำ�​อันเ​ลิศ
ย่อม​มี​ได้แ​ ล
มัณฑ​ะเปย​ยะ​มิ​ทัง ภิกขะเว พฺรัหฺมะ​จะ​ริ​ยัง
ดูก​ ่อน​ภิกษุท​ ั้ง​หลาย พรหมจรรย์​นนี้​ ่าด​ ื่ม
เห​มือ​นมัณฑะ​ยอด​โอชา​แห่ง​โครส
สัตถา สัมม​ ุขี​ภโู​ต
ทั้ง​พระ​ศาสดา​กอ็​ ยู่ ณ ทีเ่​ฉพาะ​หน้า​นแี้​ ล้ว

161
ตัสมฺ​ า​ตหิ​ ะ ภิกขะเว วิร​ิ​ยัง อา​ระภะ​ถะ
ดูก​ ่อน​ภิกษุท​ ั้ง​หลาย เพราะ​ฉะนั้น
เธอ​ทั้ง​หลาย​จง​ปรารภ​ความ​เพียร​เถิด
อัป​ปัตตัสส​ ะ ปัตติย​ า
เพื่อ​การ​บรรลุ​ถึงซ​ ึ่ง​ธรรม​อันย​ ัง​ไม่​บรรลุ
อะนะ​ธิ​คะ​ตัสส​ ะ อะธิค​ ะ​มา​ยะ
เพื่อ​การ​ถึงท​ ับ​ซึ่ง​ธรรม​อัน​ยัง​ไม่​ถึง​ทับ
อะ​สัจ​ฉกิ​ ะ​ตัส​สะ สัจฉ​ กิ​ ิริยา​ยะ
เพื่อ​การก​ระ​ทำ�ให้​แจ้ง​ซึ่ง​ธรรม​อันย​ ัง​ไม่​ได้ท​ ำ�ให้​แจ้ง
เอวัง โน อะ​ยัง อัม​หา​กัง ปัพ​พัช​ชา
เมื่อ​เป็น​อย่าง​นี้ บรรพชา​นขี้​ อง​เรา​ทั้ง​หลาย
อะ​วังก​ ะ​ตา อะวัญฌา ภะ​วสิ​ ​สะ​ติ
จักเ​ป็น​บรรพชา​ไม่​ต่ำ�ท​ ราม จัก​ไม่​เป็น​หมัน​เปล่า
สะ​ผะ​ลา สะ​อุ​ทะ​ระ​ยา
แต่จ​ักเ​ป็น​บรรพชา​ที่​มี​ผล เป็น​บรรพชา​ที่​มี​กำ�ไร
เยสั​ง มะ​ยัง ปะ​ริ​ภุญช​า​มะ จีว​ะ​ระ​ปิณฑะ​ปา​ตะ-
เสนา​สะ​นะ​คิลาน​ะปัจจ​ะ​ยะ​เภสัช​ชะ​ปะ​ริกข​ า​รัง
พวก​เรา​ทั้ง​หลาย
บริโภค​จีวร​บิณฑบาต​เสนาสนะ​และ​เภสัช
ของ​ชน​ทั้ง​หลาย​เหล่า​ใด

162
เต​สัง เต กา​รา อัมฺเหสุ
การก​ระ​ทำ�​นั้นๆ ของ​ชน​ทั้ง​หลาย​เหล่า​นั้น
ใน​เรา​ทั้ง​หลาย
มะ​หัป​ผะ​ลา ภะ​วสิ​ ​สันติ มะ​หา​นสิ​ ัง​สา​ติ
จักเ​ป็นการ​กระทำ�​มี​ผล​ใหญ่ มี​อานิสงส์​ใหญ่
ดังนี้
เอวัง หิ โว ภิกขะเว สิกขิตัพพ​ ัง
ดูก​ ่อน​ภิกษุท​ ั้ง​หลาย
เธอ​ทั้ง​หลาย​พึง​ทำ�ความ​สำ�เหนียก​อย่าง​นแี้​ ล
อัตต​ ัตถ​ ัง วา หิ ภิกขะเว สัมปัสส​ ะ​มา​เน​นะ
ดูก​ ่อน​ภิกษุท​ ั้ง​หลาย
เมื่อ​บุคคล​มอง​เห็น​อยูซ่​ ึ่ง​ประโยชน์แ​ ห่ง​ตน​ก็ตาม
อะ​ละ​เม​วะ อัปปะ​มา​เท​นะ สัมป​ า​เท​ตุง
ก็ค​ วร​แล้วน​ ั่นเ​ทียว เพื่อ​ยัง​ประโยชน์แ​ ห่ง​ตน
ให้​ถึงพ​ ร้อม​ด้วย​ความ​ไม่​ประมาท
ปะ​รัตถ​ ัง วา หิ ภิกขะเว สัมปัสส​ ะ​มา​เน​นะ
ดูก​ ่อน​ภิกษุท​ ั้ง​หลาย เมื่อ​บุคคล​มอง​เห็น​อยู่
ซึ่ง​ประโยชน์​แห่ง​ชน​เหล่า​อื่นก​ ็ตาม
อะ​ละ​เม​วะ อัปปะ​มา​เท​นะ สัมป​ า​เท​ตุง
ก็ค​ วร​แล้วน​ นั่ เ​ทียว เพือ่ ย​ งั ป​ ระโยชน์แ​ ห่งช​น​เหล่าอ​ นื่
ให้​ถึงพ​ ร้อม​ด้วย​ความ​ไม่​ประมาท

163
อุภะยัตถ​ ัง วา หิ ภิกขะเว สัมปัสส​ ะ​มา​เน​นะ
ดูก​ ่อน​ภิกษุท​ ั้ง​หลาย หรือ​ว่าเ​มื่อ​บุคคล​มอง​เห็น​อยู่
ซึ่ง​ประโยชน์​ของ​ทั้ง​สอง​ฝ่าย​ก็ตาม
อะ​ละ​เม​วะ อัปปะ​มา​เท​นะ สัมป​ า​เท​ตุง
ก็ค​ วร​แล้วน​ ั่นเ​ทียว เพื่อ​ยัง​ประโยชน์ข​ อง​ทั้ง​สอง
ฝ่าย​นั้น​ให้​ถึงพ​ ร้อม​ด้วย​ความ​ไม่​ประมาท
อิ​ติ
ดังนีแ้​ ล

164
สมณ​สัญญา ๓ ประการ
หันท​ ะ มะ​ยัง ติส​ ​สะ​สะ​มะณะ​สัญญา​ปาฐั​ง ภะณา​มะ เส

ติส​โส ภิกขะเว สะ​มะณะ​สัญญา ภา​วติ​ า พะ​หุ​ลี​กะ​ตา


ดูก​ ่อน​ภิกษุท​ ั้ง​หลาย สมณ​สัญญา ๓ ประการ
อันบ​ รรพชิต​กระทำ�​ให้​มาก​แล้ว
สัตตะ ธัมเ​ม ปะ​ริ​ปู​เรน​ติ
ย่อม​กระทำ�​ธรรมะ​ทั้ง ๗ ประการ​ให้​บริบูรณ์​ได้
กะ​ตะ​มา ติส​โส
สมณ​สัญญา ๓ ประการ​คือ​อะไร​บ้าง
เววัณณ​ ิยัมหิ อัชฌูป​ ะ​คะ​โต
บัดนีเ้​รา​มี​เพศ​แตก​ต่าง​จาก​คฤหัสถ์แ​ ล้ว
อาการ​กิริยา​ใดๆ ของ​สมณะ
เรา​ต้อง​ทำ�​อาการ​กิริยา​นั้นๆ
ปะ​ระ​ปะฏิ​พัทธ​า เม ชี​วกิ​ า
ความ​เลี้ยง​ชีพ​ของ​เรา​เนื่อง​ด้วย​ผอู้​ ื่น
เรา​ควร​ทำ�ตัว​ให้​เขา​เลี้ยง​ง่าย
อัญ​โญ เม อากัป​โป กะ​ระณี​โย
อาการ​กาย​วาจา​อย่าง​อื่น
ที​เ่ รา​จะ​ตอ้ ง​ทำ�ให้​ด​ขี น้ึ ​ไป​กว่า​น้ี ยัง​ม​อี ยู่ มิใช่​เพียง​เท่า​น้ี

165
อิ​เม โข ภิกขะเว ติส​โส สะ​มะณะ​สัญญา ภา​วติ​ า
พะ​หุ​ลี​กะ​ตา
ดูก​ ่อน​ภิกษุท​ ั้ง​หลาย สมณ​สัญญา ๓ ประการ
เหล่า​นแี้​ ล อันบ​ รรพชิต​กระทำ�​ให้​มาก​แล้ว
สัตตะ ธัมเ​ม ปะ​ริ​ปู​เรน​ติ
ย่อม​กระทำ�​ธรรมะ​ทั้ง ๗ ประการ​ให้​บริบูรณ์​ได้
กะ​ตะ​เม สัตตะ
ธรรมะ ๗ ประการ​คืออ​ ะไร​บ้าง
นิจจ​ัง สัตตะ​กา​รี โห​ติ สัตต​ ะ​วุตต​ ิ สีเ​ล​สุ
คือ​เป็น​ผู้​มี​ปกติ​ประพฤติ​ใน​ศีล​ด้วย​ความ​สม่ำ�เสมอ
เป็น​นิตย์
อะนะ​ภิชฌา​ลุ โห​ติ
เป็น​ผู้​มี​ปกติไ​ม่​เพ่ง​เล็ง​สิ่ง​ใด
อัพฺ​ยา​ปัชโฌ โห​ติ
เป็น​ผู้​ไม่​เบียดเบียน​ใคร
อะนะ​ตมิ​ านี โห​ติ
เป็น​ผู้​ไม่​ดหู​ มิ่น​ผู้​อื่น
สิกขา​กา​โม โห​ติ
เป็น​ผู้​ใคร่​ต่อก​ าร​ศึกษา

166
อิจจัตถ​ ันต​ สิ​ ​สะ​โห​ติ ชีว​ติ​ ะ​ปะ​ริกข​ า​เร​สุ
เป็น​ผู้​มี​ความ​พิจารณา​ให้​เห็น​ประโยชน์ใ​น​บริขาร
เครื่อง​เลี้ยง​ชีวิต
อา​รัทธะ​วริ​ิ​โย วิห​ ะ​ระ​ติ
ย่อม​เป็น​ผปู้​ รารภ​ความ​เพียร​อยู่
อิ​เม โข ภิกขะเว ติส​โส สะ​มะณะ​สัญญา ภา​วติ​ า
พะ​หุ​ลี​กะ​ตา
ดูก​ ่อน​ภิกษุท​ ั้ง​หลาย สมณ​สัญญา ๓ ประการ
เหล่า​นแี้​ ล อันบ​ รรพชิต​กระทำ�​ให้​มาก​แล้ว
อิ​เม สัตตะ ธัมเ​ม ปะ​ริ​ปู​เรน​ตตี​ ิ
ย่อม​กระทำ�​ธรรมะ​ทั้ง ๗ ประการ​เหล่า​นี้
ให้​บริบูรณ์​ได้ฉ​ ะนีแ้​ ล

167
สามเณร​สิกขา
(สิกขาบท ๑๐)

อะ​นญุ​ ญา​สิ โข ภะ​คะ​วา


พระ​ผมู้​ ี​พระ​ภาค​เจ้า​ทรง​อนุญาต​ไว้แ​ ล้วแ​ ล
สา​มะ​เณร​านัง ทะ​สะ สิกขา​ปะ​ทา​นิ
ซึ่ง​สิกขาบท​สิบ​ประการ​แก่ส​ ามเณร​ทั้ง​หลาย
เต​สุ จะ สา​มะ​เณเรหิ สิกขิ​ตุง
และ​เพื่อ​ให้​สามเณร​ศึกษา​ใน​สิกขาบท​เหล่า​นั้นค​ ือ
ปาณา​ติปา​ตา เวร​ะม​ ะณี
เจตนา​เครื่อง​งด​เว้นจ​าก​การ​ทำ�​สัตว์ท​ ี่​มี​ชีวิต​ให้​ตก
ล่วง​ไป
อะ​ทินน​ า​ทา​นา เวร​ะม​ ะณี
เจตนา​เครื่อง​งด​เว้นจ​าก​การ​ถือเ​อา​ของ​ที่​เจ้าของ
ไม่​ได้ใ​ห้
อะ​พฺรัหฺมะ​จะ​ริ​ยา เวร​ะม​ ะณี
เจตนา​เครื่อง​งด​เว้นจ​าก​กรรม
อันเ​ป็น​ข้าศึกแ​ ก่พ​ รหมจรรย์
มุสา​วา​ทา เวร​ะม​ ะณี
เจตนา​เครื่อง​งด​เว้นจ​าก​การ​พูดป​ ด

168
สุรา​เม​ระยะ​มัช​ชะ​ปะ​มาทั​ฏ​ฐาน​า เวร​ะม​ ะณี
เจตนา​เครื่อง​งด​เว้นจ​าก​เหตุ​อันเ​ป็น​ที่​ตั้ง
แห่ง​ความ​ประมาท​คือก​ าร​ดื่มก​ ินส​ ุรา​และ​เมรัย
วิก​ า​ละ​โภ​ชะ​นา เวร​ะม​ ะณี
เจตนา​เครื่อง​งด​เว้นจ​าก​การ​บริโภค​อาหาร
ใน​เวลา​วิกาล
นัจจ​ะ​คตี​ ะ​วา​ทิตะ​ว​สิ​ ู​กะ​ทัส​สะ​นา เวร​ะม​ ะณี
เจตนา​เครื่อง​งด​เว้นจ​าก​การ​ขับ​ร้อง​ฟ้อน​รำ�
และ​ประโคม​ดนตรีแ​ ละ​ดกู​ าร​ละ​เล่น​ต่างๆ
มา​ลา​คันธ​ะว​เิ​ลป​ะน​ ะ​ธาร​ะณะ​มัณฑ​ะน​ ะ​วิภสู​ ะ​นัฏฐ​าน​า
เวร​ะม​ ะณี
เจตนา​เครื่อง​งด​เว้นจ​าก​การ​ทัดท​ รง​ดอกไม้​ประดับ
ตกแต่ง​ด้วย​ดอกไม้​ของ​หอม​เครื่อง​ย้อม​เครื่อง​ทา
อุจ​จา​สะ​ยะ​นะ​มะ​หา​สะ​ยะ​นา เวร​ะม​ ะณี
เจตนา​เครื่อง​งด​เว้นจ​าก​การ​นั่งห​ รือ​นอน
เหนือ​ที่​นั่งท​ ี่นอน​อันส​ ูง​อัน​ใหญ่
ชาตะ​รู​ปะ​ระ​ชะ​ตะ​ปะฏิคค​ ะ​หะณา เวร​ะม​ ะณี
เจตนา​เครื่อง​งด​เว้นจ​าก​การ​รับ​เงิน​และ​ทอง
(นา​สนัง​คะ ๑๐)
อะ​นญ ุ​ ญา​สิ โข ภะ​คะ​วา
พระ​ผู้​มี​พระ​ภาค​เจ้า​ทรง​อนุญาต​ไว้แ​ ล้วแ​ ล

169
ทะ​สะหิ อัง​เคหิ สะ​มันน​ า​คะ​ตัง สา​มะ​เณรั​ง นา​เส​ตุง
เพื่อ​ยัง​สามเณร​ผปู้​ ระกอบ​ด้วย​องค์​สิบ​ให้​ฉิบหาย
กะ​ตะ​เมหิ ทะ​สะหิ
องค์​สิบ​อะไร​บ้าง
ปาณา​ติปา​ตี โห​ติ
คือส​ ามเณร​ชอบ​ทำ�​สัตว์ท​ ี่​มี​ชีวิต​ให้​ตก​ล่วง​ไป
อะ​ทินน​ า​ทา​ยี โห​ติ
สามเณร​ชอบ​ถือเ​อา​สิ่งของ​ที่​เจ้าของ​เขา​ไม่​ได้ใ​ห้
อะ​พฺรัหฺมะ​จารี โห​ติ
สามเณร​ไม่​ชอบ​ประพฤติพ​ รหมจรรย์
มุสา​วาที โห​ติ
สามเณร​ชอบ​พูด​ปด
มัช​ชะ​ปา​ยี โห​ติ
สามเณร​ชอบ​ดื่มก​ ินข​ อง​เมา
พุทธั​ส​สะ อะ​วัณณ ​ ัง ภา​สะ​ติ
สามเณร​กล่าว​ตเิ​ตียน​พระพุทธเจ้า
ธัมมัส​สะ อะ​วัณณ ​ ัง ภา​สะ​ติ
สามเณร​กล่าว​ตเิ​ตียน​พระ​ธรรม
สังฆั​ส​สะ อะ​วัณณ ​ ัง ภา​สะ​ติ
สามเณร​กล่าว​ตเิ​ตียน​พระ​สงฆ์

170
มิจฉา​ทิฏฐิ​โก โห​ติ
สามเณร​เป็น​ผมู้​ ี​ความ​เห็น​ผิดจ​าก​ธรรม​วินัย
ภิกขุณที​ ู​สะ​โก โห​ติ
สามเณร​ชอบ​ประทุษร้าย​ภิกษุณี
อะ​นญ ุ​ ญา​สิ โข ภะ​คะ​วา
พระ​ผู้​มี​พระ​ภาค​เจ้า​ทรง​อนุญาต​ไว้แ​ ล้วแ​ ล
อิ​เมหิ ทะ​สะหิ อัง​เคหิ สะ​มันน​ า​คะ​ตัง สา​มะ​เณรั​ง
นา​เส​ตุนต​ ิ
เพือ่ ย​งั ส​ามเณร​ผป​ู้ ระกอบ​ดว้ ย​องค์ส​บิ เ​หล่าน​ ้ี ให้ฉ​บิ หาย
ดังนี้
(ทัณฑกรรม ๕)
อะ​นญุ​ ญา​สิ โข ภะ​คะ​วา
พระ​ผู้​มี​พระ​ภาค​เจ้า​ทรง​อนุญาต​ไว้แ​ ล้วแ​ ล
ปัญจ​ะหิ อัง​เคหิ สะ​มันน​ า​คะ​ตัสส​ ะ สา​มะ​เณรั​ส​สะ
ทัณฑะ​กัมมัง กา​ตุง
เพื่อ​ทำ�​ทัณฑกรรม​คือ​ลงโทษ​แก่​สามเณร​ผู้​ประกอบ
ด้วย​องค์​ห้า​อย่าง
กะ​ตะ​เมหิ ปัญจ​ะหิ
องค์​ห้า​อย่าง​อะไร​บ้าง
ภิกข​ ู​นัง อะ​ลา​ภา​ยะ ปะ​ริ​สักกะ​ติ
คือส​ ามเณร​พยายาม​ทำ�ให้​ภิกษุเ​สื่อม​ลาภ​ที่​ควร​จะ​ได้

171
ภิกข​ ู​นัง อะนัตถ​ า​ยะ ปะ​ริ​สักกะ​ติ
สามเณร​พยายาม​ทำ�​สิ่ง​ที่​ไม่​เป็น​ประโยชน์
แก่ภ​ ิกษุท​ ั้ง​หลาย
ภิกข​ ู​นัง อะ​นาวา​สา​ยะ ปะ​ริ​สักกะ​ติ
สามเณร​พยายาม​ทำ�​ไม่​ให้​ภิกษุอ​ ยูอ่​ ย่าง​สงบ
ภิกข​ ู อัก​โก​สะ​ติ ปะ​ริ​ภา​สะ​ติ
สามเณร​ด่าแ​ ละ​พูด​ขู่​ภิกษุท​ ั้ง​หลาย
ภิกข​ ู ภิกข​ ูหิ เภ​เท​ติ
สามเณร​ยใุ​ห้​ภิกษุแ​ ตก​กัน
อะ​นญุ​ ญา​สิ โข ภะ​คะ​วา
พระ​ผู้​มี​พระ​ภาค​เจ้า​ทรง​อนุญาต​ไว้แ​ ล้วแ​ ล
อิ​เมหิ ปัญจ​ะหิ อัง​เคหิ สะ​มันน​ า​คะ​ตัส​สะ
สา​มะ​เณรั​ส​สะ ทัณฑะ​กัมมัง กา​ตุนต​ ิ
เพื่อ​ทำ�​ทัณฑกรรม​แก่ส​ ามเณร​ผทู้​ ำ�​ผิด
ประกอบ​ด้วย​องค์​ห้า​อย่าง​เหล่า​นี้
ดังนี้

นอกจาก​นี้​แล้ว สามเณร​ยัง​จะ​ต้อง​ศึกษา
และ​ปฏิบัติ​ตาม​เสขิ​ย​วัตร ๗๕ ข้อ อีก​ด้วย
เพื่อ​รักษา​กิริยา​มารยาท​ให้​เรียบร้อย
สม​กับค​ วาม​เป็น​เหล่ากอ​ของ​สมณะ​ทดี่​ ี

172
สัจ​จะ​กริ​ิ​ยะ​คาถา
หันท​ ะ มะ​ยัง สัจ​จะ​กริ​ิ​ยะ​คาถา​โย ภะณา​มะ เส

นัตถิ เม สะ​ระณัง อัญ​ญัง พุ​ทโธ เม สะ​ระณัง วะ​รัง


ที่​พึ่ง​อื่นข​ อง​ข้าพเจ้า​ไม่มี พระพุทธเจ้า​เป็น​ที่​พึ่ง
อันป​ ระเสริฐ​ของ​ข้าพเจ้า
เอ​เต​นะ สัจจะ​วัชเ​ชน​ะ โสตถิ เม โห​ตุ สัพพะ​ทา
ด้วย​การ​กล่าว​คำ�​สัตย์น​ ี้ ความ​เจริญสุข​สวัสดี
จง​มี​แก่ข​ ้าพเจ้า​ใน​กาล​ทุกเ​มื่อ
นัตถิ เม สะ​ระณัง อัญ​ญัง ธัม​โม เม สะ​ระณัง วะ​รัง
ที่​พึ่ง​อื่นข​ อง​ข้าพเจ้า​ไม่มี พระ​ธรรม​เป็น​ที่​พึ่ง
อันป​ ระเสริฐ​ของ​ข้าพเจ้า
เอ​เต​นะ สัจจะ​วัชเ​ชน​ะ โสตถิ เม โห​ตุ สัพพะ​ทา
ด้วย​การ​กล่าว​คำ�​สัตย์น​ ี้ ความ​เจริญสุข​สวัสดี
จง​มี​แก่ข​ ้าพเจ้า​ใน​กาล​ทุกเ​มื่อ
นัตถิ เม สะ​ระณัง อัญ​ญัง สังโฆ เม สะ​ระณัง วะ​รัง
ที่​พึ่ง​อื่นข​ อง​ข้าพเจ้า​ไม่มี
พระ​สงฆ์​เป็น​ที่​พึ่ง​อันป​ ระเสริฐ​ของ​ข้าพเจ้า
เอ​เต​นะ สัจจะ​วัชเ​ชน​ะ โสตถิ เม โห​ตุ สัพพะ​ทา
ด้วย​การ​กล่าว​คำ�​สัตย์น​ ี้ ความ​เจริญสุข​สวัสดี
จง​มี​แก่ข​ ้าพเจ้า​ใน​กาล​ทุกเ​มื่อ
173
สี​ลุท​เท​ส​ปาฐ​ะ
หันท​ ะ มะ​ยัง สี​ลุท​เท​สะ​ปาฐั​ง ภะณา​มะ เส

ภา​สิ​ตะ​มิ​ทัง เต​นะ ภะ​คะ​วะ​ตา ชา​นะ​ตา ปัส​สะ​ตา


อะ​ระ​หะ​ตา สัมมา​สัม​พุ​ทเธ​นะ
พระ​ผู้​มี​พระ​ภาค​เจ้า ผู้​รู้ ผู้​เห็น เป็น​พระ​อรหันต์
ตรัสรูช​้ อบ​ได้โ​ดย​พระองค์เ​อง ได้ต​ รัสภ​ าษิตไ​ว้ ดังนีว​้ า่
สัม​ปันน​ ะ​สี​ลา ภิกขะเว วิห​ ะ​ระ​ถะ สัมป​ ันน​ ะ​ปาฏิ​โมก​ขา
ดูก​ ่อน​ภิกษุท​ ั้ง​หลาย
เธอ​ทั้ง​หลาย​จง​เป็น​ผมู้​ ี​ศีล​สมบูรณ์
มี​พระ​ปาฏิ​โมกข์​สมบูรณ์
ปาฏิ​โมก​ขะสัง​วะ​ระ​สังวุ​ตา วิห​ ะ​ระ​ถะ อา​จา​ระ​โค​จะ​ระ
สัม​ปันน​ า
จง​เป็นผ​ส​ู้ ำ�รวม​แล้ว ด้วย​ความ​สำ�รวม​ใน​พระ​ปาฏิโ​มกข์
สมบูรณ์​ด้วย​อา​จา​ระ​คือม​ ารยาท​อันค​ วร
และ​สมบูรณ์​ด้วย​โค​จระ​คือส​ ถาน​ที่​ที่​ภิกษุค​ วร​ไป
อะณุมัตเ​ต​สุ วัช​เช​สุ ภะ​ยะ​ทัส​สา​วี สะ​มา​ทา​ยะ
สิกขะ​ถะ สิกขา​ปะ​เท​สูติ
จง​เป็น​ผมู้​ ี​ปกติเ​ห็น​ความ​น่าก​ ลัว​ใน​โทษ
แม้​เพียง​เล็ก​น้อย สมาทาน​ศึกษา​และ​สำ�เหนียก
ใน​สิกขาบท​ทั้ง​หลาย​เถิด
174
ตัสมฺ​ า​ตหิ​ ัม​เหหิ สิกขิตัพ​พัง
เพราะ​ฉะนั้น พวก​เรา​ทั้ง​หลาย​ควร​ศึกษา
และ​สำ�เหนียก​ว่า
สัม​ปันน​ ะ​สี​ลา วิห​ ะ​ริ​ส​สา​มะ สัม​ปันน​ ะ​ปาฏิ​โมก​ขา
เรา​ทั้ง​หลาย​จักเ​ป็น​ผู้​มี​ศีลส​ มบูรณ์
มี​พระ​ปาฏิ​โมกข์​สมบูรณ์
ปาฏิ​โมก​ขะสัง​วะ​ระ​สังวุ​ตา วิห​ ะ​ริ​ส​สา​มะ
อา​จา​ระ​โค​จะ​ระ​สัม​ปันน​ า
จักเ​ป็นผ​ส​ู้ ำ�รวม​แล้วด​ ว้ ย​ความ​สำ�รวม​ใน​พระ​ปาฏิโ​มกข์
สมบูรณ์​ด้วย​อา​จา​ระ​คือม​ ารยาท​อันค​ วร
และ​สมบูรณ์​ด้วย​โค​จระ​คือส​ ถาน​ที่​ที่​ภิกษุค​ วร​ไป
อะณุมัตเ​ต​สุ วัช​เช​สุ ภะ​ยะ​ทัส​สา​วี สะ​มา​ทา​ยะ
สิกขิส​สา​มะ สิกขา​ปะ​เท​สูติ
เรา​ทั้ง​หลาย​จักเ​ป็น​ผู้​มี​ปกติเ​ห็น​ความ​น่าก​ ลัว
ใน​โทษ​แม้​เพียง​เล็ก​น้อย สมาทาน​ศึกษา
และ​สำ�เหนียก​ใน​สิกขาบท​ทั้ง​หลาย
เอวั​ญหิ โน สิกขิตัพพ​ ัง
พวก​เรา​ทั้ง​หลาย​พึง​ศึกษา​และ​สำ�เหนียก​อย่าง​นแี้​ ล

175
ตาย​นค​ าถา
หันท​ ะ มะ​ยัง ตา​ยะ​นะ​คาถา​โย ภะณา​มะ เส

ฉินท​ ะ โสตั​ง ปะ​รักก​ ัมม​ ะ กา​เม ปะ​นทู​ ะ พฺราหฺมะณะ


เธอ​จง​บาก​บั่นต​ ัดก​ ระแส​แห่ง​ตัณหา​เสีย
จง​กำ�จัดก​ ามคุณท​ ั้ง​หลาย​เสีย​เถิด
นัปป​ ะ​หา​ยะ มุนิ กา​เม เนกัตต​ ะ​มุ​ปะ​ปัช​ชะ​ติ
เพราะ​มุนที​ ี่​ไม่​ละ​กาม​ทั้ง​หลาย​แล้ว
จะ​เข้า​ถึง​ความ​สงบ​ไม่​ได้
กะ​ยริ​า เจ กะ​ยริ​า​เถนัง​ ทัฬห​ะเ​มนั​ง ปะ​รักก​ ะ​เม
ถ้าจ​ะ​ทำ�การ​ใด ให้​ทำ�การ​นั้นจ​ริงๆ
พึง​บาก​บั่นท​ ำ�​กิจน​ ั้น​ให้​มั่น
สิ​ถิโล หิ ปะ​ริพ​พาโช ภิยโย อา​กริ​ะ​เต ระ​ชัง
เพราะ​การ​บวช​ที่​ยัง​ย่อหย่อน​หละ​หลวม
ยิ่ง​โปรย​โทษ​ดุจธ​ ุลี
อะ​กะตัง ทุก​ กะฏัง เสย​โย ปัจฉา ตัปป​ ะ​ติ ทุก​ กะฏัง
อันค​ วาม​ชั่ว​ไม่​ทำ�​เสีย​เลย​ดกี​ ว่า
เพราะ​ว่าค​ วาม​ชั่วย​ ่อม​ส่ง​ผล
คือค​ วาม​ทุกข์​แผด​เผา​เรา​ใน​ภาย​หลัง

176
กะ​ตัญจ​ะ สุก​ ะตัง เสย​โย ยัง กัตวฺ​า นา​นุตปั​ ​ปะ​ติ
อันค​ วาม​ดที​ ำ�​ไว้น​ ั่นแ​ หละ​ดกี​ ว่า
เพราะ​ทำ�​แล้ว​ไม่​ต้อง​เดือด​ร้อน​ใจ​ใน​ภาย​หลัง
กุโส ยะ​ถา ทุค​ ค​ ะ​หิ​โต หัตถ​ ะ​เม​วา​นกุ​ ันต​ ะ​ติ
บุคคล​จะ​ถอน​หญ้าค​ า​แต่จ​บั ไ​ม่ด​ ี ย่อม​บาด​มอื ไ​ด้ฉ​ นั ใด
สามัญ​ญัง ทุป​ ​ปะ​รามั​ตถ​ ัง นิร​ะ​ยา​ยปู​ ะ​กัฑฒะ​ติ
สมณ​ธรรม​ที่​บรรพชิต​ประพฤติ​ด้วย​ความ​ย่อหย่อน
และ​ชั่วช​ ้า ย่อม​ฉุดล​ าก​เขา​ลง​ไป​สู่​นรก​ได้ฉ​ ันน​ ั้น
ยัง​กิญจ​ิ สิถิลงั​ กัมมัง สังกิ​ลิฏฐัญ​จะ ยัง วะ​ตัง
การ​งาน​อัน​ใด​อัน​หนึ่ง​ที่​ย่อหย่อน
และ​ข้อ​วัตร​อัน​ใด​ที่​เจือ​ด้วย​ความ​เศร้า​หมอง
สัง​กัสสะ​รัง พฺรัหฺมะ​จะ​ริ​ยัง นะ ตัง โห​ติ มะ​หัป​ผะ​ลันต​ ิ
พรหมจรรย์​อัน​ใด​ที่​ตน​ประพฤติย​ ่อหย่อน
ต้อง​ระลึกถ​ ึง​ด้วย​ความ​รังเกียจ กิจท​ ั้ง ๓ อย่าง​นั้น
ย่อม​เป็น​ของ​ที่​ไม่​ให้​ผล​อันย​ ิ่ง​ใหญ่
ดังนี้

177
อนุโ​ม​ทนา​รัม​ภะ​คาถา
ยะ​ถา วาริว​ะ​หา ปู​รา ปะ​ริ​ปู​เรน​ติ สา​คะ​รัง
ห้วง​น้ำ�ท​ ี่​เต็ม​ย่อม​ยัง​สมุทรสาคร​ให้​บริบูรณ์​ได้ฉ​ ันใด
เอ​วะ​เม​วะ อิโ​ต ทินน​ ัง เปตา​นัง อุ​ปะ​กัปป​ ะ​ติ
ทาน​ที่​ท่าน​อุทิศ​ให้​แล้วแ​ ต่โ​ลก​นี้
ย่อม​สำ�เร็จป​ ระโยชน์แ​ ก่ผ​ ท​ู้ ล​ี่ ะ​โลก​นไ​ี้ ป​แล้วไ​ด้ ฉันน​ นั้
อิจฉิต​ ัง ปัตถิต​ ัง ตุม​ หัง
ขอ​อิฏฐ​ผล​ที่​ท่าน​ปรารถนา​แล้ว ตั้งใจ​แล้ว
ขิป​ปะ​เม​วะ สะ​มิชฌะ​ตุ
จง​สำ�เร็จ​โดย​ฉับพ​ ลัน
สัพ​เพ ปู​เรน​ตุ สัง​กัปป​ า
ขอ​ความ​ดำ�ริ​ทั้ง​ปวง​จง​เต็ม​ที่
จัน​โท ปัณณะ​ระโส ยะ​ถา
เหมือน​พระจันทร์​วันเ​พ็ญ
มะณิ โชติร​ะโส ยะ​ถา
เหมือน​แก้วม​ ณี​อันส​ ว่างไสว​ควร​ยินดี

178
สามัญ​ญา​นโุ​มทนา​คาถา
สัพ​พี​ตโิ​ย วิว​ัชช​ ันตุ
ความ​จัญไร​ทั้ง​ปวง​จง​บำ�ราศ​ไป
สัพพะ​โร​โค วินสั​ ​สะตุ
โรค​ทั้ง​ปวง​ของ​ท่าน​จง​หาย
มา เต ภะ​วัตวฺ​ันต​ ะ​รา​โย
อันตราย​อย่า​มี​แก่ท​ ่าน
สุขี ทีฆายุ​โก ภะ​วะ
ท่าน​จง​เป็น​ผมู้​ ี​ความ​สุข มีอายุ​ยืน
อะภิว​า​ทะนะ​สี​ลิ​ส​สะ นิจจ​ัง วุฑฒา​ปะ​จา​ยโิ​น
จัตต​ า​โร ธัม​มา วัฑฒันต​ ิ, อายุ วัณ​โณ สุ​ขัง พะ​ลัง
ธรรม​สี่​ประการ คือ อายุ วรรณะ สุข​ะ พละ
ย่อม​เจริญ​แก่บ​ ุคคล​ผู้​มี​ปกติก​ ราบ​ไหว้
มี​ปกติอ​ ่อนน้อม​ถ่อม​ตัวเ​ป็น​นิตย์

179
โภชนา​ทา​นา​นโุ​มทนา​คาถา
อายุ​โท พะ​ละ​โท ธี​โร
ผูม้​ ี​ปัญญา​ให้​อายุ ให้​กำ�ลัง
วัณณะ​โท ปะฏิ​ภาณ​ะ​โท
ให้​วรรณะ ให้​ปฏิภาณ
สุขั​ส​สะ ทา​ตา เมธาวี
ผูม้​ ี​ปัญญา​ให้​ความ​สุข
สุ​ขัง โส อะธิคัจ​ฉะ​ติ
ย่อม​ได้ป​ ระสบ​สุข
อา​ยุง ทัตวฺ​า พะ​ลัง วัณ​ณัง สุขั​ญจ​ะ ปะฏิภ​ าณ​ะ​โท
บุคคล​ผใู้​ห้​อายุ พละ วรรณะ สุข​ะ และ​ปฏิภาณ
ทีฆายุ ยะ​สะ​วา โห​ติ ยัตถ​ ะ ยัตถ​ ปู​ ะ​ปัช​ชะ​ตตี​ ิ
บังเกิด​ใน​ที่​ใดๆ ย่อม​เป็น​ผมู้​ ีอายุ​ยืน มีย​ ศ มีส​ ุข
ใน​ที่​นั้นๆ
ดังนี้

180
อัคคัปป​ สาท​สุตตะ​คาถา
อัคคะ​โต เว ปะ​สัน​นานัง​ อัคคัง ธัมมัง วิชา​นะ​ตัง
เมื่อ​บุคคล​รู้จักธ​ รรม​อัน​เลิศ
เลื่อมใส​แล้ว​โดย​ความ​เป็น​ของ​เลิศ
อัคเค พุ​ทเธ ปะ​สันน​ านัง​
เลื่อมใส​แล้ว​ใน​พระพุทธเจ้า​ผู้​เลิศ
ทักข​ ิเณยเย อะ​นุตต​ ะเร
ซึ่ง​เป็น​ทักขิไณยบุคคล​อันเ​ยี่ยม​ยอด
อัคเค ธัมเ​ม ปะ​สัน​นานัง​
เลื่อมใส​แล้ว​ใน​พระ​ธรรม​อันเ​ลิศ
วิร​า​คปู​ ะ​สะ​เม สุ​เข
ซึง่ เ​ป็นธ​รรม​อนั ป​ ราศจาก​ราคะ และ​สงบ​ระงับเ​ป็นสุข
อัคเค สังเฆ ปะ​สันน​ านัง​
เลื่อมใส​แล้ว​ใน​พระ​สงฆ์​ผเู้​ลิศ
ปุ​ญญักเ​ขต​เต อะ​นุตต​ ะเร
ซึ่ง​เป็น​บุญเขต​อย่าง​ยอด
อัคคัสมฺ​ ิง ทานั​ง ทะ​ทะ​ตัง
ถวาย​ทาน​ใน​ท่าน​ผู้​เลิศ
อัคคัง ปุญ ​ ญัง ปะ​วัฑฒะ​ติ
บุญท​ ี่​เลิศ​ย่อม​เจริญ
181
อัคคัง อายุ จะ วัณ​โณ จะ
อายุ วรรณะ​ที่​เลิศ
ยะโส กิตติ สุข​ ัง พะ​ลัง
และ​ยศ เกียรติคุณ สุขะ​ พละ​ที่​เลิศ ย่อม​เจริญ
อัคคัสส​ ะ ทา​ตา เมธาวี อัคคะ​ธัมมะ​สะ​มา​หิ​โต
ผูม้​ ี​ปัญญา​ตั้งม​ ั่น​ใน​ธรรม​อันเ​ลิศ​แล้ว
ให้​ทาน​แก่ท​ ่าน​ผู้​เป็น​บุญเขต​อันเ​ลิศ
เทวะ​ภโู​ต มะ​นสุ​โส วา
จะ​ไป​เกิดเ​ป็น​เทพยดา หรือ​มนุษย์ก​ ็ตาม
อัคคัปปัต​โต ปะ​โม​ทะ​ตตี​ ิ
ย่อม​เป็น​ผถู้​ ึง​ความ​เป็น​ผเู้​ลิศ บันเทิง​อยู่
ดังนี้

182
สัพ​พ​โรค​วนิ​ มิ​ ุต​โต
สัพพะ​โร​คะ​วนิ​ มิ​ ุต​โต
ท่าน​จง​เป็น​ผพู้​ ้น​จาก​โรค​ทั้ง​ปวง
สัพพะ​สันต​ า​ปะ​วัชช​ ิ​โต
จง​ว่าง​เว้นจ​าก​ความ​เดือด​ร้อน​ทั้ง​ปวง
สัพ​พะ​เวร​ะม​ ะ​ติกก​ ัน​โต
จง​ล่วง​เสีย​ซึ่ง​เวร​ทั้ง​ปวง
นิพ​พุ​โต จะ ตุว​ัง ภะ​วะ
จง​ถึงค​ วาม​ดับ​ไป​ซึ่ง​ทุกข์​ทั้ง​ปวง​แห่ง​ท่าน​ทั้ง​หลาย
สัจ​เจ​นะ จะ สีเ​ลน​ะ จะ
ด้วย​สัจจะ​กด็​ ี ด้วย​ศีลก​ ด็​ ี
ขันติเ​มตตา พะ​เลน​ะ จะ
ด้วย​พลัง​แห่ง​ขันติ และ​เมตตา​กด็​ ี
เต​สัง พุทธ​านัง
แห่ง​พระพุทธเจ้า​ทั้ง​หลาย
อะ​นรุ​ักข​ ันต​ ุ เต
จง​รักษา​ท่าน​ทุกเ​มื่อ
อะ​โร​คะ​เยน​ะ จะ สุเ​ข​นะ จะ
ด้วย​สภาวะ​หา​โรค​มิได้ก​ ด็​ ี ด้วย​ความ​สุข​กด็​ ี
โหน​ตุ เต
จง​มี​แด่ท​ ่าน​ทุกเ​มื่อ เทอญ
183
มงคล​จักรวาล​น้อย
สัพ​พะ​พุทธ​า​นภุ​ า​เวน​ะ
ด้วย​อานุภาพ​แห่ง​พระพุทธเจ้า​ทั้ง​ปวง
สัพ​พะ​ธัม​มา​นภุ​ า​เวน​ะ
ด้วย​อานุภาพ​แห่ง​พระ​ธรรม​ทั้ง​ปวง
สัพ​พะ​สังฆ​า​นภุ​ า​เวน​ะ
ด้วย​อานุภาพ​แห่ง​พระ​สงฆ์​ทั้ง​ปวง
พุทธะ​ระ​ตะ​นัง ธัมมะ​ระ​ตะ​นัง สังฆ​ะร​ะ​ตะ​นัง
ด้วย​อานุภาพ​แห่ง​พระพุทธ​รัตนะ​พระ​ธรรม​รัตนะ
พระ​สังฆ​รัตนะ
ติณณ ​ ัง​ระ​ตะ​นานัง​ อา​นภุ​ า​เวน​ะ
ด้วย​อานุภาพ​แห่ง​พระ​ไตรรัตน์
จะ​ตรุ​าสี​ตสิ​ ะ​หัส​สะ​ธัม​มักข​ ันธ​ า​นภุ​ า​เวน​ะ
ด้วย​อานุภาพ​แห่ง​พระ​ธรรม​ขันธ์แ​ ปด​หมื่นส​ ี่​พัน
ปิฏะกัตต​ ะ​ยา​นภุ​ า​เวน​ะ
ด้วย​อานุภาพ​แห่ง​พระ​ไตรปิฎก
ชิ​นะ​สา​วะ​กา​นภุ​ า​เวน​ะ
ด้วย​อานุภาพ​แห่ง​พระ​สาวก​ของ​พระ​ชินเ​จ้า
สัพ​เพ เต โรคา สัพ​เพ เต ภะ​ยา
โรค​ทั้ง​หลาย​ของ​ท่าน ภัยท​ ั้ง​หลาย​ของ​ท่าน

184
สัพ​เพ เต อันตะ​รา​ยา สัพ​เพ เต อุปั​ท​ทะ​วา
อันตราย​ทง้ั ​หลาย​ของ​ทา่ น อุปทั ว​ะ​ทง้ั ​หลาย​ของ​ทา่ น
สัพ​เพ เต ทุนนิมิตต​ า สัพ​เพ เต อะ​วะ​มัง​คะ​ลา
นิมติ ​รา้ ย​ทง้ั ​หลาย​ของ​ทา่ น อวมงคล​ทง้ั ​หลาย​ของ​ทา่ น
วินสั​ ​สัน​ตุ
จง​พินาศ​ไป
อา​ยุวฑั​ ฒะ​โก ธะ​นะ​วัฑฒะ​โก
ความ​เจริญ​ด้วย​อายุ ความ​เจริญ​ด้วย​ทรัพย์
สิ​ริ​วัฑฒะ​โก ยะ​สะ​วัฑฒะ​โก
ความ​เจริญ​ด้วย​สิริ ความ​เจริญ​ด้วย​ยศ
พะ​ละ​วัฑฒะ​โก วัณณะ​วัฑฒะ​โก
ความ​เจริญ​ด้วย​กำ�ลัง ความ​เจริญ​ด้วย​วรรณะ
สุข​ะวัฑฒะ​โก โห​ตุ สัพพะ​ทา
ความ​เจริญ​ด้วย​สุข จง​มี​แก่ท​ ่าน​ใน​กาล​ทั้ง​ปวง
ทุกข​ะ​โร​คะภะ​ยา เวร​า
ความ​ทุกข์​โรค​ภัย และ​เวร​ทั้ง​หลาย
โสก​า สัตต​ ุ จุป​ ัท​ทะ​วา
ความ​โศก ศัตรู และ​อุปัทว​ะท​ ั้ง​ปวง
อะเน​กา อันตะ​รา​ยาปิ วินสั​ ​สัน​ตุ จะ เต​ชะ​สา
อันตราย​ทั้ง​หลาย​เป็น​อเนก​ประการ
จง​พินาศ​ไป​ด้วย​เดชะ

185
ชะ​ยะ​สิทธิ ธะนัง ลาภั​ง
ความ​ชนะ ความ​สำ�เร็จ ทรัพย์ และ​ลาภ
โสตถิ ภาคฺย​ ัง สุ​ขัง พะ​ลัง
ความ​สวัสดี ความ​มี​โชค ความ​สุข และ​กำ�ลัง
สิริ อายุ จะ วัณ​โณ จะ
สิริ อายุ วรรณะ
โภคัง​ วุฑฒี จะ ยะ​สะ​วา
โภคทรัพย์ ความ​เจริญ และ ความ​เป็น​ผู้​มี​ยศ
สะ​ตะ​วัส​สา จะ อายุ จะ
การ​ได้อ​ ายุ​ยืนเ​ป็น​ร้อย​ปี
ชี​วะ​สิทธี ภะ​วันต​ ุ เต
และ​ความ​สำ�เร็จ​กิจ​ใน​ความ​เป็น​อยู่
จง​มี​แก่ท​ ่าน​ใน​กาล​ทุกเ​มื่อ เทอญ

186
กา​ละ​ทา​นะ​สุตตะ​คาถา
กาเล ทะ​ทันต​ ิ สะ​ปัญญา วะ​ทัญญู วีต​ ะ​มัจฉะ​รา
กา​เลน​ะ ทินน​ ัง อะ​ริ​เยสุ อุชุ​ภเู​ต​สุ ตา​ทิ​สุ
วิป​ ​ปะ​สันน​ ะ​มะ​นา ตัสส​ ะ วิป​ ุ​ลา โห​ติ ทักขิณา
ทายก​ทายิกา​ทั้ง​หลาย​เหล่า​ใด เป็น​ผมู้​ ี​ปัญญา
มี​ปกติร​ู้จักค​ ำ�​พูด ปราศจาก​ความ​ตระหนี่
มี​ใจ​เลื่อมใส​แล้ว​ใน​พระ​อริย​เจ้า​ทั้ง​หลาย
ซึ่ง​เป็น​ผตู้​ รง​คงที่​บริจาค​ทาน
ทำ�ให้​เป็น​ของ​ที่​ตน​ถวาย​โดย​กาล​นิยม
ใน​กาล​สมัย ทักษิณา​ทาน​ของ​ทายก​ทายิกา​นั้น
เป็น​คุณสมบัตมิ​ ี​ผล​ไพบูลย์
เย ตัตถ​ ะ อะ​นโุ​ม​ทันต​ ิ เวย​ยาวัจ​จ​ัง กะ​โรน​ติ วา
ชน​ทั้ง​หลาย​เหล่า​ใด
อนุโมทนา​หรือ​ช่วย​กระทำ�​การ​ขวนขวาย​ใน​ทาน​นั้น
นะ เต​นะ ทักขิณา โอ​นา
ทักษิณา​ทาน​ของ​เขา​มิได้บ​ กพร่อง​ไป​ด้วย​เหตุ​นั้น
เตปิ ปุ​ญญัสส​ ะ ภาคิโ​น
แม้​ชน​เหล่า​นั้น ย่อม​เป็น​ผมู้​ ี​ส่วน​แห่ง​ผล​บุญ​นั้นด​ ้วย

187
ตัสมฺ​ า ทะ​เท อัป​ปะฏิ​วา​นะ​จิต​โต
ยัตถ​ ะ ทินน​ ัง มะ​หัป​ผะ​ลัง
เหตุ​นั้นท​ ายก​ทายิกา​ควร​เป็น​ผมู้​ ี​จิต​ไม่​ท้อถอย
ให้​ใน​ที่​ใด​มี​ผล​มาก ควร​ให้​ใน​ที่​นั้น
ปุ​ญญา​นิ ปะ​ระ​โลกั​สฺ​มิง ปะ​ติฏฐา โหน​ติ ปาณิน​ ันต​ ิ
บุญย​ อ่ ม​เป็นท​ พ​ี่ งึ่ อ​ าศัยข​ อง​สตั ว์ท​ งั้ ห​ ลาย​ใน​โลก​หน้า
ดังนี้

188
ติโ​ร​กุฑฑกัณฑ​ปัจฉิมภ​ าค
อะ​ทา​สิ เม อะ​กา​สิ เม ญาติม​ ิตต​ า สะ​ขา จะ เม
บุคคล​มาระ​ลึกถ​ ึง​อุปการะ​อันท​ ่าน​ได้ท​ ำ�​แก่ต​ น
ใน​กาล​กอ่ น​วา ่ ผู​น้ น้ั ​ได้​ให้​สง่ิ ​น​แ้ี ก่​เรา ผู​น้ ​ไ้ี ด้​ทำ�​กจิ ​ของ​เรา
ผูน้​ เี้​ป็น​ญาติเ​ป็น​มิตร​เป็น​เพื่อน​ของ​เรา
เปตา​นัง ทักข​ ิณั​ง ทัช​ชา ปุ​พ​เพ กะ​ตะ​มะ​นสุ​ ​สะ​รัง
ก็ค​ วร​ให้​ทักษิณา​ทาน​เพื่อ​ผู้​ที่​ละ​โลก​นไี้​ป​แล้ว
นะ หิ รุณณัง วา โส​โก วา ยา วัญญา ปะ​ริ​เทวะ​นา
การ​ร้องไห้​กด็​ ี การ​เศร้า​โศก​กด็​ ี
หรือก​ าร​รำ�่ ไร​รำ�พันอ​ ย่าง​อนื่ ก​ ด​็ ี บุคคล​ไม่ค​ วร​ทำ�​เลย
นะ ตัง เปตา​นะ​มัตถ​ า​ยะ เอวัง ติฏฐันต​ ิ ญา​ตะ​โย
เพราะ​ว่าการ​ร้องไห้​เป็นต้นน​ ั้น
ไม่​เป็น​ประโยชน์แ​ ก่ญ ​ าติท​ ั้ง​หลาย​ผลู้​ ะ​โลก​นไี้​ป​แล้ว
เพราะ​ญาติท​ ั้ง​หลาย​ย่อม​ตั้ง​อยูอ่​ ย่าง​นั้น
อะ​ยัญจ​ะ โข ทักขิณา ทินน​ า สังฆั​มหิ สุ​ปะ​ติฏฐ​ิตา​
ก็ท​ ักษิณา​นปุ​ ระทาน​นแี้​ ล​อัน​ท่าน​ได้ใ​ห้​แล้ว
ประดิษฐาน​ไว้ด​ ีแล้ว​ใน​สงฆ์
ทีฆะ​ร​ัต​ตัง หิตา​ยัส​สะ ฐานะ​โส อุ​ปะ​กัปป​ ะ​ติ
ย่อม​สำ�เร็จ​ประโยชน์​เกื้อกูล​ได้น​ าน
แก่ผ​ ทู้​ ี่​ละ​โลก​นไี้​ป​แล้วต​ าม​ฐานะ
189
โส ญาติธ​ ัม​โม จะ อะ​ยัง นิท​ ัส​สิ​โต
ญาติธ​ รรม​นนี้​ ั้นท​ ่าน​ได้แ​ สดง​ให้​ปรากฏ​แล้ว
เปตา​นะ ปูชา จะ​กะ​ตา อุฬาร​า
แล​บูชา​อันย​ ิ่ง​ท่าน​ก็ได้ท​ ำ�​แก่ญ ​ าติผ​ ู้​ละ​โลก​นไี้​ป​แล้ว
พะ​ลัญจ​ะ ภิกข​ ู​นะ​มะ​นปุ​ ​ปะ​ทิน​นัง
ตุมเฺ​หหิ ปุ​ญญัง ปะ​สุ​ตัง อะนัปป​ ะ​กันต​ ิ
กำ�ลังแ​ห่งภ​ กิ ษุท​ ง้ั ห​ ลาย ชือ่ ว​า่ ท​ า่ น​กไ็ ด้เ​พิม่ ใ​ห้แ​ล้วด​ ว้ ย
ท่าน​ได้ข​ วนขวาย​ใน​บุญอ​ ันม​ าก ดังนีแ้​ ล

190
ภะ​วะ​ตสุ​ ัพ​พ์
ภะ​วะ​ตุ สัพ​พะ​มัง​คะ​ลัง
ขอ​สรรพ​มงคล จง​มี​แก่ท​ ่าน
รัก​ขันต​ ุ สัพพะ​เทวะ​ตา
ขอ​เหล่าเ​ทวดา​และ​กศุ ล​ทง้ั ​ปวง​ท​ท่ี า่ น​ทำ� จง​รกั ษา​ทา่ น
สัพ​พะ​พุทธ​า​นภุ​ า​เวน​ะ
ด้วย​อานุภาพ​แห่ง​พระพุทธเจ้า​ทั้ง​ปวง
สัพ​พะ​ธัม​มา​นภุ​ า​เวน​ะ
ด้วย​อานุภาพ​แห่ง​พระ​ธรรม​ทั้ง​ปวง
สัพ​พะ​สังฆ​า​นภุ​ า​เวน​ะ
ด้วย​อานุภาพ​แห่ง​พระ​สงฆ์​ทั้ง​ปวง
สะ​ทา โสต​ถี ภะ​วันต​ ุ เต
ขอ​ความ​สวัสดีท​ ั้ง​หลาย จง​มี​แก่ท​ ่าน​ทุกเ​มื่อ​เทอญ

191
คำ�ขอ​ขมา
ใน​พทุ ธ​ศาสนา มข​ี อ้ ป​ ฏิบตั อ​ิ ย่าง​หนึง่ ว​า ่ ผูใ​้ ด​ลว่ ง​เกิน
ผูอ้​ ื่น ผูน้​ ั้น​ไม่​ควร​ทำ�​เฉยเมย เมื่อ​รู้สึก​ตัวแ​ ล้วพ​ ึง​ขอโทษ
เรียก​วา ่ ขอ​ขมา แปล​วา  ่ ขอ​ให้ย​ ก​โทษ และ​ผใ​ู้ ด​ถกู ล​ ว่ ง​เกิน
เมือ่ ไ​ด้ร​บั ก​าร​ขอ​ขมา ผูน​้ น้ั ไ​ม่ค​ วร​ถอื โ​กรธ​ไม่รห​ู้ าย พึงร​บั ข​มา
ยอม​ยก​โทษ​ให้
นอกจาก​นี้ การ​ขอ​ขมา​ยังเ​ป็น​ธรรมเนียม​อย่าง​หนึ่ง
ที่​ภิกษุป​ ระพฤติก​ ัน​ใน​โอกาส​ต่างๆ เช่น ใน​วันเ​ข้า​พรรษา
หรือใ​น​วนั ต​ อ่ จ​าก​นนั้ ซึง่ เ​ป็นก​ จิ ท​ ผ​ี่ น​ู้ อ้ ย​ทำ�​แก่ผ​ ใู้ หญ่ ศิษย์
ทำ�​แก่อ​ ปุ ชั ฌาย์อ​ าจารย์ แม้ไ​ม่เ​คย​ลว่ ง​เกินก​ นั ก็ย​ งั ถ​ อื ว่า
เป็น​สิ่ง​ที่​ควร​ทำ�

คำ�ขอ​ขมา :-  (กล่าว​พร้อม​กัน)


ผูข้​ อ *เถเร ปะ​มา​เท​นะ, ทฺว​า​รัต​ตะ​เยน​ะ กะตัง
สัพ​พัง อะ​ปะ​รา​ธัง **ขะ​มะ​ตุ โน ภันเ​ต  

ขอ​ท่าน​ได้ก​ รุณา​ยก​โทษ​ทั้ง​ปวง
ที่​ข้าพเจ้า​ได้ล​ ่วง​เกินท​ ่าน​ด้วย กาย วาจา ใจ
เพราะ​ความ​ประมาท​ด้วย​เทอญ
ผู้รับ อะหัง ขะ​มา​มิ, **ตุมฺเหหิปิ เม ขะ​มิตพั​ ​พัง
ข้าพเจ้า​ขอ​ยก​โทษ​นั้นแ​ ก่ท​ ่าน,

192
แม้​ท่าน​กพ็​ ึง​ยก​โทษ​นั้นแ​ ก่ข​ ้าพเจ้า​ด้วย
ผูข้​ อ ** ขะ​มา​มะ ภันเ​ต
ข้าพเจ้า​ขอ​ยก​โทษ​นั้นแ​ ก่ท​ ่าน

หมายเหตุ
คำ�​ว่า เถเร ใช้​กับพ​ ระ​เถระ
*

ตั้งแต่พ​ รรษา ๑๐ ขึ้นไ​ป


ถ้าเ​ป็น พระ​อุปัชฌาย์ เปลี่ยน เถเร
เป็น อุปั​ชฌาเย
ถ้าเ​ป็น พระ​อาจารย์ เป็น อา​จะ​ริเย
หาก​ภิกษุไ​ป​ขอ​ขมา​รูป​เดียว
เปลี่ยนแปลง​บาง​อย่าง​ดังนี้ : -
- ** ผูข้​ อ เปลี่ยน ขะ​มะ​ตุ โน ภันเ​ต เป็น
ขะ​มะ​ถะ เม ภันเ​ต
- ผู้รับ เปลี่ยน ตุมฺเห​หิปิ เป็น ตะ​ยาปิ
- ผูข้​ อ เปลี่ยน ขะ​มา​มะ เป็น ขะ​มา​มิ

193
คำ�อ​ ธิษฐาน​เข้า​พรรษา
เมือ่ ถ​งึ ฤ​ดูฝ​ น ภิกษุจ​ะ​ตอ้ ง​หยุดเ​ดินท​ าง แล้วเ​ข้าพ​ ำ�นัก
ใน​วดั หรือส​ถาน​ทใ​ี่ ด​สถาน​ทห​ี่ นึง่ ท​ ส​ี่ มควร​ตลอด ๓ เดือน
เริม่ ต​ งั้ แต่แ​ รม ๑ ค่ำ� เดือน ๘ ถึงข​ นึ้ ๑๕ ค่ำ� เดือน ๑๑
เรียก​ธรรมเนียม​นว​ี้ า ่ การ​จ�ำ พ​ รรษา (เมือ่ ม​ เ​ี หตุจ​ำ�เป็นห​ รือ
ธุระ​อนั ​สมควร สามารถ​ไป​ท​อ่ี น่ื ​ได้​ไม่​เกิน​คราว​ละ ๗ วัน)
เมือ่ ถ​ งึ ว​นั เ​ข้าพ​ รรษา ภิกษุใ​น​อาวาส​ทงั้ หมด​พงึ เ​ข้าไป
ประชุม​พร้อม​กัน​ใน​โรง​อุโบสถ​หรือ​ใน​วิหาร​แล้ว​กล่าว​คำ�
อธิษฐาน​พร้อม​กันว​่า :-
อิมัสฺ​มิง อา​วา​เส, อิมัง เต​มาสั​ง วัส​สัง อุ​เป​มะ
(๓ ครั้ง)
“เรา​ทง้ั ห​ ลาย​จกั อ​ยูใ​่ น​อาวาส​นต​้ี ลอด ๓ เดือน ใน​ฤดูฝ​ น”

หมายเหตุ  หาก​กล่าว​ที​ละ​รูป​เปลี่ยน​คำ�​ว่า อุ​เป​มะ
เป็น​อุ​เป​มิ และ​เปลี่ยน​เรา​ทั้ง​หลาย​เป็น เรา หรือ ข้าพเจ้า
ถ้าจ​ำ�​พรรษา​รปู เ​ดียว​เปลีย่ น​อา​วา​เส​เป็น วิห​ าเร (วิหาร)

194
คำ�ขอ​นิสัย
ภิกษุ​ผู้​อุปสมบท​แล้ว ถ้า​ไม่​ได้​อยู่​ใน​วัด​เดียวกัน​กับ
อุปัชฌาย์ จะ​ต้อง​ถือน​ ิสัย​ใน​อาจารย์ หรือ​เจ้า​อาวาส​วัด
ที่​ตน​อาศัยอ​ ยู่
นอกจาก​นี้​การ​ขอ​นิสัย​ก็​ยัง​นิยม​ทำ�​กัน​ต่อ​จาก​การ
ขอ​ขมา​พระ​อุปัชฌาย์​อาจารย์​ใน​วัน​เข้า​พรรษา​ด้วย​หรือ
ใน​บาง​โอกาส เช่น เมื่อ​ไป​ขอพํำ�​นักศึกษา​พระ​ธรรม​วินัย
กับพ​ ระ​อาจารย์​ใน​วัดอ​ ื่น

คำ�ขอ​นิสัย :-
ศิษย์ อา​จะ​ริ​โย เม ภันเ​ต โหหิ, อายั​สฺ​มะ​โต
นิส​ ​สา​ยะ วัจฉา​มิ (๓ ครั้ง)
“ขอ​ท่าน​ได้โ​ปรด​เป็น​อาจารย์​ของ​ข้าพเจ้า,
ข้าพเจ้า​ขอ​อาศัยท​ ่าน”
อาจารย์ โอ​ปา​ยิกงั​, ปะฏิ​รู​ปัง, ปา​สา​ทิ​เก​นะ
สัม​ปา​เทหิ (บท​ใด​บท​หนึ่ง​หรือ​ทั้ง​สาม​บท)
“เป็น​อุบาย​ที่​สมควร​แล้ว”
ศิษย์ สาธุ ภันเ​ต (พึง​ตอบ​รับ​ทุกบ​ ท)
“ดีแล้ว ท่าน​ผู้​เจริญ”

195
จาก​นั้น ภิกษุพ​ งึ ก​ล่าว​คำ�​รบั เ​ป็นธ​รุ ะ​ให้ท​ า่ น​สบื ไป ดังนี้ :-
อัช​ชะ​ตัคเค​ทา​นิ เถ​โร มัย​หัง ภา​โร,
อะหัมปิ เถรั​ส​สะ ภา​โร (๓ ครั้ง)
ตั้งแต่ว​ันน​ ไี้​ป พระ​เถระ (อาจารย์)
ย่อม​เป็น​ภาระ​ของ​ข้าพเจ้า และ​ข้าพเจ้า
ก็ย​ ่อม​เป็น​ภาระ​ของ​พระ​เถระ (อาจารย์)

หมายเหตุ ถ้าภ​ ิกษุร​ูป​ใด​อยูโ่​ดย​ไม่​ขอ​นิสัย


ท่าน​ปรับ​อาบัติ​ทุ​กกฏ​แก่ภ​ ิกษุร​ูป​นั้น

196
คำ�ป​ วารณา
สังฆั​มภันเ​ต ปะ​วา​เร​มิ, ทิฏเฐ​นะ วา สุเ​ต​นะ วา
ปะ​ริ​สังกา​ยะ วา, วะ​ทันต​ ุ มัง อายัส​ ฺ​มัน​โต
อะ​นกุ​ ัมป​ ัง อุ​ปา​ทา​ยะ, ปัสส​ ัน​โต ปะฏิ​กกะ​ริ​ส​สา​มิ
ข้าพเจ้า​ขอ​ปวารณา​ต่อ​สงฆ์ หาก​ความ​ประพฤติ
บก​พร่อง​ใดๆ ของ​ข้าพเจ้า​ปรากฏ​แก่​ท่าน​ทั้ง​หลาย
ด้วย​ได้เ​ห็น​กด็​ ี ด้วย​ได้ยินก​ ด็​ ี ด้วย​สงสัย​อยูก่​ ด็​ ี
ขอ​ทา่ น​ทง้ั ห​ ลาย​จง​อาศัยค​ วาม​กรุณา​วา่ ก​ ล่าว​ตกั เ​ตือน
ข้าพเจ้า​ด้วย ข้าพเจ้าท​ ราบ​แล้วจ​ักแ​ ก้ไข​ต่อ​ไป

ทุ​ตยิ​ ัมปิ ภันเ​ต สังฆั​ง ปะ​วา​เร​มิ, ทิฏเฐ​นะ วา


สุ​เต​นะ วา ปะ​ริ​สังกา​ยะ วา, วะ​ทันต​ ุ มัง อายัส​ ฺ​มัน​โต
อะ​นกุ​ ัมป​ ัง อุ​ปา​ทา​ยะ, ปัสส​ ัน​โต ปะฏิ​กกะ​ริ​ส​สา​มิ
แม้​ครั้ง​ที่​สอง ข้าพเจ้า​ขอ​ปวารณา​ต่อส​ งฆ์
หาก​ความ​ประพฤติบ​ ก​พร่อง​ใดๆ ของ​ข้าพเจ้า
ปรากฏ​แก่ท​ า่ น​ทงั้ ห​ ลาย ด้วย​ได้เ​ห็นก​ด​็ ี ด้วย​ได้ยนิ ก​ด​็ ี
ด้วย​สงสัย​อยูก่​ ด็​ ี ขอ​ท่าน​ทั้ง​หลาย
จง​อาศัยค​ วาม​กรุณา​ว่าก​ ล่าว​ตักเ​ตือน​ข้าพเจ้า​ด้วย
ข้าพเจ้า​ทราบ​แล้วจ​ักแ​ ก้ไข​ต่อ​ไป

197
ตะ​ตยิ​ ัมปิ ภันเ​ต สังฆั​ง ปะ​วา​เร​มิ, ทิฏเฐ​นะ วา
สุ​เต​นะ วา ปะ​ริ​สังกา​ยะ วา, วะ​ทันต​ ุ มัง อายัส​ ฺ​มัน​โต
อะ​นกุ​ ัมป​ ัง อุ​ปา​ทา​ยะ, ปัสส​ ัน​โต ปะฏิ​กกะ​ริ​ส​สา​มิ
แม้​ครั้ง​ที่​สาม ข้าพเจ้า​ขอ​ปวารณา​ต่อส​ งฆ์
หาก​ความ​ประพฤติบ​ ก​พร่อง​ใดๆ ของ​ข้าพเจ้า
ปรากฏ​แก่ท​ า่ น​ทงั้ ห​ ลาย ด้วย​ได้เ​ห็นก​ด​็ ี ด้วย​ได้ยนิ ก​ด​็ ี
ด้วย​สงสัย​อยูก่​ ด็​ ี ขอ​ท่าน​ทั้ง​หลาย
จง​อาศัยค​ วาม​กรุณา​ว่าก​ ล่าว​ตักเ​ตือน​ข้าพเจ้า​ด้วย
ข้าพเจ้า​ทราบ​แล้วจ​ักแ​ ก้ไข​ต่อ​ไป

198
คำ�ขอ​ไตร​สรณคมน์​และ​ศีล​ห้า
มะ​ยงั ภัน​เต, ติ​สะ​ระ​เณ​นะ สะ​หะ, ปัญจ​ะ สี​ลา​นิ ยา​จา​มะ
ข้า​แต่ท​ ่าน​ผู้​เจริญ ข้าพเจ้า​ทั้ง​หลาย
ขอ​ไตร​สรณคมน์​และ​ศีลห​ ้า
ทุ​ตยิ​ ัมปิ มะ​ยัง ภันเ​ต, ติส​ ะ​ระ​เณ​นะ สะ​หะ,
ปัญจ​ะ สีล​ า​นิ ยา​จา​มะ
แม้​ครั้ง​ที่​สอง ข้า​แต่ท​ ่าน​ผู้​เจริญ ข้าพเจ้า​ทั้ง​หลาย
ขอ​ไตร​สรณคมน์​และ​ศีลห​ ้า
ตะ​ตยิ​ ัมปิ มะ​ยัง ภันเ​ต, ติส​ ะ​ระ​เณ​นะ สะ​หะ,
ปัญจ​ะ สีล​ า​นิ ยา​จา​มะ
แม้​ครั้ง​ที่​สาม ข้า​แต่ท​ ่าน​ผเู้​จริญ ข้าพเจ้า​ทั้ง​หลาย
ขอ​ไตร​สรณคมน์​และ​ศีลห​ ้า
(จากนั้นพระภิกษุจะกล่าวนำ� นะโม... ๓ จบ
เมื่อจบแล้วโยมจึงกล่าว นะโม... ๓ จบ พร้อมกัน)
พุทธั​ง สะ​ระณัง คัจฉา​มิ
ข้าพเจ้า​ขอ​ถือเ​อา​พระพุทธเจ้า​เป็น​สรณะ
ธัมมัง สะ​ระณัง คัจฉา​มิ
ข้าพเจ้า​ขอ​ถือเ​อา​พระ​ธรรม​เป็น​สรณะ
สังฆั​ง สะ​ระณัง คัจฉา​มิ
ข้าพเจ้า​ขอ​ถือเ​อา​พระ​สงฆ์​เป็น​สรณะ
199
ทุ​ตยิ​ ัมปิ พุทธั​ง สะ​ระณัง คัจฉา​มิ
แม้ค​ รัง้ ท​ ส​่ี อง​ขา้ พเจ้าข​อ​ถอื เ​อา​พระพุทธเจ้าเ​ป็นส​ รณะ
ทุ​ตยิ​ ัมปิ ธัมมัง สะ​ระณัง คัจฉา​มิ
แม้​ครั้ง​ที่​สอง​ข้าพเจ้า​ขอ​ถือเ​อา​พระ​ธรรม​เป็น​สรณะ
ทุ​ตยิ​ ัมปิ สังฆั​ง สะ​ระณัง คัจฉา​มิ
แม้​ครั้ง​ที่​สอง​ข้าพเจ้า​ขอ​ถือเ​อา​พระ​สงฆ์​เป็น​สรณะ
ตะ​ตยิ​ ัมปิ พุทธั​ง สะ​ระณัง คัจฉา​มิ
แม้ค​ รัง้ ท​ ส​่ี าม​ขา้ พเจ้าข​อ​ถอื เ​อา​พระพุทธเจ้าเ​ป็นส​ รณะ
ตะ​ตยิ​ ัมปิ ธัมมัง สะ​ระณัง คัจฉา​มิ
แม้​ครั้ง​ที่​สาม​ข้าพเจ้า​ขอ​ถือเ​อา​พระ​ธรรม​เป็น​สรณะ
ตะ​ตยิ​ ัมปิ สังฆั​ง สะ​ระณัง คัจฉา​มิ
แม้​ครั้ง​ที่​สาม​ข้าพเจ้า​ขอ​ถือเ​อา​พระ​สงฆ์​เป็น​สรณะ

ปาณา​ติปา​ตา เวร​ะม​ ะณี สิกขา​ปะ​ทัง สะ​มาทิ​ยา​มิ


ข้าพเจ้า​จะ​ละเว้นจ​าก​การ​ฆ่าแ​ ละ​เบียดเบียน​สัตว์
ทุกช​ นิดร​วม​ทั้ง​ไม่​ใช้​ให้​ผอู้​ ื่นฆ​ ่า
(ข้าพเจ้าขอถือ ความเมตตากรุณาเป็นหลักชีวิต)
อะ​ทินน​ า​ทา​นา เวร​ะม​ ะณี สิกขา​ปะ​ทัง สะ​มาทิ​ยา​มิ
ข้าพเจ้า​จะ​ละเว้นจ​าก​การ​ลัก ฉ้อโกง​ของ​ผู้​อื่น
และ​ไม่​ใช้​ให้​ผอู้​ ื่น​ลัก ฉ้อโกง
(ข้าพเจ้าขอถือ ความซื่อสัตย์เป็นหลักชีวิต)

200
กา​เม​สุ มิจฉา​จา​รา เวร​ะม​ ะณี สิกขา​ปะ​ทัง สะ​มาทิ​ยา​มิ
ข้าพเจ้าจ​ะ​ละเว้นจ​าก​การ​ประพฤติผ​ ดิ ใ​น​กาม​ทงั้ ห​ ลาย
ไม่​เกี่ยวข้อง แย่งช​ ิง​ของ​รัก​ของ​คน​อื่น
(ข้าพเจ้าขอถือ ความถูกต้องและความพอดี
เป็นหลักชีวิต)
มุสา​วา​ทา เวร​ะม​ ะณี สิกขา​ปะ​ทัง สะ​มาทิ​ยา​มิ
ข้าพเจ้า​จะ​ละเว้นจ​าก​การ​พูด​ไม่​จริง
พูด​ส่อ​เสียด พูดห​ ยาบ พูด​เพ้อ​เจ้อ พูด​นินทา
(ข้าพเจ้าขอถือ ความรักความจริง ความรัก
ความสามัคคีีเป็นหลักชีวิต)
สุรา​เม​ระยะ​มัช​ชะ​ปะ​มาทั​ฏ​ฐาน​า เวร​ะม​ ะณี
สิกขา​ปะ​ทัง สะ​มาทิ​ยา​มิ
ข้าพเจ้า​จะ​ละเว้นจ​าก​การ​ดื่มส​ ุรา​และ​เมรัย
อันเ​ป็น​เหตุ​แห่ง​ความ​ประมาท
รวม​ทั้ง​ยา​เสพ​ติดท​ ุกช​ นิด
(ข้าพเจ้าขอถือ การพัฒนาสติและปัญญา
เป็นหลักชีวิต)

พระ​สงฆ์​จะ​สรุป​อา​นสิ​ งค์​ของ​ศีล ๕ ตอน​ท้าย​ว่า :-


สี​เลน​ะ สุค​ ะ​ติง ยันต​ ิ
ศีลเ​ป็น​ที่มา​ของ​ความ​สงบ​สุข

201
สี​เลน​ะ โภค​ะสัม​ปะ​ทา
ศีลเ​ป็น​ที่มา​ของ​ความ​สมบูรณ์​แห่ง​ทรัพย์สิน
สี​เลน​ะ นิพพ​ ุ​ติง ยันต​ ิ
ศีลเ​ป็น​ที่มา​ของ​การ​พ้น​ทุกข์​ทั้ง​ปวง
ตัสมฺ​ า สี​ลัง วิ​โสธะเย
ดังน​ ั้น ท่าน​พึง​รักษา​ศีล​ของ​ท่าน​ให้​บริสุทธิ์ เถิด

202
คำ�ป​ ระกาศ​อุโบสถ
อัช​ชะ โภน​โต ปักขัส​ ​สะ ปัณณะ​ระ​สี​ทิวะ​โส๑
เอ​วะ​รู​โป โข โภน​โต ทิวะ​โส พุ​ทเธ​นะ, ภะ​คะ​วะ​ตา
ปัญญัตตัสส​ ะ ธัมมัส​สะ​วะ​นัสส​ ะ เจ​วะ ตะ​ทัตถ​ า​ยะ,
อุ​ปา​สะ​กะ​อ​ปุ า​สก​ิ านั​ง อุ​โป​สะ​ถะ​กมั มัส​สะ จะ กาโล โห​ต,ิ
หันท​ ะ มะ​ยัง โภน​โต สัพ​เพ อิธะ สะ​มา​คะ​ตา,
ตัสส​ ะ ภะ​คะ​วะ​โต ธัม​มา​นธุ​ ัมมะ​ปะฏิ​ปัตติย​ า
ปู​ชะ​นัตถ​ า​ยะ, อิมัญจ​ะ รัตต​ ิง อิมัญจ​ะ ทิวะ​สัง
อัฏฐังคะสะมันนาคะตัง อุโ​ป​สะ​ถัง อุ​ปะ​วะ​สิ​ส​สา​มา​ติ,
กา​ละ​ปะ​ร​จิ ​เฉ​ทงั กัต​วฺ า ตัง ตัง เวร​ะ​มะณิง อา​รมั มะณัง
กะ​ริตฺ​วา, อะ​วิกข​ ิตต​ ะ​จิตต​ า หุตวฺ​า สักก​ ัจจ​ัง
อุ​โป​สะ​ถัง​สะ​มาทิ​เยย​ยา​มะ อี​ทิสัง หิ อุ​โป​สะ​ถะ​กา​ลัง
สัมปัต​ตานัง​ อัมฺ​หา​กัง ชีว​ติ​ ัง มา นิร​ัต​ถะ​กัง โห​ตุ
ข้าพเจ้า​ขอ​ประกาศ​เริ่ม​เรื่อง
ความ​ที่​จะ​ได้ส​ มาทาน​รักษา​อุโบสถ​ตาม​กาล​สมัย
พร้อม​ไป​ด้วย​องค์ ๘ ประการ
ให้​ท่าน​สาธุชน​ทั้ง​หลาย​ซึ่ง​จะ​ตั้ง​จิตส​ มาทาน

บท  “ปัณณะ​ระสี​ทิวะ​โส” และ​คำ�​แปล​วา
  ่ “วันน​ เ​ี้ ป็นว​นั ป​ ณ
ั ณ​รสีด​ ถิ ท​ี ี่ ๑๕” ประกาศ​เฉพาะ วัน ๑๕ ค่ำ�
ถ้าเ​ป็นว​นั ๑๔ ค่ำ� เปลีย่ น​ประกาศ​วา
่ “จา​ตทุ ทะ​ส​ี ทิวะ​โส” คำ�​แปล​วา ่ ”วันน​ เ​้ี ป็นว​นั จ​า​ตทุ ท​สด​ี ถิ ที  ี่ ๑๔”
ถ้าว​นั ๘ ค่ำ� เปลีย่ น​ประกาศ​วา ่ “อัฏฐ​ะมี​ทิวะ​โส” คำ�​แปล​วา ่ “วันน​ เ​ี้ ป็นว​นั อ​ ฏั ฐ​มด​ี ถิ ท​ี  ี่ ๘” นอก​นนั้
ประกาศ​ตาม​แบบ

203
ทราบ​ทั่วก​ ันก​ ่อน
แต่ส​ มาทาน ณ กาล​บัดนี้
ด้วย​วนั น​ เ​ี้ ป็นว​นั ป​ ณ
ั ณ​รสีด​ ถิ ท​ี ี่ ๑๕ แห่งป​ กั ษ์ม​ า​ถงึ แ​ล้ว
ก็แ​ ล​วันเ​ช่น​นเี้​ป็น​กาล​ที่​จะ​ฟัง​ธรรม
และ​จะ​ทำ�การ​รกั ษา​อโุ บสถ​ของ​อบุ าสก​อบุ าสิกา​ทง้ั ห​ ลาย
เพื่อ​ประโยชน์แ​ ก่ก​ าร​ฟัง​ธรรม
อันพ​ ระ​ผมู้​ ี​พระ​ภาค​เจ้า​ทรง​บัญญัตไิ​ว้น​ ั้น
ขอ​กุศล​อันย​ ิ่ง​ใหญ่ คือ​ตั้ง​จิตส​ มาทาน​อุโบสถ
จง​เกิด​ม​แี ก่​เรา​ทง้ั ​หลาย​บรรดา​ทม่ี า​ประชุม​อยู่ ณ ที​น่ ้ี
เรา​ทั้ง​หลาย​พึง​มี​จิตย​ ินดีว​่าจ​ะ​รักษา​อุโบสถ
ประกอบ​ไป​ด้วย​องค์ ๘ ประการ
สิ้นว​ันห​ นึ่ง​คืนห​ นึ่ง ณ เวลา​วันน​ ี้ ด้วย​ตั้งจ​ิตค​ ิด
- เว้น​ไกล​จาก​การ​ทำ�​สัตว์ซ​ ึ่ง​มี​ชีวิต​ให้​ตก​ล่วง​ไป
คือฆ​ ่าส​ ัตว์เ​อง​และ​ใช้​ให้​ผอู้​ ื่นฆ​ ่า ๑
- เว้นจ​าก​เอา​สิ่งของ​ที่​เจ้าของ​ไม่​ให้
คือล​ ัก​และ​ฉ้อแ​ ละ​ใช้​ให้​ผอู้​ ื่นล​ ัก​และ​ฉ้อ ๑
- เว้นจ​าก​กรรม​ที่​เป็น​ข้าศึกแ​ ก่พ​ รหมจรรย์ ๑
- เว้นจ​าก​เจรจา​คำ�​เท็จ​อัน​ไม่​จริง
คือ ล่อลวง อำ�พราง​ท่าน​ผอู้​ ื่น ๑
- เว้นจ​าก​ดม่ื ส​รุ า​และ​เมรัย สารพัดบ​ รรดา​นำ�้ ก​ลัน่ น​ ำ�้ ด​ อง
ที่​เป็น​ของ​ทำ�​ผดู้​ ื่มแ​ ล้ว​ให้​เมา

204
เป็น​เหตุ​ที่​ตั้งแ​ ห่ง​ความ​ประมาท ๑
- เว้นจ​าก​บริโภค​อาหาร​ใน​เวลา​วิกาล
ตั้งแต่อ​ าทิตย์เ​ที่ยง​แล้วไป​จนถึงอ​ รุณ​ขึ้น​ใหม่ ๑
- เว้นจ​าก​การ​ฟ้อน​รำ�​ขับ​ร้อง​และ​ประโคม​ดนตรี
และ​ดกู​ าร​ละ​เล่น​บรรดา​เป็น​ข้าศึกแ​ ก่ก​ ุศล
และ​ทัดท​ รง​ลูบไล้​ทา​ตัวด​ ้วย​ดอกไม้​เครื่อง​หอม
เครื่อง​ทา​เครื่อง​ย้อม​เครื่อง​แต่งต​ ่างๆ ๑
- เว้นจ​าก​นั่ง​นอน​เหนือ​ที่​นั่ง​ที่นอน​อันส​ ูง​ใหญ่
คือ เตียง ตั่งม​ ี​เท้า​สูง​เกินป​ ระมาณ
และ​ที่นอน​ใหญ่​ภายใน​มี​นุ่น
และ​สำ�ลี​เครื่อง​ลาด​วิจิตร​งาม ๑
พึง​ทำ�ความ​เว้นจ​าก​องค์​ที่​จะ​พึง​เว้น
ทั้ง ๘ ประการ​นเี้​ป็น​อารมณ์
อย่า​มี​จิตฟ​ ุ้งซ่าน​ส่ง​ไป​อื่น พึง​ตั้ง​จิตส​ มาทาน
องค์​อุโบสถ ๘ ประการ​นโี้​ดย​เคารพ​เถิด
เพือ่ ​จะ​บชู า​พระ​ผ​มู้ ​พี ระ​ภาค​เจ้า​ดว้ ย​ขอ้ ​ปฏิบตั ​อิ ย่าง​ยง่ิ
ตาม​กำ�ลัง​ของ​เรา​ทั้ง​หลาย​ที่​เป็น​คฤหัสถ์
ชีวิตเ​รา​ทั้ง​หลาย​ซึ่ง​เป็น​มา​จนถึงว​ันอ​ ุโบสถ​เช่น​นี้
จง​อย่า​ล่วง​ไป​เปล่า​โดย​ปราศจาก​ประโยชน์เ​ลย

205
คำ�ขอ​ไตร​สรณคมน์ และ​ศีล​แปด
ศีลอ​ ุโบสถ
มะ​ยัง ภันเ​ต ติส​ ะ​ระ​เณ​นะ สะ​หะ อัฏฐะ สี​ลา​นิ ยา​จา​มะ
(อัฏฐั​ง​คะ​สะ​มันน​ า​คะ​ตัง อุ​โป​สะ​ถัง ยา​จา​มะ)
ข้าแ​ ต่ท​ า่ น​ผเ​ู้ จริญ ข้าพเจ้าท​ งั้ ห​ ลาย​ขอ​ไตร​สรณคมน์
และ​ศีลแ​ ปด (อุโบสถ​ศีลท​ ั้ง​แปด​ข้อ)
ทุ​ต​ยิ มั ปิ มะ​ยงั ภัน​เต ติ​สะ​ระ​เณ​นะ สะ​หะ อัฏฐะ สี​ลา​นิ
ยา​จา​มะ (อัฏฐั​ง​คะ​สะ​มันน​ า​คะ​ตัง อุ​โป​สะ​ถัง ยา​จา​มะ)
แม้​ครั้ง​ที่​สอง ข้า​แต่​ท่าน​ผู้​เจริญ ข้าพเจ้า​ทั้ง​หลาย
ขอ​ไตร​สรณคมน์แ​ละ​ศลี แ​ปด (อุโบสถ​ศลี ท​ งั้ แ​ปด​ขอ้ )
ตะ​ต​ยิ มั ปิ มะ​ยงั ภัน​เต ติ​สะ​ระ​เณ​นะ สะ​หะ อัฏฐะ สีล​ า​นิ
ยา​จา​มะ (อัฏฐั​ง​คะ​สะ​มันน​ า​คะ​ตัง อุ​โป​สะ​ถัง ยา​จา​มะ)
แม้​ครั้ง​ที่​สาม ข้า​แต่​ท่าน​ผู้​เจริญ ข้าพเจ้า​ทั้ง​หลาย
ขอ​ไตร​สรณคมน์แ​ละ​ศลี แ​ปด (อุโบสถ​ศลี ท​ งั้ แ​ปด​ขอ้ )
(จากนั้นพระภิกษุจะกล่าวนำ� นะโม... ๓ จบ
เมื่อจบแล้วโยมจึงกล่าว นะโม... ๓ จบ พร้อมกัน)
พุทธั​ง สะ​ระณัง คัจฉา​มิ
ข้าพเจ้า​ขอ​ถือเ​อา​พระพุทธเจ้า​เป็น​สรณะ
ธัมมัง สะ​ระณัง คัจฉา​มิ
ข้า​พระเจ้า​ขอ​ถือเ​อา​พระ​ธรรม​เป็น​สรณะ
206
สังฆั​ง สะ​ระณัง คัจฉา​มิ
ข้าพเจ้า​ขอ​ถือเ​อา​พระ​สงฆ์​เป็น​สรณะ
ทุ​ตยิ​ ัมปิ พุทธั​ง สะ​ระณัง คัจฉา​มิ
แม้ค​ รัง้ ท​ ส​่ี อง​ขา้ พเจ้าข​อ​ถอื เ​อา​พระพุทธเจ้าเ​ป็นส​ รณะ
ทุ​ตยิ​ ัมปิ ธัมมัง สะ​ระณัง คัจฉา​มิ
แม้​ครั้ง​ที่​สอง​ข้าพเจ้า​ขอ​ถือเ​อา​พระ​ธรรม​เป็น​สรณะ
ทุ​ตยิ​ ัมปิ สังฆั​ง สะ​ระณัง คัจฉา​มิ
แม้​ครั้ง​ที่​สอง​ข้าพเจ้า​ขอ​ถือเ​อา​พระ​สงฆ์​เป็น​สรณะ
ตะ​ตยิ​ ัมปิ พุทธั​ง สะ​ระณัง คัจฉา​มิ
แม้ค​ รัง้ ท​ ส​่ี าม​ขา้ พเจ้าข​อ​ถอื เ​อา​พระพุทธเจ้าเ​ป็นส​ รณะ
ตะ​ตยิ​ ัมปิ ธัมมัง สะ​ระณัง คัจฉา​มิ
แม้​ครั้ง​ที่​สาม​ข้าพเจ้า​ขอ​ถือเ​อา​พระ​ธรรม​เป็น​สรณะ
ตะ​ตยิ​ ัมปิ สังฆั​ง สะ​ระณัง คัจฉา​มิ
แม้​ครั้ง​ที่​สาม​ข้าพเจ้า​ขอ​ถือเ​อา​พระ​สงฆ์​เป็น​สรณะ
ปา​นา​ติปา​ตา เวร​ะม​ ะณี สิกขา​ปะ​ทัง สะ​มาทิ​ยา​มิ
ข้าพเจ้า​จะ​ละเว้นจ​าก​การ​ฆ่า
และ​เบียดเบียน​สัตว์ท​ ุกช​ นิดร​วม​ทั้ง​ไม่​ใช้​ให้​ผอู้​ ื่นฆ​ ่า
อะ​ทินน​ า​ทา​นา เวร​ะม​ ะณี สิกขา​ปะ​ทัง สะ​มาทิ​ยา​มิ
ข้าพเจ้า​จะ​ละเว้นจ​าก​การ​ลัก ฉ้อโกง​ของ​ผู้​อื่น
และ​ไม่​ใช้​ผู้​อื่นล​ ัก ฉ้อโกง

207
อะ​พฺรัหฺมะ​จะ​ริ​ยา เวร​ะม​ ะณี สิกขา​ปะ​ทัง สะ​มาทิ​ยา​มิ
ข้าพเจ้า​จะ​ละเว้นจ​า​การก​ระ​ทำ�​อันเ​ป็น​ข้าศึกแ​ ก่
พรหมจรรย์ (ละเว้น​การ​เกี่ยวข้อง​กับก​ ามคุณ)
มุสา​วา​ทา เวร​ะม​ ะณี สิกขา​ปะ​ทัง สะ​มาทิ​ยา​มิ
ข้าพเจ้า​จะ​ละเว้นจ​าก​การ​พูด​ไม่​จริง
(พูด​ส่อ​เสียด พูดห​ ยาบ พูด​เพ้อ​เจ้อ พูด​นินทา)
สุรา​เม​ระยะ​มัช​ชะ​ปะ​มาทั​ฏ​ฐาน​า เวร​ะม​ ะณี
สิกขา​ปะ​ทัง สะ​มาทิ​ยา​มิ
ข้าพเจ้า​จะ​ละเว้นจ​าก​การ​ดื่มส​ ุรา​และ​เมรัย
อันเ​ป็น​เหตุ​แห่ง​ความ​ประมาท
(รวม​ทั้ง​ยา​เสพ​ติดท​ ุกช​ นิด)
วิก​ า​ละ​โภ​ชะ​นา เวร​ะม​ ะณี สิกขา​ปะ​ทัง สะ​มาทิ​ยา​มิ
ข้าพเจ้าจ​ะ​ละเว้นจ​าก​การ​บริโภค​อาหาร​ใน​เวลา​วกิ าล
นัจจ​ะ​คตี​ ะ​วา​ทิตะ​ว​สิ​ ู​กะ​ทัส​สะ​นา มา​ลา​คันธ​ะ-
วิ​เลป​ะ​นะ​ธาร​ะณะ มัณฑ​ะ​นะ​วิภู​สะ​นัฏ​ฐาน​า เวร​ะ​มะณี
สิกขา​ปะ​ทัง สะ​มาทิ​ยา​มิ
ข้าพเจ้า​จะ​ละเว้นจ​าก การ​ดู ฟัง ฟ้อน​รำ� ขับ​ร้อง
และ​ประโคม​เครื่อง​ดนตรีต​ ่างๆ
และ​ดกู​ าร​ละ​เล่น​ที่​เป็น​ข้าศึกแ​ ก่ก​ ุศล​ธรรม
และ​ทัดท​ รง​ตกแต่งร​่างกาย​ด้วย​เครื่อง​ประดับ
และ​ดอกไม้​ของ​หอม​เครื่อง​ย้อม​เครื่อง​ทา

208
ผัดผ​ ิวท​ ำ�​กาย​ให้​งดงาม
อันเ​ป็น​เหตุ​ที่​ตั้ง​แห่ง​ความ​กำ�หนัดย​ ินดี
อุจ​จา​สะ​ยะ​นะ​มะ​หา​สะ​ยะ​นา เวร​ะม​ ะณี สิกขา​ปะ​ทัง
สะ​มาทิ​ยา​มิ
ข้าพเจ้า​จะ​ละเว้นจ​าก​การ​นั่ง​นอน​บน​เตียง ตั่งม​ ้า
ที่​มี​เท้า​สูง​เกินป​ ระมาณ​และ​ที่​นั่งน​ อน​ใหญ่
ภายใน​ใส่น​ นุ่ แ​ละ​สำ�ลี และ​เครือ่ ง​ปล​ู าด​ทว​ี่ จิ ติ ร​งดงาม
อิ​มา​นิ อัฏฐะ สิกขา​ปะ​ทา​นิ สะ​มาทิ​ยา​มิ (กล่าว ๓ ครั้ง)
ข้าพเจ้า​ขอ​สมาทาน​ศึกษา​และ​ปฏิบัติ​ใน​สิกขาบท
ทั้ง​แปด​ประการ​นี้
(จบ​พิธี​รับ​ศีล​แปด)
หมายเหตุ :-
- ถ้าข​ อรับ​ศีล​อุโบสถ เมื่อ​กล่าว​รับ​ศีลข​ ้อ ๘ แล้ว
พึง​กล่าว​บท​ต่อ​ไป​นวี้​่า
อิมัง อัฏฐั​ง​คะ​สะ​มันน​ า​คะ​ตัง, พุทธะ​ปัญญัตต​ ัง
อุ​โป​สะ​ถัง, อิมัญจ​ะ รัตต​ ิง อิมัญจ​ะ ทิวะ​สัง,
สัม​มะ​เทวะ อะภิร​ักขิตงุ​ สะ​มาทิ​ยา​มิ
ข้าพเจ้า​ขอ​สมาทาน​อุโบสถ​พุทธ​บัญญัติ
อันป​ ระกอบ​ด้วย​องค์​แปด​ประการ​นี้
เพื่อ​จะ​รักษา​ไว้ใ​ห้​ดมี​ ิ​ให้​ขาด​มิ​ให้​ทำ�ลาย
ตลอด​วันห​ นึ่ง​คืนห​ นึ่ง​ใน​เวลา​นี้
209
- ศลี อ​ โุ บสถ คือก​ าร​ศกึ ษา​และ​ปฏิบตั ศ​ิ ลี แ​ปด​ประการ
ใน​วันพระ วันอ​ ุโบสถ
- อุโบสถ คือก​ าร​เข้า​สู่​หรือ​การ​เก็บ​ตัว​ไว้ภ​ ายใน
ข้อ​ปฏิบัติ​ที่​ชำ�ระ​ล้าง กาย วาจา ใจ​ให้​เบาบาง
จาก​ความ​ชั่วร​้าย​เลว​ทราม

พระ​สงฆ์​จะ​สรุป​อานิสงส์​ของ​อุโบสถ​ศีล​ตอน​ท้าย​ว่า :-
(พระ) อิ​มา​นิ อัฏฐะ สิกขา​ปะ​ทา​นิ อุโ​ป​สะ​ถะ​สี​ละ​วะ​เสนะ
สาธุ​กัง กัตวฺ​า อัปปะ​มา​เท​นะ รักขิตพั​ ​พา​นิ
อุโบสถ​ศลี ซึง่ ป​ ระกอบ​ดว้ ย​สกิ ขาบท​แปด​ประการ
เหล่าน​ ี้ ขอ​จง​รกั ษา​ไว้ใ​ห้ด​ ี ด้วย​ความ​ไม่ป​ ระมาท
(โยม) สาธุ ภันเ​ต ดีละ​เจ้าข้า
(พระ) สี​เลน​ะ สุค​ ะ​ติง ยันต​ ิ
ศีล เป็น​ที่มา​ของ​ความ​สงบ​สุข
สี​เลน​ะ โภค​ะสัม​ปะ​ทา
ศีล เป็น​ที่มา​ของ​ความ​สมบูรณ์​แห่ง​ทรัพย์สิน
สี​เลน​ะ นิพพ​ ุ​ติง ยันต​ ิ
ศีล เป็น​ที่มา​ของ​การ​พ้น​ทุกข์​ทั้ง​ปวง
ตัสมฺ​ า สี​ลัง วิ​โสธะเย
ดังน​ นั้ ท่าน​พงึ ร​กั ษา​ศลี ข​อง​ทา่ น​ให้บ​ ริสทุ ธิ์ เถิด

210
คำ�อ​ าราธนา​ธรรม
พรัห​มา จะ โลกา​ธิ​ปะ​ตี สะ​หัม​ปะ​ติ,
กะ​ตัญช​ ะ​ลี อะนะ​ธิ​วะ​รัง อะ​ยา​จะ​ถะ,
สันต​ ีธะ สัตต​ า​ป​ปะ​ระ​ชักข​ ะ​ชาติ​กา,
เท​เสตุ ธัมมัง อะ​นกุ​ ัมปิมัง ปะ​ชัง.
ท้าว​สหัมบดี ผู้​เป็น​อธิบดี​แห่ง​พรหม​โลก
ได้ป​ ระคอง​อญ ั ชลี ทูลว​งิ วอน​พระพุทธเจ้าผ​ป​ู้ ระเสริฐว​า

สัตว์ผ​ มู้​ ี​ธุลี​ใน​ดวงตา​น้อย​มี​อยูใ่​น​โลก​นี้
ขอ​พระองค์​โปรด​แสดง​ธรรม​อนุเคราะห์​ด้วย​เถิด

211
คำ�ถ​ วาย​ผ้าป่า
อิ​มา​นิ, มะ​ยัง ภันเ​ต, ปัง​สุ​กลู​ ะ​จวี​ะ​รา​นิ,
สะ​ปะ​ริ​วา​รา​นิ, ภิกขุส​ ังฆั​ส​สะ, โอโณ​ชะ​ยา​มะ,
สาธุ โน ภันเ​ต, ภิกขุส​ ังโฆ, อิ​มา​นิ,
ปัง​สุ​กลู​ ะ​จวี​ะ​รา​นิ, สะ​ปะ​ริ​วา​รา​นิ, ปะฏิคคัณฺห​ า​ตุ,
อัม​ฺหา​กัง ทีฆะ​ร​ัต​ตัง, หิตา​​ยะ, สุขา​ยะ
ข้า​แต่พ​ ระ​สงฆ์​ผู้​เจริญ
ข้าพเจ้า​ทั้ง​หลาย ขอ​น้อม​ถวาย​ผ้า​บังสุกุล​จีวร
กับท​ ั้ง​บริวาร​เหล่า​นี้ แด่พ​ ระ​ภิกษุส​ งฆ์
ขอ​พระ​ภิกษุส​ งฆ์​โปรด​รับ​ผ้า​บังสุกุล​จีวร
กับท​ ั้ง​บริวาร​เหล่า​นี้ ของ​ข้าพเจ้า​ทั้ง​หลาย
เพื่อ​ประโยชน์ และ​ความ​สุข แก่​ข้าพเจ้า​ทั้ง​หลาย
สิ้นก​ าล​นาน​เทอญ

212
คำ�ถ​ วาย​ผ้า​กฐิน
อิมัง ภันเ​ต, สะ​ปะ​ริ​วา​รัง, กะ​ฐิ​นะ​จวี​ะ​ระ​ทุส​สัง,
สังฆั​ส​สะ, โอโณ​ชะ​ยา​มะ,
สาธุ โน ภันเ​ต, สังโฆ, อิมัง, สะ​ปะ​ริ​วา​รัง,
กะ​ฐ​นิ ะ​จ​วี ะ​ระ​ทสุ ​สงั , ปะฏิคคัณห​ฺ า​ต,ุ
ปะฏิค​คะ​เหตฺว​า จะ, อิ​ม​นิ า ทุส​เสนะ กะ​ฐนิ งั , อัตถะ​ระ​ต,ุ
อัม​ฺหา​กัง, ทีฆะ​ร​ัต​ตัง, หิตา​​ยะ สุขา​ยะ
ข้า​แต่พ​ ระ​สงฆ์​ผู้​เจริญ
ข้าพเจ้า​ทั้ง​หลาย ขอ​น้อม​ถวาย​ผ้า​กฐินจ​ีวร
กับท​ ั้ง​บริวาร​ทั้ง​หลาย​เหล่า​นี้ แด่พ​ ระ​สงฆ์
ขอ​พระ​สงฆ์​โปรด​รับ​ผ้า​กฐินจ​ีวร
กับท​ ั้ง​บริวาร​ทั้ง​หลาย​เหล่า​นี้ ของ​ข้าพเจ้า​ทั้ง​หลาย
รับ​แล้ว ได้โ​ปรด​กราน​กฐินด​ ้วย​ผ้าน​ ี้ เพื่อ​ประโยชน์
และ​ความ​สขุ แก่​ขา้ พเจ้า​ทง้ั ห​ ลาย สิน้ ​กาล​นาน​เทอญ

213
คำ�ส​ าธุการ​หลัง​ฟัง​ธรรม
(เมื่อ​พระ​แสดง​ธรรม​จบ ให้​รับ​สาธุการ​พร้อม​กัน)

สาธุ พุทธะ​สุ​โพธิ​ตา
สาธุ! ความ​ตรัสรู้​ดจี​ริง​ของ​พระพุทธเจ้า

สาธุ ธัมมะ​สุ​ธัมมะ​ตา
สาธุ! ความ​เป็น​ธรรม​ดจี​ริง​ของ​พระ​ธรรม

สาธุ สังฆั​ส​สุ​ปะฏิ​ปัตติ
สาธุ! ความ​ปฏิบัติ​ดจี​ริง​ของ​พระ​สงฆ์

อะโห พุ​ทโธ
พระพุทธเจ้า น่า​อัศจรรย์​จริง
อะโห ธัม​โม
พระ​ธรรม​เจ้า น่าอ​ ัศจรรย์​จริง
อะโห สังโฆ
พระ​สังฆ​เจ้า น่า​อัศจรรย์​จริง
อะหัง พุทธั​ญจ​ะ ธัมมัญจ​ะ สังฆัญ ​ จ​ะ สะ​ระณัง
คะ​โต (สะ​ระณัง คะ​ตา)๑
ข้าพเจ้า​ถึง​แล้ว ซึ่ง​พระพุทธเจ้า พระ​ธรรม​เจ้า
พระ​สังฆะ​เจ้า ว่า​เป็น​ที่​พึ่ง​ที่​ระลึก​ถึง

หญิง​ว่า​ใน​วงเล็บ

214
อุ​ปา​สะ​กัตต​ ัง (อุ​ปา​สิ​กัตต​ ัง)๑ เท​เส​สิง ภิกขุ​สังฆั​ส​สะ
สัม​มุ​ขา
ข้าพเจ้า​ขอ​แสดง​ตน ว่าเ​ป็น​อุบาสก (อุบาสิกา)
ใน​ที่​จำ�เพาะ​หน้า​พระ​ภิกษุส​ งฆ์
เอ​ตัง เม สะ​ระณัง เขมั​ง, เอ​ตัง สะ​ระณะ​มุตต​ ะ​มัง
พระ​รัตนตรัยน​ เี้​ป็น​ที่​พึ่ง​ของ​ข้าพเจ้า​อัน​เกษม
พระ​รัตนตรัยน​ เี้​ป็น​ที่​พึ่ง​อันส​ ูงสุด
เอ​ตัง สะ​ระณะ​มา​คัมม​ ะ, สัพพะ​ทุกข​ า ปะ​มุจจ​ะเย
เพราะ​อาศัยพ​ ระ​รัตนตรัยน​ เี้​ป็น​ที่​พึ่ง
ข้าพเจ้า​พึง​พ้น​จาก​ทุกข์​ทั้ง​ปวง
ยะ​ถา​พะ​ลัง จะ​เรย​ยา​หัง สัมมา​สัมพุทธะ​สา​สะ​นัง
ข้าพเจ้า​จักป​ ระพฤติ ซึ่ง​พระ​ธรรม​คำ�​สั่ง​สอน
ของ​พระ​สัมมา​สัม​พุทธ​เจ้า โดย​สมควร​แก่ก​ ำ�ลัง
ทุกข​ะน​ สิ​ ​สะ​ระณัส​เส​วะ ภา​คี​อัส​สัง (ภาคิ​นสิ​ สัง)๑
อะ​นา​คะ​เต
ขอ​ข้าพเจ้า​พึง​มี​ส่วน​แห่ง​พระ​นิพพาน
อันเ​ป็น​ที่​ยก​ตน​ออก​จาก​ทุกข์​ใน​อนาคตกาล
เบื้อง​หน้า​โน้นเ​ทอญ


หญิง​ว่า​ใน​วงเล็บ

215
คำ�ล​ ากลับ​บ้าน
(โยม) หันท​ ะทา​นิ, มะ​ยัง ภันเ​ต, อา​ปุจฉา​มะ,
พะ​หุ​กิจจา มะ​ยัง, พะ​หุ​กะ​ระณี​ยา
ข้า​แต่ท​ ่าน​ผู้​เจริญ ข้าพเจ้า​ทั้ง​หลาย​ขอ​กล่าว​ลา
เพราะ​มี​กิจม​ าก มีธ​ ุระ​มาก
(พระ) ยัสส​ ะ​ทา​นิ ตุมฺเห กา​ลัง มัญญะ​ถะ
ท่าน​ทั้ง​หลาย​จง​รู้​กาล รู้​เวลา​เถิด
(โยม) สาธุ ภันเ​ต
ดีละ​เจ้าข้า

(กราบ ๓ ครั้ง)

216
พิธีการ​ทำ�บุญ​บ้าน
ประธาน​ใน​พธิ จ​ี ดุ เ​ทียน​ธปู และ​ถวาย​ขนั น​ �้ำ มนต์ (ถ้าม​ )ี
แล้วก​ราบ​พระ​พร้อม​กัน ๓ ครั้ง ผู้นำ�​กล่าว​นำ�

คำ�บ​ ูชา​พระ​รัตนตรัย
อิ​มิ​นา สักก​ า​เร​นะ, ตัง พุทธัง​ อะภิป​ ู​ชะ​ยา​มะ.
อิ​มิ​นา สักก​ า​เร​นะ, ตัง ธัมมัง อะภิป​ ู​ชะ​ยา​มะ.
อิ​มิ​นา สักก​ า​เร​นะ, ตัง สังฆัง​ อะภิ​ปู​ชะ​ยา​มะ.
อะ​ระ​หัง สัมมา​สัม​พุ​ทโธ ภะ​คะ​วา,
พุทธั​ง ภะ​คะ​วันต​ ัง อะภิว​า​เท​มิ  (กราบ)
สฺ​วาก​ขา​โต ภะ​คะ​วะ​ตา ธัม​โม,
ธัมมัง นะ​มัส​สา​มิ  (กราบ)
สุ​ปะฏิ​ปันโ​น ภะ​คะ​วะ​โต สา​วะ​กะ​สังโฆ,
สังฆั​ง นะ​มา​มิ  (กราบ)

217
คำ�อ​ าราธนา​เบญจศีล
มะ​ยัง ภันเ​ต, (วิส​ ุง วิ​สุง รัก​ขะณัตถ​ า​ยะ๑ )
ติส​ ะ​ระ​เณ​นะ สะ​หะ, ปัญจ​ะ สีล​ า​นิ ยา​จา​มะ,
ทุ​ตยิ​ ัมปิ มะ​ยัง ภันเ​ต, ติส​ ะ​ระ​เณ​นะ สะ​หะ,
ปัญจ​ะ สีล​ า​นิ ยา​จา​มะ,
ตะ​ตยิ​ ัมปิ มะ​ยัง ภันเ​ต, ติส​ ะ​ระ​เณ​นะ สะ​หะ,
ปัญจ​ะ สีล​ า​นิ ยา​จา​มะ
เมื่อ​พระ​ภิกษุ​ให้​ศีล​ท่าน​กล่าว นะ​โมฯ ๓ จบ จบ​แล้ว
โยม​จึงก​ ล่าว นะ​โมฯ ๓ จบ พร้อม​กัน
หลัง​จาก​นั้น​ให้​ว่า​ตามพ​ระ ที​ละ​วรรค เมื่อ​พระ​กล่าว
ถึง​คำ�​ว่า “ติส​ ะ​ระณะ​คะ​มะ​นัง นิฏฐ​ิตงั​” ให้​ก้ม​ลง​เล็ก​น้อย
พร้อม​กับร​ับคำ�​พร้อม​กัน​ว่า “อา​มะ ภันเ​ต”
แล้วจ​งึ ก​ ล่าว​สมาทาน​ศลี ต​ ามพ​ระ​ทล​ี ะ​ขอ้ จ​น​จบ ดังนี้
ปาณา​ติปา​ตา เวร​ะม​ ะณี สิกขา​ปะ​ทัง สะ​มาทิ​ยา​มิ,
อะ​ทินน​ า​ทา​นา เวร​ะม​ ะณี สิกขา​ปะ​ทัง สะ​มาทิ​ยา​มิ,
กา​เม​สุ​มิจฉา​จา​รา เวร​ะม​ ะณี สิกขา​ปะ​ทัง สะ​มาทิ​ยา​มิ,
มุสา​วา​ทา เวร​ะม​ ะณี สิกขา​ปะ​ทัง สะ​มาทิ​ยา​มิ,
สุรา​เม​ระยะ​มัช​ชะ​ปะ​มาทั​ฏ​ฐาน​า เวร​ะม​ ะณี
สิกขา​ปะ​ทัง สะ​มาทิ​ยา​มิ,


ขอแยกสมาทานรักษาเป็นข้อๆ (ผู้ตั้งใจสมาทานทั้งหมดไม่ต้องกล่าว)

218
เมือ่ พ​ ระ​กล่าว​สรุปอ​ านิสงส์ข​อง​ศลี ว​า่ “อิม​ า​นิ ปัญจ​ะ
สิกขา​ปะ​ทา​น,ิ สีเ​ลน​ะ สุค​ ะ​ตงิ ยันต​ ,ิ สีเ​ลน​ะ โภค​ะสัมป​ ะ​ทา,
สี​เลน​ะ นิพ​พุ​ติง ยันต​ ิ, ตัสมฺ​ า สี​ลัง วิ​โสธะเย”  พึงร​ับ
พร้อม​กันว​่า “สาธุ”
ผูน้ ำ�​กล่าว​คำ�​อาราธนา​พระ​ปริตร (คำ�​อาราธนา​พระ​สงฆ์
เจริญ​พระพุทธ​มนต์) ดังนี้

คำ�อ​ าราธนา​พระ​ปริตร
วิป​ ัตติป​ ะฏิ​พาหา​ยะ, สัพพ​ ะ​สัม​ปัตติส​ ิทธิ​ยา,
สัพ​พะ​ทุกข​ะ​วนิ​ าสา​ยะ, ปะ​ริ​ตต​ ัง พฺ​รู​ถะ มังค​ ะ​ลัง,
วิป​ ัตติป​ ะฏิ​พาหา​ยะ, สัพพ​ ะ​สัม​ปัตติส​ ิทธิ​ยา,
สัพ​พะภะ​ยะ​วนิ​ าสา​ยะ, ปะ​ริ​ตต​ ัง พฺ​รู​ถะ มังค​ ะ​ลัง,
วิป​ ัตติป​ ะฏิ​พาหา​ยะ, สัพพ​ ะ​สัม​ปัตติส​ ิทธิ​ยา,
สัพพะ​โร​คะ​วนิ​ าสา​ยะ, ปะ​ริ​ตต​ ัง พฺ​รู​ถะ มังค​ ะ​ลัง.
พระ​ภิกษุ​รูป​ที่​สาม​ขัด​ชุมนุม​เทวดา พระ​สงฆ์​เจริญ
พระพุทธ​มนต์จ​น​จบ แล้วจ​งึ เ​ปิด​ฝา​บาตร เชิญ​ผม​ู้ า​รว่ ม​งาน
ใส่บ​ าตร ไม่ค​ วร​ใส่บ​ าตร​ขณะ​พระ​สงฆ์เ​จริญพ​ ระพุทธ​มนต์
(เพื่อ​เป็นการ​เคารพ​ใน​พระ​ธรรม) เมื่อ​ใส่​บาตร​เสร็จ​แล้ว
ปิด​ฝา​บาตร นำ�​บาตร​มา​วาง​ไว้ ตรง​หน้า​พระ​ภิกษุ​ทุก​รูป
โดย​ยัง​ไม่​ต้อง​ประเคน

219
กล่าว​คำ�​ถวาย​สังฆทาน โดย​ตั้ง นะ​โมฯ ๓ จบ
(จะ​ยก​ภาชนะ​หรือ​ไม่ย​ ก​ก็ได้ แต่ไ​ม่​ควร​เปิด​ฝา​ภาชนะ)
แล้ว​จึง​ว่า​ตาม​ผู้นำ�​ดังนี้

คำ�ถ​ วาย​สังฆทาน (อุทิศ)


อิ​มา​นิ, มะ​ยัง ภันเ​ต, ภัตต​ า​นิ, สะ​ปะ​ริ​วา​รา​นิ,
ภิกขุส​ ังฆั​ส​สะ, โอโณ​ชะ​ยา​มะ,
สาธุ โน ภันเ​ต, ภิกขุ​สังโฆ, อิ​มา​นิ, ภัตต​ า​นิ,
สะ​ปะ​ริ​วา​รา​นิ, ปะฏิคคัณฺหา​ตุ, อัมฺหา​กัญเ​จ​วะ,
มาตา​ปิตอุ​ า​ที​นัญจ​ะ, ญา​ตะ​กานัง​, ทีฆ​ะร​ัตต​ ัง,
หิตา​​ยะ, สุขา​ยะ
ข้า​แต่พ​ ระ​สงฆ์​ผู้​เจริญ ข้าพเจ้า​ทั้ง​หลาย
ขอ​นอ้ ม​ถวาย ซึง่ ภ​ ตั ตาหาร กับท​ งั้ บ​ ริวาร​ทงั้ ห​ ลาย​เหล่าน​ ี้
แด่พ​ ระ​ภิกษุส​ งฆ์ ขอ​พระ​ภิกษุส​ งฆ์​โปรด​รับ
ซึ่ง​ภัตตาหาร กับท​ ั้ง​บริวาร​ทั้ง​หลาย​เหล่า​นี้
ของ​ข้าพเจ้า​ทั้ง​หลาย เพื่อ​ประโยชน์​และ​ความ​สุข
แก่ข​ ้าพเจ้า​ทั้ง​หลาย และ​ญาติท​ ั้ง​หลาย​ของ​ข้าพเจ้า
มี​มารดา​บิดา​เป็นต้น ตลอด​ทั้ง​เจ้า​กรรม​นายเวร
และสรรพ​สัตว์ท​ ั้ง​หลาย สิ้น​กาล​นาน​เทอญ

220
คำ�ถ​ วาย​สังฆทาน (สามัญ)
อิ​มา​นิ, มะ​ยัง ภันเ​ต, ภัตต​ า​นิ, สะ​ปะ​ริ​วา​รา​นิ,
ภิกขุส​ ังฆั​ส​สะ, โอโณ​ชะ​ยา​มะ,
สาธุ โน ภันเ​ต, ภิกขุส​ ังโฆ, อิ​มา​นิ, ภัตต​ า​นิ,
สะ​ปะ​ริ​วา​รา​นิ, ปะฏิคคัณฺหา​ตุ, อัมหฺ​ า​กัง, ท​ ีฆะ​ร​ัต​ตัง,
หิตา​​ยะ, สุขา​ยะ
ข้า​แต่พ​ ระ​สงฆ์​ผู้​เจริญ ข้าพเจ้า​ทั้ง​หลาย
ขอ​นอ้ ม​ถวาย ซึง่ ภ​ ตั ตาหาร กับท​ งั้ บ​ ริวาร​ทงั้ ห​ ลาย​เหล่าน​ ี้
แด่พ​ ระ​ภิกษุส​ งฆ์ ขอ​พระ​ภิกษุส​ งฆ์​โปรด​รับ
ซึ่ง​ภัตตาหาร กับท​ ั้ง​บริวาร​ทั้ง​หลาย​เหล่า​นี้
ของ​ข้าพเจ้า​ทั้ง​หลาย เพื่อ​ประโยชน์​และ​ความ​สุข
แก่ข​ ้าพเจ้า​ทั้ง​หลาย สิ้น​กาล​นาน​เทอญ

221
ใน​กรณีท​เ​่ี ป็นการ​ท�ำ บุญ อุทศิ ก​ศุ ล ให้ผ​ท​ู้ ล​่ี ว่ ง​ลบั ไ​ป​แล้ว
ให้​ใช้​คำ�​ถวาย​สังฆทาน​อุทิศ​ให้​ผู้​ตาย ดังนีแ้​ ทน

คำ�ถ​ วาย​สังฆทาน​อุทิศ​ให้​ผตู้​ าย
อิ​มา​นิ, มะ​ยัง ภันเ​ต, มะ​ตะ​กะ​ภัตต​ า​นิ,
สะ​ปะ​ริ​วา​รา​นิ, ภิกขุส​ ังฆั​ส​สะ, โอโณ​ชะ​ยา​มะ,
สาธุ โน ภัน​เต, ภิกขุ​สงั โฆ, อิ​มา​น,ิ มะ​ตะ​กะ​ภตั ​ตา​น,ิ
สะ​ปะ​ริ​วา​รา​นิ, ปะฏิคคัณฺหา​ตุ, อัมฺหา​กัญเ​จ​วะ,
มาตา​ปิตอุ​ า​ที​นัญจ​ะ, ญา​ตะ​กานัง​, ทีฆ​ะร​ัตต​ ัง,
หิตา​​ยะ, สุขา​ยะ
ข้า​แต่พ​ ระ​สงฆ์​ผู้​เจริญ ข้าพเจ้า​ทั้ง​หลาย
ขอ​น้อม​ถวาย ซึ่งม​ ะ​ตะ​กะ​ภัตตาหาร
กับท​ ั้ง​บริวาร​ทั้ง​หลาย​เหล่า​นี้ แด่พ​ ระ​ภิกษุส​ งฆ์
ขอ​พระ​ภิกษุส​ งฆ์​โปรด​รับ ซึ่ง​มะ​ตะ​กะ​ภัตตาหาร
กับท​ ั้ง​บริวาร​ทั้ง​หลาย​เหล่า​นี้ ของ​ข้าพเจ้า​ทั้ง​หลาย
เพื่อ​ประโยชน์แ​ ละ​ความ​สุข​แก่ข​ ้าพเจ้า​ทั้ง​หลาย
และ​ญาติท​ ั้ง​หลาย​ของ​ข้าพเจ้า มี​มารดา​บิดา​เป็นต้น
และ​ขอ​อทุ ศิ ใ​ห้ (ชือ่ ข​อง​ผต​ู้ าย) ตลอด​ทงั้ เ​จ้าก​ รรม​นายเวร
และ​สรรพ​สัตว์ท​ ั้ง​หลาย สิ้นก​ าล​นาน​เทอญ
เสร็จแ​ล้วถ​ วาย​บาตร และ​อาหาร​บาง​สว่ น​แก่ป​ ระธาน
สงฆ์ พระ​ภกิ ษุร​ปู ห​ นึง่ จ​ะ​กล่าว​ค�​
ำ อป​โลก​นภ​์ ตั ตาหาร ดังนี้

222
คำ�อ​ ป​โลก​นภ์​ ัตตาหาร
ยัคเฆ ภันเ​ต สังโฆ ชา​นา​ตุ, อะ​ยัง ปะฐะ​มะ​ภา​โค
เถรั​ส​สะ ปา​ปุณา​ติ, อะ​วะ​เส​สา ภา​คา อัมฺ​หา​กัญเจ​วะ
ปา​ปุณัน​ติ, ภิก​ขู​นัญ​จะ สา​มะ​เณร​านัง๑ คะ​หัฏ​ฐานั​ง,
เต ยะ​ถา​สุ​ขัง ปะ​ริ​ภุญชัน​ ต​ ุ
ข้า​แต่พ​ ระ​สงฆ์​ผู้​เจริญ ขอ​สงฆ์​จง​ทราบ
บัดนีท​้ ายก​ทายิกา​ทง้ั ห​ ลาย (ซึง่ ม​ น​ี าย... นาง... เป็นป​ ระธาน
พร้อม​ดว้ ย​ลกู หลาน และ​ญาติมติ ร) ได้​นอ้ มนำ�​มา​ถวาย​
ซึ่ง​ภัตตาหาร พร้อม​ทั้ง​บริวาร แด่​พระ​ภิกษุส​ งฆ์
จะ​ได้จ​ำ�เพาะ​เจาะจง​แก่ภ​ ิกษุร​ูป​ใด​รูป​หนึ่ง​นั้นห​ ามิได้
กระผม​ขอ​สมมุต​ติ นเอง​เป็น​พระ​ภตั ​ต​เุ ท​สก์ แจก​แบ่ง​ของ​สงฆ์
ขอ​แจก​ดังนี้ ส่วน​ที่​หนึ่ง​ย่อม​ถึงแก่พ​ ระ​เถระ
ส่วน​ที่​สอง​ย่อม​ถึงแก่พ​ ระ​อนุเถระ
เป็น​ลำ�ดับ​ลง​ไป​จน​กระทั่ง​ถึง​พระ​สังฆ​นวกะ
เหลือ​นอก​นั้นย​ ่อม​ถึงแก่ส​ ามเณร​และ​คฤหัสถ์ท​ ั้ง​หลาย
ขอ​ท่าน​เหล่า​นั้นพ​ ึง​บริโภค​ได้ต​ าม​สบาย ถ้าภ​ ิกษุร​ูป​ใด
เห็นไ​ม่​สมควร​ขอ​จง​ทักท้วง​ขึ้น ณ ทีป่​ ระชุม​สงฆ์​นี้,
(หยุดฟ​ ัง​เสียง​สักร​ะยะ​หนึ่ง)
ถ้าเ​ห็นส​ มควร​แล้ว ขอ​จง​เปล่งส​ าธุการ​ขน้ึ ใ​ห้พ​ ร้อม​กนั เ​ทอญ
(พระ​สงฆ์ สาธุ​พร้อม​กัน)

ใช้​สำ�หรับ​สามเณร​ตั้งแต่ ๒ รูปข​ ึ้น​ไป ถ้าร​ูป​เดียว​ใช้ สา​มะ​เณรั​ส​สะ

223
จาก​นั้น​โยม​จึง​ประเคน​บาตร​พระ​เณร​ทุก​รูป พร้อม
ภาชนะ​เปล่า เพือ่ ​รบั อ​ าหาร​บาง​สว่ น​ออก​จาก​บาตร ประเคน
ภัตตาหาร​เฉพาะ​พระ​สงฆ์ผ​ เ​ู้ ป็นป​ ระธาน โดย​ทา่ น​จะ​สง่ ต​ อ่
ให้แ​ก่พ​ ระ​ภกิ ษุร​ปู ต​ อ่ ไ​ป จนถึงร​ปู ส​ ดุ ท้าย (ให้โ​ยม​คน​หนึง่
ไป​รอ​รบั จ​าก​รปู ส​ดุ ท้าย) ประเคน​อาหาร​และ​เครือ่ ง​ไทยทาน
ใน​คราว​เดียว​ทั้งหมด
จาก​นนั้ ผ​ ร​ู้ ว่ ม​งาน​มา​รวม​กนั เพือ่ ร​อ​รบั คำ�​อนุโมทนา
หรือ​การ​แสดง​ธรรม​ตาม​แต่​ประธาน​สงฆ์​เห็น​ควร พระ​สงฆ์
ให้พ​ ร และ​ประพรม​น�​ ำ้ พระพุทธ​มนต์ (ถ้าม​ )ี จาก​นน้ั พ​ ระ​สงฆ์
จะ​ฉนั ภ​ ตั ตาหาร ส่วน​ผร​ู้ ว่ ม​พธิ ร​ี บั ป​ ระทาน​อาหาร​จดั เ​ลีย้ ง​กนั
ตาม​ประเพณี เป็น​อัน​เสร็จ​พิธี

224
สิ่ง​ที่​ควร​ทราบ​ใน​พิธี​ทำ�บุญ
*การ​นิมนต์พ​ ระ​สงฆ์​ไป​ทำ�บุญ ควร​ติดต่อเ​จ้า​อาวาส​
ล่วง​หน้าอ​ย่าง​นอ้ ย ๓ วัน โดย​ระบุว​นั ท​ ี่ เวลา​มา​รบั สถาน​ที่
จำ�นวน​พระ (โดย​คำ�นึงถ​ งึ ค​ วาม​เหมาะ​สม​ของ​สถาน​ทพ​ี่ ธิ )ี
ทาง​วัดง​ด​เว้นก​ าร​รับ​นิมนต์ใ​น​วันพระ และ​วันท​ ี่ทาง​วัดม​ ี
ศาสน​พิธี​พิเศษ
*การ​นิมนต์ห​ ้าม​ระบุ​ชื่อ​อาหาร​ที่​จะ​ถวาย
*ผูร​้ ว่ ม​พธิ ค​ี วร​แต่งก​าย​ให้ส​ ภุ าพ สะดวก​ใน​การ​นงั่ แ​ละ
การก​ราบ
*ควร​งด​มหรสพ การ​พนันต​ า่ งๆ ตลอด​จน​กระทัง่ ส​ รุ า
ยา​เสพ​ติดท​ ุกช​ นิด
* ใน​ขณะ​ทำ�​พธิ ี คือ ระหว่าง​พระ​สงฆ์เ​จริญพ​ ระพุทธ​มนต์
แสดง​ธรรม หรืออ​ นุโมทนา​ให้พ​ ร ไม่ค​ วร​สวม​หมวก คลุม
ศีรษะ สวม​รองเท้า และ​ให้อ​ ยูใ​่ น​อาการ​สงบ สำ�รวม​เพือ่ ใ​ห้
ได้​รบั ​ประโยชน์​จาก​การ​ฟงั ​และ​เป็นการ​เคารพ​ใน​พระ​ธรรม
* ไม่​ควร​ถวาย​หมาก​พลู บุหรี่ และ​อาหาร​ที่​ขัด​ต่อ
พระ​ธรรม​วนิ ยั เช่น อาหาร​ประเภท​เนือ้ ทีป​่ รุงไ​ม่ส​ กุ (ควร
ทำ�ให้ส​ กุ ด​ ว้ ย​ไฟ​กอ่ น​ถวาย) เนือ้ ส​ ตั ว์ ๑๐ ชนิด ทีท​่ รง​หา้ ม
(คือ เนือ้ ม​ นุษย์ ช้าง ม้า สุนขั ราชสีห์ หมี เสือโ​คร่ง เสือด​าว
เสือ​เหลือง งู​หรือ​ปลา​ไหล)

225
*การ​ถวาย​หรือป​ ระเคน​สงิ่ ของ ผูถ​้ วาย​ควร​อยูห​่ า่ ง​จาก
พระ​ไม่เ​กินห​ นึง่ ศ​ อก​กบั อ​ กี ห​ นึง่ ค​ บื ยก​ของ​ถวาย​ให้พ​ น้ พ​ นื้
ถวาย​ทล​ี ะ​อย่าง​โดย​อาการ​นอบน้อม ไม่ค​ วร​ถวาย​สงิ่ ท​ เ​ี่ ป็น
อาหาร​ภาย​หลัง​จาก​พระ​ฉันเ​สร็จ​แล้ว​ใน​วันน​ ั้น ถ้า​มี​สิ่ง​ที่
เป็น​อาหาร​จะ​ถวาย​อีกค​ วร​มอบ​ไว้แ​ ก่โ​ยม​ผู้​อุปัฏฐาก​พระ
*พืช​ผกั ผ​ ล​ไม้​ท​สี่ ามารถ​ปลูก​หรือ​งอก​ได้ เมือ่ ​จะ​ถวาย​พระ
พึง​ทำ� ​ตาม​วนิ ยั ​กรรม ให้​เป็น​ของ​ควร​แก่​พระ​ภกิ ษุ​ฉนั  โดย
เมือ่ ​นำ� ​เข้า​มา​ประเคน พระ​ทา่ น​จะ​กล่าว​วา ่ “กัป​ปยิ ​งั  กะ​โรหิ”
ให้​ผ้​ูประเคน​ใช้​ของ​มี​คม ไฟ หรือ​เล็บ ตัด แทง จิม้ ​ของ
สิง่ ​นนั้ ภายใน​ภาชนะ​นนั้ ​พร้อม​กบั ​กล่าว​วา ่ “กัป​ปยิ ง​ั  ภัน​เต”
* ไม่ค​ วร​ถวาย​ธนบัตร เงิน ทอง​แก่พ​ ระ​ภกิ ษุ สามเณร
หาก​ตอ้ งการ​ถวาย​ให้ถ​ วาย​เป็นใ​บ​ปวารณา​โดย​มอบ​ธนบัตร
เงินท​ อง​นนั้ แ​ก่โ​ยม​อปุ ฏั ฐาก​พระ​หรือ ผูท​้ จ​ี่ ะ​ไป​สง่ พ​ ระ เพือ่
ให้​นำ�​เข้า​กอง​กลาง​บำ�รุง​ปจั จัย ๔ แก่​พระ​ภกิ ษุ​สามเณร
*ภาย​หลังจ​าก​เทีย่ ง​ไป​แล้ว หาก​จะ​ถวาย​เครือ่ ง​ดมื่ แ​ ก่
พระ​ควร​เป็นน​ ำ�้ ผ​ ล​ไม้ท​ ไ​่ี ม่มเ​ี นือ้ ผ​ ล​ไม้ผ​ สม​และ​ขนาด​ไม่ใ​หญ่
กว่าผ​ ล​มะตูม ควร​เป็นเ​ครือ่ ง​ดมื่ ช​นิดท​ ไ​ี่ ม่มส​ี ว่ น​ผสม​ของ
นม ไม่​ควร​เป็น​เครื่อง​ดื่ม​เจือ​ด้วย​น้ำ�เมา และ​ไม่​ควร​เป็น
เครื่อง​ดื่มพ​ วก​ธัญพืช พวก​ข้าว​โอ๊ต ข้าวโพด น้ำ�ถ​ ั่ว (นม
ถัว่ เ​หลือง) ตลอด​ทงั้ ไ​ม่ค​ วร​เป็นส​ งิ่ อ​ นื่ ท​ ส​ี่ ามารถ​สำ�เร็จก​ จิ
อาหาร​ได้ เช่น น้ำ�ผ​ ัก เป็นต้น

226
มนุษย์เ​รา​เอ๋ย...
มนุษย์เ​รา​เอ๋ย เกิดม​ า​ทำ�ไม
นิพพาน​มี​สุข อยูไ่​ย​ไม่​ไป
ตัณหา​หน่วง​หนัก หน่วง​ชักห​ น่วง​ไว้
ฉัน​ไป​ไม่​ได้ ตัณหา​ผูกพัน
ห่วง​นั้นพ​ ัน​ผูก ห่วง​ลูกห​ ่วง​หลาน
ห่วง​ทรัพย์สิน​ศฤงคาร จง​สละ​เสีย​เถิด
จะ​ได้ไ​ป​นิพพาน ข้าม​พ้น​ภพ​สาม
ยาม​หนุ่ม​สาว​น้อย หน้าตา​แช่ม​ช้อย
งาม​แล้วท​ ุกป​ ระการ แก่เ​ฒ่า​หนัง​ยาน
แต่ล​ ้วน​เครื่อง​เหม็น เอ็น​ใหญ่​เก้า​ร้อย
เอ็น​น้อย​เก้า​พัน มันม​ า​ทำ�ให้​เข็ญใจ
ให้​ร้อน​ให้​เย็น เมื่อย​ขบ​ทั้ง​ตัว
ขน​คิ้วก​ ข็​ าว นัยน์ตา​กม็​ ัว
เส้นผม​บน​หัว ดำ�​แล้วก​ลับ​หงอก
หน้าตา​เว้า​วอก ดูห​ น้า​บัดสี
จะ​ลุกก​ โ็​อย จะ​นั่งก​ โ็​อย
เหมือน​ดอกไม้​โรย ไม่มี​เกสร
จะ​เข้า​ที่นอน พึง​สอน​ภาวนา
พระ​อนิจจัง พระ​อนัตตา
227
เรา​ท่าน​เกิดม​ า รัง​แต่จ​ะ​ตาย
ผู้ดเี​ข็ญใจ ก็ต​ าย​เหมือน​กัน
เงิน​ทอง​ทั้ง​นั้น มิ​ติดตัว​ไป
ตาย​ไป​เป็น​ผี ลูกเ​มีย​ผัวร​ัก
เขา​ชักห​ น้า​หนี เขา​เหม็น​ซาก​ผี
เปื่อย​เน่า​ผุ​พอง หมู่​ญาติพ​ ี่​น้อง
เขา​หาม​เอา​ไป เขา​วาง​ลง​ไว้
เขา​นั่งร​้องไห้ แล้วก​ลับ​คืนม​ า
อยูแ่​ ต่ผ​ ู้​เดียว ป่า​ไม้​ชาย​เขียว
เหลียว​ไม่​เห็น​ใคร เห็น​แต่ฝ​ ูง​แร้ง
เห็น​แต่ฝ​ ูง​กา เห็น​แต่ฝ​ ูง​หมา
ยื้อแ​ ย่งก​ ันก​ ิน ดูน​ ่าส​ มเพช
กระดูกก​ เู​อ๋ย เรี่ย​ราย​แผ่นด​ ิน
แร้ง​กา​หมา​กิน เอา​เป็น​อาหาร
เที่ยง​คืนส​ งัด ตื่นข​ ึ้นม​ ิ​นาน
ไม่​เห็น​ลูกห​ ลาน พี่​น้อง​เผ่า​พันธุ์
เห็น​แต่น​ ก​เค้า จับเจ่า​เรียง​กัน
เห็น​แต่น​ ก​แสก ร้อง​แรก​แหก​ขวัญ
เห็น​แต่ฝ​ ูง​ผี ร้องไห้​หา​กัน

228
มนุษย์เ​รา​เอ๋ย อย่า​หลง​นักเ​ลย ไม่มี​แก่นส​ าร
อุตส่าห์​ทำ�บุญ ค้ำ�จุนเ​อา​ไว้ จะ​ได้ไ​ป​สวรรค์
จะ​ได้ท​ ันพ​ ระพุทธเจ้า จะ​ได้เ​ข้า​พระ​นิพพาน
อะหัง วันทา​มิ สัพ​พะโส
อะหัง วันทา​มิ นิพพาน​ะปัจจ​ะ​โย โห​ตุ

บท​พิจารณา​อาหาร
ข้าพเจ้า​พิจารณา​อาหาร ก่อน​รับ​ประทาน​ใน​มื้อ​นี้
มิใช่​เพื่อ​สนุกสนาน​เปรม​ปรีดิ์ มิ​ให้​มี​พลัง​กาย​อันเ​มามัน
มิ​ให้​เป็น​เครือ่ ง​ประดับ​และ​ตกแต่ง แต่​เพื่อใ​ห้​แข็ง​แรง​และ​ขยัน
เพือ่ ​พากเพียร​ภาวนา​ตลอด​วนั ให้ธ​าตุข​นั ธ์ไ​ด้ล​อง​ลม้ิ อ​ม่ิ พ​ ระ​ธรรม

229
มูลนิธปิ​ ัญญา​ประทีป
ค​ว​า​ม​เป็น​มา​ ​
​ มูล​นิธิปั​ญญา​ประที​ป จั​ดตั้​งโด​ยค​ณะผู​้บร​ิหารโ​รงเ​รียนทอส​ี ด้ว​ยควา​มร่ว​ม​ม​ือ ​
จ​ากคณะค​รู ผู​้ปกค​รอ​งแล​ะญาต​ิโย​มซึ่งเ​ป็น​ลูกศ​ิ​ษย์​พระอาจา​รย์ช​ย​สาโ​ร ก​ระทรวง​มหาด​ไทย
อน​ุญา​ตให​้จดทะ​เบี​ยนเ​ป็นน​ิติบ​ุคค​ล​อ​ย​่า​งเป็นทาง​การ ​เลขที่​ทะ​เบียน ​กท. ​๑๔๐๕ ตั้​งแต่วัน​ที่
๑ เ​ม​ ษา​ยน ​๒๕๕๑
​วัตถุประ​สงค​์​
​​​​​​​​ ๑​ ) ​สนับส​นุนก​ ารพัฒน​ าสถา​บันก​ ารศ​ึกษาวิถ​ ีพุทธที่​ม​ีระบบ​ไต​ ร​ ส​ ​ิกขา​ของพระ​พุทธ
ศา​สนาเป็น​หลัก ​
๒​ ) เผ​ยแผ่หล​กั ธรรม​ค�ำ ส​อนผ่า​ นการจัดการฝึกอ​ บรม และปฏิบตั ธิ รรม และการเผยแผ่
สื่อธรรมะรูปแบบต่าง ๆ โดยแจกเป็นธรรมทาน
๓) เพิม่ พูนความเข้าใจในเรือ่ งความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์ และสิง่ แวดล้อม สนับสนุน
การพัฒนาที่ยั่งยืน และส่งเสริมการดำ�เนินชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
๔) ร่วมมือกับองค์กรการกุศลอื่น ๆ เพื่อดำ�เนินกิจการที่เป็นสาธารณประโยชน์
​คณะ​ที่​ปรึกษา​
​ พระอาจารย์ชยสาโรเป็นองค์ประธานทีป่ รึกษา โดยมีคณะทีป่ รึกษาเป็นผูท้ รงคุณวุฒใิ น
สาขาต่างๆ อาทิ ดา้ นนิเวศวิทยา พลังงานทดแทน สง่ิ แวดล้อม เกษตรอินทรีย ์ เทคโนโลยีสารสนเทศ
วิทยาศาสตร์สุขภาพ การเงิน กฎหมาย การสื่อสาร การละคร ดนตรี วัฒนธรรม ศิลปกรรม
ภูมิปัญญาท้องถิ่น
คณะกรรมการบริหาร
มูลนิธฯิ ได้รบั เกียรติจากรองศาสตราจารย์นายแพทย์ปรีดา ทัศนประดิษฐ เป็นประธาน
คณะกรรมการบริหาร และมีคุณบุบผาสวัสดิ์ รัชชตาตะนันท์ ผู้อำ�นวยการโรงเรียนทอสีเป็น
เลขาธิการฯ
​การ​ดำ�เนิน​การ​
​ ​•​มูลนิธิฯ เป็นผู้จัดตั้งโรงเรียนมัธยมปัญญาประทีป ในรูปแบบโรงเรียนบ่มเพาะชีวิต
เพื่อดำ�เนินกิจกรรมต่าง ๆ ด้านการศึกษาวิถีพุทธ ให้บรรลุวัตถุประสงค์ของมูลนิธิฯ ข้างต้น
โรงเรียนนี้ตั้งอยู่ที่ บ้านหนองน้อย อำ�เภอปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา
​ ​• มูลนิธฯิ ร่วมมือกับโรงเรียนทอสี ในการผลิตและเผยแผ่สอ่ื ธรรมะ แจกเป็นธรรมทาน
โดยในส่วนของโรงเรียนทอสีฯ ได้ดำ�เนินการต่อเนื่องตั้งแต่ ปี พ.ศ. ๒๕๔๕

You might also like