You are on page 1of 122

ปีที่ ๓๖ ฉบับที่ ๔ ตุลาคม-ธันวาคม ๒๕๕๔

วารสารราชบัณฑิตยสถาน
วิสัยทัศน์
ราชบัณฑิตยสถานเป็นสถาบันหลักของ
เครือข่ายทางปัญญาแห่งชาติ
และ
เป็นองค์การพัฒนาความรู้ที่สามารถ
เป็นแหล่งอ้างอิงทางวิชาการ

วารสาร
The Journal of The Royal Institute of Thailand
ราชบัณฑิตยสถาน
The Journal of
Volume 36 Number 4 October-December 2011

the Royal Institute of Thailand


ISSN 0215-2968
www.jroyinstthai.com

ปีที่ ๓๖ ฉบับที่ ๔ ตุลาคม-ธันวาคม ๒๕๕๔


๔ Volume 36 Number 4 October-December 2011
บทความที่ตีพิมพ์ในส่วนของสำ�นักต่าง ๆ เป็นบทความวิชาการที่ได้บรรยายในที่ประชุมของสำ�นัก
และได้ผ่านการวิพากษ์จากราชบัณฑิตและภาคีสมาชิกในสำ�นักแล้ว
บทความที่ลงในปกิณกะเป็นบทความที่ได้รับจากราชบัณฑิต ภาคีสมาชิก และนักวิชาการภายนอก
ซึ่งได้ผ่านการพิจารณาจากผู้ทรงคุณวุฒิมาแล้ว บทความที่จะนำ�มาตีพิมพ์ในวารสารราชบัณฑิตยสถาน
ต้องเป็นบทความที่ไม่เคยตีพิมพ์ในที่ใดมาก่อน
บทความและความคิดเห็นในวารสารราชบัณฑิตยสถาน เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียน
ราชบัณฑิตยสถานไม่จ�ำ เป็นต้องเห็นด้วยเสมอไป อนึง่ บทความในวารสารฉบับนีส้ งวนลิขสิทธิต์ ามกฎหมาย

สำ�นักงาน : ราชบัณฑิตยสถาน
สนามเสือป่า เขตดุสิต กรุงเทพฯ ๑๐๓๐๐ โทรศัพท์ ๐ ๒๓๕๖ ๐๔๖๖-๗๐ โทรสาร ๐ ๒๓๕๖ ๐๔๙๒
Office: The Royal Institute
Sanam Sueapa, Khet Dusit, Bangkok 10300, Thailand. Tel. 0 2356 0466-70 Facsimile 0 2356 0492
http://www.royin.go.th

พิมพ์ที่ หจก. อรุณการพิมพ์


๙๙/๒ ซอยพระศุลี ถนนดินสอ แขวงบวรนิเวศ เขตพระนคร กรุงเทพฯ ๑๐๒๐๐
โทรศัพท์ ๐ ๒๒๘๒ ๖๐๓๓-๔ โทรสาร ๐ ๒๒๘๐ ๒๑๘๗-๘
วารสารราชบัณฑิตยสถาน
วารสารราย ๓ เดือน

ที่ปรึกษาคณะบรรณาธิการ
ศาสตราจารย์ ดร.ปัญญา บริสุทธิ ์ นายกราชบัณฑิตยสถาน
ดร.โสภา ชูพิกุลชัย ชปีลมันน์ อุปนายกราชบัณฑิตยสถาน
ประธานคณะบรรณาธิการ
รองศาสตราจารย์อัศนีย์ ชูอรุณ ราชบัณฑิต
คณะบรรณาธิการ
รองศาสตราจารย์ ดร.ชยันต์ พิเชียรสุนทร ราชบัณฑิต
ศาสตราจารย์ ดร.มงคล เดชนครินทร์ ราชบัณฑิต
ศาสตราจารย์ ดร.ณัชชา พันธุ์เจริญ ภาคีสมาชิก
รองศาสตราจารย์ ดร.นิตยา กาญจนะวรรณ ภาคีสมาชิก
รองศาสตราจารย์ ดร.ผลิน ภู่จรูญ ภาคีสมาชิก
รองศาสตราจารย์มาลิทัต พรหมทัตตเวที ภาคีสมาชิก
รองศาสตราจารย์ ดร.วรวุฒิ หิรัญรักษ์ ภาคีสมาชิก
ศาสตราจารย์ ดร.สมชาย วงศ์วิเศษ ภาคีสมาชิก
นางสาวกนกวลี ชูชัยยะ เลขาธิการราชบัณฑิตยสถาน
นายบัณฑิต ตั้งประเสริฐ รองเลขาธิการราชบัณฑิตยสถาน
นางแสงจันทร์ แสนสุภา ผู้อ�ำนวยการกองธรรมศาสตร์และการเมือง
นางสาวสุปัญญา ชมจินดา ผู้อ�ำนวยการกองวิทยาศาสตร์
นางสาวศิริพร อินทรเชียรศิร ิ ผู้อ�ำนวยการกองศิลปกรรม
นางทิพาภรณ์ ธารีเกษ ผู้ประสานงานกองศิลปกรรม
นางสาวกุลศิรินทร์ นาคไพจิตร ผู้ประสานงานกองศิลปกรรม
นางสาวปาริชาติ กิตินนั ทน์ ผู้ประสานงานกองศิลปกรรม
นางธนิดา สุขจรนิ ผู้ประสานงานกองศิลปกรรม
กองบรรณาธิการ
นางสาวบุญธรรม กรานทอง นางสาวชลธิชา สุดมุข
นางชวนพิศ เชาวน์สกุล นางสาวพัชนะ บุญประดิษฐ์
นางสาวกระล�ำภักษ์ แพรกทอง นางสาวลัดดา วรลัคนากุล
นางพรทิพย์ เดชทิพย์ประภาพ นายปิยะพงษ์ โพธิ์เย็น
นางสาววรรณทนา ปิติเขตร นางสาวศยามล แสงมณี
ผู้จัดการ
นางนัยนา วราอัศวปติ เลขานุการกรม
The Journal of the Royal Institute of Thailand
Quarterly Journal

ADVISORY BOARD
Panya Borisutdhi, FRI President of the Royal Institute
Sobha Chupikulchai Spielmann, FRI Vice-President of the Royal Institute
EDITOR-IN-CHIEF
Asanee Chooarun Fellow of the Royal Institute
EDITORIAL BOARD
Chayan Picheansoonthon Fellow of the Royal Institute
Mongkol Dejnakarintra Fellow of the Royal Institute
Malithat Promathatavedi Associate Fellow of the Royal Institute
Natchar Pancharoen Associate Fellow of the Royal Institute
Nitaya Kanchanawan Associate Fellow of the Royal Institute
Palin Phoocharoon Associate Fellow of the Royal Institute
Somchai Wongwises Associate Fellow of the Royal Institute
Vorawoot Hirunruk Associate Fellow of the Royal Institute
Kanokwalee Chuchaiya Secretary-General, the Royal Institute
Bundit Tungprasert Deputy Secretary-General, the Royal Institute
Saengchant Sansupa Director, the Royal Institute of Moral and Political
Sciences Division
Supanya Chomjinda Director, the Royal Institute of Sciences Division
Siriporn Intarachiensiri Director, the Royal Institute of Arts Division
Tipaporn Tareeges Coordinator, Academy of the Royal Institute
Kulsirin Nakpaijit Coordinator, Academy of the Royal Institute
Parichat Kittinan Coordinator, Academy of the Royal Institute
Tanida Sukjornni Coordinator, Academy of the Royal Institute
EDITORIAL STAFF
Boontham Granthong Cholticha Sudmuk
Chuanpit Chaovanasakul Patchana Bunpradit
Kalumpak Praekthong Ladda Woralukanakul
Pornthip Dettippraphap Piyapong Poyen
Wantana Pitikhet Sayamol Saengmani
MANAGER
Naiyana Vara-Asvapati Head, Secretariat office of the Royal Institute
วารสารราชบัณฑิตยสถาน
The Journal of the Royal Institute of Thailand

ปีที่ ๓๖ ฉบับที่ ๔ ตุลาคม-ธันวาคม ๒๕๕๔ Volume 36 Number 4 October-December 2011

อาศิรวาทสดุดีพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา In Praise of His Majesty the King


ภูมิพลอดุลยเดช

ประธานคณะบรรณาธิการแถลง Editor-in-Chief’s Note

ส�ำนักธรรมศาสตร์และการเมือง THE ACADEMY OF MORAL


AND POLITICAL SCIENCES

การบริหารทรัพยากรบุคคลภาครัฐ ๕๑๙ The Management of Government Sector Human


ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง Resources according to the Principles of Sufffiiciency
วรเดช จันทรศร Economy Philosophy
Voradej Jantarasorn

ส�ำนักวิทยาศาสตร์ THE ACADEMY OF SCIENCES

กรณีอุบัติเหตุเรือน�้ำตาล ๕๓๑ Raw Sugar Barge Sunk Accident in


อับปางในแม่น�้ำเจ้าพระยา Chao Phraya River
สันทัด ศิริอนันต์ไพบูลย์ Suntud Sirianuntapiboon
เปี่ยมศักดิ์ เมนะเศวต Piamsak Menasveta
สมชัย บวรกิตติ Somchai Bovornkitti

ส�ำนักศิลปกรรม THE ACADEMY OF ARTS

ชุมชนจีนในประเทศไทย: ๕๓๙ Chinese Communities in Thailand:


หลากหลายส�ำเนียงจีน Variety of Chinese Dialects
ประพิณ มโนมัยวิบูลย์ Prapin Manomaivibool
เรื่องยุ่ง ๆ เกี่ยวกับอักษรควบ ๕๕๓ Some Confusion Concerning Double Letters
นววรรณ พันธุเมธา for Consonants
Navavan Bandhumedha
วรรณกรรมทักษิณ : ๕๖๔
หลักฐานส�ำคัญของภาคใต้ ที่ท้าทายการศึกษา Southern Literature: A Signififfiicant Evidence from
ชวน เพชรแก้ว the South that Challenges Studying
Chuan Phetkaew

เอร็อสทรัต (Érostrate): ๕๗๒ Érostrate: A Case Study of Anti-Hero


กรณีศึกษาตัวเอกปฏิลักษณ์ Chintana Damronglert
จินตนา ด�ำรงค์เลิศ

การอนุรักษ์โขนหน้าจอ ๕๘๐ The Conservation of Khon Na Cho


ไพโรจน์ ทองค�ำสุก Pairoj Thongkumsuk

น�้ำท่วม ปัญหาโลกแตก ๕๘๘ Deluge: A Global Catastrophe


มาลิทัต พรหมทัตตเวที Malithat Promathatavedi

บทความพิเศษ ADDITIONAL SECTION

ปัญหาบางประการในการบังคับใช้ ๕๙๙ Problem of Intellectual Property Law Enforcement


กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา Chaiyos Hemarajata
ไชยยศ เหมะรัชตะ

การจัดการแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตร ๖๐๗ The Agro Tourism Sustainable Management at


ในจังหวัดนครราชสีมาอย่างยั่งยืนภายใต้หลัก Nakhon Ratchasima Province Based on Suffiffiiciency
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง Economy Philosophy
สุวิมล ตั้งประเสริฐ Suvimon Tungprasert

ความมหัศจรรย์ทางตัวเลข ๗ ประการ ๖๒๙ Seven Numerical Wonders on HM’s 84th Birthday


ในวันเฉลิมพระชนมพรรษา ครบ ๗ รอบ Loy Chunpongtong
ลอย ชุนพงษ์ทอง
ดรรชนีผู้นิพนธ์ ๖๓๑ Authors Index
ดรรชนีค้นค�ำ ๖๓๓ Key Words Index
อาศิรวาท
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
เนื่องในโอกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา
๕ ธันวาคม ๒๕๕๔
โคลงสี่

ไผทไทยเย็นร่มแท้ ทิพสถาน
โดยพระราชสมภาร เอกเอื้อ
ไอศวรรย์รุ่งเรืองตระการ ก้องโลก
เผยแผ่กฤษดาเกื้อ แหล่งหล้าสุขเกษม
เปรมปรีดิ์ปราโมทย์ทั้ง ปถพี
เฉลิมพระชนม์ภูบดี เพริศพร้อม
บุญเบิกพระบารมี ไตรตรัส
ทวยราษฎร์ทั่วหน้าน้อม แซ่ซ้องชัยพร
ประนมกรกราบก้ม ศิระสา
นบพระมหากรุณา เลิศล้วน
ปวงพสกเทิดบุญญา เหนือเกศ เกล้าแฮ
คือประทีปถ่องถ้วน สว่างล�้ำแหล่งสยาม
ทุกคามเขตพร�่ำพร้อง สรรพมงคลเฮย
ทรงพระเจริญยิ่งยง เพริศแพร้ว
พาลภัยพ่ายพระทรง มหิทธิเดช
ทรงพระสราญเลิศแล้ว ราษฎร์พร้อมภักดี
เชิญตรีรัตนะคุ้ม ครองไอ-ศวรรย์เอย
ราชจักรีเกริกไกร เด่นด้าว
เกษมสุขนิรัติศรัย ยืนยิ่ง พระชนม์แฮ
พระเกียรติพระยศอะคร้าว อยู่ฟ้าแลดิน
ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อม ขอเดชะ
ข้าพระพุทธเจ้า คณะผู้จัดท�ำวารสารราชบัณฑิตยสถาน
(คุณหญิงกุลทรัพย์ เกษแม่นกิจ ราชบัณฑิต ประพันธ์)
ประธานคณะบรรณาธิการ แถลง
สวัสดีท่านผู้อ่านทุกท่าน วารสารราชบัณฑิตยสถาน ปีที่ ๓๖ ฉบับที่ ๔ ขอเสนอความรู้ทางวิชาการต่าง ๆ
ที่น่าสนใจจาก ส�ำนักธรรมศาสตร์และการเมือง เช่น เรื่อง การบริหารทรัพยากรบุคคลภาครัฐตามหลักปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียง โดย ศ. ดร.วรเดช จันทรศร ส�ำนักวิทยาศาสตร์ เรื่อง กรณีอุบัติเหตุเรือน�้ำตาลอับปางใน
แม่น�้ำเจ้าพระยา โดย ศ. ดร.เปี่ยมศักดิ์ เมนะเศวต และคณะ ส�ำนักศิลปกรรม เรื่อง ชุมชนจีนในประเทศไทย :
หลากหลายส� ำ เนี ย งจี น โดย รศ. ดร.ประพิ ณ มโนมั ย วิ บู ล ย์ เรื่ อ ง เรื่ อ งยุ ่ ง ๆ เกี่ ย วกั บ อั ก ษรควบ โดย
รศ. ดร.นววรรณ พันธุเมธา เรื่อง วรรณกรรมทักษิณ : หลักฐานส�ำคัญของภาคใต้ ที่ท้าทายการศึกษา โดย
ศ.ชวน เพชรแก้ว เรื่อง เอร็อสทรัต : กรณีศึกษาตัวเอกปฏิลักษณ์ โดย รศ. ดร.จินตนา ด�ำรงค์เลิศ เรื่อง การอนุรักษ์
โขนหน้าจอ โดย ดร.ไพโรจน์ ทองค�ำสุก และเรือ่ ง น�ำ้ ท่วม ปัญหาโลกแตก โดย รศ.มาลิทตั พรหมทัตตเวที นอกจากนี้
ยังมีบทความพิเศษที่น่าสนใจอีก ได้แก่ เรื่อง ปัญหาบางประการในการบังคับใช้กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา โดย
ศ.ไชยยศ เหมะรัชตะ เรื่อง การจัดการแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรในจังหวัดนครราชสีมาอย่างยั่งยืนภายใต้หลัก
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โดย ผศ. ดร.สุวิมล ตั้งประเสริฐ และเรื่อง ความมหัศจรรย์ทางตัวเลข ๗ ประการ
ในวันเฉลิมพระชนมพรรษา ครบ ๗ รอบ โดย นายลอย ชุนพงษ์ทอง
ราชบัณฑิตยสถานหวังเป็นอย่างยิ่งว่าท่านจะติดตามวารสารราชบัณฑิตยสถานต่อไป หากมีข้อติชม หรือ
ข้อเสนอแนะประการใด ทางคณะบรรณาธิการฯ ขอน้อมรับด้วยความขอบคุณ และจะได้น�ำไปพิจารณาปรับปรุง
วารสารราชบัณฑิตยสถานให้ดียิ่งขึ้น

รองศาสตราจารย์อัศนีย์ ชูอรุณ ราชบัณฑิต


วารสารราชบัณฑิตยสถาน
ปีที่ ๓๖ ฉบับที่ ๔ ต.ค.-ธ.ค. ๒๕๕๔

วรเดช จันทรศร
ภาคีสมาชิก ส�ำนักธรรมศาสตร์และการเมือง
ราชบัณฑิตยสถาน

บทคัดย่อ
บทความนี้มุ่งน�ำเสนอแนวทางการน้อมน�ำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ในการ
บริหารทรัพยากรบุคคลภาครัฐใน ๕ ด้าน ซึง่ ได้แก่ (๑) การวางแผนก�ำลังคน (๒) การสรรหาก�ำลังคน (๓) การคัดเลือก
(๔) การฝึกอบรมและการพัฒนา และ (๕) การรักษาและการใช้ประโยชน์จากบุคลากรของหน่วยงานภาครัฐ
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเป็นปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้พระราชทานให้แก่
ประชาชนไทยเป็นแนวทางการด�ำรงชีวิต เพื่อให้ประชาชนอยู่ดีมีสุข สามารถพึ่งพาตนเองได้อย่างเข้มแข็งและ
ยั่งยืน
สาระหลักที่ส�ำคัญ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมุ่งชี้ให้เห็นถึงแนวทางการด�ำรงอยู่และปฏิบัติตน
ของประชาชนในทุกระดับ ตั้งแต่ระดับครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับชาติทั้งในการพัฒนาและการบริหาร
ประเทศให้ดำ� เนินไปในทางสายกลาง เป็นแนวทางการพัฒนาทีเ่ น้นความสมดุล ความพอประมาณ ความมีเหตุผล
ความส�ำนึกในคุณธรรม การมีภมู คิ มุ้ กันในตัวทีด่ พี อทีจ่ ะต่อต้านและลดผลกระทบจากการเปลีย่ นแปลงต่าง ๆ จาก
กระแสโลกาภิวัตน์

โครงการอั น เนื่ อ งมาจากพระ ใช้ประโยชน์จากทรัพยากรน�้ำอย่างยั่งยืน ความภาคภูมิใจที่ได้มีโอกาสถวายรางวัล


ราชด�ำริต่าง ๆ เพื่อพัฒนาชนบทกว่า โครงการป้องกันและบรรเทาความเดือด ความส�ำเร็จสูงสุดด้านการพัฒนามนุษย์
๓,๐๐๐ โครงการ ได้ยดึ ถือและน�ำปรัชญา ร้อนจากน�้ำท่วมและภัยแล้ง แด่พระองค์ และในนามสหประชาชาติยงั
เศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ ส่งผล นายโคฟี อันนัน เลขาธิการองค์การ ได้ตั้งปณิธานที่จะส่งเสริมประสบการณ์
ให้เกิดประโยชน์ต่อพสกนิกรทั้งแผ่นดิน สหประชาชาติในขณะนั้นได้ทูลเกล้าฯ และน� ำ แนวทางการปฏิ บั ติ ใ นการน� ำ
ส่ ง ผลต่ อ การสร้ า งสรรค์ ค วามรู ้ แ ละ ถวายรางวัล Human Development Lifetime ปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย งอั นทรง
นวัตกรรมที่เกิดต่อการพัฒนาชนบทและ Achievement Award ซึ่งเป็นรางวัลของ คุ ณค่ า อย่ า งหาที่ สุ ด มิ ได้ ข องพระองค์
พัฒนาประเทศในหลาย ๆ ด้าน และ โครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติแด่ มาช่ ว ยจุ ด ประกายแนวคิ ด ในปรั ช ญา
หลายโอกาส อาทิ โครงการที่มุ่งเน้น พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ ดังกล่าวสู่นานาประเทศต่อไป
การเกษตรขนาดเล็ ก ด้ ว ยเทคโนโลยี ที่ ๒๖ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๔๙ และได้กล่าว
เหมาะสม โครงการที่มีการอนุรักษ์และ สดุดีพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวด้วย

*
ผูเ้ ขียนขอขอบคุณ รองศาสตราจารย์ ดร.อิสระ สุวรรณผล ผูอ้ �ำนวยการสถาบันทีป่ รึกษาเพือ่ พัฒนาประสิทธิภาพในราชการ ส�ำนักงาน ก.พ. ทีไ่ ด้อนุญาตให้น�ำ
เนื้อหาในรายงานการวิจัย เรื่อง “การน้อมน�ำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ในการบริหารราชการ” ซึ่งเป็นรายงานการวิจัยที่ผู้เขียนจัดท�ำให้สถาบันฯ
มาตีพิมพ์ ส่วนหนึง่ ของรายงานการวิจัยนี้ผู้เขียนได้น�ำเสนอในที่ประชุมส�ำนักธรรมศาสตร์และการเมือง ราชบัณฑิตยสถาน เมื่อวันที่ ๓ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๓

วรเดช จันทรศร
519
The Journal of the Royal lnstitute of Thailand

Volume 36 No. 4 Oct-Dec 2011

อนึ่ง นอกจากการยกย่ อ งและ ศึกษาค้นคว้ามาก่อนเลย เป็ นการกระท� ำ ที่ ไม่ มี ค วามเป็ นธรรม
ยอมรับปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงใน บทความนี้ จึ ง มี วั ต ถุ ป ระสงค์ เกิดความสัมพันธ์ที่ตึงเครียดระหว่างผู้
ระดับโลกแล้ว ในระดับประเทศ รัฐบาล ในการน� ำ เสนอแนวทางการน้ อ มน� ำ บริหารกับผู้ใต้บังคับบัญชา ก่อให้เกิดผล
ของพระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว ยั ง หลั ก ปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย งมา เสียต่อประสิทธิภาพของหน่วยงาน และ
ได้ น ้ อ มอั ญ เชิ ญ ปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ ประยุกต์ใช้ในการจัดการภาครัฐในส่วน ประโยชน์ต่อสาธารณะโดยรวม
พอเพียงไปบรรจุใช้เป็นปรัชญาน�ำทาง ที่เกี่ยวกับการบริหารทรัพยากรบุคคลใน การจะหลีกเลี่ยงข้อผิดพลาดข้าง
ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่ง ด้านการสรรหา พัฒนารักษาไว้ และใช้ ต้น และสามารถพัฒนาหน่วยงานภาครัฐ
ชาติ ทั้งในฉบับที่ ๙ และฉบับที่ ๑๐ อีก ประโยชน์ และเพื่อที่จะให้การบริหาร ไปในทิศทางทีม่ นั่ คง ก้าวหน้า และยัง่ ยืน
ทั้งรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ทรัพยากรบุคคลของหน่วยงานภาครัฐ ผู้บริหารจึงควรที่จะมีเหตุผลใช้เงื่อนไข
พุทธศักราช ๒๕๕๐ มาตรา ๗๘(๑) สามารถบรรลุ วั ต ถุ ป ระสงค์ ที่ ส� ำ คั ญ ความรู้ และเงื่อนไขคุณธรรม ในการ
ยังก�ำหนดให้ “รัฐต้องด�ำเนินการตาม ได้ คือ เพื่อจัดหาบุคคลที่มีคุณสมบัติ บริหารงาน กระท�ำในสิ่งที่ถูกต้อง ได้แก่
แนวนโยบายด้ า นการบริ ห ารราชการ เหมาะสมกับงาน เพื่อพัฒนาทักษะและ มีการวางแผนทรัพยากรบุคคลทีเ่ หมาะสม
แผ่นดิน ให้เป็นไปเพื่อการพัฒนาสังคม ความสามารถ เพื่ อ รั ก ษาพนัก งานที่ มี มีการสรรหาและการคัดเลือกเพื่อให้ได้
เศรษฐกิจ และความมั่งคงของประเทศ ความสามารถให้คงอยู่นานที่สุด เพื่อใช้ คนทีต่ อ้ งการและเหมาะสมกับวัฒนธรรม
อย่างยัง่ ยืนโดยต้องส่งเสริมการด�ำเนินการ ทรัพยากรมนุษย์ให้เกิดประโยชน์สูงสุด ขององค์การ มีการฝึกอบรมและพัฒนา
ตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและค�ำนึง (สมชาย, ๒๕๔๒ : ๑๐) ท�ำให้การบริหาร ตลอดจนการรักษาและใช้ประโยชน์จาก
ถึงผลประโยชน์ของประเทศชาติในภาพ ราชการของหน่วยงานภาครัฐโดยรวมมี บุคคล
รวมเป็นส�ำคัญ” นอกจากนี้รัฐบาลยังมี ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล เกิดประโยชน์ การเสนอเรื่องในบทความนี้ ได้
การก�ำหนดเป็นประเด็นวาระแห่งชาติ ต่อสาธารณะ และเป็นกลไกส�ำคัญในการ แบ่งการน�ำเสนอออกเป็น ๖ ส่วน ส่วนที่ ๑
ในการน้อมน�ำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พัฒนาประเทศ เป็ น การน� ำ เสนอหลั ก ปรั ช ญาของ
พอเพียงมาปรับใช้ เพื่อสร้างการบริหาร ในสภาพความเป็ นจริ ง เราคง เศรษฐกิจพอเพียง ส่วนที่ ๒ เป็นการน�ำ
ราชการแผ่ น ดิ น ที่ ป ระชาชนเชื่ อ มั่ น ไม่ ส ามารถปฏิ เ สธได้ ว ่ า การบริ ห าร หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาปรับ
ศรัทธา เป็นหลักการส�ำคัญที่จะช่วยวาง ทรัพยากรบุคคลของหน่วยงานภาครัฐ ใช้ กั บ การวางแผนทรั พ ยากรบุ ค คลใน
รากฐานการบริหารราชการอย่างสุจริต บางแห่งยังคงเกิดข้อผิดพลาดขึ้นในบาง หน่วยงานภาครัฐ ส่วนที่ ๓ เป็นการน�ำ
เป็นธรรม และเป็นไปเพื่อประโยชน์สุข ประการ เช่ น มี ก ารรั บ และบรรจุ ค น มาปรับใช้กับการสรรหาบุคคลในหน่วย
ของประชาชนอย่างแท้จริง ด้วยความไม่เป็นธรรม บุคคลที่ถูกบรรจุ งานภาครัฐ ส่วนที่ ๔ เป็นการน�ำมาปรับ
อย่างไรก็ตาม ในทางปฏิบัติ การ ไม่ เหมาะสมกั บ งาน มี อั ต ราการออก ใช้กับการคัดเลือกบุคคลของหน่วยงาน
น� ำ หลั ก ปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง จากงานสูง มีการค้นพบว่า ข้าราชการ/ ภาครัฐ ส่วนที่ ๕ เป็นการน�ำมาปรับใช้
ไปประยุกต์ใช้ในหน่วยงานต่าง ๆ ของ พนักงาน/ลูกจ้าง ไม่ตั้งใจที่จะท�ำงานให้ กับการฝึกอบรมและการพัฒนาของหน่วย
ภาครัฐยังมีน้อยมาก และขาดแนวทางที่ ดีที่สุด ผู้บริหารไม่ให้ความเป็นธรรม งานภาครัฐ ส่วนที่ ๖ เป็นการน�ำมาปรับ
เป็นรูปธรรมที่สามารถส่งประโยชน์ได้ ในการแต่งตั้ง โยกย้าย มีการฟ้องร้อง ใช้กบั การรักษาและการใช้ประโยชน์จาก
อย่างทั่วถึงและยั่งยืน ยิ่งไปกว่านั้นใน ทั้งทางศาลปกครอง และศาลยุติธรรม บุคลากรของหน่วยงานภาครัฐ และส่วน
เชิ ง วิ ช าการ การน� ำ หลั ก ปรั ช ญาของ บางส่วนราชการไม่มีการฝึกอบรมและ ที่ ๗ เป็นการสรุปความเกี่ยวกับการน�ำ
เศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ในการ พัฒนา ไม่มีการแต่งตั้งข้าราชการตาม หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาปรับ
บริหารจัดการภาครัฐยังแทบจะไม่มีการ ช่วงเวลาที่ควรจะเป็น ซึ่งในภาพรวม ใช้ในการบริหารทรัพยากรบุคคลภาครัฐ

การบริหารทรัพยากรบุคคลภาครัฐ
ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
520
วารสารราชบัณฑิตยสถาน
ปีที่ ๓๖ ฉบับที่ ๔ ต.ค.-ธ.ค. ๒๕๕๔

๑. ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียงจึงเป็นปรัชญา อย่างรอบด้าน มีความรอบคอบที่จะน�ำ


พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้ ทีช่ ถี้ งึ แนวทางการด�ำรงอยูแ่ ละปฏิบตั ติ น ความรู้มาพิจารณาอย่างเป็นบูรณาการ
พระราชทานพระบรมราชานุญาตให้น�ำ ของประชาชนในทุกระดับตั้งแต่ระดับ เพื่อประกอบการวางแผนและการน�ำไป
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปเผยแพร่ ครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ สู่การปฏิบัติด้วยความระมัดระวัง และ
เพื่อเป็นแนวทางปฏิบัติของทุกฝ่ายและ ทั้งในการพัฒนาและบริหารประเทศให้ เงื่อนไขของคุณธรรม ได้แก่ การมีความ
ประชาชนโดยทัว่ ไป ดังนี้ (ส�ำนักงาน กปร., ด�ำเนินไปในทางสายกลาง โดยเฉพาะการ ซือ่ สัตย์สจุ ริต มีความขยัน อดทน มีความ
๒๕๕๐ : ๕) พัฒนาเศรษฐกิจ เพือ่ ให้กา้ วทันต่อโลกยุค เพียร มีสติ มีปัญญา แบ่งปัน ด�ำเนินชีวิต
เศรษฐกิ จ พอเพี ย งเป็ น ปรั ช ญา โลกาภิวัตน์ ไปในทางที่ไม่โลภ ไม่ตระหนี่
ชี้ ถึ ง แนวการด� ำ รงอยู ่ แ ละปฏิ บั ติ ต น โดยนิ ย ามข้ า งต้ น การบริ ห าร
ของประชาชนในทุกระดับตั้งแต่ระดับ ทรัพยากรบุคคลภาครัฐตามหลักปรัชญา ๒. การวางแผนทรัพยากรบุคคล
ครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ ของเศรษฐกิจพอเพียง จึงเป็นการด�ำเนิน การวางแผนทรั พ ยากรบุ ค คล
ทั้งในการพัฒนาและบริหารประเทศให้ การบริหารจัดการ โดยยึดทางสายกลาง เป็ นกิ จ กรรมและกระบวนการในการ
ด�ำเนินไปในทางสายกลาง โดยเฉพาะการ ตามหลักพระพุทธศาสนาเป็นแกนกลาง คาดคะเนความต้องการของหน่วยงาน
พัฒนาเศรษฐกิจ เพื่อให้ก้าวทันต่อโลก มีจดุ มุง่ หมายของการพัฒนา มีคณ ุ ลักษณะ เป็นการล่วงหน้าว่าต้องการบุคคลลักษณะ
ยุคโลกาภิวัตน์ ความพอเพียง หมายถึง ๓ ประการที่สัมพันธ์กัน และมีเงื่อนไข ใด จ�ำนวนเท่าใด และเมื่อใด (พยอม,
ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึง เพื่อให้การด�ำเนินการเป็นไปในทางสาย ๒๕๔๕ : ๖๒ ; Armstrong, 2000 : 46)
ความจ�ำเป็นทีจ่ ะต้องมีระบบภูมคิ มุ้ กันใน กลางอยู่ในระดับความพอเพียง ตลอดจนเป็นการก�ำหนดแนวทางในการ
ตัวทีด่ พี อสมควรต่อการมีผลกระทบใด ๆ รายละเอี ย ด จุ ด หมายของการ ด�ำเนินการเพื่อให้ได้มาและใช้ประโยชน์
อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายนอก พั ฒ นาตามหลั ก ปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ จากทรัพยากรให้เกิดประโยชน์ต่อหน่วย
และภายใน ทั้งนีจ้ ะต้องอาศัยความรอบรู้ พอเพียงก็คือ การพัฒนาที่มุ่งไปสู่ความ งานในภาพรวมต่อไป
ความรอบคอบ และความระมั ด ระวั ง สมดุล มั่นคง และยั่งยืน พร้อมต่อการ การน้ อ มน� ำ หลั ก ปรั ช ญาของ
อย่างยิ่งในการน�ำวิชาการต่าง ๆ มาใช้ เปลี่ยนแปลงในทุกด้านทั้งทางด้านชีวิต เศรษฐกิ จ พอเพี ย งมาปรั บ ใช้ กั บ การ
ในการวางแผนและการด� ำ เนินการทุ ก เศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม ความรู้ วางแผนทรัพยากรบุคคลในส่วนราชการ
ขั้นตอน และขณะเดียวกันจะต้องเสริม วิทยาการ และเทคโนโลยี สามารถพิจารณาได้ดังนี้
สร้ า งพื้ นฐานจิ ต ใจของคนในชาติ โดย ความพอเพี ย งประกอบไปด้ ว ย ๑. หน่ ว ยงานภาครั ฐ ควรน� ำ
เฉพาะเจ้าหน้าที่ของรัฐ นักทฤษฎีและ คุณลักษณะ ๓ ประการที่สัมพันธ์ซึ่งกัน เงื่ อ นไขความรู ้ ต ามหลั ก ปรั ช ญาของ
นัก ธุ ร กิ จ ในทุ ก ระดั บ ให้ มี จิ ต ส� ำ นึก ใน และกันคือ ความพอประมาณ ความมี เศรษฐกิจพอเพียงมาประกอบการวางแผน
คุณธรรม ความซื่อสัตย์สุจริต และให้มี เหตุผล และการมีภมู คิ มุ้ กันในตัวทีด่ ี ทัง้ นี้ ทรัพยากรบุคคล เพื่อศึกษาวิจัย ตอบ
ความรอบรู้ที่เหมาะสม ด�ำเนินชีวิตด้วย การตัดสินใจ การด�ำเนินกิจกรรมต่าง ๆ ค�ำถาม และตัดสินใจให้ได้ว่าต้องการ
ความอดทน ความเพี ย ร มี ส ติ ป ั ญ ญา ตลอดจนการบริหารจัดการให้เป็นไปใน บุ ค คลจ� ำ นวนเท่ า ใด ต้ อ งการแบบใด
และความรอบคอบ เพื่อให้สมดุลและ ทางสายกลาง อยู่ในระดับพอเพียงนั้น เพื่อที่จะได้ท�ำให้การท�ำงานขององค์การ
พร้ อ มต่ อ การรองรั บ การเปลี่ ย นแปลง ต้องอาศัยเงือ่ นไขของความรูแ้ ละเงือ่ นไข บรรลุเป้าหมาย
อย่างรวดเร็วและกว้างขวางทั้งด้านวัตถุ ของคุณธรรมเป็นพื้นฐาน โดยเงื่อนไข ๒. การน� ำ เงื่ อ นไขความรู ้ ม า
สังคม สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรมจาก ของความรู้ ได้แก่ ความรอบรู้ในวิชาการ ปรับใช้ อาจน�ำวิธีการวางแผนทรัพยากร
โลกภายนอกได้เป็นอย่างดี ประสบการณ์ หรือองค์ความรูท้ เี่ กีย่ วข้อง บุคคลที่ถูกต้องสมบูรณ์มาปรับใช้ โดย

วรเดช จันทรศร
521
The Journal of the Royal lnstitute of Thailand

Volume 36 No. 4 Oct-Dec 2011

ภาพที่ ๑ ภาพรวมของหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสามารถสรุปเป็นเชิงบูรณาการได้ดังนี้

การพัฒนาที่มุ่งไปสู่
ความสมดุล มั่นคง ยั่งยืน

จุดมุ่งหมายของการพัฒนาตามหลัก พร้อมต่อการเปลี่ยนแปลงทุกด้าน
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ชีวิตเศรษฐกิจ/สังคม/สิ่งแวดล้อม/เทคโนโลยี

ก้าวทัน สนองตอบ
และสามารถจัดการต่อโลกยุคโลกาภิวัตน์
ทางสายกลาง

ความพอประมาณ
คุณลักษณะ ๓ ประการ
ที่สัมพันธ์กัน ความมีเหตุผล

การมีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี

เงื่อนไขคุณธรรม : ซื่อสัตย์ สุจริต ขยัน อดทน


เงื่อนไขเพื่อให้การด�ำเนินการ
มีความเพียร มีสติ มีปัญญา แบ่งปัน
เป็นไปในทางสายกลางอยู่ใน
ระดับความพอเพียง เงื่อนไขความรู้ : รอบรู้ รอบคอบ ระมัดระวัง

การบริหารทรัพยากรบุคคลภาครัฐ
ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
522
วารสารราชบัณฑิตยสถาน
ปีที่ ๓๖ ฉบับที่ ๔ ต.ค.-ธ.ค. ๒๕๕๔

การศึกษาวิจัย คาดการณ์ หรือพยากรณ์ ตามเงื่อนไขความรู้ของหลักปรัชญาของ อาจจะได้ข้อค้นพบว่า เมื่อเปรียบเทียบ


ความต้องการบุคคล และลักษณะความ เศรษฐกิจพอเพียงอีกด้วย จ�ำนวนข้าราชการทีต่ อ้ งการในอนาคตกับ
สามารถของบุคคลในอนาคตประกอบ ๓. หน่วยงานภาครัฐอาจน�ำการ จ�ำนวนทีม่ อี ยูแ่ ล้ว จ�ำนวนคนทีม่ อี ยูม่ มี าก
กับการศึกษาประมาณการ แรงงานที่มี วางแผนทรัพยากรบุคคลมาเป็นเงื่อนไข เกินไป และหากเพิ่มจ�ำนวนต่อไปก็จะ
อยู ่ ในตลาด โดยวิ เคราะห์จากสถานะ ของการสร้างโอกาสการจ้างงานที่เท่า เป็นภาระต่องบประมาณและต่อประเทศ
ของทรั พ ยากรที่ มี อ ยู ่ ในปั จ จุ บั น และ เทียมกัน โดยไม่ค�ำนึงถึงเพศ ฐานะ หรือ ในอนาคต หน่วยงานภาครัฐอาจจะมีการ
ทรัพยากรที่จะมีให้ใช้ในอนาคต โดยมี ภูมิล�ำเนา ให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ด�ำเนินการ ขอให้มีการเกษียณอายุก่อน
การเผื่อส่วนที่เสียเปล่าไว้ด้วย เพื่อความ ซึ่งเป็นการน�ำเงื่อนไขคุณธรรมตามหลัก เวลา การลดจ�ำนวนต�ำแหน่ง การเลิกจ้าง
รอบรู้ และรอบคอบตามหลักปรัชญาของ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเข้ามาปรับ พนักงาน ในแต่ละกรณีถือได้ว่าเป็นการ
เศรษฐกิจพอเพียง และหากพบจ�ำนวน ใช้ อีกทั้งการสร้างความเสมอภาคเท่า น� ำ คุ ณ ลั ก ษณะพอประมาณ มี เหตุ ผ ล
ของก�ำลังที่อาจจะขาดหายไป หน่วยงาน เทียมกัน ยังจะเป็นการสร้างภูมิคุ้มกันที่ การมี ภู มิ คุ ้ ม กั น ตามหลั ก ปรั ช ญาของ
ภาครัฐก็อาจจะต้องเตรียมแผนรองรับ ดี ตามคุณลักษณะของหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงมาปรับใช้โดยอาศัยการ
โดยการเลื่อนต�ำแหน่งจากบุคคลภายใน เศรษฐกิจพอเพียงให้กบั หน่วยงานภาครัฐ ตัดสินใจบนเงื่อนไขความรู้ และเงื่อนไข
องค์การ การให้การฝึกอบรม หรือการ อีกด้วย คุณธรรม
สรรหาจากบุคคลภายนอกแล้วแต่กรณี ๔. ในอีกมุมหนึง่ การวางแผน ตามข้อ ๑-๔ สามารถสรุปเป็นแผน
เป็นการด�ำเนินการด้วยความระมัดระวัง ทรัพยากรบุคคลของหน่วยงานภาครัฐ ภาพการน� ำ หลั ก ปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ
พอเพียงมาปรับใช้ได้ดังนี้

ภาพที่ ๒ การวางแผนทรัพยากรบุคคลตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

การวางแผนทรัพยากรบุคคล
เงื่อนไขความรู้
การศึกษาวิจัยจ�ำนวนบุคคล
(รอบรู้)
และความสามารถที่ต้องการ
เงื่อนไขความรู้
การเตรียมแผนรองรับก�ำลัง
(รอบคอบ/ระมัดระวัง)
ที่อาจจะขาดหายไป
เงื่อนไขคุณธรรม
การสร้างโอกาสการจ้างงาน
การสร้างภูมิคุ้มกันในตัวเอง
ที่เท่าเทียมกัน
การลดจ�ำนวนข้าราชการ เงื่อนไขความรู้
ที่มากเกินไป เงื่อนไขคุณธรรม
ความพอประมาณ ความมีเหตุผล
และการมีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี
ของส่วนราชการ

วรเดช จันทรศร
523
The Journal of the Royal lnstitute of Thailand

Volume 36 No. 4 Oct-Dec 2011

๓. การสรรหา แง่ความมัน่ คงปลอดภัยภายในหน่วยงาน บอร์ ด ให้ เห็ น ได้ โดยเปิ ด เผยเป็ น เวลา
การสรรหาบุคลากร (Recruitment) และอาจเสียค่าใช้จ่ายอื่น ๆ ภายหลัง เช่น ล่วงหน้า เช่น ไม่น้อยกว่า ๑๐ วันท�ำการ
เป็ น กิ จ กรรมและกระบวนการของ การปฐมนิเทศและการฝึกอบรมน้อยกว่า (๒) การตรวจสอบคุ ณ -
องค์การในการจูงใจให้บุคคลที่มีความ การรับจากภายนอก ส่วนการสรรหาจาก สมบัติและประสบการณ์ของบุคคลที่จะ
สามารถและมี ทั ศ นคติ ที่ เ หมาะสมที่ ภายนอก อาจจ�ำเป็นต้องมีการด�ำเนินการ ได้รับการบรรจุนนั้ ให้ฝ่ายการเจ้าหน้าที่
ต้ อ งการมาสมั ค รในต� ำ แหน่ ง งานที่ ให้สอดคล้องกับความขาดแคลนที่ศึกษา เป็นผู้ตรวจสอบ และผู้สมัครสามารถ
ต้ อ งการ เพื่ อ ช่ ว ยให้ ก ารท� ำ งานของ ได้จากการวางแผนทรัพยากรบุคคล หาก ตรวจสอบความถูกต้องได้จากฝ่ายการ
องค์การบรรลุวัตถุประสงค์ (Ivancevich, ส่วนราชการด�ำเนินการโดยยึดหลักการ เจ้าหน้าที่
1998: 711 อ้างใน สมชาย, ๒๕๔๒ : ๘๗) ข้างต้นก็ถอื ได้วา่ ได้นำ� เงือ่ นไขบนความรู้ (๓) ข้าราชการทีอ่ ยูร่ ะหว่าง
การน้ อ มน� ำ หลั ก ปรั ช ญาของ และเงื่ อ นไขของคุ ณ ธรรม ตามหลั ก การลา หากเป็นผู้มีสิทธิ ควรได้รับการ
เศรษฐกิ จ พอเพี ย งมาปรั บ ใช้ กั บ การ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาปรับใช้ แจ้งให้ทราบด้วย
สรรหาบุ ค ลากรของหน่ ว ยงานภาครั ฐ อย่างถูกต้องเหมาะสม (๔) เ พื่ อ ค ว า ม ถู ก ต ้ อ ง
สามารถพิจารณาได้ดังนี้ ๓. ในการสรรหาบุคคลทัง้ หลาย รอบคอบ ตรวจสอบได้ ผูบ้ ริหารควรแจ้ง
๑. หน่วยงานภาครัฐควรศึกษา จากภายในและภายนอก หน่วยงานภาค ให้สมาชิกภายในหน่วยงานได้ทราบก่อน
กระบวนการตามกฎหมาย และระเบียบ รัฐควรยึดนโยบายโปร่งใส เสมอภาค ที่จะประกาศอย่างเป็นทางการ
ที่เกี่ยวข้องและด�ำเนินการให้การสรรหา เป็นธรรม สุจริตและรับผิดชอบ สามารถ (๕) การสรรหากลุ่มผู้ด้อย
บุคลากรเป็นไปอย่างถูกต้องตามกฎหมาย ตรวจสอบได้ ซึ่ ง ถื อ ว่ า เป็ นการสร้ า ง โอกาส ชนกลุ่มน้อย สตรี และผู้สูงอายุ
ทุกขัน้ ตอน ซึง่ ถือได้วา่ เป็นการน�ำเงือ่ นไข ภูมิคุ้มกันที่ดีให้กับส่วนราชการ และ ควรใช้เกณฑ์เฉพาะ มีการพัฒนาทางเลือก
ความรู้ (รอบรู้ รอบคอบ ระมัดระวัง) เป็นการน�ำเงื่อนไขความรู้ และเงื่อนไข งานที่ยืดหยุ่น มีการออกแบบงานใหม่
และเงื่อนไขคุณธรรม ตามหลักปรัชญา คุณธรรมตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ หากจ� ำ เป็ น และอาจจั ด ให้ มี แ ผนผล
ของเศรษฐกิจพอเพียงมาปรับใช้ พอเพียงมาใช้ ประโยชน์ที่ยืดหยุ่น แต่ทั้งนี้ให้ยึดหลัก
๒. การสรรหาบุคลากรสามารถ ๔. การด�ำเนินการให้เป็นไปตาม ความเสมอภาคเป็นธรรม และไม่มีการ
ท� ำ ได้ ทั้ ง จากภายในและภายนอก ซึ่ ง ข้อ ๓ ข้างต้น ส่วนราชการ อาจมีนโยบาย เลือกปฏิบัติที่เป็นโทษ
โดยปกติ หน่ ว ยงานภาครั ฐ อาจใช้ วิ ธี และแนวทางในการด�ำเนินการดังนี้ (๖) หน่วยงานภาครัฐควร
การสรรหาจากภายในก่อน หากมีบุคคล (๑) มีการประกาศรับสมัคร มีการรับสมัคร ทดลองให้คัดเลือกอย่าง
ที่ มี ค วามรู ้ ค วามสามารถเพี ย งพอ ซึ่ ง ให้ทุกคนทราบอย่างทั่วถึง และประกาศ สม�่ำเสมอ เพื่อประโยชน์ของสมาชิกใน
จะเป็ น การสร้ า งขวั ญ ก� ำ ลั ง ใจให้ กั บ ล่วงหน้าเป็นเวลาพอสมควร หากเป็นการ หน่วยงานจะได้รับรู้ และวางแผนความ
ข้าราชการหรือพนักงานภายใน ท�ำให้ สรรหาจากภายนอก ให้ใช้สอื่ ทีป่ ระชาชน ก้าวหน้าในอาชีพได้
เกิ ด ความผู ก พั นกั บ หน่ ว ยงานมากขึ้ น ทั่วไปสามารถเข้าถึงได้โดยง่าย ประกาศ
การรับจากภายในยังอาจมีประโยชน์ใน ต� ำ แหน่ ง งานที่ เปิ ด รั บ จะต้ อ งมี ก ารติ ด

การบริหารทรัพยากรบุคคลภาครัฐ
ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
524
วารสารราชบัณฑิตยสถาน
ปีที่ ๓๖ ฉบับที่ ๔ ต.ค.-ธ.ค. ๒๕๕๔

ภาพที่ ๓ การสรรหาบุคลากรตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

ศึกษาและด�ำเนินการในการสรรหา เงื่อนไขความรู้
ให้เป็นไปตามกฎหมายและระเบียบ รอบรู้ รอบคอบ ระมัดระวัง
ทุกขั้นตอน

การสรรหาทั้งจากวิธีการภายในและ เงื่อนไขคุณธรรม
ภายนอกตามเหตุผลความจ�ำเป็นและ ซื่อสัตย์สุจริต อุตสาหะ มีสติปัญญา
เพื่อประโยชน์ทางราชการ แบ่งปัน

การสรรหาโดยโปร่งใส เสมอภาค พอประมาณ มีเหตุผล


เป็นธรรม สุจริต รับผิดชอบ การมีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดีภายใน
และตรวจสอบได้ ส่วนราชการ

๔. การคัดเลือก ไม่มกี ารรับคนหรือคัดเลือกคนตามระบบ ได้อย่างเหมาะสม สามารถน�ำเงื่อนไข


การคั ด เลื อ กเป็ น กิ จ กรรมและ อุปถัมภ์ หรือโดยไม่สุจริต ความรู้ และเงื่อนไขคุณธรรม ตามหลัก
เป็นกระบวนการพิจารณาคัดเลือกบุคคล ๒. หน่วยงานภาครัฐควรลงทุน ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้เป็น
ที่มาสมัครให้ได้บุคคลที่ดีที่สุด โดยมีวิธี ในการคัดเลือก โดยยึดหลักพอประมาณ แนวทางได้
การต่าง ๆ เช่น การทดสอบ การสัมภาษณ์ ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่ง ๔. หน่วยงานภาครัฐควรมีการ
การตรวจสอบประวัติภูมิหลัง การตรวจ หมายถึง ไม่ทุ่มเทใช้ค่าใช้จ่ายในการคัด ตรวจสอบคุณสมบัติของผู้ได้รับการคัด
สอบการอ้ า งอิ ง ตลอดจนการตรวจ เลือกมากจนเกินไป หรือให้ผู้สมัครต้อง เลือกโดยใช้ความละเอียดรอบคอบ เพื่อ
สุขภาพ (สมชาย, ๒๕๔๒ : ๑๑๒-๑๓๔) เสียค่าใช้จา่ ยต่าง ๆ มากจนเกิดความเดือด ให้ เ กิ ด ความถู ก ต้ อ งตามกฎหมายและ
การน้ อ มน� ำ หลั ก ปรั ช ญาของ ร้อน ป้องกันความไม่รอบคอบในการจ้างงาน
เศรษฐกิ จ พอเพี ย งมาปรั บ ใช้ กั บ การ ๓. หน่วยงานภาครัฐควรใช้วิธี เช่น มีการตรวจสอบการอ้างอิงจากใบ
คั ด เลื อ กบุ ค คลของหน่ ว ยงานภาครั ฐ การคัดเลือกโดยวิธตี า่ ง ๆ เช่น การทดสอบ สมัครของผู้สมัคร และตรวจสอบจาก
สามารถพิจารณาได้ดังนี้ การสัมภาษณ์อย่างผสมผสาน และอย่าง นายจ้างเอง ตรวจสอบประวัติการก่อ
๑. หน่วยงานภาครัฐควรคัดเลือก ถูกต้องตามหลักวิชาการ ใช้แบบทดสอบ อาชญากรรมหรือการต้องโทษ ฯลฯ การ
บุคคลที่มาสมัครด้วยความรอบคอบเพื่อ ที่มีความเที่ยงตรง (Validiry) เชื่อถือได้ ด�ำ เนินการในข้อนี้ถือได้ว่าเป็นการน� ำ
ประโยชน์ของทางราชการ เพราะการ (Reliability) ด�ำเนินการทดสอบด้วยความ เงื่อนไขความรู้ เงื่อนไขคุณธรรม และ
คัดเลือกบุคคลที่มีทักษะไม่ถูกต้อง ไม่มี ยุติธรรม ใช้รูปแบบการสัมภาษณ์ และ คุณลักษณะของการสร้างภูมิคุ้มกันใน
ความสามารถเพี ย งพอ จะไม่สามารถ ด�ำเนินการสัมภาษณ์ให้ถกู ต้องเป็นไปตาม ตัวเองตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอ
ปฏิ บั ติ ง านให้ กั บ ทางราชการได้ อ ย่ า ง มาตรฐาน เพื่อความเป็นธรรม โปร่งใส เพียงเข้ามาใช้เป็นแนวทางได้
มีประสิทธิภาพ การคัดเลือกจึงควรใช้ สุจริต รับผิดชอบ มีสัมฤทธิผล สามารถ โปรดพิ จ ารณาแผนภาพสรุ ป
เงือ่ นไขความรู้ และเงือ่ นไขคุณธรรม ตาม คาดคะเนประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน การน�ำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง คัดคน ในอนาคตของผู้ถูกทดสอบและผู้เข้ารับ ตามข้อ ๑-๔ มาปรับใช้
ทีเ่ หมาะสมเป็นประโยชน์กบั ทางราชการ การสัมภาษณ์ได้ การด�ำเนินการในข้อนี้

วรเดช จันทรศร
525
The Journal of the Royal lnstitute of Thailand

Volume 36 No. 4 Oct-Dec 2011

ภาพที่ ๔ การคัดเลือกบุคลากรตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

การคัดเลือก
เงื่อนไขความรู้
๑. ได้บุคคลที่มีลักษณะ ความสามารถ ปฏิบัติงาน รอบรู้ รอบคอบ ระมัดระวัง
ให้ราชการได้อย่างมีประสิทธิภาพ ไม่คดั เลือกและ
ไม่รับคนตามระบบอุปถัมภ์หรือโดยไม่สุจริต
เงื่อนไขคุณธรรม
๒. ลงทุนในการคัดเลือกพอประมาณ ไม่สร้างภาระให้
ซื่อสัตย์สุจริต อุตสาหะ มีสติปัญญา
ผู้สมัคร
แบ่งปัน
๓. ใช้การคัดเลือกหลากหลาย ถูกต้อง เที่ยงตรง
เชือ่ ถือได้ ยุตธิ รรม โปร่งใส รับผิดชอบ มีสมั ฤทธิ พอประมาณ มีเหตุผล
ผล การมีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดีภายใน
๔. ตรวจสอบให้เกิดความถูกต้องตามกฎหมายและ ส่วนราชการ
ป้องกันความไม่รอบคอบในการจ้างงาน

๕. การฝึกอบรมและการพัฒนา หรือบุคคลอื่นผู้เกี่ยวข้องหรือสาธารณะ การส�ำรวจหาความจ�ำเป็นในการฝึกอบรม


การฝึ ก อบรมเป็ นกิ จ กรรมและ ได้ ดังนัน้ หน่วยงานภาครัฐจึง (๑) ควร ให้ได้อย่างแท้จริง ท�ำการฝึกอบรมเท่า
กระบวนการอย่างมีระบบในการท�ำให้ผู้ ด�ำเนินการอบรมให้ข้าราชการ พนักงาน ที่จ�ำเป็น พอประมาณ ไม่ฟุ่มเฟือย แต่
เรียนรู้เกิดความรู้และทักษะที่จ�ำเป็น มี ทุกคนมีทักษะและประสบการณ์ในการ เพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อหน่วยงานภาค
การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมไปในทิศทาง ปฏิบัติงานที่เพียงพอ (๒) ในการท�ำงาน รัฐอย่างแท้จริง การด�ำเนินการลักษณะนี้
ซึ่ ง ก่ อ ให้ เ กิ ด การบรรลุ เป้ า หมายของ ของข้าราชการ หรือพนักงานที่เกี่ยวข้อง ถือได้ว่าเป็นการน�ำเงื่อนไขความรู้และ
หน่วยงาน ส่วนการพัฒนาเป็นการจัดหา กับอุปกรณ์ วัสดุ หรือกระบวนการที่เป็น เงื่อนไขคุณธรรม และหลักพอประมาณ
ความรู้ การสอนงาน การให้ค�ำปรึกษา อันตราย การขยาย การฝึกอบรมเพิ่มเติม ตามปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย งมา
การท�ำให้สมาชิกของหน่วยงานมีความรู้ จะช่วยท�ำให้ลดความเสี่ยงของอันตราย ปรับใช้ เพื่อให้ส่วนราชการมีการพัฒนา
มีทัศนคติ มีการพัฒนาประสิทธิภาพใน ที่เกิดขึ้น (๓) การฝึกอบรมในทุกกรณี ไปในทางที่สมดุล ยั่งยืน พร้อมต่อการ
การท�ำงานเพือ่ ให้เกิดประโยชน์ตอ่ หน่วย จะต้องมั่นใจว่ามีการปกป้องคุ้มครอง เปลี่ยนแปลงในโลกยุคโลกาภิวัตน์
งานและสังคมส่วนรวม (Ibarra, 2004) สุขภาพและความปลอดภัยของผู้เข้ารับ ๓. การฝึกอบรมและพัฒนาของ
การน�ำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ การอบรมและบุคคลที่เกี่ยวข้อง หน่วยงานภาครัฐไม่ควรจ�ำกัดเฉพาะผู้
พอเพียงมาปรับใช้กับการฝึกอบรมและ แนวทางทั้ง ๓ ประการนี้ ถือว่า บริหาร ควรมีความครอบคลุมทั้งหน่วย
การพั ฒ นาบุ ค คลในหน่ ว ยงานภาครั ฐ เป็นการน�ำเงื่อนไขความรู้ และเงื่อนไข งานภาครั ฐ ในลั ก ษณะเป็ น การสร้ า ง
สามารถพิจารณาได้ดังนี้ คุณธรรม ตลอดจนการมีภมู คิ มุ้ กันในตัวที่ องค์การแห่งการเรียนรู้ให้เกิดขึ้น การ
๑. หน่วยงานภาครัฐมีหน้าที่รับ ดี ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ท�ำให้ข้าราชการ/พนักงาน ในระดับล่าง
ผิดชอบต่อบริการสาธารณะ ควรมีความ มาปรับใช้ ได้มีการเรียนรู้ตลอดชีวิต ได้รับการฝึก
รอบคอบในการฝึกอบรม การอบรมที่ไม่ ๒. หน่วยงานภาครัฐควรค�ำนึง อบรมอย่างกว้างขวาง และต่อเนื่องเป็น
เพียงพออาจท�ำให้ผู้ปฏิบัติปฏิบัติงานผิด ถึงความส�ำคัญและประโยชน์ของการฝึก สิ่งจ�ำเป็นอย่างยิ่งต่อการพัฒนาองค์การ
พลาด เกิดอันตราย หรือเกิดผลเสียต่องาน อบรมและการพัฒนา ควรมีการด�ำเนิน ให้ก้าวหน้า มีความสมดุล ยั่งยืน พร้อม

การบริหารทรัพยากรบุคคลภาครัฐ
ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
526
วารสารราชบัณฑิตยสถาน
ปีที่ ๓๖ ฉบับที่ ๔ ต.ค.-ธ.ค. ๒๕๕๔

ต่อการเปลี่ยนแปลง และสามารถสนอง กับเพื่อนร่วมงานและผู้ใต้บังคับบัญชา การมีความรับผิดชอบ กล้าท�ำในสิ่งที่


ตอบได้ต่อยุคโลกาภิวัตน์ ตามจุดหมาย การมุ่งผลประโยชน์เฉพาะกลุ่มมากกว่า ถูกต้องที่เกิดประโยชน์ต่อประเทศและ
ของหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ประโยชน์ ข ององค์ ก ารโดยส่ ว นรวม ประชาชน ซึ่งทั้งหมดนีถ้ ือว่าเป็นการน�ำ
๔. ในส่วนที่เกี่ยวกับการพัฒนา และเพื่อส่งเสริมให้ผู้บริหารเกิดความ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาปรับ
ผู ้ บ ริ ห าร หน่ ว ยงานภาครั ฐ ควรมี ก าร ก้าวหน้า มีการใช้ดุลยพินจิ ที่รับผิดชอบ ใช้อย่างสมบูรณ์
ศึกษา และพัฒนาผูบ้ ริหารในแต่ละระดับ ต่อสาธารณะ การรูจ้ กั ตนเอง ความจริงใจ โปรดพิจารณาแผนภาพที่ ๕ สรุป
เพื่ อ ปรั บ เปลี่ ย นพฤติ ก รรมที่ ไม่ เ อื้ อ ต่ อ การมีคุณธรรมในตัวเอง มีประสบการณ์ การน�ำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
การท�ำงาน เช่น การขาดมนุษยสัมพันธ์ เชิงราชการและธุรกิจในต�ำแหน่งระดับสูง ตามข้อ ๑-๔ มาปรับใช้
ภาพที่ ๕ การฝึกอบรมและพัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ความรอบคอบและความพอเพียง
ในการฝึกอบรม
- ข้าราชการ/พนักงานมีทกั ษะและประสบการณ์ เงื่อนไขความรู้
เพียงพอ (รอบรู้ รอบคอบ ระมัดระวัง)
- ลดความเสี่ยงและอันตรายในการปฏิบัติงาน
- คุ้มครองสุขภาพ ความปลอดภัยทุกฝ่าย เงื่อนไขคุณธรรม
ซื่อสัตย์สุจริต อุตสาหะ มีสติปัญญา
ฝึกอบรมที่จ�ำเป็นตามความต้องการ แบ่งปัน
พอประมาณ ไม่ฟุ่มเฟือย แต่ให้เกิดประโยชน์
คุณลักษณะ พอประมาณ มีเหตุผล
สร้างองค์การแห่งการเรียนรู้ มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี
ให้ข้าราชการ/พนักงาน
ได้เรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างกว้างขวางและต่อเนื่อง จุดหมาย
การพัฒนาผู้บริหารให้มีคุณธรรม สมดุล ยั่งยืน พัฒนา/พร้อมต่อการ
ส่งเสริมความก้าวหน้า เปลี่ยนแปลง/ก้าวทันโลกาภิวัตน์
และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ไม่เอื้อต่อการท�ำงาน

๖. การรักษาและการใช้ประโยชน์จาก ก่อนเวลาอันควร ไปท�ำงานในภาคเอกชน กลางทีม่ ปี ระสบการณ์ ยิง่ ถือได้วา่ เป็นทุน


บุคลากร หรือบริษัทต่างประเทศ ก็จะเป็นการสูญ ทางปัญญา (Intellectual capital) ของ
การรักษาบุคลากรที่ดีมีคุณค่าให้ เสียทรัพยากรที่มีคุณค่าไป องค์การ ซึง่ ไม่สามารถจับต้องได้ แต่เป็น
อยู ่ ในหน่ ว ยงานภาครั ฐ ถื อ ว่ า มี ค วาม ในยุคโลกาภิวัตน์ ซึ่งเป็นยุคแห่ง ปัจจัยที่อธิบายถึงระดับความสามารถใน
ส�ำคัญยิ่ง เพราะยิ่งอยู่ได้นานมากเท่าไร ความรู้ บุคลากรที่มีคุณค่าซึ่งได้แก่ ผู้ที่มี การแข่งขันและศักยภาพของแต่ละหน่วย
องค์การก็จะสามารถได้ประโยชน์จาก ความรู้เฉพาะทาง ผู้เชี่ยวชาญด้านแผน งาน
บุคคลเหล่านัน้ ได้มากเท่านัน้ ในทางกลับ กลยุทธ์ ทรัพยากรบุคคล กฎหมาย ตลอด การรักษาบุคลากรให้คงอยู่ได้ใน
กันถ้าบุคคลเหล่านัน้ ออกไปจากราชการ จนผู้บริหารระดับสูง และผู้บริหารระดับ หน่วยงานภาครัฐได้มากและนาน ก็จะ

วรเดช จันทรศร
527
The Journal of the Royal lnstitute of Thailand

Volume 36 No. 4 Oct-Dec 2011

ยิ่งเป็นการสะสมและเพิ่มทุนทางปัญญา ถูกต้อง (เช่น ถ้ารู้สาเหตุหลักที่มีการออก ๔. หน่ ว ยงานภาครั ฐ ควรให้


ให้กับราชการ และยิ่งเป็นการเพิ่มความ จากงาน จะได้วางแนวทางในการสร้าง ความส� ำ คั ญ กั บ ชี วิ ต ส่ ว นตั ว และชี วิ ต
สามารถของหน่ ว ยงานภาครั ฐ ในการ ภูมิคุ้มกันที่ดีแต่เนิน่ ๆ) การท�ำงานของข้าราชการ โดยการให้การ
สนองตอบปัญหาและความต้องการของ ๒. หน่ ว ยงานภาครั ฐ ควรมี สนับสนุนส่งเสริมให้ข้าราชการมีความ
ประชาชนได้อย่างมีประสิทธิภาพเพิ่ม นโยบายและแผนที่ชัดเจนในการอบรม สมดุ ล ระหว่ า งชี วิ ต ส่ ว นตั ว และชี วิ ต
มากขึน้ ในทางกลับกัน หากมีการเข้าออก พัฒนาข้าราชการ/พนักงาน ให้มีโอกาส การท�ำ งานมากขึ้น มีความยื ด หยุ ่ น ใน
ของข้าราชการและพนักงานในอัตราที่ ก้ า วหน้ า ในอาชี พ มี ข ้ อ ผู ก พั น ในการ เวลาและสถานที่ ท� ำ งาน (Holbeche,
สูง ต้นทุนจากการลาออกของข้าราชการ/ ท�ำงานระยะยาว และมีการส่งเสริมการ 2005 : 319-345) เช่น การท�ำงานผ่าน
พนักงานก็จะสูงขึ้น ทั้งค่าใช้จ่ายโดยตรง พัฒนาทักษะเพื่อสร้างความก้าวหน้า ซึ่ง เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตมากขึ้น (มีการ
ที่จะเกิดขึ้นจากการสรรหา การฝึกอบรม ถือว่าเป็นแนวทางจูงใจเชิงบวกที่ท�ำให้ ท�ำงานที่บ้านได้ แต่ให้เวลาการท�ำงาน
เพื่ อ ให้ ส ามารถท�ำ งานแทนข้ า ราชการ เกิดประโยชน์กับทางราชการมากยิ่งขึ้น กั บ ราชการมากกว่ า ปกติ ) การท� ำ งาน
คนเดิมที่ออกไป นอกจากนี้ ยังมีต้นทุน นโยบายและแผนการพัฒนานี้ ควรจะต้อง เสาร์ อาทิตย์ หรือการทีต่ อ้ งให้ขา้ ราชการ
ทางอ้อม ซึ่งได้แก่ ผลกระทบด้านขวัญ เน้นหลักความเป็นธรรม ความเสมอภาค ท�ำงานเกินเวลาปกติของวัน ควรมีเท่าที่
ก�ำลังใจของข้าราชการอืน่ ความพึงพอใจ และความโปร่งใสด้วย เพือ่ ให้ได้รบั ความ จ�ำเป็น เพื่อให้ข้าราชการมีคุณภาพชีวิต
ของประชาชนผู้รับบริการ ผลกระทบ เชือ่ ถือและการยอมรับจากข้าราชการ การ ทีด่ ี มีโอกาสออกก�ำลังกายพักผ่อน รักษา
จากปริมาณงานที่เพิ่มขึ้น ยิ่งกว่านัน้ ยัง ด�ำเนินการตามข้อนี้ จะต้องใช้เงื่อนไข สุ ข ภาพ มี เวลาอยู ่ กั บ ครอบครั ว ตาม
มีต้นทุนค่าเสียโอกาส ซึ่งได้แก่ ความรู้ คุณธรรม ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ สมควร มิใช่เสียสละให้กับราชการจน
ที่ส่วนราชการต้องเสียไปจากบุคคลนัน้ พอเพียงเข้ามาปรับใช้ เกิดความเสียหายกับชีวิตครอบครัว เกิด
ภารกิจทีย่ งั ท�ำไม่เสร็จทีต่ อ้ งหาคนมาสาน ๓. หน่วยงานภาครัฐอาจท�ำการ การเจ็บป่วยเนื่องจากตรากตร�ำ ซึ่งแทนที่
ต่อ ซึง่ จะต้องเสียเวลาเนิน่ นานขึน้ เป็นต้น ออกแบบวางระบบบริหารค่าตอบแทน/ หน่วยงานภาครัฐจะได้ใช้ประโยชน์จาก
(Cappelli, 2002) สวัสดิการ และรางวัลที่เป็นธรรม เพื่อ ข้าราชการในระยะยาวและเต็มที่ ก็อาจจะ
ในภาพรวม การน�ำหลักปรัชญา กระตุ ้ น ให้ ค นอยู ่ ใ นราชการและท� ำ ใช้ประโยชน์ได้ชวั่ ระยะเวลาไม่นาน และ
ของเศรษฐกิจพอเพียงมาปรับใช้ในการ ประโยชน์ให้กบั ราชการ โดยเน้นการจ่าย จะต้องมีภาระทางด้านค่าใช้จา่ ย สวัสดิการ
รักษาและการใช้ประโยชน์จากบุคลากร ค่าตอบแทนและสวัสดิการทีพ่ อประมาณ รักษาพยาบาล ฯลฯ ตามมาอีก ทั้งหมดนี้
ในหน่วยงานภาครัฐ สามารถพิจารณาได้ ใกล้เคียงกับภาคเอกชนเท่าที่จะท�ำได้ แต่ ถือได้ว่าเป็นทางสายกลางในการด� ำรง
ดังนี้ ทีส่ ำ� คัญ ควรจะเน้นค่าตอบแทนทีจ่ บั ต้อง ชีวิตตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มี
๑. หน่วยงานภาครัฐควรมีการ ไม่ได้ เช่น โอกาสความก้าวหน้าในงาน ความมีเหตุผล พอประมาณ มีภูมิคุ้มกัน
ศึกษาวิจัย วิเคราะห์ ปัจจัยที่ส่งเสริม การเรียนรู้งาน ได้รับรางวัลตอบแทน ในตั ว ที่ ดี ซึ่ ง จะน� ำ ไปสู ่ ค วามสมดุ ล
ให้บุคคลคงอยู่ในวงราชการ และปัจจัย ยกย่ อ งจากผลงานที่ ส ร้ า งให้ กั บ ส่ ว น และยั่งยืนของหน่วยงาน ความพร้อม
ใดที่เป็นสาเหตุท�ำให้บุคลากรต้องออก ราชการ ความซื่อสัตย์สุจริต อุตสาหะ ต่อการเปลี่ยนแปลง ก้าวทันต่อโลกยุค
จากงานไปอยู่ที่อื่นแต่เนิ่น ๆ ซึ่งต้อง การอุทิศตนให้ทางราชการ ซึ่งถือได้ว่า โลกาภิวัตน์
อาศัยเงื่อนไข ความรู้ตามหลักปรัชญา เป็นการน�ำเงื่อนไขคุณธรรม คุณลักษณะ โปรดดู ภาพสรุปการน�ำปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียง ในการท�ำความ ของความพอประมาณ การมีเหตุผล และ ของเศรษฐกิจพอเพียงมาปรับใช้ในการ
เข้าใจ และบริหารงานการรักษาและใช้ การมีภมู คิ มุ้ กันในตัวทีด่ ี ตามหลักปรัชญา รักษาและการใช้ประโยชน์จากบุคลากร
ประโยชน์จากบุคคลให้ไปในแนวทางที่ ของเศรษฐกิจพอเพียงมาปรับใช้ ของหน่วยงานภาครัฐ

การบริหารทรัพยากรบุคคลภาครัฐ
ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
528
วารสารราชบัณฑิตยสถาน
ปีที่ ๓๖ ฉบับที่ ๔ ต.ค.-ธ.ค. ๒๕๕๔

ภาพที่ ๖ การรักษาและการใช้ประโยชน์จากบุคลากรของหน่วยงานภาครัฐ

ศึกษา วิเคราะห์ วิจัย เงื่อนไขความรู้


ปัจจัยที่ส่งเสริมให้บุคคลคงอยู่ในราชการ
ปัจจัยที่ท�ำให้บุคลากรต้องออกจากงาน
การวางแนวทางการสร้างภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี
นโยบายและแผนที่ชัดเจนของส่วนราชการ
- การอบรมพัฒนาข้าราชการ/พนักงาน
- โอกาสก้าวหน้าในอาชีพ
เงื่อนไขความรู้
- ข้อผูกพันในการท�ำงานระยะยาว
- การพัฒนาทักษะเพื่อความก้าวหน้า
เงื่อนไขคุณธรรม
นโยบายและแผนการพัฒนาที่เน้น
ความเป็นธรรม เสมอภาค และโปร่งใส

การออกแบบวางระบบบริหารค่าตอบแทน เงื่อนไขความรู้
สวัสดิการ และรางวัลที่เป็นธรรม
และพอประมาณ
เงื่อนไขคุณธรรม
ค่าตอบแทนที่จับต้องไม่ได้
- โอกาสความก้าวหน้า
ความพอประมาณ
- การได้รับการยกย่องในผลงาน
ความมีเหตุผล
- ความซื่อสัตย์ สุจริต การอุทิศตน
การมีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดีของหน่วยงานภาครัฐ
ให้ทางราชการ

ความสอดคล้องสมดุลของชีวิตส่วนตัว ทางสายกลางในการด�ำรงชีวิต
และชีวิตการท�ำงาน ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
การส่งเสริมให้มีการยืดหยุ่นในเวลา
และสถานที่ท�ำงานให้สอดคล้องกับ
มีเหตุผล/พอประมาณ/มีภูมิคุ้มกันไว้ในตัวที่ดี
ยุคโลกาภิวัตน์
การท�ำงานเสาร์ อาทิตย์ และนอกเวลา
ราชการ ควรมีเท่าที่จ�ำเป็น สมดุล ยั่งยืน/พร้อมต่อการเปลี่ยนแปลง
ก้าวทันโลกยุคโลกาภิวัตน์
การส่งเสริมให้ข้าราชการออกก�ำลังกาย
พักผ่อน รักษาสุขภาพ

วรเดช จันทรศร
529
The Journal of the Royal lnstitute of Thailand

Volume 36 No. 4 Oct-Dec 2011

๗. สรุป กับเงือ่ นไขคุณธรรม ในภาพรวม ปรัชญา Armstrong, Michael. 2000. Strategic


บทความนี้ ได้น�ำเสนอแนวทาง ของเศรษฐกิ จ พอเพี ย งที่ พ ระบาท Human Resource Management.
การน้อมน�ำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอ สมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว พระราชทานให้ London: Kogan Page; แปลโดย
เพียงมาปรับใช้ในการบริหารทรัพยากร แก่ ป ระชาชนชาวไทย นั บ ได้ ว ่ า เป็ น อรจรีย์ ณ ตะกั่วทุ่ง. ๒๕๔๙.
บุ ค คลของหน่ ว ยงานภาครั ฐ โดย พระอัจฉริยภาพและเป็นของขวัญทีส่ งู ล�ำ้ กรุงเทพ ฯ : ธารกมลการพิมพ์.
ครอบคลุ ม เรื่ อ งที่ ส� ำ คั ญ รวม ๕ เรื่ อ ง มิอาจประมาณค่าได้ Cappelli, Peter. 2002. Hiring and Keeping
ได้แก่ (๑) การวางแผนทรัพยากรบุคคลใน the Best People. Boston: Harvard
หน่วยงานภาครัฐ (๒) การสรรหาบุคคล บรรณานุกรม Business School; แปลโดย ประคัลภ์
ในหน่วยงานภาครัฐ (๓) การคัดเลือก พยอม วงศ์สารศรี. ๒๕๔๕. การบริหาร ปัณฑพลังกูร. ๒๕๕๐. กรุงเทพ ฯ:
บุคคลของหน่วยงานภาครัฐ (๔) การ ทรัพยากรมนุษย์. กรุงเทพฯ : ส�ำนัก เอ็กซเปอร์เน็ท.
อบรมและพัฒนาของหน่วยงานภาครัฐ พิมพ์สุภา. Holbeche, Linda. 2005. The High
และ (๕) การรักษาและการใช้ประโยชน์ สมชาย หิรัญกิตติ. ๒๕๔๒. การบริหาร Performance Organization:
จากบุคลากรของหน่วยงานภาครัฐ ทรัพยากรมนุษย์. กรุงเทพฯ : ธีระ Creating Dynamic Stability and
แนวทางการน� ำ มาปรั บ ใช้ ข อง ฟิล์มและไซเท็กซ์. Sustainable Success. Boston:
หน่ ว ยงานภาครั ฐ ที่ ได้น� ำ เสนอนี้ อาจ ส� ำ นั ก งานคณะกรรมการพิ เ ศษเพื่ อ Elsevier.
จะเป็นแนวทางที่ไม่มีสูตรส�ำเร็จตายตัว ประสานงานโครงการอั น เนื่ อ ง Ibarra, Herminia. 2004. Coaching and
การน� ำ มาปรั บ ใช้ อ าจขึ้ น อยู ่ กั บ สภาวะ มาจากพระราชด�ำริ. ๒๕๕๐. Monitoring. Boston: Harvard
ของหน่วยงานทีแ่ ตกต่างกัน แต่ทงั้ หมดนี้ เศรษฐกิจพอเพียง ปรัชญาชี้ถึงแนวทาง Business School; แปลโดย
สามารถด� ำ เนินการได้ ภ ายใต้ ห ลั ก ทาง การด�ำรงชีวิต. กรุงเทพ ฯ : มปท. กมลวรรณ รามเดชะ. ๒๕๕๐.
สายกลาง และเงื่อนไขความรู้ควบคู่ไป กรุงเทพ ฯ : ธนาเพรส.

Abstract The Management of Goverment Sector Human Resources according to the Principles of Sufficiency
Economy Philosophy
Voradej Jantarasorn
Associate Fellow of the Academy of Moral and Political Science, The Royal Institute, Thailand

This article illustrates various ways to adopt the philosophy of sufficiency economy into the
management of public sector human resource. The focus is on five functions that are related to human
resource management: (1) planning; (2) recruitment; (3) selection; (4) training and development; and
(5) utilization and retention

การบริหารทรัพยากรบุคคลภาครัฐ
ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
530
วารสารราชบัณฑิตยสถาน
ปีที่ ๓๖ ฉบับที่ ๔ ต.ค.-ธ.ค. ๒๕๕๔

กรณีอุบัติเหตุเรือน�้ำตาล
อับปางในแม่น�้ำเจ้าพระยา*
สันทัด ศิริอนันต์ไพบูลย์๑
เปี่ยมศักดิ
์ เมนะเศวต
ราชบัณฑิต ส�ำนักวิทยาศาสตร์
ราชบัณฑิตยสถาน
สมชัย บวรกิตติ
ราชบัณฑิต ส�ำนักวิทยาศาสตร์
ราชบัณฑิตยสถาน

บทคัดย่อ

เหตุการณ์เรือบรรทุกน�ำ้ ตาลทรายแดงล่มในแม่นำ�้ เจ้าพระยา บริเวณต�ำบลภูเขาทอง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
เกิดขึ้นขณะที่เรือล�ำเลียงน�้ำตาลทรายแดง ๓ ล�ำโดยเรือลากจูง ได้เข้าชนตอม่อสะพาน ส่งผลให้เรือพ่วงล�ำที่ ๒
อับปาง และก่อนที่จะจมลง ได้พุ่งเข้าชนตลิ่งท�ำให้ตลิ่งพังบ้านเรือนเสียหาย และเกิดผลกระทบต่อเนื่องจากเรือ
คือ เรือบรรทุกน�ำ้ ตาลล�ำที่อับปางได้ขวางทางน�ำ
้ ท�ำให้กระแสน�ำ้ เปลี่ยนทิศทาง ไหลเข้าเซาะตลิ่งท�ำให้พังทลาย
เป็นบริเวณกว้าง น�้ำตาลทรายแดงที่เรือบรรทุกมาได้ละลายในแม่น�้ำ ท�ำให้ปริมาณออกซิเจนละลายในแม่น�้ำลดลง
อย่างรวดเร็ว เป็นผลให้สัตว์น�้ำโดยเฉพาะปลา ตายเป็นจ�ำนวนมาก เนื่องจากขาดออกซิเจน

ค�ำส�ำคัญ : เรือน�้ำตาลล่ม, น�้ำตาลทรายแดง, ออกซิเจนละลายน�้ำ

ความเป็นมา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เรือพ่วงล�ำ นายฮาโลน มาทอง อายุ ๕๖ ปี เลขที่


เมื่อวันที่ ๓๑ พฤษภาคม พ.ศ. ที่ ๑ ได้พุ่งชนตอม่อสะพานข้ามแม่น�้ำ ๒/๓ หมู่ ๒ ต�ำบลภูเขาทอง ที่ปลูกอยู่
๒๕๕๔ เวลา ๑๗.๓๐ น.ได้เกิดอุบัติเหตุ เจ้าพระยาบริเวณดังกล่าว ประกอบกับ ริมตลิ่ง ได้รับผลกระทบอย่างมากคือ
เรือบรรทุกน�้ำตาลทรายแดงของบริษัท กระแสน�ำ้ พัดแรง ส่งผลให้เรือพ่วงล�ำที่ ๒ ตลิ่งพัง บ้านเรือนเสียหาย ส่วนท้ายเรือ
ไทยมารีนซัพพลาย จ�ำกัด ซึ่งน�ำน�้ำตาล พุ่งชนตอม่อสะพาน จนเรืออับปาง และ น�้ำเข้าเริ่มจมลงครึ่งล�ำเรือ จากอุบัติเหตุ
ทรายแดงจากบริ ษั ท ไทยรวมทุ น คลั ง จมลงขวางทางน�ำ ้ เรือพ่วงล�ำที่ ๒ บรรทุก ดังกล่าว นอกจากจะเกิดความเสียหายกับ
สินค้า อ�ำเภอป่าโมก จังหวัดอ่างทอง น�้ำตาลทรายแดงจ� ำนวน ๒,๔๐๐ ตัน บ้านเรือนบริเวณดังกล่าวแล้ว ยังเกิดผล
ไปส่งถ่ายลงเรือเดินสมุทรไปยังประเทศ มีมลู ค่า ประมาณ ๒๐๐ กว่าล้านบาท ก่อนที่ กระทบต่อเนื่องคือ เรือบรรทุกน�้ำตาล
อิ น โดนี เซี ย ขณะที่ เรื อ บรรทุ ก น�้ ำ ตาล เรือบรรทุกน�้ำตาลทรายแดงล�ำดังกล่าว ทรายแดงที่ล่มได้ขวางกระแสน�ำ ้ ท�ำให้
ทรายแดงที่ลากจูงผ่านสะพานข้ามแม่น�้ำ จะจมลงได้วิ่งชนตลิ่งกระแทกบ้านเรือน กระแสน�้ำเปลี่ยนทิศทาง กัดเซาะตลิ่ง
เจ้าพระยาบริเวณ หมู่ ๒ ต�ำบลภูเขาทอง ทีป่ ลูกริมตลิง่ เสียหาย โดยเฉพาะบ้านของ บริเวณดังกล่าวให้พังทลายเป็นบริเวณ
*
บทความนี้ปรับปรุงจากการบรรยายผลงานทางวิชาการในที่ประชุมส�ำนักวิทยาศาสตร์ เมื่อวันที่ ๒๐ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๔

ศาสตราจารย์ สายวิชาเทคโนโลยีสิ่งแวดล้อม คณะพลังงาน สิ่งแวดล้อม และวัสดุ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี

สันทัด ศิริอนันต์ไพบูลย์, เปี่ยมศักดิ์ เมนะเศวต และสมชัย บวรกิตติ


531
The Journal of the Royal lnstitute of Thailand

Volume 36 No. 4 Oct.-Dec. 2011

กว้าง (ภาพที่ ๑)๒ นอกจากนี้แล้ว น�้ำตาล วางทุ่นรอบบริเวณ ออกประกาศไม่ให้ ตัง้ เป้าหมายของการกูเ้ รือว่า จะต้องด�ำเนิน
ทรายแดงที่เรือพ่วงบรรทุกมาละลายลง เรือผ่านจนกว่าจะกู้เรือได้ส� ำ เร็จ และ การเสร็จสิ้นภายในวันที่ ๓ มิถุนายน
ในแม่น�้ำ ส่งผลให้สิ่งมีชีวิตในแม่น�้ำโดย พยายามท�ำการกู้เรือที่จมนัน้ โดยสูบน�้ำ พ.ศ. ๒๕๕๔ แต่การด�ำเนินการดังกล่าว
เฉพาะปลาตายเป็นจ�ำนวนมาก เนื่องจาก และน�้ำตาลทรายแดงที่อยู่ในเรือขึ้นมา เกิดอุปสรรคขึ้นคือ การกู้เรือ เมื่อวันที่ ๒
ขาดออกซิเจน ผลกระทบดังกล่าวไม่ได้ เพือ่ ให้เรือมีนำ�้ หนักเบาขึน้ โดยทางบริษทั มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๔ เรือที่ไปกู้เรือได้
เกิดขึน้ เฉพาะบริเวณต�ำบลภูเขาทอง แต่ได้ JNP ที่ได้น�ำเรือเปล่าขนาด ๒,๔๐๐ ตัน ล่มลงอีก๔ ทั้งนี้เนื่องจากเขื่อนเจ้าพระยา
ขยายวงกว้างจากบริเวณต�ำบลภูเขาทอง กินน�้ำลึกประมาณ ๕ เมตร ยาวประมาณ ได้ระบายน�้ำเพิ่มมากขึ้นจากเดิม มาอยู่ที่
ไปยังบริเวณทีก่ ระแสน�ำ้ ไหลผ่าน คือ จาก ๔๐ เมตร มาเทียบกับเรือที่ล่มอยู่ และใช้ ประมาณ ๑,๐๐๐ ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที
จังหวัดพระนครศรีอยุธยาไปยังจังหวัด เครื่องสูบน�้ำ ๕ เครื่อง สูบน�้ำตาลทราย ส่ ง ผลให้ ก ระแสน�้ ำ ในแม่ น�้ ำ เชี่ ย วมาก
นนทบุรี ปทุมธานี กรุงเทพมหานคร และ แดงและน�้ำในเรือล�ำที่จมออกใส่เรือเปล่า และระดับน�้ำในแม่น�้ำเพิ่มสูงขึ้นมาก จึง
สมุทรปราการ ก่อนที่จะไหลออกสู่อ่าว แต่ ก ารท� ำ งานเป็ น ไปอย่ า งยากล� ำ บาก ท�ำให้การกู้เรือบรรทุกน�้ำตาลทรายแดง
ไทยบริเวณจังหวัดสมุทรปราการ เนือ่ งจากกระแสน�ำ้ ไหลแรงมาก ประกอบ ทีล่ ม่ ท�ำได้ยากขึน้ โดยวันรุง่ ขึน้ เจ้าหน้าที่
การด�ำเนินการของภาครัฐในการ กับล�ำน�ำ้ แคบจึงเกรงว่าเรือจะกระแทกกับ หยุดการกู้เรือชั่วคราว เนื่องจากแนวบัง
แก้ไขปัญหาจากอุบัติภัยครั้งนี้คือ การ ตลิ่งพังลงไปอีก๓ อย่างไรก็ตามได้มีการ ใบเรือที่ท�ำไว้สูงประมาณ ๑.๕ เมตร ยาว
๖ เมตร ยังไม่สามารถต้านทานกระแส
น�้ำได้ รวมถึงต้องยุติ การท�ำงานของนัก
ประดาน�ำ ้ ทีก่ องทัพเรือส่งมาด�ำส�ำรวจเรือ
เนื่องจากกระแสน�้ำหัวเรือในจุดที่รั่วและ
จมน�้ำนัน้ ไหลแรงมาก๕
จากเหตุการณ์เรือบรรทุกน�้ำตาล
ทรายแดงล่ม ส่งผลให้ปริมาณออกซิเจน
ละลายน�้ำในน�้ำลดลง จึงก่อให้เกิดน�้ ำ
เน่าเสีย สร้างความเดือดร้อนให้ราษฎร
ในบริเวณใกล้เคียงเป็นอย่างมาก สมเด็จ
พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
องค์ประธานกรรมการมูลนิธิชัยพัฒนา
จึ ง พระราชทานพระราชกระแสให้
ส� ำ นั ก งานมู ล นิ ธิ ชั ย พั ฒ นาประสาน
กั บ กรมชลประทานด� ำ เนิ น การติ ด ตั้ ง
เครื่องกลเติมอากาศแบบอัดอากาศและ
ดูดน�ำ ้ RX-5C จ�ำนวน ๑๒ เครือ่ ง บริเวณ
หน้าวัดโพธิ์ทองบน วัดช่องลม วัดสลัก
ภาพที่ ๑ เรือน�้ำตาลล่มขวางทางกระแสน�้ำ บริเวณต�ำบลภูเขาทอง จังหวัด เหนือ วัดโพธิ์บ้านอ้อย วัดเกาะพญาเจ่ง
พระนครศรีอยุธยา[๒] วัดกลางเกร็ด วัดบางพัง และวัดหงส์ทอง
ที่มา: httpm://krobkruakao.comdetail.phpnews=39418 อ�ำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี เพื่อ

กรณีอุบัติเหตุเรือน�้ำตาลอับปางในแม่น�้ำเจ้าพระยา
532
วารสารราชบัณฑิตยสถาน
ปีที่ ๓๖ ฉบับที่ ๔ ต.ค.-ธ.ค. ๒๕๕๔

ปรับปรุงคุณภาพน�้ำบริเวณดังกล่าวที่ได้
รั บ ผลกระทบจากน�้ ำ เสี ย ที่ ไหลมาจาก
จังหวัดพระนครศรีอยุธยาให้มีคุณภาพ
ดี ขึ้ น โดยเครื่ อ งกลเติ ม อากาศชนิด นี้
สามารถดึ ง น�้ ำ เสี ย ที่ อ ยู ่ ก ้ น บ่ อ เข้ า ผสม
กับอากาศและเกิดคลื่นน�ำ ้ ท�ำให้น�้ำไหล
หมุนเวียน น�้ำเสียจะผสมกับออกซิเจน
ในอากาศซึ่ ง ท� ำ ให้ น�้ ำ มี คุ ณ ภาพดี ขึ้ น
ขณะเดียวกันผูว้ า่ ราชการจังหวัดปทุมธานี
ได้ประกาศเขตพื้นที่อ�ำเภอเมืองฯ และ
อ�ำเภอสามโคก เป็นเขตภัยพิบตั ิ เนือ่ งจาก
น�้ ำ เสี ย ในแม่ น�้ ำ เจ้ า พระยาท� ำ ให้ สั ต ว์
น�้ำตายเป็นจ�ำนวนมาก๖
วันที่ ๔ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๔
นายเสวก พวงทอง หั ว หน้ า ชุ ด กู ้ เรื อ
เปิดเผยว่า หลังจากสูบน�้ำตาลทรายแดง
ออกจากเรื อ จนหมดแล้ ว จะวางแผน
เสริมบังใบที่กราบเรือให้สูงขึ้น จากนัน้ ภาพที่ ๒ การพังทลายของตลิ่งจากการเปลี่ยนทิศทางของกระแสน�้ำ
จะท�ำการปะส่วนที่แตกเสียหาย ก่อน บริเวณที่เรือน�้ำตาลล่ม[๒]
สูบ น�้ ำ ออกจากตัวเรือ แต่ขณะนี้ยังไม่ ที่มา: httpm://krobkruakao.comdetail.phpnews=39418
สามารถด�ำเนินการได้เนือ่ งจากกระแสน�้ำ
ไหลเชี่ยว คาดว่าหากสามารถเสริมบัง ท�ำให้ระดับน�้ำเพิ่มสูง และไหลแรงมาก บอลลูนลอยเรือดังกล่าวขึ้นเพื่อสะดวก
ใบเรือได้จะใช้เวลาประมาณ ๕-๘ วัน ขึ้ น แต่ ห ากฝนไม่ ต กลงมาสมทบอี ก ในการลากจู ง ออกจากที่ เ กิ ด เหตุ แต่
จึงจะสามารถกู้เรือขึ้นมาได้๗ ส่วนการ คาดว่ า เจ้ า หน้ า ที่ จ ะลงมื อ กู ้ เรื อ อี ก ครั้ ง เนื่ อ งจากกระแสน�้ ำ ค่ อ นข้ า งแรงเป็ น
กัดเซาะตลิ่งจากกระแสน�ำ้ เปลี่ยนทิศทาง ภายในช่วงเย็นของวันที่ ๕ มิถุนายน อุปสรรคในการด�ำเนินงาน ในเบื้องต้น
นั้น ตลิ่งถูกกัดเซาะลึกเข้าไปมากกว่า พ.ศ. ๒๕๕๔ โดยเจ้าหน้าที่ได้เตรียม ได้ประสานกับกรมชลประทานเพื่อขอ
๑ เมตร การป้ อ งกั นการกั ด เซาะตลิ่ ง เรือยนต์ที่ใช้กู้ไว้ประมาณ ๔-๕ ล�ำเพื่อ ลดการปล่อยน�้ำ ผลการด�ำเนินงานท�ำให้
ด�ำเนินการโดยทหารและเจ้าหน้าที่หน่วย รอสภาพอากาศเอื้ออ�ำนวยก็จะสามารถ สามารถเคลื่อนย้ายเรือดังกล่าวออกจาก
งานทีเ่ กีย่ วข้อง โดยเร่งตอกเสาเข็มบริเวณ ลงมือกู้เรือที่ล่มได้ทันที๘ ส�ำหรับการกู้ ทีเ่ กิดเหตุได้สำ� เร็จเมือ่ วันที่ ๑๒ มิถนุ ายน
ริมตลิง่ ใกล้กบั จุดทีเ่ รือพ่วงบรรทุกน�ำ้ ตาล ซากเรือที่ด�ำเนินการตั้งแต่เบื้องต้นแบ่ง พ.ศ. ๒๕๕๔ (ภาพที่ ๑)๒
ทรายแดงล่มเพื่อชะลอการกัดเซาะตลิ่ง เป็น ๓ ส่วนดังนี้๙ ๒. กรณีตลิง่ ทีพ่ งั ท�ำให้ประชาชน
อย่างไรก็ตามความพยายามในการกู้เรือ ๑. ขนถ่ า ยน�้ ำ ตาลทรายแดง หวั่นเกรงอันตรายจากกระแสน�้ำกัดเซาะ
ในวันที่ ๕ ก็ยงั ไม่สามารถท�ำได้ เนือ่ งจาก ออกมาไว้ ที่ เรื อ อี ก ล�ำ จนหมด และส่ ง จนท�ำให้บา้ นเรือนประชาชนเสียหาย ต้อง
มีฝนตกหนักอย่างต่อเนื่อง ประกอบกับ นักประดาน�้ำลงไปตรวจสอบรอยรั่วของ ย้ายหนีออกไปแล้วจ�ำนวน ๒ หลัง (ภาพที่
น�้ ำ ที่ ป ล่ อ ยออกมาจากเขื่ อ นเจ้ า พระยา เรือก่อนจะเคลื่อนย้าย และจะใช้โป๊ะท�ำ ๒)๒ ระหว่างนี้ หากกระแสน�ำ้ ลดลง คาดว่า

สันทัด ศิริอนันต์ไพบูลย์, เปี่ยมศักดิ์ เมนะเศวต และสมชัย บวรกิตติ


533
The Journal of the Royal lnstitute of Thailand

Volume 36 No. 4 Oct.-Dec. 2011

๒-๓ วันจะท�ำการยึดพื้นที่ตลิ่งที่พังคืน ผลกระทบจากเรือน�้ำตาลทรายแดงล่ม เรือขนส่งไม่สามารถใช้เส้นทางดังกล่าว


มาได้ แต่เบื้องต้นได้ให้กรมเจ้าท่าเข้ามา ผลกระทบจากเรือบรรทุกน�้ำตาล ได้ (ภาพที่ ๑)๒
ด�ำเนินการน�ำไม้มาปักท�ำเขือ่ นกัน้ ไว้กอ่ น ทรายแดงล่มสามารถสรุปได้เป็น ๓ ส่วน ๒. สั ต ว์ น�้ ำ และปลาที่ มี อ ยู ่ ใ น
(ภาพที่ ๓)๒ ดังนี้ ธรรมชาติ และปลาในกระชังตายเป็น
๓. เรื่ อ งคุ ณ ภาพน�้ ำ ที่ มี ผ ลต่ อ ๑. ขวางทางน�ำ้ ไหล เรือทีอ่ บั ปาง จ�ำนวนมาก โดยเฉพาะปลาหายากบาง
สัตว์น�้ำ จากการตรวจวัดผลค่าออกซิเจน ขวางทางกระแสน�้ำ ท�ำให้เปลี่ยนทิศทาง ชนิด เช่น ปลากระเบนราหู การส�ำรวจ
ยังจุดทีห่ า่ งออกไปประมาณ ๒๐ กิโลเมตร กัดเซาะตลิ่งอย่างหนัก ส่งผลกระทบต่อ เบื้องต้นปลาเลี้ยงในกระชังจากจังหวัด
พบว่า ปลาธรรมชาติและปลาเลี้ยงใน บ้านเรือนที่อยู่อาศัยของประชาชนได้รับ พระนครศรี อ ยุ ธ ยา เกษตรกรอ� ำ เภอ
กระชัง ตายหมด แต่ทงั้ นีจ้ ะสามารถแก้ไข ความเดือดร้อนอย่างหนัก (ภาพที่ ๒¬)๒ บางปะอิน ได้รับความเสียหาย ๑๕ ราย
ฟื้นฟูได้ และจะไม่กระทบเพิ่มขึ้นจาก และส่งผลให้การคมนาคมการสัญจรทาง จ�ำนวน ๑๙ กระชัง อ�ำเภอบางไทร ๗ ราย
เดิ ม หากด� ำ เนิ น การแก้ ไ ขอย่ า งถู ก วิ ธี น�้ำได้ความเดือดร้อนเช่นกัน โดยเรือที่ จ�ำนวน ๕๗ กระชัง๑๑ ผลกระทบดังกล่าว
(ภาพที่ ๔)๑๐ ล่มขวางทางล่องน�้ำการเดินเรือ ส่งผลให้ ยังกระจายวงกว้างไปยังจังหวัดข้างเคียง
ที่ ก ระแสน�้ ำ ไหลผ่ า น คื อ จากจั ง หวั ด
พระนครศรีอยุธยาไปยังจังหวัดนนทบุรี
ปทุ ม ธานี กรุ ง เทพมหานคร และ
สมุทรปราการ (ภาพที่ ๔)๑๐
๓. ผ ล ก ร ะ ท บ กั บ ป ริ ม า ณ
ออกซิเจนในน�้ำ ผลกระทบที่เกิดจากการ
ทีเ่ รือบรรทุกน�ำ้ ตาลดังกล่าวล่มนัน้ น�ำ้ ตาล
ทรายแดง (Sucrose: C12H22O11) ทีบ่ รรทุก
บางส่วนละลายน�้ำ ส่งผลให้สารอินทรีย์
หรือบีโอดีในน�ำ้ สูงขึน้ เป็นอาหารอย่างดี
ส�ำหรับจุลินทรีย์ในกลุ่มที่พึ่งออกซิเจน
ในแหล่งน�้ำนั้นเจริญเติบโตเพิ่มจ�ำนวน
โดยดึงเอาออกซิเจนที่ละลายในแหล่งน�ำ้
นัน้ ไปใช้ ดังสมการที่ ๑ น�ำ้ ตาลทรายแดง
(ซูโครส) ๓๔๒ กรัม สามารถดึงออกซิเจน
ละลายน�ำ้ จากน�ำ้ ไปใช้ถงึ ๓๘๔ กรัม ดังนัน้
หากคาดการณ์ ว ่ า น�้ ำ ตาลทรายแดงใน
ปริมาณเพียงครึ่งหนึง่ ของที่อยู่ในเรือล�ำ
ที่ล่มดังกล่าวละลายลงสู่แม่น�้ำ จะส่งผล
ให้ปริมาณของน�้ำตาลทรายแดงที่ละลาย
ลงไปในแม่น�้ำสูงถึง ๑,๒๐๐ ตัน ซึ่งต้อง
ภาพที่ ๓ การสร้างเขื่อนชั่วคราวเพื่อป้องกันการพังทลายของตลิ่ง[๒] ใช้ออกซิเจนละลายน�้ำในการย่อยสลาย
ที่มา: httpm://krobkruakao.comdetail.phpnews=39418 น�้ ำ ตาลทรายแดงปริ ม าณดั ง กล่ า วสู ง

กรณีอุบัติเหตุเรือน�้ำตาลอับปางในแม่น�้ำเจ้าพระยา
534
วารสารราชบัณฑิตยสถาน
ปีที่ ๓๖ ฉบับที่ ๔ ต.ค.-ธ.ค. ๒๕๕๔

ถึง ๑,๓๕๐ ตัน สามารถเทียบได้กับ น�้ำที่เหมาะสมในการด�ำรงชีวิตจะต้องไม่ พืน้ ทีผ่ วิ ตัวมากเมือ่ เทียบกับปลาทัว่ ไป ใน


แบบจ�ำลอง ในภาพที่ ๕๑๒ ที่แสดงให้ ต�่ำกว่า ๒ มิลลิกรัม/ลิตร นอกจากนี้แล้ว ขณะทีพ่ นื้ ทีช่ อ่ งเปิดของเหงือกส�ำหรับให้
เห็นถึงการเพิ่มขึ้น และลดลงของระดับ ปลาแต่ละชนิดก็มีความต้องการระดับ น�ำ้ ผ่านเพือ่ น�ำออกซิเจนละลายน�ำ้ ไปใช้ตำ�่
ออกซิเจนละลายน�ำ ้ เมือ่ มวลน�ำ้ ทีม่ มี ลพิษ ออกซิเจนละลายน�้ำที่แตกต่างกัน เช่น เมื่อเทียบกับพื้นที่ตัว จะได้รับผลกระทบ
นัน้ ไหลผ่านตามกระแสน�้ำ รวมถึงการ ปลามีเกล็ดและปลาไม่มีเกล็ดก็มีความ มากเมื่อปริมาณออกซิเจนละลายน�้ำลด
เปลี่ยนแปลงปริมาณจุลินทรีย์ในแหล่ง ต้องการระดับออกซิเจนละลายน�้ำที่แตก ต�่ำลงอย่างรวดเร็ว รวมทั้งปลาในกระชัง
น�้ำนัน้ ด้วย หากคิดค�ำนวณว่าจะต้องดึง ต่างกัน คือ ของชาวบ้าน ซึง่ ส่วนใหญ่เป็นปลามีเกล็ด
เอาออกซิเจนละลายน�้ำจากแม่นำ�้ ไปใช้ใน ก. ปลามีเกล็ด ส่วนใหญ่มักมี (ปลาทับทิม และ ปลานิล เป็นต้น) ตาย
การย่อยสลายปริมาณน�้ำตาลทรายแดงดัง ความต้องการระดับออกซิเจนละลายน�้ำ เป็นจ�ำนวนมาก เกิดความเสียหาย ทั้งนี้
กล่าวให้หมด โดยไม่มีการเติมออกซิเจน สูงกว่าปลาไม่มเี กล็ด ส่งผลให้ปลามีเกล็ด เนื่องจากเมื่อออกซิเจนละลายน�้ำลดลง
ให้กับน�้ำโดยกลไกทางธรรมชาติ โดยตั้ง ส่วนใหญ่มักจะอาศัยที่ผิวน�้ำ เนื่องจาก อย่างรวดเร็ว จะส่งผลให้ปลาในกระชัง
สมมุติฐานที่ว่า ปริมาณออกซิเจนละลาย บริเวณผิวน�ำ้ จะมีปริมาณออกซิเจนละลาย ทีม่ คี วามหนาแน่นสูงจะได้รบั ผลกระทบ
น�้ำในแม่น�้ำมีสูงถึง ๔ มิลลิกรัม/ลิตร จะ น�้ำสูงกว่า และปริมาณออกซิเจนละลาย มาก และปลาเหล่านัน้ ไม่สามารถว่ายหนี
ต้องใช้มวลของน�ำ้ สูงถึง ๓๓๗,๕๐๐,๐๐๐ น�้ำจะลดลงตามระดับความลึกของแม่นำ�้ ไปที่อื่นได้
ลู ก บาศก์ เมตร ในการป้ อ นออกซิ เจน หรือแหล่งน�้ำ ๕. กลวิ ธ านการเติ ม และใช้
ละลายน�ำ้ ให้กบั กระบวนการทางชีววิทยา ข. ปลาไม่ มี เ กล็ ด ส่ ว นใหญ่ ออกซิเจนในธรรมชาติ ดังที่กล่าวข้างต้น
ในการย่ อ ยสลายน�้ ำ ตาลทรายแดง จะ สามารถทนต่อระดับออกซิเจนละลายน�้ำ ว่าสิ่งมีชีวิตส่วนใหญ่ในแหล่ ง น�้ำ หรื อ
ทีต่ ำ�่ ได้ดกี ว่าปลามีเกล็ด เนือ่ งจากปลาไม่มี แม่น�้ำล�ำคลอง ต้องการออกซิเจนในการ
ส่งผลให้ปริมาณออกซิเจนละลายน�้ำใน
เกล็ดส่วนใหญ่จะมีอวัยวะพิเศษทีส่ ามารถ ด�ำรงชีวติ โดยเฉพาะออกซิเจนในรูปของ
แหล่งน�ำ้ นัน้ ลดลงจนถึงระดับทีต่ ำ�่ กว่า ๒
น�ำออกซิเจนในรูปของแก๊สไปใช้ได้ ใน ออกซิเจนละลายน�ำ ้ และกลวิธานการเติม
มิลลิกรัม/ลิตร ก็จะเป็นอันตรายต่อสัตว์
ขณะทีป่ ลามีเกล็ดส่วนใหญ่จะไม่มอี วัยวะ ออกซิเจนให้กับแหล่งน�้ำข้างต้น เกิดขึ้น
น�้ำโดยเฉพาะปลาชนิดต่าง ๆ
ดังกล่าว ดังนัน้ ปลาไม่มีเกล็ดจึงสามารถ โดยกระบวนการหลัก ๒ กระบวนการคือ
สมการที่ ๑ อาศัยอยู่ในน�้ำลึกหรือหน้าดินได้ ก. การเติมออกซิเจนจากอากาศ
C12H22O11 + 12O2 12CO2 + 11H2O อนึง่ ในธรรมชาติเมือ่ เกิดอุบตั เิ หตุ สูน่ ำ �้ ซึง่ เป็นกระบวนการทางกายภาพโดย
ดังกล่าว ปลาที่ได้รับผลกระทบก่อนคือ อาศัยที่ออกซิเจนในอากาศบริเวณผิวน�้ำ
๔. กลไกการเกิ ด ผลกระทบ ปลาที่อยู่น�้ำลึกหรือปลาหน้าดินซึ่งส่วน ละลายลงสู่น�้ำ ซึ่งหากมีการแปรปรวน
ต่ อ ระดั บ ออกซิ เจนละลายน�้ำ ในแหล่ ง ใหญ่เป็นปลาไม่มีเกล็ด ทั้งนี้เพราะระดับ ของผิวน�้ำก็จะส่งผลให้การละลายของ
น�้ำ ดังที่กล่าวแล้วว่า น�้ำตาลทรายแดง ออกซิเจนละลายน�้ำจะอยู่ในระดับต�่ำเมื่อ ออกซิเจนจากอากาศลงสู่น�้ำสูงขึ้น
ที่ละลายลงในแหล่งน�้ำนัน้ คือมลพิษสาร เทียบกับระดับผิวน�้ำ ดังนั้นจะเห็นปลา ข. การเติมอากาศโดยสาหร่าย
อินทรีย์ ซึง่ สามารถวัดได้ในรูปของบีโอดี ไม่มีเกล็ดลอยขึ้นเหนือผิวน�้ำเป็นจ�ำนวน พืชน�ำ ้ หรือจุลนิ ทรียท์ สี่ ามารถสังเคราะห์
ที่ จ ะส่ ง ผลกระทบต่ อ ระดั บ ออกซิ เจน มาก และด้ ว ยลั ก ษณะทางสรี ร วิ ท ยา อาหารโดยใช้คาร์บอนไดออกไซด์ เป็น
ละลายน�้ำในแหล่งน�้ำนั้นๆ โดยระดับ ของปลาที่ มี อ วั ย วะพิ เศษที่ ส ามารถน�ำ แหล่งอาหารคาร์บอนเพือ่ ผลิตสารอินทรีย์
ออกซิเจนละลายน�ำ้ ทีเ่ หมาะสมทีจ่ ะส่งผล ออกซิเจนในรูปแก๊สไปใช้ได้เลย ก็ท�ำให้ และปลดปล่อยออกซิเจนออกสู่แหล่งน�้ำ
ให้สงิ่ มีชวี ติ สามารถด�ำรงชีวติ อยูไ่ ด้กแ็ ตก สามารถฟื้นตัวได้เร็วเมื่อหนีขึ้นอยู่ผิวน�้ำ เป็นการเติมออกซิเจนในรูปของออกซิเจน
ต่างกันไปตามชนิดหรือประเภทของสิ่ง ส่วนที่พบมีปลากระเบนน�้ำจืดลอยขึ้นมา ละลายน�้ำ
มีชีวิต เช่น ปลา ระดับออกซิเจนละลาย ตาย ก็เนื่องจากลักษณะทางสรีรวิทยาที่มี

สันทัด ศิริอนันต์ไพบูลย์, เปี่ยมศักดิ์ เมนะเศวต และสมชัย บวรกิตติ


535
The Journal of the Royal lnstitute of Thailand

Volume 36 No. 4 Oct.-Dec. 2011

แหล่ ง น�้ ำ บริ เ วณดั ง กล่ า วลดลงอย่ า ง


รวดเร็ว โดยกิจกรรมของจุลินทรีย์ใน
กลุ่มที่ใช้อากาศ แต่กระแสน�้ำในแม่น�้ำ
เจ้าพระยาไหลจากทางเหนือลงมาทางใต้
ผ่านนนทบุรี ปทุมธานี กรุงเทพมหานคร
และสมุ ท รปราการเพื่ อ ออกสู ่ อ ่ า วไทย
ขณะมวลน�้ำเสียดังกล่าวเคลื่อนตัวลงมา
ตามกระแสน�้ำ กิจกรรมของจุลินทรีย์
เกิ ด ขึ้ น ตลอดเวลา ส่ ง ผลให้ ร ะดั บ
ออกซิเจนละลายน�้ำของแหล่งน�้ำที่มวล
น�้ำเสียดังกล่าวเคลื่อนที่ผ่านลดลงส่งผล
ให้ สั ต ว์ น�้ ำ โดยเฉพาะปลาทั้ ง ปลาใน
ธรรมชาติและปลาในกระชังตาย

แนวทางการแก้ ไขปั ญ หาในส่ ว นของ


มลพิษที่ปนเปื้อน และผลกระทบ
การแก้ ป ั ญ หาเกี่ ย วกั บ ปริ ม าณ
ออกซิ เจนละลายน�้ ำ เนื่ อ งจากน�้ ำ ตาล
ทรายแดงที่ปนเปื้อนในแม่น�้ำดังกล่าว
จ�ำนวน ๒,๔๐๐ ตัน หรือ ๒,๔๐๐,๐๐๐
กิโลกรัม ที่อยู่ในเรือบรรทุกน�้ำตาลทราย
ภาพที่ ๔ ซากปลาทับทิมในกระชังที่ตายจากน�้ำเสีย[๑๐] แดงที่ล่มปนเปื้อนลงสู่แม่น�้ำหมด ส่งผล
ที่มา: http://www.siamfishing.comboardview.phptid=632963 ให้สารอินทรีย์ในแหล่งน�้ำสูงขึ้นในรูป
อนึ่ง ออกซิ เจนละลายน�้ ำ ที่ ถู ก แหล่ ง น�้ ำ เนื่ อ งจากแสงแดดส่ อ งลงไป ของบีโอดีถึง ๒,๔๐๐,๐๐๐ กิโลกรัม แต่
เติ ม ให้ กั บ แหล่ ง น�้ ำ ส่ ว นใหญ่ ม าจาก ไม่ถึง จากรายงานข่าวแจ้งว่ามีการสูบน�้ำตาล
กระบวนการสั ง เคราะห์ แ สงและการ การที่น�้ำตาลทรายแดงปนเปื้อน ทรายแดงบางส่วนขึ้นมาได้ ดังนัน้ หาก
เติ ม ออกซิ เ จนให้ กั บ แหล่ ง น�้ ำ โดย แม่ น�้ ำ เจ้ า พระยาส่ ง ผลให้ ป ริ ม าณ น�้ ำ ตาลทรายแดงที่ ล ะลายลงสู ่ แ ม่ น�้ ำ
กระบวนการสังเคราะห์แสงนีจ้ ะสูงหรือ ออกซิเจนในบริเวณดังกล่าวลดลง และ ประมาณร้อยละ ๕๐ ของทั้งหมด จะส่ง
ต�่ำขึ้นอยู่กับปริมาณหรือการเจริญเติบโต ยั ง ส่ ง ผลกระทบไปยั ง บริ เวณข้ า งเคี ย ง ผลให้ ต ้ อ งใช้ อ อกซิ เ จนละลายน�้ ำ ใน
ของสาหร่ า ย พื ช น�้ ำ หรื อ จุ ลิ นทรี ย ์ ที่ จากจังหวัดพระนครศรีอยุธยา อ่างทอง ปริ ม าณสู ง ถึ ง ๑,๓๕๐ ตั น เพื่ อ ให้
สังเคราะห์อาหารด้วยแสงได้ โดยเฉพาะ นนทบุ รี ปทุ ม ธานี กรุ ง เทพมหานคร จุลินทรีย์ย่อยสลายสารอินทรีย์ แต่ใน
อย่างยิ่งสาหร่าย การเจริญเติบโตของ และสมุทรปราการ จนต้องประกาศเป็น สภาวะธรรมชาติ น�้ำในแหล่งน�้ำต่าง ๆ
สาหร่ า ยขึ้ น อยู ่ กั บ ปริ ม าณแสงที่ ได้ รั บ เขตภัยพิบตั ใิ นพืน้ ทีน่ นทบุรนี นั้ ก็เพราะว่า มี อ อกซิ เ จนละลายน�้ ำ อยู ่ เ พี ย ง ๓-๔
ดังนั้นปริมาณออกซิเจนละลายน�้ำของ เมื่อน�้ ำตาลทรายแดงละลายลงสู่แหล่ง มิ ล ลิ ก รั ม /ลิ ต ร ดั ง นั้ น หากต้ อ งการที่
แหล่ ง น�้ ำ ต�่ ำ ลงตามระดั บ ความลึ ก ของ น�้ ำ จะส่ ง ผลให้ อ อกซิ เจนละลายน�้ำ ใน จะให้ จุ ลิ นทรี ย ์ ในธรรมชาติ ย ่ อ ยสลาย

กรณีอุบัติเหตุเรือน�้ำตาลอับปางในแม่น�้ำเจ้าพระยา
536
วารสารราชบัณฑิตยสถาน
ปีที่ ๓๖ ฉบับที่ ๔ ต.ค.-ธ.ค. ๒๕๕๔

น�ำ้ ตาลทรายแดงดังกล่าวโดยกระบวนการ เสียไหลผ่านลดลงอย่างรวดเร็ว ดังนั้น จ.อยุธยาฯ ล� ำ บากมากขึ้น หลั ง เขื่ อ น


ทางชีวภาพแบบใช้ออกซิเจนนัน้ จะต้อง การแก้ปัญหาดังกล่าวจะท� ำได้โดยการ เจ้าพระยาระบายน�้ำเพิ่ม. [ออนไลน์].
ใช้มวลน�้ำไม่น้อยกว่า ๓๓๗,๕๐๐,๐๐๐ เติมอากาศหรือออกซิเจนลงในแหล่งน�้ำ เข้าถึงได้จาก http:// www. thainews.
ลู ก บาศก์ เมตร เพื่ อ จะป้ อ นออกซิ เจน ที่มวลน�้ำเสียไหลผ่านเพื่อให้เพิ่มปริมาณ prd.go.th/ (วันที่ค้นข้อมูล ๘ มิถุนายน
ละลายน�้ ำ ให้ กั บ การย่ อ ยสลายน�้ ำ ตาล ออกซิ เ จนละลายน�้ ำ บริ เ วณดั ง กล่ า ว ๒๕๕๔).
ทรายแดงทีป่ นเปือ้ นในน�ำ ้ รวมทัง้ จะต้อง รวมทั้งอาจจะมีการเติมจุลินทรีย์ในกลุ่ม ๖. หนังสือพิมพ์คมชัดลึก. พิษเรือน�้ำตาล
มีการเติมเชือ้ จุลนิ ทรียใ์ ห้กบั แหล่งน�้ำ เพือ่ ที่ใช้ออกซิเจนลงในบริเวณดังกล่าวเพื่อ ล่มกระเบนเกยตื้นตาย. [ออนไลน์]. เข้า
ให้ทำ� หน้าทีใ่ นการบ�ำบัดทางชีวภาพ รวม ให้มีปริมาณจุลินทรีย์มากขึ้น เพื่อเพิ่ม ถึงได้จาก http://www.komchadluek.net/
ทั้งระยะเวลาในการบ�ำบัดหรือย่อยสลาย อั ต ราการย่ อ ยสลายมลพิ ษ หรื อ น�้ ำ ตาล index.php (วันที่ค้นข้อมูล ๗ มิถุนายน
สารอินทรียจ์ ะต้องเหมาะสม แต่เนือ่ งจาก ทรายแดงในมวลน�ำ้ เสียนัน้ ส่งผลให้มวล ๒๕๕๔).
มวลน�้ำมีการเคลื่อนตัวไปตามกระแสน�้ำ น�้ ำ เสี ย มี คุ ณ ภาพดี ขึ้ นคื อ ปริ ม าณบี โอดี ๗. โมเดิร์นไนน์ทีวี. จนท.สูบน�้ำตาล
ที่ไหลจากทางเหนือผ่านจังหวัดต่าง ๆ ลดลงและปริ ม าณออกซิ เจนละลายน�้ ำ กว่า ๒ พันตัน ออกจากเรือได้หมดแล้ว.
ดังกล่าวข้างต้นเพือ่ ออกทะเลทางอ่าวไทย สูงขึ้น [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก http://www.
ส่งผลให้นำ�้ ในแม่นำ�้ เจ้าพระยาตลอดแนว mcot.net/ModerNineTV (วันที่ค้นข้อมูล
ทีม่ วลน�ำ้ เสียเคลือ่ นตัวผ่าน ดังนัน้ การแก้ เอกสารอ้างอิง ๘ มิถุนายน ๒๕๕๔).
ปัญหา สามารถด�ำเนินการได้ดังนี้ ๑. ไทยรัฐออนไลน์. หายนะความหวาน ๘. ข่าว tell today. เรือน�้ำตาลล่มท�ำพิษ
๑. การผลักดันมวลน�้ำเสียออก เรือน�้ำตาลล่ม อับปางสูญ ๒๐๐ ล้าน. สังเวยกระเบนราหู ๔ ตัว. [ออนไลน์].
สู่ทะเลทางอ่าวไทยให้เร็วที่สุด ทั้งนี้เพื่อ [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก http:// www. เข้าถึงได้จาก http://www.telltoday.word-
ให้มวลน�ำ้ ดังกล่าวลงสูท่ ะเลเพือ่ ให้มลพิษ thairath.co.th/ (วั น ที่ ค ้ น ข้ อ มู ล ๗ press.com (วันที่ค้นข้อมูล ๖ มิถุนายน
ในมวลน�ำ้ เสียถูกเจือจางด้วยน�ำ้ ทะเล และ มิถุนายน ๒๕๕๔). ๒๕๕๔).
เกิดการย่อยสลายโดยธรรมชาติ โดยอาศัย ๒. http:// www.krobkruakao.com (วันที่ ๙. Independent news. คาด 2-3 อีกวัน
ออกซิเจนละลายน�้ำในทะเลซึ่งเพียงพอ ค้นข้อมูล ๘ มิถุนายน ๒๕๕๔). กูซ้ ากเรือน�ำ้ ตาลล่มได้. [ออนไลน์]. เข้าถึง
ต่ อ ความต้ อ งการของจุ ลิ นทรี ย ์ ในการ ๓. ASTV ผู้จัดการออนไลน์. ผู้ว่าฯ ได้จาก http://www.innnews.co.th/ (วันที่
ย่อยสลายน�้ำตาลทรายแดง เนื่องจากมวล กรุงเก่าสั่งแจ้งความเรือน�้ำตาลล่มฐาน ค้นข้อมูล ๖ มิถุนายน ๒๕๕๔).
ของน�้ำทะเลมีปริมาณมหาศาล ท�ำให้เกิดความเสียหายกับชาวบ้านและ ๑๐. http:// www.siamfishing.com และ
๒. การป้องกันผลกระทบที่เกิด สิ่งแวดล้อมในล�ำน�้ำ. [ออนไลน์]. เข้าถึง http:// www.news.mthai.com (วันที่ค้น
ขึ้นกับบริเวณที่มวลน�้ำเสียเคลื่อนตัวผ่าน ได้จาก http://www.manager.co.th (วันที่ ข้อมูล ๘ มิถุนายน ๒๕๕๔).
ดั ง ที่ ก ล่ า วข้ า งต้ น ว่ า น�้ ำ ตาลทรายแดง ค้นข้อมูล ๘ มิถุนายน ๒๕๕๔). ๑๑. แจ่มจัง ดอทคอม. ข่าวเรือน�้ำตาลล่ม
เป็นสารอาหารในรูปของแหล่งอาหาร ๔. หนังสือพิมพ์คมชัดลึก. อภิสิทธิ์หารือ ท�ำปลาตาย ชาวบ้านเดือดร้อนมาก เรือ
คาร์ บ อนที่ ดี ส� ำ หรั บ จุ ลิ นทรี ย ์ ที่ อ ยู ่ ใ น เร่งเยียวยาชดเชยเรือล่ม. [ออนไลน์]. เข้า บรรทุกน�้ำตาลล่ม. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้
แหล่ ง น�้ ำ ดั ง นั้นจุ ลิ นทรี ย ์ ในแหล่ ง น�้ ำ ถึงได้จาก http://www.komchadluek.net/ จาก http:// www.jamjung.com / (วันที่
จะย่อยสลายน�้ำตาลทรายแดงโดยดึงเอา index.php (วันที่ค้นข้อมูล ๗ มิถุนายน ค้นข้อมูล ๘ มิถุนายน ๒๕๕๔).
ออกซิเจนละลายน�ำ้ ไปใช้ในกระบวนการ ๒๕๕๔). ๑๒. http:// www. pradthana.word-
ที่ ย ่ อ ยสลายแบบใช้ อ ากาศ ส่ ง ผลให้ ๕. ส�ำนักข่าวกรมประชาสัมพันธ์. แนว press.com (วันที่ค้นข้อมูล ๘ มิถุนายน
ออกซิเจนละลายน�้ำในแหล่งน�้ำที่มวลน�้ำ โน้มกู้เรือบรรทุกน�้ำตาลทราย ที่ล่มใน ๒๕๕๔).

สันทัด ศิริอนันต์ไพบูลย์, เปี่ยมศักดิ์ เมนะเศวต และสมชัย บวรกิตติ


537
The Journal of the Royal lnstitute of Thailand

Volume 36 No. 4 Oct.-Dec. 2011

Abstract Raw Sugar Barge Sunk Accident in Chao Phraya River


Suntud Sirianuntapiboon
Professor, Department of Environmental Technology, School of Energy Environment and
Materials King Mongkut’s University of Technology Thonburi
Piamsak Menasveta
Fellow of the Academy of Science, The Royal Institute, Thailand
Somchai Bovornkitti
Fellow of the Academy of Science, The Royal Institute, Thailand

The accident that caused a raw sugar barge sunk in Chao Phraya river at Tumbon
Phukao Thong Ayutthaya province occurred when 3 barges in a series was towed passing under a bridge.
The first barge collided the bridge pillar causing the barge no.2 to sink into the river. The barge also
collided a house before sinking. This accident subsequently caused other impacts as follows: The sunken
barge interrupted river flow resulting in the change of flow direction, and this subsequently causing
several house collapsed by the erosion of the river bank. Raw sugar in the sunken barge dissolved in
the river resulted to the oxygen depletion. Significant amount of aquatic animals, especially fish, died
because of the oxygen depletion.

Key words : raw sugar barge sunk, raw sugar, oxygen depletion

กรณีอุบัติเหตุเรือน�้ำตาลอับปางในแม่น�้ำเจ้าพระยา
538
วารสารราชบัณฑิตยสถาน
ปีที่ ๓๖ ฉบับที่ ๔ ต.ค.-ธ.ค. ๒๕๕๔

ประพิณ มโนมัยวิบูลย์
ภาคีสมาชิก ส�ำนักศิลปกรรม
ราชบัณฑิตยสถาน

บทคัดย่อ
คนจีนเดินทางมาเมืองไทยตั้งแต่สมัยสุโขทัย ส่วนใหญ่เป็นพ่อค้าชาวจีนที่เดินเรือเข้ามาติดต่อค้าขาย
ครั้นถึงสมัยอยุธยาบางส่วนได้เข้ามาตั้งถิ่นฐานและช่วยด้านการค้าส�ำเภาของไทย จนถึงสมัยกรุงธนบุรีจึงมีชาว
จีนเข้ามาค้าขายและพ�ำนักอยูเ่ ป็นจ�ำนวนมาก ชาวจีนทีเ่ ข้ามาตัง้ ถิน่ ฐานในประเทศไทยตัง้ แต่สมัยธนบุรจี นถึงสมัย
รัตนโกสินทร์มักมาจากมณฑลกวางตุ้ง ฮกเกี้ยน และไหหล�ำ
ชุมชนจีนในสังคมอาจจ�ำแนกได้ตามกลุ่มภาษาถิ่นที่พูดเป็น ๕ กลุ่ม คือ กลุ่มที่พูดส�ำเนียงภาษาจีน
แต้จิ๋ว ฮกเกี้ยน แคะ กว้างตุ้ง และไหหล�ำ ใน ๕ กลุ่มนี้ กลุ่มที่เดินทางเข้ามาระยะแรกในสมัยอยุธยาคือ ชาวจีน
ฮกเกี้ยนและกวางตุ้ง แต่หลังจากเสียกรุงศรีอยุธยาจนถึงสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นชาวจีนแต้จิ้วได้อพยพเข้ามา
เป็นจ�ำนวนมากจนเป็นกลุ่มที่ใหญ่ที่สุดในกรุงเทพฯ ตามด้วยชาวจีนไหหล�ำและแคะ
ค�ำส�ำคัญ : ชุมชนจีนในไทย, จีนแต้จิ๋ว, จีนฮกเกี้ยน, จีนแคะ, จีนกวางตุ้ง, จีนไหหล�ำ

บทน�ำ ส�ำเภาในกฎหมายนาพลเรือนว่ามี จุ่นจู๊ รายได้ใหญ่ของไทยในช่วงที่ยังมีการศึก


ค นจี น เดิ นท า ง ม า เมื อ ง ไท ย นายส�ำเภา ต้นหนดูทาง ล้าต้าบาญชีใหญ่ สงครามและการก่อสร้างราชธานีใหม่
ตั้ ง แต่ ส มั ย ที่ มี ค วามสั ม พั นธ์ ใ นระบบ (วิลาสวงศ์ ๒๕๔๘ : ๔๘) การค้ า ส� ำ เภากั บ จี น สร้ า งรายได้ ให้ แ ก่
บรรณาการระหว่างไทยกับจีนในสมัย สมัยธนบุรี มีนโยบายสนับสนุน กรุ ง รั ต นโกสิ น ทร์ ต ่ อ เนื่ อ งมาจนใน
สุโขทัย มีชา่ งจีนทีท่ างราชส�ำนักจีนส่งมา ให้ พ ่ อ ค้ า ชาวจี น มาติ ด ต่ อ ค้ า ขายและ รั ช สมั ย พระบาทสมเด็ จ พระนั่ ง เกล้ า
สอนช่างไทยท�ำเครื่องสังคโลก อย่างไร เข้ามาประกอบอาชีพค้าขายในเมืองไทย เจ้าอยูห่ วั (วิลาสวงศ์ ๒๕๔๘ : ๔๕) ดังนัน้
ก็ตาม ในสมัยนัน้ ชาวจีนยังไม่ได้เข้ามา จึ ง มี ช าวจี น เดิ น ทางมาค้ า ขายตามหั ว ในสมัยต้นรัตนโกสินทร์ ทางราชการไทย
ตั้งถิ่นฐานในเมืองไทย ส่วนใหญ่จะเป็น เมืองแถบชายทะเลตะวันออก กรุงธนบุรี จึ ง ไม่ มี น โยบายกี ด กั นชาวจี นที่ อ พยพ
พ่อค้าชาวจีนที่เดินเรือเข้ามาติดต่อค้าขาย และลงไปถึงหัวเมืองทางใต้ โดยเฉพาะ เข้ามาตั้งถิ่นฐานในเมืองไทย และจัดให้
ที่เมืองต่าง ๆ บริเวณรอบอ่าวไทยและ ที่กรุงธนบุรีมีชาวจีนแต้จิ๋วเข้ามาค้าขาย ชาวจีนเป็น “กลุ่มคนนอกระบบไพร่”
ที่เมืองสุโขทัยบ้าง และพ�ำนักอยู่เป็นจ�ำนวนมาก เนื่องจาก ต่างกับชาวมอญ ลาว ญวน และเขมร
ต่อมาในสมัยอยุธยา พ่อค้าชาวจีน สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชทรงมีเชื้อ ที่เข้ามาพ�ำนักอยู่ในไทย ดังนั้นชาวจีน
ทีเ่ ข้ามาค้าขายได้เข้ามาตัง้ ถิน่ ฐานและช่วย สายแต้จิ๋ว (Skinner 1957: 45-46) จึงไม่ต้องถูกเกณฑ์แรงงาน มีความเป็น
ด้านการค้าส�ำเภาของไทยด้วย ดังหลักฐาน ใน รั ช ส มั ย พ ร ะ บ า ท ส ม เด็ จ อิสระ สามารถประกอบอาชีพที่ตนถนัด
ที่ ป รากฏในรั ช สมั ย สมเด็ จ พระบรม- พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช การ และเดินทางไปค้าขายตามหัวเมืองต่าง ๆ
ไตรโลกนาถที่ ร ะบุ ห น้ า ที่ ร าชการค้ า ค้าขายระหว่างไทย-จีน เป็นแหล่งสร้าง ได้ ในสมัยนัน้ ทางราชการไทยก�ำหนดให้
*
บทความนี้ปรับปรุงจากการบรรยายผลงานทางวิชาการในที่ประชุมส�ำนักศิลปกรรม เมื่อวันที่ ๒๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๓

ประพิณ มโนมัยวิบูลย์
539
The Journal of the Royal lnstitute of Thailand

Volume 36 No. 4 Oct-Dec 2011

กรมท่าซ้ายดูแลชาวจีนที่มาตั้งถิ่นฐานใน ประเทศจีนในช่วงต้นรัตนโกสินทร์ยัง อพยพเข้ามาท�ำมาหากินแล้วก็มักตั้งหลัก


ไทยตามแบบสมัยอยุธยา และแต่งตั้งให้ ได้รับชาวจีนอพยพมากับเรือในเที่ยวขา ปักฐานและแต่งงานกับหญิงไทย จนผสม
พระยาโชดึกราชเศรษฐีเป็นเจ้ากรมท่าซ้าย กลับเป็นจ�ำนวนมาก เพื่อให้เรือส�ำเภาได้ กลมกลืนไปกับสังคมไทยในทีส่ ดุ ชาวจีน
ซึ่งมีหน้าที่ช่วยทางราชการไทยควบคุม บรรทุกเต็มระวางในเที่ยวขากลับจากจีน เหล่านีม้ คี วามขยัน อุตสาหะ อดทน หนัก
ดู แ ลชาวจี น ซึ่ ง เป็ น ผู ้ ค นพวกเดี ย วกั น และเป็นการเพิม่ รายได้จากค่าโดยสารของ เอาเบาสู้ ท�ำงานทุกอย่างตั้งแต่กุลี งาน
(วิลาสวงศ์ ๒๕๔๘ : ๔๙) ชาวจีนอพยพ ชาวจีนอพยพด้วย เหตุที่ในสมัยนัน้ มีชาว โยธา รับจ้างทัว่ ไป ขายแรงงานตามท่าเรือ
เหล่านี้ นอกจากช่วยในด้านการค้าส�ำเภา จีนเดินทางเข้ามาพ�ำนักในประเทศไทย และโรงสี ท�ำเหมืองแร่ ต่อเรือ เดินเรือ
ของหลวงแล้ว ยังใช้ความช�ำนาญและแรง จ�ำนวนมาก เพราะประชากรจีนในแถบ ค้าขาย ท�ำขนม ขายของช�ำ ไปเช่าที่จาก
กายประกอบอาชีพอืน่ ๆ เป็นต้นว่า พ่อค้า มณฑลชายฝั่งทะเลตะวันออกเฉียงใต้มี ชนชั้นสูงของไทยมาเป็นพื้นที่ท�ำไร่ท�ำ
ช่างฝีมือ และแรงงานรับจ้าง จ� ำ นวนเพิ่ ม ขึ้ น มากจนขยายพื้ นที่ เพาะ สวน แต่ไม่นยิ มท�ำนา สวนผักของชาวจีน
เมื่อมีชาวจีนอพยพเข้ามามากขึ้น ปลูกไม่ทันกับการขยายตัวของประชากร อพยพเหล่านี้ได้น�ำพืชผักของจีนมาปลูก
จึงมีการเก็บภาษีค่าแรงงานชาวจีนซึ่งมี นอกจากนี้ยังมีปัญหาบ้านเมืองของจีน จนเป็นทีร่ จู้ กั ทัว่ ไปของคนไทย เป็นต้นว่า
ขึน้ เป็นครัง้ แรกในรัชสมัยพระบาทสมเด็จ เองตั้งแต่ปัญหาสงครามฝิ่นระหว่างจีน ผักกาดขาว ผักคะน้า ผักกะหล�่ำปลี ผัก
พระพุทธเลิศหล้านภาลัย โดยเก็บค่าแรง กับอังกฤษ (พ.ศ. ๒๓๘๒-๒๓๘๕) กบฏ บุ้ง ผักกุยช่าย ทั้งยังน�ำมาท�ำเป็นอาหาร
งาน ๑ บาท ๒ สลึงต่อ ๓ ปี หรือต้อง ไท้ผิง (พ.ศ. ๒๓๙๑-๒๔๐๘) และภัย และขนมอาหารว่างทีค่ นไทยชืน่ ชอบ เช่น
ท�ำงานให้ทางราชการ ๑ เดือน ในเวลา จากธรรมชาติที่ก่อให้เกิดพืชผลเสียหาย ขนมกุยช่าย ผักกาดดอง เต้าหู้ เต้าเจีย้ ว วุน้
๓ ปี เมือ่ เสียค่าแรงงานให้แก่ทางราชการ ก่อให้เกิดความอดอยาก ท�ำให้ชาวจีน เส้น ขนมเปี๊ยะ ขนมโก๋ นอกจากพืชผัก
ไทยแล้ว ก็จะได้รับใบฎีกา และผูกข้อ ในภาคใต้ของจีนเดินทางอพยพไปโพ้น และอาหารแล้ว ชาวจีนทีเ่ ข้ามาตัง้ ถิน่ ฐาน
มือด้วยไหมสีแดงประทับครั่งที่เป็นตรา ทะเลมากขึ้น ชาวจีนที่เดินทางเข้ามาตั้ง ยังได้น�ำวัฒนธรรม วิถีชีวิต แนวคิด และ
ประจ�ำเมืองนั้น ๆ การเก็บภาษีค่าแรง ถิ่นฐานในเมืองไทยได้เพิ่มขึ้นอย่างมาก ขนบแบบแผนของสังคมชาวจีนเข้ามาสู่
งานลักษณะนี้เรียกว่า “การผูกปี้ข้อมือ ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้า ประเทศไทยด้วย
จีน” ซึง่ สังเกตเห็นได้งา่ ยว่าชาวจีนอพยพ เจ้าอยูห่ วั และเป็นชายจีนแทบทัง้ สิน้ เมือ่
ผู้ใดเสียภาษีค่าแรงงานแล้วด้วยมีไหมสี
แดงที่ข้อมือ และยังเป็นผลดีทั้งทางการ
ปกครองและทางเศรษฐกิจ คือ ท�ำให้ทาง
ราชการไทยรูจ้ ำ� นวนชาวจีนทีม่ าพ�ำนักอยู่
ในกรุงรัตนโกสินทร์และหัวเมืองต่าง ๆ
และท�ำให้ทางราชการไทยมีรายได้เพิ่ม
ขึน้ การผูกปีข้ อ้ มือจีนนีไ้ ด้ปฏิบตั ติ อ่ เนือ่ ง
ไปจนถึ ง ปลายรั ช สมัยพระบาทสมเด็จ
พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั จึงยกเลิกไปใน
พ.ศ. ๒๔๕๑ (วิลาสวงศ์ ๒๕๔๘ : ๔๙)
นอกจากการผูกปี้ข้อมือจีนที่ทาง
ราชการไทยได้รายได้จากชาวจีนอพยพ
แล้ว เรือส�ำเภาหลวงที่ออกไปค้าขายกับ

ชุมชนจีนในประเทศไทย : หลากหลายส�ำเนียงจีน
540
วารสารราชบัณฑิตยสถาน
ปีที่ ๓๖ ฉบับที่ ๔ ต.ค.-ธ.ค. ๒๕๕๔

ชาวจี น ที่ เ ข้ า มาตั้ ง ถิ่ น ฐานใน จนมีมากกว่าชาวจีนกวางตุ้ง แต่หลังจาก โดยประมาณ แสดงว่าในสมั ย รั ช กาล
ประเทศไทยตั้งแต่สมัยธนบุรีจนถึงสมัย เสียกรุงศรีอยุธยา (พ.ศ. ๒๓๑๐) จนถึง ที่ ๓ บางกอกมีคนจีนรวมร้อยละ ๔๗
รัตนโกสินทร์ ส่วนใหญ่มาจากมณฑล สมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น ชาวจีนแต้จิ๋ว (วิลาสวงศ์ ๒๕๔๘ : ๙)
กวางตุ้ง ฮกเกี้ยน และเกาะไหหล�ำ๑ (ดู ได้อพยพเข้ามาเป็นจ�ำนวนมากจนเป็น ชาวจีน ๓๖,๐๐๐ คนนี้ ส่วนใหญ่
แผนที่ประกอบ) ชุมชนจีนในสังคมไทย กลุ่มที่ใหญ่ที่สุดในกรุงเทพฯ และแถบ ตั้งถิ่นฐานในบริเวณส�ำเพ็ง ซึ่งกินพื้นที่
อาจจ� ำ แนกได้ ต ามกลุ ่ ม ภาษาถิ่ นที่ พู ด ที่ราบลุ่มภาคกลาง ตามมาด้วยชาวจีน ตัง้ แต่วดั สามปลืม้ (วัดจักรวรรดิราชาวาส)
เป็น ๕ กลุ่ม คือ กลุ่มที่พูดส�ำเนียงภาษา ไหหล�ำและแคะ (Skinner 1957: 40-41) ถึงวัดปทุมคงคา ส�ำเพ็งจึงเป็นชุมชนที่อยู่
จีนแต้จิ๋ว ฮกเกี้ยน แคะ กวางตุ้ง และ ไม่ มี ห ลั ก ฐานที่ เป็ นทางการว่ า ชาวจี น อาศัยและค้าขายของชาวจีนทุกกลุม่ ภาษา
ไหหล�ำ ชุมชนจีนในไทย ๕ กลุ่มภาษานี้ อพยพมี จ� ำ นวนเท่ า ใดในสมั ย แรกตั้ ง ที่มาตั้งถิ่นฐานในส�ำเพ็ง จากการส�ำรวจ
กลุ่มที่เดินทางเข้ามาในระยะแรกในสมัย กรุ ง รั ต นโกสิ นทร์ มี เพี ย งบั นทึ ก ของ ส�ำมะโนครัวในรัชสมัยพระบาทสมเด็จ
อยุธยา คือชาวจีนฮกเกี้ยนและกวางตุ้ง จาคอบ ทอมลิน (Jacob Tomlin) ทีก่ ล่าวว่า พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ปรากฏว่าใน
ในสมั ย นั้นชาวจี นที่ เดิ นทางมาค้ า ขาย ใน พ.ศ. ๒๓๗๐ บางกอกมีประชากร ร.ศ. ๑๒๘ (พ.ศ. ๒๔๕๒) มีชาวจีน
และตั้งถิ่นฐานในไทยกลุ่มใหญ่ที่สุดคือ ประมาณ ๗๗,๓๐๐ คน ในจ�ำนวนนี้เป็น อพยพในมณฑลกรุงเทพฯ แยกตามภาษา
ชาวจี น ฮกเกี้ ย น ซึ่ ง ได้ เพิ่ ม จ�ำ นวนขึ้ น ชาวจีน ๓๑,๐๐๐ คน และลูกจีน ๕,๐๐๐ คน จีนถิ่นที่พูดเป็น ๕ กลุ่ม ดังนี้ (สถาบัน
เอเชียศึกษา ๒๕๓๔ : ๒)
จ�ำนวนคน
ภาษาจีนถิ่น
ชาย หญิง รวม
แต้จิ๋ว ๗๘,๐๙๑ ๘,๒๐๗ ๘๖,๒๙๘
ฮกเกี้ยน ๑๙,๘๒๓ ๒,๓๖๗ ๒๒,๑๙๐
กวางตุ้ง ๒๕,๙๗๘ ๔,๑๕๑ ๓๐,๑๙๒
ไหหล�ำ ๑๒,๑๖๕ ๙๐๓ ๑๓,๐๖๘
แคะ ๙,๔๑๑ ๑,๔๐๙ ๑๐,๘๒๐
ที่มา: หอจดหมายเหตุแห่งชาติ. ร.๕ น. ๓๐/๙ ยอดส�ำมะโนครัว มณฑลกรุงเทพฯ ศก. ๑๒๘

ชาวจีนอพยพในกรุงเทพฯ ตาม ๘ และชาวจีนแคะร้อยละ ๖ การทีช่ าวจีน ชาวไทยจากพระมหากษั ต ริ ย ์ ไ ทย


ตารางข้ า งต้ น มี จ� ำ นวนรวมทั้ ง สิ้ น จากมณฑลแถบชายทะเลตะวั น ออก ทุ ก พระองค์ ดั ง พระราชด� ำ รั ส ของ
๑๖๒,๕๖๘ คน (ในจ�ำนวนนี้เป็นหญิง เฉียงใต้ของจีนพากันอพยพมาตั้งถิ่นฐาน พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่
เพียง ๑๗,๐๓๗ คน) คิดเป็นร้อยละโดย ในไทย คงเป็นเพราะความคล้ายคลึงของ หัวในพิธีเปิดโรงพยาบาลเทียนฟ้า ซึ่ง
ประมาณได้ดังนี้ ชาวจีนแต้จิ๋วร้อยละ สภาพภูมิประเทศ ภูมิอากาศ วิถีชีวิต ชาวจีนในไทยร่วมกันบริจาคทุนทรัพย์
๕๓ ชาวจีนฮกเกี้ยนร้อยละ ๑๔ ชาวจีน และศาสนา นอกจากนี้ยังได้รับพระมหา สร้างขึ้นใน พ.ศ. ๒๔๔๘ ว่า (วิลาสวงศ์
กวางตุง้ ร้อยละ ๑๙ ชาวจีนไหหล�ำร้อยละ กรุ ณ าธิ คุ ณ เฉกเช่ น เดี ย วกั บ พสกนิ ก ร ๒๕๔๘ : ๖๒)


ในบทความนี้ ค�ำภาษาจีนซึ่งเป็นที่คุ้นเคยของคนไทยจะให้เสียงอ่านตามที่คุ้นเคยกันอยู่แล้ว อย่างไรก็ตาม เมื่อเข้าสู่ส่วนที่กล่าวถึงชาวจีนทั้ง ๕ กลุ่มก็จะพิมพ์
อักษรจีนและสัทอักษรตามระบบเสียงภาษาจีนกลางไว้ในวงเล็บท้ายค�ำแต่ละค�ำเมื่อปรากฏเป็นครั้งแรก
ประพิณ มโนมัยวิบูลย์
541
The Journal of the Royal lnstitute of Thailand

Volume 36 No. 4 Oct-Dec 2011

“...ใช่ว่าแต่ตัวเราฤๅในเวลาปัจจุบันนี้ ถึง ตัง้ แต่ปลายรัชสมัยพระบาทสมเด็จ ก็ ยั ง มี จ�ำ นวนน้ อ ยกว่ า ชาวจี น แต้ จิ๋ ว ใน
พระเจ้าแผ่นดินอันเปนบรรพบุรษุ ของเรา พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั จ�ำนวนชาวจีน กรุงเทพฯ (Skinner 1958: 20)
แต่ในปางก่อนล่วงลับมาแล้วช้านาน ย่อม ที่เดินทางมาพึ่งพระบรมโพธิสมภารและ
ลงเห็นเปนอย่างเดียวยั่งยืนมาว่า พวกจีน มาตั้ ง หลั ก แหล่ ง ในไทยได้ ท วี จ� ำ นวน ชาวจีนแต้จิ๋ว
ทัง้ หลายซึง่ เข้ามาในกรุงสยามนีย้ อ่ มมาท�ำ ขึ้นทุกปี จนมีถึง ๒๖๕,๔๔๑ คน ใน แต้ จิ๋ ว หรื อ เฉาโจว ( 潮 州
การให้เปนความเจริญแก่แผ่นดินของเรา ย่านธุรกิจบริเวณส�ำเพ็งและพื้นที่อื่น ๆ Cháozhōu) ในภาษาจีนกลาง เป็นภาษาถิน่
เปนอันมาก เพราะเหตุฉะนัน้ พวกจีนจึง โดยรอบใน พ.ศ. ๒๔๙๗ (วิลาสวงศ์ ของชาวจี น แต้ จิ๋ ว ในมณฑลกวางตุ ้ ง
ได้รบั ความปกครอง ท�ำนุบ�ำรุงด้วยความ ๒๕๔๘ : ๗๐) อย่างไรก็ตาม ในช่วงหลัง (广东 Guangdōng) ทางใต้ของมณฑล
เอื้อเฟื้อเสมอเหมือนอย่างคนไทย ความ จ� ำ นวนชาวจี น ฮกเกี้ ย นและชาวจี น ฮกเกี้ยน (福建 Fújiàn) พื้นที่ที่ชาว
สนิทสนมในระหว่างพวกจีนกับราษฎร กวางตุง้ ได้ลดลงอย่างมาก (Skinner 1957: จีนแต้จิ๋วมีภูมิล�ำเนาอยู่ ด้านหน้าติดกับ
ของเราย่อมเปนอันหนึง่ อันเดียวกัน มิได้ 41) ท�ำให้ชาวจีนอพยพทั้ง ๕ กลุ่มนี้มี ทะเล ด้านหลังเป็นภูเขา ต้องเผชิญกับ
ถือว่าเปนคนมาแต่ต่างประเทศ เราย่อม การเปลี่ยนแปลงไปดังจ�ำนวนชาวจีนใน ภั ย ธรรมชาติ อ ยู ่ เป็ น ประจ� ำ ทั้ ง น�้ ำ ท่ ว ม
สังเกตอยู่ด้วยความยินดีว่า พวกจีนได้ กรุงเทพฯ ที่สกินเนอร์ให้ไว้เมื่อประมาณ น�้ำทะเลหนุน ฝนแล้ง และมีไอเค็มจาก
เข้ า มาในพระราชอาณาเขตทวี ขึ้ น โดย ปี ๒๕๐๐ ว่ามีชาวจีนแต้จิ๋วร้อยละ ๖๐ ทะเลที่ส่งผลต่อการท�ำนา จึงไม่ใช่พื้นที่
ล�ำดับ แต่มิได้มีความล�ำบากอันใดทวีขึ้น ชาวจีนแคะร้อยละ ๑๖ ชาวจีนไหหล�ำ ที่ดีนกั ประกอบกับพื้นที่เพาะปลูกและ
ในการปกครองรักษา ด้วยเหตุว่าพวกจีน ร้อยละ ๑๑ ชาวจีนกวางตุ้งร้อยละ ๗ ทีด่ นิ ท�ำกินก็มนี อ้ ย ผลผลิตทีไ่ ด้จากไร่นา
เปนคนมีความเพียรพยายาม ตั้งหน้าท�ำ ชาวจีนฮกเกีย้ นร้อยละ ๔ และชาวจีนทีไ่ ม่ มีไม่เพียงพอ จนทางการจีนต้องให้พ่อค้า
มาค้าขายโดยกวดขัน เมืองเรามีแต่แผ่น ได้อยู่ใน ๕ กลุ่มนี้อีกร้อยละ ๒ ดังนัน้ ส่งเรือส�ำเภามาซื้อข้าวจากสยาม จึงมี
ดินเปนอันมากซึ่งยังต้องการคนอันจะมา ชาวจีนแต้จิ๋วจึงเป็นกลุ่มที่ใหญ่ที่สุดใน พ่อค้าส�ำเภาและชาวจีนแต้จวิ๋ อพยพมาตัง้
ท�ำการให้เกิดผลทวียิ่งขึ้น เพราะฉะนัน้ กรุงเทพฯ และยังนับว่ามากที่สุดในโลก ถิ่นฐานที่กรุงศรีอยุธยาและแถบหัวเมือง
เมื่อพวกจีนเข้ามามากขึ้นเพียงใด เราก็ยิ่ง แม้แต่ที่เมืองซัวเถาซึ่งเป็นภูมิล�ำเนาเดิม ชายฝั่งทะเลตะวันออกตั้งแต่สมัยอยุธยา
เป็นที่พอใจ...” ตอนปลาย (วิลาสวงศ์ ๒๕๔๘ : ๒๒๘)

ชุมชนจีนในประเทศไทย : หลากหลายส�ำเนียงจีน
542
วารสารราชบัณฑิตยสถาน
ปีที่ ๓๖ ฉบับที่ ๔ ต.ค.-ธ.ค. ๒๕๕๔

เรือส�ำเภาของชาวจีนแต้จิ๋วที่เดิน ค่ายพม่าที่โพธิ์สามต้นแตกพ่ายไป เมื่อ ท�ำหอยดอง ปลาแห้ง บางกลุ่มที่ถนัด


ทางมาเมืองไทยเป็นส�ำเภาทีม่ หี วั เรือเป็นสี พระยาตากปราบดาภิเษกขึ้นเป็นกษัตริย์ เรื่ อ งการเกษตร ก็ ป ลู ก อ้ อ ยท� ำ น�้ ำ ตาล
แดงซึง่ เรียกตามส�ำเนียงแต้จวิ๋ ว่า อัง่ เถ่าจุง๊ แล้ว กรุงธนบุรีขาดแคลนก�ำลังคน จึงมี เช่ น เดี ย วกั บ ชาวจี น แต้ จิ๋ ว ซึ่ ง ถนัด เรื่ อ ง
(红头船 Hóóngtóóu chuáán) โดยออก ชาวจีนแต้จวิ๋ อพยพเข้ามาจ�ำนวนมาก บาง การเกษตรที่จันทบุรีก็ปลูกพริกไทยจน
เดิ นทางจากท่ า เรื อ จางหลิ น (樟林 ส่วนเข้าไปช่วยเดินเรือส�ำเภาหลวง ช่วย เป็นสินค้าขึ้นชื่อของเมืองนี้ พืชเกษตร
Zhanglíín) และท่าเรือซัวเถา (汕头 งานราชการ บางส่วนก็รับจ้างใช้แรงงาน ซึ่งชาวจีนแต้จิ๋วที่ตั้งถิ่นฐานที่กรุงธนบุรี
Shààntóóu) แล่นผ่านทะเลจีนใต้เข้าสู่อ่าว เป็นช่างฝีมือ ท�ำสวนท�ำไร่ และท�ำการค้า ปลูกกันมากคือ การท�ำสวนพลู เพื่อปลูก
ไทย แล้ ว มาขึ้ นที่ เมื องจันทบุรีซึ่งเป็น เล็ก ๆ (วิลาสวงศ์ ๒๕๔๘ : ๒๒๙) พลูขายกันอย่างเป็นล�่ ำ เป็นสั น จนได้
จุดแรกที่เรือจอด ดังนั้น ชาวจีนแต้จิ๋ว ชาวจีนแต้จิ๋วมีความถนัดในการ ชื่อว่า ตลาดพลู (วิลาสวงศ์ ๒๕๔๘ :
จ� ำ นวนมากจึ ง ตั้ ง ถิ่ นฐานอยู ่ ที่ จั นทบุ รี แล่นเรือและการท�ำประมง ดังนั้นจึงมี ๖๙-๗๑) นอกจากนี้ช าวจี น แต้ จิ๋ ว มั ก
ชุมชนชาวจีนที่เมืองนี้ได้ให้ความร่วมมือ ชาวจี น แต้ จิ๋ ว อพยพไปตั้ ง ถิ่ นฐานกั นที่ ท� ำ ธุ ร กิ จ การค้ า ด้ า นการค้ า ข้ า ว การ
อย่างดีเมื่อพระยาตากมายึดเมืองจันทบุรี ชลบุรซี งึ่ เป็นชุมชนประมง เพราะสามารถ ประกันภัย การธนาคาร โรงงานผลิตยาง
เป็นที่มั่น ท�ำให้พระยาตากสามารถต่อ ประกอบอาชีพที่มีความถนัดได้ดี จนมี (Area Handbook for Thailand 1968: 100)
เรือ รวบรวมก�ำลังคนและเสบียงอาหาร กิจการเรือประมง และกิจการทีเ่ กีย่ วเนือ่ ง
แล้วน�ำกองเรือเข้ามาทางเมืองธนบุรี มาตี กับการประมง เช่น โรงงานท�ำน�้ำปลา

พริกไทย
เนื่ อ งจากมี ช าวจี น แต้ จิ๋ ว เป็ น โดยการติดต่อค้าขาย จนกลายเป็นภาษา ค�ำยืมจากภาษาจีนฮกเกีย้ นร้อยละ ๒๔ ค�ำ
จ�ำนวนมากกว่าชาวจีนกลุ่มอื่น ๆ ใน ในวงการค้ า เพราะธุ ร กิ จ เรื่ อ งค้ า ขาย ยืมภาษาจีนแต้จวิ๋ และฮกเกีย้ น (แต้จวิ๋ และ
เมื อ งไทย ประกอบกั บ ความสั ม พั นธ์ ส่วนใหญ่อยู่ในมือชาวจีนแต้จิ๋ว ฮกเกีย้ นเป็นภาษาจีนถิน่ หมิน่ ใต้) ร้อยละ ๑
อันยาวนาน ชาวจีนแต้จิ๋วจึงมีความสนิท ค�ำยืมภาษาจีนในภาษาไทยมีคำ� ที่ และมีค�ำยืมที่ไม่สามารถระบุได้ว่าเป็น
ใกล้ ชิ ด กั บ คนไทยทั้ ง ด้ า นสั ง คมและ ยืมมาจากภาษาจีนแต้จิ๋วเป็นจ�ำนวนมาก ค�ำยืมภาษาจีนแต้จวิ๋ หรือภาษาจีนฮกเกีย้ น
วัฒนธรรมจนเป็นเหมือนสื่อกลางในการ จากการศึกษาเรือ่ ง ค�ำยืมภาษาจีนในภาษา ประมาณร้อยละ ๑๙ ที่เหลืออีกร้อยละ
ถ่ายทอดวัฒนธรรมจีนหลาย ๆ อย่างให้แก่ ไทยปัจจุบนั ทีร่ วบรวมได้ประมาณ ๕๐๐ ค�ำ ๑๒ เป็นค�ำยืมจากภาษาจีนส�ำเนียงอื่น ๆ
สังคมไทย ทีเ่ ห็นได้อย่างชัดเจนคือ ภาษา ปราณี กายอรุณสุทธิ์ (๒๕๒๖ : ๓๒๐) พบ เช่น ภาษาจีนกวางตุ้ง ภาษาจีนไหหล�ำ
จี น ส� ำ เนี ย งแต้ จิ๋ ว ที่ เข้ า มาในภาษาไทย ว่าเป็นค�ำยืมจากภาษาจีนแต้จวิ๋ ร้อยละ ๔๔ ภาษาจีนแคะ ภาษาจีนกลาง

ประพิณ มโนมัยวิบูลย์
543
The Journal of the Royal lnstitute of Thailand

Volume 36 No. 4 Oct-Dec 2011

ชาวจีนแคะ ฝูเจี้ยน) กวางตุ้ง (广东 Guǎngdōng เพื่อจัดสร้างบ้านใหม่ให้ลูกหลานแยก


ชาวจีนแคะ หรือ เค่อเจียเหริน กว่างตง) และทางใต้ของเจียงซี (江西 ครอบครัวไปอยู่ บ้านพักที่สร้างใหม่ก็ยัง
(客家人 Kèèjiaréén) ในภาษาจีนกลาง Jiangxī) หู ห นาน ( 湖南 Húnán) คงสร้างเป็นลักษณะป้อมค่ายเหมือนเดิม
เดิมมาจากมณฑลกวางตุ้ง โดยผู้อพยพ และกวางสี (广西 Guǎngxī กว่างซี) (วรศักดิ์ ๒๕๔๘ : ๑๘, ๓๖-๓๗, ๖๔-๖๖
ชาวจีนแคะทีล่ งเรือมาเมืองไทยส่วนใหญ่ โดยอพยพไปเป็นระลอกใหญ่ และเดิน ชาวจีนแคะที่อพยพลงใต้ไปทาง
เป็ น พวกที่ มี ภู มิ ล� ำ เนาอยู ่ ที่ เหมย์ เ สี้ ย น ทางไปด้วยกันในลักษณะกองคาราวาน ตะวันออกรุน่ แรก ๆ นัน้ ได้ไปตัง้ ถิน่ ฐาน
(梅县Méié Xiààn) (วรศักดิ์ ๒๕๔๘ : ๕๐) ขนาดใหญ่ เมื่อพบท�ำเลที่ดีก็จะปักหลัก อยู่ทางตะวันออกเฉียงเหนือของมณฑล
ชาวจีนแคะมีภูมิล�ำเนาเดิมอยู่ทาง ปักฐานอยู่ด้วยการสร้างที่พักอาศัยที่มีรูป กวางตุ้งแถบที่ปัจจุบันเป็นอ�ำเภอเฟิงฉุ้น
แถบลุ่มน�้ำฮวงโห (黄河 Huááng Héé แบบโครงสร้างคล้ายป้อมค่ายหรือป้อม (丰顺县 Fēngshùùn Xiààn) อ�ำเภอ
หรือแม่น�้ำเหลือง) บริเวณที่ปัจจุบันเป็น ปราการเพือ่ ป้องกันมิให้ใครคุกคาม ทีพ่ กั ต้าปู้ (大埔县 Dàbà ùù Xiààn) และอ�ำเภอ
มณฑลชานซี (山西 Shanxī) เหอเป่ย์ อาศัยจะมีพื้นที่ค่อนข้างกว้าง เพราะลูก เหมย์ (梅县Mééi Xiààn) เนื่องจากเป็น
( 河 北 H é é b ě i) ชานตง ( 山 东 หลานเครือญาติเดียวกันจะอยู่รวมกันใน คนอพยพต่างถิ่นที่ไปตั้งถิ่นฐานอยู่ใหม่
Shandōng) เหอหนาน (河南 Hénáán) เรือนพักเดียวกัน เมื่อมีสมาชิกเพิ่มมาก ในพื้นที่ที่มีเจ้าของถิ่นอยู่มาก่อนแล้ว จึง
หูเป่ย์ (湖北 Húúběi) และอานฮุย (安徽 ขึ้นจนพื้นที่เดิมในตัวบ้านแออัดไม่พอที่ ได้รับการเรียกขานจากเจ้าถิ่นเดิมว่าเป็น
Anhuī) ต่อมาได้อพยพไปตั้งถิ่นฐานทาง จะรองรับจ�ำนวนสมาชิกเพิ่มได้อีก จึงจะ เค่อเจีย (客家 Kèjiā) ค�ำ 客 kè เมื่อ
ตะวันออกเฉียงใต้และภาคใต้ของประเทศ แยกบ้านออกไป โดยหัวหน้าครอบครัว อ่านตามส�ำเนียงภาษาแต้จิ๋วจะออกเสียง
เช่น มณฑลฮกเกี้ยน (福建 Fúújiààn จะไปจัดหาที่ทางที่อยู่ไม่ไกลจากจุดเดิม ว่า แขะ และเมื่ออยู่หน้าค�ำ นัง้ (人 réén)

ชุมชนจีนในประเทศไทย : หลากหลายส�ำเนียงจีน
544
วารสารราชบัณฑิตยสถาน
ปีที่ ๓๖ ฉบับที่ ๔ ต.ค.-ธ.ค. ๒๕๕๔

ก็ ต ้ อ งกลายเสี ย งวรรณยุ ก ต์ ต ามระบบ ไปทางภาคเหนือ คือกลุ่มที่ไปกับการ อีกหลาย ๆ อย่าง คือ เต้าหูย้ ดั ไส้ ไก่อบเกลือ
เสียงภาษาแต้จิ๋วโดยออกเสียงรวมกันว่า สร้างทางรถไฟและถนนที่สร้างไปทาง ผั ด เปรี้ ย วหวานกระเพาะหมู ห รื อ ไส้
แคะนัง้ (= คนแคะ) ด้วยเหตุนคี้ นไทยจึง ภาคเหนือถึงล�ำปางในรัชสมัยพระบาท หมูตัน ลูกชิ้นหมู เนื้อตุ๋นจีนแคะที่ใส่
ใช้คำ� ว่า “แคะ” ในการเรียกชาวจีนกลุม่ นี้ สมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โดย เครื่ อ งในวั ว และเนื้ อ ผั ด ขิ ง หรื อ มะระ
ด้วย (วรศักดิ์ ๒๕๔๘ : ๑๒-๑๓) ไปพ�ำนักอยู่ที่ล�ำปางก่อน หลังจากนั้น (วรศักดิ์ ๒๕๔๘ : ๑๒๔-๑๓๒)
ชาวจี น แคะบางกลุ ่ ม อพยพมา จึงขยายไปสู่จังหวัดใกล้เคียง เช่น น่าน แม้ว่าชาวจีนแคะจะเป็นนักเดิน
เมืองไทยโดยเดินทางมากับชาวจีนแต้จิ๋ว เชียงราย แพร่ จนจังหวัดทั้งสี่นี้มีชาวจีน ทางอพยพมาแต่อดีต มีวถิ ชี วี ติ แบบเร่รอ่ น
แล้วตั้งถิ่นฐานอยู่ทางภาคกลางและภาค แคะชุ ม ชนใหญ่ (วรศั ก ดิ์ ๒๕๔๘ : แต่ก็มีอัตลักษณ์ซึ่งเป็นที่ยอมรับกันใน
กลางตอนบนของไทย งานอาชีพที่ถนัด ๑๔๖-๑๔๗) หมู่ชาวจีนทั่วไปว่า ชาวจีนแคะเป็นพวก
คือ งานช่างฝีมือ เช่น ช่างฟอกหนัง ช่าง เมื่ อ แรกอพยพมาเมื อ งไทยชาว ที่ชอบเก็บตัว ใฝ่ศึกษาหาความรู้ และ
ท�ำเครื่องหนัง ช่างท�ำรองเท้า ช่างตัดผม จีนแคะบางกลุ่มเดินทางมากับเรือของ ยึดมัน่ ในจารีตประเพณีของตน เป็นต้นว่า
ช่างตัดเสื้อผ้าบุรุษ ช่างเงิน ช่างเหล็ก ชาวจี น ฮกเกี้ ย นไปขึ้ น บกที่ ท างใต้ ประเพณีการตั้งชื่อชาวจีนแคะที่ต่างจาก
ช่างเชือ่ ม เมือ่ มีหลักฐานฐานะดีกม็ กี จิ การ ของไทย และไปตั้งถิ่นฐานอยู่ตามเมือง ชาวจีนกลุ่มอื่น ๆ คือ ไม่ตั้งชื่อเด็กทารก
เป็นของตนเอง เป็นเจ้าของโรงงานฟอก ส�ำคัญ ๆ โดยเฉพาะที่สงขลา มีชุมชน จนกว่าจะถึงวันที่สามนับจากวั นที่ เด็ ก
หนัง เจ้าของโรงงานผลิตยาสูบ เจ้าของ ชาวจี น แคะที่ ห าดใหญ่ ซึ่ ง เป็ น ชุ ม ชน ทารกคลอดจากครรภ์มารดา (วรศักดิ์
ร้านตัดเสื้อผ้าบุรุษ เจ้าของร้านค้าของช�ำ ชาวจีนแคะที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย ๒๕๔๘ : ๙๘, ๑๘๘)
เมื่อถึงรุ่นลูกรุ่นหลานก็ขยายไปสู่อาชีพ ชาวจี น แคะที่ ภ าคใต้ ป ระกอบอาชี พ แซ่บางแซ่เป็นแซ่เฉพาะของชาว
อื่น ๆ เช่น ผู้ได้รับการศึกษาก็ไปเป็น ท�ำสวนยางพารา เป็นเจ้าของสวนยาง จีนแคะ ดังนั้นแม้จะเป็นแซ่ซึ่งไม่ค่อย
นักหนังสือพิมพ์ นักวิชาการ ครูอาจารย์ เจ้าของร้านอาหาร (วรศักดิ์ ๒๕๔๘ : ได้ยินบ่อยมาก แต่เมื่อเอ่ยขึ้นมาก็จะรู้กัน
และข้าราชการ (วรศักดิ์ ๒๕๔๘ : ๑๕๖) ๑๕๗) ในหมู่คนจีนว่าเป็นแซ่ของชาวจีนแคะ
ชาวจี น แคะทางภาคกลางของไทยอยู ่ อาหารที่ ขึ้ นชื่ อ ของชาวจี น แคะ เป็นต้นว่า แซ่ชวิ (丘 Qiū) แซ่วู (巫Wū)
กระจายกันไปเหมือนจีนกลุ่มภาษาพูด และเป็ นที่ นิ ย มทั่ ว ไปในเมื อ งไทย คื อ แซ่ลี่ (利 Lìì) เช่นเดียวกับ แซ่ยฺหวิน
อื่น ๆ แต่จังหวัดที่มีชุมชนชาวจีนแคะ ก๋วยเตีย๋ วแคะทีใ่ ส่ลกู ชิน้ ทีเ่ ป็นเต้าหูย้ ดั ไส้ (云 Yún) และแซ่ฝู (符 Fú) ที่เอ่ยขึ้น
เป็ น กลุ ่ ม ใหญ่ คื อ จั ง หวั ด กาญจนบุ รี และลูกชิ้นอื่น ๆ อีกหลายอย่าง อาหาร มาก็จะรู้กันว่าเป็นแซ่ของคนไหหล�ำ
ชาวจีนแคะอีกกลุ่มหนึ่งซึ่งย้ายถิ่นฐาน จานโปรดของชาวจีนแคะที่เรารู้จักกันดี

ประพิณ มโนมัยวิบูลย์
545
The Journal of the Royal lnstitute of Thailand

Volume 36 No. 4 Oct-Dec 2011

Hainanese emigrant area. The native places of practically all overseas Hainanese in the northeast part of the island enclosed by
the dashed line (Skinner 1957: 38)

ชาวจีนไหหล�ำ โผ่โต้วเบี่ยว (婆主庙 Póózhu Miàào) ในระยะแรก ชาวจี น ไหหล� ำ ที่


ชาวจี น ไหหล� ำ หรื อ ไห่ ห นาน และศาลเจ้าแม่ทับทิม (石榴娘娘 อพยพมานั้น มี ฐ านะยากจน ไม่ มี วิ ช า
(海南 Hainán) ในภาษาจี นกลาง 庙Shílí iu Niáná gniang Miàoà ) ชาวไหหล�ำ ความรู้อื่นนอกจากการท�ำเกษตร จึงมัก
ส่ ว นใหญ่ อ พยพมาจากทางตะวั น ออก นับถือเจ้าแม่ทบั ทิม ซึง่ เป็นเทพีแห่งความ ประกอบอาชีพที่ใช้แรงงาน และได้รวม
เฉียงเหนือของมณฑลไหหล�ำซึง่ เป็นเกาะ เมตตาการุณย์ที่คอยช่วยคุ้มครองให้พ้น ตัวกันเพือ่ ช่วยเหลือสงเคราะห์กนั ในกลุม่
ความที่เป็นชาวเกาะจึงมีความเชี่ยวชาญ จากภัยพิบัติ ก่อนลงเรือเดินทางไปเมือง คนของตนเอง เช่นเดียวกับชาวจีนอพยพ
ด้านการประมงและการเดินเรือ นอกจาก ไทย ชาวจีนไหหล�ำจะกราบไหว้ขอพร กลุ่มแต้จิ๋วและฮกเกี้ยน ชาวจีนไหหล�ำ
นีก้ ็มีความช�ำนาญด้านการเกษตร ป่าไม้ เจ้ า แม่ ทั บ ทิ ม ให้ เดิ นทางโดยปลอดภั ย ผู้ประกอบอาชีพที่ใช้แรงงานได้รวมตัว
และโรงเลื่ อ ย เมื่ อ เดิ นทางมาไทยก็ ตั้ ง รอดพ้นจากภัยพิบัติตลอดการเดินทาง กันเป็นสมาคมเข่งดาว (琼岛会所
ถิ่นฐานอยู่ตามชายฝั่งทะเล และที่ราบลุ่ม เมื่อถึงเมืองไทยแล้ว ยังสร้างศาลเจ้าแม่ Qióóng Dao Huììsuo) ส่วนผู้ที่ประกอบ
ริมแม่น�้ำสายต่าง ๆ เช่น แถบปากน�้ำโพ ทับทิมขึ้นเป็นที่กราบไหว้บูชาและเป็น อาชีพด้านร้านอาหาร โรงแรมและงาน
นครสวรรค์ บางส่วนเดินทางต่อขึน้ เหนือ ที่พึ่งทางใจ ศาลเจ้าแม่ทับทิมของชาว บริการในภัตตาคารและโรงแรมก็รวม
ไปท�ำป่าไม้สักในภาคเหนือ เป็นต้นว่าที่ ไหหล�ำที่เก่าและใหญ่ที่สุดในเมืองไทย ตัวกันเป็นสมาคมวุ้ยบ่วนเต้ (会文社
ล�ำปาง ชุมชนไหหล�ำที่ปากน�้ำโพเป็น คือ ศาลเจ้าแม่ทบั ทิมทีส่ ามเสน (วิลาสวงศ์ Huììwéén Shèè) สมาคมทั้งสองนีจ้ ะช่วย
ชุ ม ชนที่ ใหญ่ แ ละมี ศาลเจ้าของชาวจีน ๒๕๔๘ : ๒๔๐-๒๔๑) เหลือสงเคราะห์ชาวจีนไหหล�ำที่เพิ่งเดิน
ไหหล�ำที่เป็นที่เคารพนับถือ คือ ศาลเจ้า ทางมาถึงเมืองไทยในด้านต่าง ๆ โดย

ชุมชนจีนในประเทศไทย : หลากหลายส�ำเนียงจีน
546
วารสารราชบัณฑิตยสถาน
ปีที่ ๓๖ ฉบับที่ ๔ ต.ค.-ธ.ค. ๒๕๕๔

เฉพาะสมาคมวุย้ บ่วนเต้จะช่วยเหลือตัง้ แต่ นอกจากนี้ ชาวจีนไหหล�ำยังถนัด หุ่นมีกระบอกเป็นแกนเลียนแบบไหหล�ำ


การหาที่พ�ำนัก การเรียนรู้อาชีพ และ ในการประกอบอาชีพอื่น ๆ เช่น เป็นช่าง เวลาแสดงหุน่ นายเหน่งเป็นผูร้ อ้ งและเชิด
หางานให้ท�ำในลักษณะระบบอุปถัมภ์ ตัดเสื้อบุรุษ ช่างทอง ช่างท�ำเครื่องเรือน หุ่นเอง นายเหน่งมีเพื่อนชื่อตาตัด ที่เคย
สมาคมทั้งสองนี้ได้รวมเข้าด้วยกันเป็น และเป็นเจ้าของกิจการต่าง ๆ เช่น โรงเลือ่ ย เชิดหุ่นอยู่กับนายเหน่ง แต่ภายหลังแยก
สมาคมไหหน�ำแห่งประเทศไทย (泰国 โรงแรม โรงน�้ำแข็ง ร้านกาแฟ ตัวไปตัง้ คณะหุน่ ของตนเองทีบ่ า้ นเดิมใน
海南会馆 Tààiguóó Haináná Huìgì uan) ศิ ล ปะการแสดงของชาวจี น จังหวัดพิจติ ร ตัง้ ชือ่ คณะหุน่ ว่า คณะตาตัด
หลังสงครามโลกครั้งที่ ๒ (วิลาสวงศ์ ไหหล�ำที่มีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับหุ่น ใน พ.ศ. ๒๔๓๕ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์
๒๕๔๘ : ๒๔๐) กระบอกไทย คือ หุน่ ไหหล�ำ ซึง่ จัดแสดง เธอ กรมพระยาด�ำรงราชานุภาพ เสด็จไป
ชาวจีนไหหล�ำที่มีความถนัดเรื่อง กันในงานเทศกาลประจ�ำปีที่ศาลเจ้าแม่ ทรงตรวจราชการหัวเมืองภาคเหนือ ใน
ท�ำอาหารได้ท�ำอาหารไหหล�ำขายจนเป็น ทับทิม หรือบางคราก็จัดแสดงเป็นการ ครั้งนัน้ หม่อมราชวงศ์เถาะ พยัคฆเสนา
ที่รู้จักทั่วไป อาหารไหหล�ำซึ่งเป็นที่นิยม แก้บนในหมู่ชาวจีนไหหล�ำ หุ่นไหหล�ำ ซึ่งเป็นพี่เลี้ยงพระโอรสเสด็จในกรมฯ
กันมากทัง้ ในชุมชนจีนเองและชุมชนไทย โดยทั่วไปจะแสดงเรื่องชีวิตรัก โศก แต่ ซึ่งตามเสด็จไปด้วย ได้เห็นการแสดง
คือ ข้าวมันไก่ ขนมจีนไหหล�ำ จับฉ่าย มักลงเอยด้วยความสุข เช่น เรือ่ งชายหนุม่ หุ ่ นกระบอกของคณะตาตั ด ที่ ผู ้ ส� ำ เร็ จ
ไหหล�ำ ข้าวต้มไหหล�ำซึ่งเป็นข้าวต้ม ที่เดินทางไปสอบจอหงวน ท่วงท�ำนอง ราชการเมืองสุโขทัยจัดหามาแสดงให้
เนื้อที่แก่พริกไทยและขิง ซาลาเปาไส้ถั่ว เพลงที่เล่นประกอบจะอ่อนหวานและ ชม หม่อมราชวงศ์เถาะเกิดติดใจคิดจะ
และขนมบัวะเกีย่ (糕子 gāozi) เนือ่ งจาก นิยมใช้เครื่องดนตรีประเภทซอสองสาย เล่นหุ่นกระบอกบ้าง และได้ทูลขอเงิน
พ่ อ ครั ว ไหหล� ำ รุ ่ น แรก ๆ มั ก ท� ำ งาน ปี่ ฆ้อง และกลอง (วิลาสวงศ์ ๒๕๔๘ : จากสมเด็ จ พระเจ้ า บรมวงศ์ เ ธอ กรม
เป็นพ่อครัวตามบ้านชาวตะวันตกแถบ ๒๔๓) พระยาด�ำรงราชานุภาพ เพื่อน�ำไปท�ำหุ่น
บางรัก สาทร และสีลม จึงมีความช�ำนาญ ความสัมพันธ์ของหุ่นไหหล�ำกับ กระบอก ดังนัน้ ประมาณ พ.ศ. ๒๔๓๖
ในการปรุงอาหารฝรัง่ ด้วย พ่อครัวเหล่านี้ หุน่ กระบอกไทยนัน้ จักรพันธุ์ โปษยกฤต จึงเกิดหุ่นกระบอกที่เรียกว่า หุ่นคุณเถาะ
เมือ่ มีฐานะจนสามารถมีกจิ การร้านอาหาร ได้กล่าวไว้เมื่อเล่าถึงประวัติความเป็น ที่กรุงเทพฯ (วิลาสวงศ์ ๒๕๔๘ : ๒๔๓)
ของตนเองก็ได้น�ำความรู้ใหม่ ๆ ในการ มาของหุ่นกระบอกไทยว่า ในรัชสมัย
ท�ำอาหารฝรั่งมาประยุกต์ท�ำเป็นอาหาร พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั
ฝรั่งแบบไหหล�ำ จนเป็นที่นิยมของลูกค้า ทีจ่ งั หวัดนครสวรรค์ มีชาวอ�ำเภอโกรกพระ
ที่ขึ้นชื่อคือ เนื้ออบและซีเต๊ก (Steak) ที่ คนหนึง่ ชื่อ นายเหน่ง นายเหน่งผู้นี้ได้ไป
น�ำเนื้อบดมาทอดราดเกรวี่ (วิลาสวงศ์ เห็นการแสดงหุน่ ไหหล�ำ มีความชืน่ ชอบ
๒๕๔๘ : ๒๔๒) จึงได้แกะหุ่นที่มีหัวหุ่นแบบไทย แต่ตัว

ประพิณ มโนมัยวิบูลย์
547
The Journal of the Royal lnstitute of Thailand

Volume 36 No. 4 Oct-Dec 2011

Cantonese emigrant area. The native places of practically all overseas Cantonese are in the delta area
enclosed by the dashed line (Skinner 1957: 34)

ชาวจีนกวางตุ้ง ชาวจีนกวางตุ้งเมื่อแรกอพยพมา ต่อมาเมื่องานอู่เรือลดน้อยลง ชาวจีน


ชาวจีนกลุ่มแรก ๆ ที่เดินทางมา เมื อ งไทยมั ก ประกอบอาชี พ ที่ ต นถนัด กวางตุ้งก็ใช้ฝีมือช่างกลึงไปรับงานกลึง
เมืองไทยคือ ชาวจีนฮกเกี้ยน (福建 ตามที่เคยท�ำเมื่ออยู่เมืองจีน ประเภทงาน จากโรงงานอุตสาหกรรมและโรงสีทตี่ อ้ ง
Fújiàn ) และชาวจี นกวางตุ ้ ง ( 广东 ช่างหรืองานฝีมือ โดยเฉพาะด้านการท�ำ ใช้เครือ่ งจักรกล หลายคนใช้ความช�ำนาญ
Guangdōng) โดยเดินทางมาค้าขายตั้งแต่ อาหาร ในระยะแรกชาวจีนกวางตุง้ จึงมัก งานกลึงจนประสบความส�ำเร็จมีโรงกลึง
สมัยอยุธยา เพราะทั้งมณฑลกวางตุ้งและ ประกอบอาชีพการท�ำอาหาร และงานช่าง เป็นของตนเอง และมีชาวจีนกวางตุง้ ด้วย
ฮกเกี้ยนเป็นมณฑลที่ติดทะเลจีนใต้ จึง กลึงซึง่ เป็นงานฝีมอื ทีท่ ำ� ครัง้ ทีอ่ ยูก่ วางตุง้ กันประกอบอาชีพช่างกลึงตาม จนเป็น
ช�ำนาญการเดินเรือและเดินเรือออกนอก ซึ่งเป็นเมืองท่าส�ำคัญของจีนทางใต้ที่มี อาชีพเฉพาะในกลุ่มชาวจีนกวางตุ้ง (ยุวดี
ประเทศได้สะดวก เส้นทางเรือที่ชาวจีน อู่เรือและมีการสร้างซ่อมเรือ เช่น การ ๒๕๔๓ : ๖๓-๖๕)
กวางตุ้งเดินทางมาเมืองไทยนัน้ เป็นเส้น ประกอบเรือ บ�ำรุงรักษาและซ่อมแซม ชาวจีนกวางตุ้งเป็นคนที่ถนัดด้าน
ทางเดียวกับชาวจีนแต้จิ๋ว และมาขึ้นบก เรือ ชาวจีนกวางตุง้ จึงช�ำนาญงานช่างกลึง ช่าง งานฝีมือ และน� ำความสันทัดทั้ง
ตามหัวเมืองใหญ่และเมืองในภาคกลาง ตัง้ แต่งานด้านหล่อโลหะ งานเชือ่ มโลหะ ๒ ด้านนี้มาใช้ในการปรุงอาหาร จนเป็น
ชาวจีนกวางตุ้งในสมัยแรกที่มาค้าขายได้ งานประกอบและขึ้นรูป ชาวจีนกวางตุ้ง ที่ยอมรับว่าอาหารกวางตุ้งนั้นเป็นเลิศ
ตั้งถิ่นฐานอยู่ในตัวเมืองอยุธยา และตาม ที่ ถ นัด งานกลึ ง มั ก เป็ น แรงงานรั บ จ้ า ง เรื่องรสชาติ ดังค�ำกล่าวในหมู่ชาวจีนว่า
เมืองในภาคกลางตามชายฝั่งทะเลอ่าว ตามอู ่ เรื อ ของฝรั่ ง ที่ เ ข้ า มาเปิ ด กิ จ การ “อาหารการกิ นต้ อ งที่ ก วางโจว ที่ อ ยู ่
ไทย ต่อมาในช่วงหลังสงครามโลกครั้ง อู ่ เ รื อ ริ ม แม่ น�้ ำ เจ้ า พระยาตามถนน อาศัยต้องที่หังโจว หากจะมีเมียต้องที่
ที่ ๑ และครั้งที่ ๒ เมื่อพรรคก๊กมินตั๋ง เจริญกรุงในสมัยต้นรัตนโกสินทร์ ดังนัน้ ซูโจว เมื่อจะตายต้องไปหลิ่วโจว” (食
พ่ายพรรคคอมมิวนิสต์ ชาวจีนกวางตุ้งก็ ชาวจีนกวางตุ้งจึงมักตั้งบ้านเรือนแถว 在广州, 居在杭州, 娶在
อพยพมาเมืองไทยเป็นระลอกใหญ่ ถนนสาทร บางรัก ตรอกซุง ตรอกไก่ 苏州, 死在柳州)
(ยุวดี ๒๕๔๓ : ๓๓)

ชุมชนจีนในประเทศไทย : หลากหลายส�ำเนียงจีน
548
วารสารราชบัณฑิตยสถาน
ปีที่ ๓๖ ฉบับที่ ๔ ต.ค.-ธ.ค. ๒๕๕๔

การประกอบอาชี พ ด้ า นอาหาร วัดเกาะหรือวัดสัมพันธวงศ์ เวลาแขกมา (Van Vliet) ระบุว่า พ่อค้าส�ำเภาจีน


จึงเป็นอาชีพหลักอีกอาชีพหนึง่ ของชาว ใช้บริการ ก็จะชงน�้ำชาไว้บริการพร้อม กลุ่มแรก ๆ ที่เข้ามาค้าขายที่สยามนั้น
จีนกวางตุ้ง และหลายคนกลายเป็นคน ขนม ดังนัน้ จึงเรียกหญิงเหล่านีว้ า่ “ผูห้ ญิง มาจากเมืองท่าใหญ่ของมณฑลฮกเกี้ยน
มีฐานะจนเป็นเจ้าของกิจการร้านอาหาร หย�ำฉ่า 饮茶女 yǐnchá nǚ” (ยุวดี คือ เอ้หมึง (厦门 Xiàmén) ชาวจีน
และภัตตาคารซึง่ ได้รบั ความนิยมจากชาว ๒๕๔๓ : ๑๓๓-๑๓๔) ที่ตั้งถิ่นฐานที่กรุงศรีอยุธยามักตั้งบ้าน
กรุงเทพฯ เช่น อาหารกวางตุ้งประเภท หญิงชาวกวางตุ้งบางส่วนอพยพ เรือนที่ย่านในไก่ ย่านป้อมเพชร และ
ติ่มซ�ำ โจ๊ก บะหมี่กวางตุ้ง และน�ำเครื่อง เข้ามาท�ำงานรับจ้างเป็นลูกมือช่วยงาน แพหน้ า วั ด พนั ญ เชิ ง ประกอบอาชี พ
ปรุงใหม่ ๆ เข้ามา ท�ำให้คนไทยรู้จักซีอิ๊ว บ้านในบ้านของนักธุรกิจโพ้นทะเล ซึ่ง เป็นพ่อค้า ช่างฝีมือ เกษตรกรเลี้ยงหมู
ขาว เต้าเจีย้ ว และน�ำ้ มันหอย โรงงานซีอวิ๊ เป็นที่นิยมและผูกขาดอยู่ในวงหญิงชาว นักแสดงงิ้ว แพทย์จีน และรับราชการ
ขาวที่ตั้งขึ้นแห่งแรกเมื่อ พ.ศ. ๒๔๕๕ ที่ กวางตุ้งที่เรียกอาชีพนี้ว่า “อาส�ำ 阿三 (วิลาสวงศ์ ๒๕๔๘ : ๗๑)
แถวสะพานขาว ซึ่งยังเป็นแถบชานกรุง ā sān” ซึ่งหมายถึงอาชีพแม่บ้าน อาส�ำที่ มี ห ลั ก ฐานว่ า ชาวจี น ฮกเกี้ ย น
ในสมั ย นั้น ก็ เป็ นของชาวจี นกวางตุ ้ ง ช�ำนาญงานต้องดูแลความเรียบร้อยและ เดินทางมาเมืองไทยด้วยเรือส�ำเภาที่หัว
(ยุวดี ๒๕๔๓ : ๘๘-๙๐) การท�ำงานของคนรับใช้ทั้งหมดในบ้าน เรื อ เป็ น สี เ ขี ย ว หรื อ แชเถ่ า จุ ๊ ง โดย
ชาวจีนอพยพที่เข้ามาที่เมืองไทย ของผู้เป็นนาย ที่ส�ำคัญคือต้องมีฝีมือการ ออกเดินทางจากท่าเรือเอ้หมึงที่มณฑล
หากคิดอัตราร้อยละในกลุ่มของตนแล้ว ปรุงอาหาร เพราะอาหารประจ�ำวันและ ฮกเกีย้ นแล่นผ่านทะเลจีนใต้เข้าสูอ่ า่ วไทย
หญิงชาวกวางตุ้งมีจ�ำนวนมากกว่ากลุ่ม งานเลี้ยงต่าง ๆ ที่จัดขึ้นในบ้านล้วนอยู่ บางส่วนขึ้นฝั่งที่หัวเมืองชายทะเลแถบ
ส�ำเนียงภาษาอื่น คือ ประมาณร้อยละ ในความรับผิดชอบของอาส�ำ อย่างไร ตะวันออกของไทยและตัง้ ถิน่ ฐานทีต่ ราด
๒๐ ของจ�ำนวนชายชาวกวางตุ้ง โดย ก็ตามหลังจากผูอ้ พยพรุน่ แรก ๆ แล้ว ก็ไม่ จันทบุรี ระยอง ชลบุรี ฉะเชิงเทราและ
เดิ นทางเข้ า มาค่ อ นข้ า งมากในรั ช สมั ย เป็นอาชีพที่นิยมของหญิงชาวกวางตุ้งอีก แถบลุ่มน�้ำเจ้าพระยา บางส่วนเดินเรือ
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั นอกจากนีอ้ าชีพทีห่ ญิงชาวกวางตุง้ มักท�ำ ต่อไปทางใต้เลียบชายฝั่งทะเลตะวันออก
เมือ่ การคมนาคมและสาธารณูปโภคขยาย เป็นงานส่วนตัวโดยอาศัยฝีมือเฉพาะตน และคาบสมุทรมลายู ดังนัน้ จึงมีชาวจีน
ตัวอย่างมาก จนต้องมีการน�ำเข้าแรงงาน ก็มีงานชุนผ้า งานสอยชายผ้ากางเกงแพร ฮกเกี้ ย นตั้ ง ถิ่ นฐานอยู ่ ที่ ร ะนอง ภู เ ก็ ต
กุลีชาวจีนมาท�ำงานด้านการขุดคูคลอง และการดึงหน้าด้วยเชือก (ยุวดี ๒๕๔๓ : นครศรี ธ รรมราช สงขลา ยะลาและ
สร้างถนน ทางรถไฟ และอาคารบ้านเรือน ๖๐-๖๑) ปัตตานี (วิลาสวงศ์ ๒๕๔๘ : ๒๓๒)
เนื่ อ งจากแรงงานทั้ ง หมดเป็ นชายและ ในสมั ย ธนบุ รี ชาวจี น ฮกเกี้ ย น
ชาวจี น อพยพประมาณร้ อ ยละ ๙๐ ก็ ชาวจีนฮกเกี้ยน บางส่ ว นที่ จั นทบุ รี ได้ ย ้ า ยถิ่ นฐานมาที่
เป็ น ชาย (ดั ง ปรากฏในการส� ำ รวจ ชาวจีนฮกเกี้ยน ซึ่งเรียกตนเองว่า กรุงธนบุรี เพราะติดตามสมเด็จพระเจ้า
ส�ำมะโนครัว พ.ศ. ๒๔๕๒ สมัยรัชกาล ฮกเกี้ยนหลัง (福建人 Fújiàn rén) ตากสินมหาราชมาสร้างกรุงธนบุรี หลัง
ที่ ๕ ในตารางหน้า ๒๓) จึงมีการน�ำหญิง อยู ่ ใ นมณฑลติ ด ทะเลแถบตะวั น ออก จากทีไ่ ด้ชว่ ยพระองค์ในการสูร้ บกับพม่า
ชาวกวางตุ้งเข้ามาค้าประเวณี๒ ในโรงน�้ำ เฉีย งใต้ ข องจี น จึ ง มี ค วามช� ำ นาญใน (วิลาสวงศ์ ๒๕๔๘ : ๒๓๒) และได้มชี าว
ชาบริเวณตรอกข้างโรงภาพยนตร์โอเดียน การเดิ น เรื อ และได้ เดิ น เรื อ มาค้ า ขาย จีนฮกเกี้ยนเข้ารับราชการเป็นจ�ำนวนไม่
และโรงพยาบาลเทียนฟ้าปัจจุบนั ไปจนถึง ตั้งแต่สมัยอยุธยา จดหมายเหตุวัน วลิต น้อยเช่นเดียวกับในสมัยอยุธยา จนมีความ


เนื่องจากมณฑลกวางตุ้งเป็นมณฑลที่มีเมืองท่าส�ำคัญ จึงมีสถานเริงรมย์อยู่ทั่วไป และเมื่อจีนพ่ายแพ้ในสงครามฝิ่นอีกเป็นครั้งที่ ๒ จนต้องลงนามในสนธิ
สัญญาเทียนสินใน พ.ศ. ๒๔๐๑ ทีี่ท�ำให้รัฐบาลจีนต้องยอมเปิดซัวเถาเป็นเมืองท่าเสรี และต้องยอมให้พลเมืองโดยเฉพาะชายฉกรรจ์จีน เดินทางออกไปรับจ้างเป็น
แรงงานนอกประเทศที่ขาดแคลนแรงงานในอาณานิคมของชาติตะวันตก สภาพสังคมจีนจึงเปลี่ยนไปจากเดิม หญิงชาวกวางตุ้งที่ต้องดิ้นรนเพื่อความอยู่รอด จึงต้อง
หันมาขายบริการ (ยุวดี ตันสกุลรุ่งเรือง ๒๕๔๓ : ๑๒๖-๑๒๗)

ประพิณ มโนมัยวิบูลย์
549
The Journal of the Royal lnstitute of Thailand

Volume 36 No. 4 Oct-Dec 2011

Teochiu, Hakka, and Hokkien emigrant areas (Skinner 1957: 36)

เจริญก้าวหน้าในหน้าที่ราชการ ได้เป็น เป็นต้นตระกูล ณ ระนอง) ในรัชกาลที่ ๓ เข้ า มาที่ ภ าคใต้ ข องไทยซึ่ ง อุ ด มด้ ว ย
ขุนนางผู้ใหญ่ เช่น จีนเหยียง (ต้นตระกูล และเจริญก้าวหน้าในหน้าทีร่ าชการจนใน แร่ ดี บุ ก โดยผู ้ ที่ มี ฐ านะก็ ม าเป็ นนาย
ณ สงขลา) ได้ ย ศต� ำ แหน่ ง เป็ น หลวง สมัยรัชกาลที่ ๕ ได้รบั ยศเป็นพระยาด�ำรง เหมืองท�ำเหมืองดีบกุ ผูท้ ไี่ ม่มเี งินทองก็มา
สุ ว รรณคี รี ส มบั ติ ผู ้ ว ่ า ราชการสงขลา สุจริตมหิศรภักดี นอกจากนี้ลูกอีกหลาย ท�ำงานเป็นกุลเี หมืองแร่ มีการชักชวนชาว
ในสมัยธนบุรี บุตรชาย (บุญหุ้ย) ได้ยศ คนก็ได้ยศต�ำแหน่งเป็นพระยา ผู้ส�ำเร็จ จีนฮกเกี้ยนด้วยกันเข้ามาเป็นกุลีเหมือง
ต�ำแหน่งเป็นเจ้าพระยาอินทคิรีศรีสมุทร ราชการเมืองระนอง หลังสวน ตรัง ชุมพร จนมี ก ารอพยพเข้ า มาเป็ นจ� ำ นวนมาก
สงครามฯ ในสมัยรัชกาลที่ ๑ และลูกหลาน และมณฑลภู เ ก็ ต (มั ล ลิ ก า ๒๕๑๘ : ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้า
หลายคนของจีนเหยียงได้รับการแต่งตั้ง ๒๑๗-๒๑๘)๓ เจ้ า อยู ่ หั ว และพระบาทสมเด็ จ พระ-
เป็นผู้ส�ำเร็จราชการเมืองสงขลาสืบต่อมา เมือ่ ตลาดโลกมีความต้องการดีบกุ จอมเกล้าเจ้าอยู่หัว หลายคนได้ไต่เต้าจน
ชาวจีนฮกเกี้ยนที่ช่วยงานราชการจนได้ อย่างมาก เพราะมีการค้นพบว่าเหล็กเมื่อ ได้ เป็ นนายอากรสิ นค้ า และเจ้ า เมื อ ง
ยศต�ำแหน่งอีกผูห้ นึง่ คือ หลวงรัตนเศรษฐี เคลือบดีบุกแล้วสามารถป้องกันสนิมได้ (วิลาสวงศ์ ๒๕๔๘ : ๒๓๒)
(คอซู้เจียง 许泗漳 Xu Sìzhāng ซึ่ง จึงมีชาวจีนฮกเกีย้ นพากันอพยพจากปีนงั


จากการศึกษาส�ำเนียงภาษาจีนของชื่อบุคคลและชื่อสถานที่ใน สามก๊ก ฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) พบว่าชื่อทุกชื่อออกเสียงตามภาษาถิ่นฮกเกี้ยน ส�ำเนียง
เอ้หมึง (ประพิณ มโนมัยวิบูลย์ ๒๕๑๐) ทัั้งนี้ คงเป็นเพราะชาวจีนฮกเกี้ยนเป็นกลุ่มที่รับราชการต่อเนื่องมาตั้งแต่สมัยอยุธยาถึงสมัยรัตนโกสินทร์ ดังที่กล่าวข้างต้น
(วิลาสวงศ์ พงศะบุตร และประพิณ มโนมัยวิบูลย์ ๒๕๔๘ : ๒๓๓)

ชุมชนจีนในประเทศไทย : หลากหลายส�ำเนียงจีน
550
วารสารราชบัณฑิตยสถาน
ปีที่ ๓๖ ฉบับที่ ๔ ต.ค.-ธ.ค. ๒๕๕๔

ชาวจีนฮกเกี้ยนมักตั้งถิ่นฐานอยู่ บรรณานุกรม วิลาสวงศ์ พงศะบุตร และประพิณ มโนมัย


รวมกันเป็นชุมชนฮกเกี้ยน สร้างบ้าน ประพิณ มโนมัยวิบูลย์. ๒๕๑๐. สามก๊ก: วิบูลย์. ๒๕๔๘. บรรณาธิการ. จาก
ชั้ น เดี ย วที่ เรี ย กกั น ว่ า “บ้ า นตึ ก ดิ น ” ๔ การศึกษาเปรียบเทียบ. วิทยานิพนธ์ ฮวงโหสูเ่ จ้าพระยา. กรุงเทพฯ : บริษทั
เหมือนบ้านที่เคยอยู่อาศัยที่เมืองจีน เมื่อ ปริ ญ ญามหาบั ณ ฑิ ต จุ ฬ าลงกรณ์ อั ม ริ น ทร์ พ ริ้ น ติ้ ง แอนด์ พั บ ลิ ช ชิ่ ง
ชุมชนใหญ่ขนึ้ ก็มกี ารสร้างศาลเจ้า เพือ่ ใช้ มหาวิทยาลัย. จ�ำกัด (มหาชน).
ประกอบพิธีกรรมทางศาสนาและเป็นที่ ปราณี กายอรุณสุทธิ.์ ๒๕๒๖. ค�ำยืมภาษา สถาบันเอเชียศึกษา. ๒๕๓๔. ชาวจีนแต้จวิ๋
พบปะกัน ชาวจีนฮกเกี้ยนเมื่อแรกอพยพ จีนในภาษาไทยปัจจุบนั . วิทยานิพนธ์ ในประเทศไทยและในภูมิล�ำเนาเดิม
มาส่วนใหญ่จะยากจน ต้องมาขายแรงงาน ปริ ญ ญามหาบั ณ ฑิ ต จุ ฬ าลงกรณ์ ที่ เฉาซั น . กรุ ง เทพฯ : โรงพิ ม พ์
เป็นกุลีเหมือง หรือเป็นลูกจ้าง ท�ำการค้า มหาวิทยาลัย. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ที่ไม่ต้องใช้ทุนรอนมาก เช่น จับปลาขาย มัลลิกา เรืองระพี. ๒๕๑๘. บทบาทของ Area Hand book for Thailand. Washington
เผาถ่านขาย ท�ำสวนผลไม้หรือสวนยาง ชาวจีนในด้านเศรษฐกิจ สังคม และ D.C.: US Government Printing
ด้วยความที่เป็นคนขยัน อดทน อุตสาหะ ศิลปกรรมไทย สมัยรัชกาลที่ ๑ ถึง Offfiifice, 1968.
และเข้ า ใจหาช่ อ งทางท� ำ มาหากิ นด้ ว ย รัชกาลที่ ๔ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์. Skinner, G. William. 1957. Chinese
การน�ำเข้าสินค้าจากปีนงั มาขายที่ฝั่งไทย วิ ท ยานิ พ นธ์ ป ริ ญ ญามหาบั ณ ฑิ ต Society in Thailand: an Analytical
ซึ่งเป็นการค้าขายที่ท�ำรายได้ค่อนข้างดี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. History. Ithaca, New York: Cornell
จึงค่อย ๆ เก็บหอมรอมริบจนตั้งตัวได้ ยุวดี ต้นสกุลรุ่งเรือง. ๒๕๔๓. จากอาส�ำ University Press.
เป็นเจ้าของกิจการการค้า เจ้าของโรงงาน ถึงหย�ำฉ่า : ต�ำนานคนกวางตุ้งสยาม. Skinner, G. William. 1958. Leadership
เจ้าของเหมือง ลูกหลานของชาวฮกเกี้ยน กรุงเทพฯ : ร้านนายอินทร์. and Power in the Chinese Community
อพยพรุ ่ น แรกนี้ ที่ เ กิ ด ในแผ่ นดิ น ไทย วรศักดิ์ มหัทธโนบล. ๒๕๔๖. คือ “ฮากกา” of Thailand. Ithaca, New York:
และเป็นฮกเกี้ยนบ่าบ่า๕ ปัจจุบันยังคงท�ำ คือ “จีนแคะ”. กรุงเทพฯ : มติชน. Cornell University Press.
กิจการค้าเป็นส่วนใหญ่ เช่นกิจการสวน
ยางพารา และการประมง ธุรกิจการท่อง
เที่ยว การโรงแรม ร้านอาหาร และร้าน
ขายใบชา (วิลาสวงศ์ ๒๕๔๘ : ๒๓๓-
๒๓๔) มณฑลฮกเกี้ยนเป็นมณฑลที่มีชื่อ
เสียงเรื่องชา โดยเฉพาะชากวนอิมเหล็ก
(铁观音 Tiěguānyīn) ซึง่ เป็นชาอูหลง
(乌龙 Wūlóóng) ชนิดหนึง่


บ้านตึกดินสร้างด้วยดินที่ผสมกับวัสดุซึ่งท�ำให้ดินยึดตัว แล้วน�ำมากระทุ้งให้เรียบเพื่อท�ำเป็นพื้นเรือนและฝาผนังบ้าน และใช้กระเบื้องดินเผามุงเป็นหลังคา
(วิลาสวงศ์ พงศะบุตร และประพิณ มโนมัยวิบูลย์ ๒๕๔๘ : ๒๓๓)

ชาวจีนฮกเกีย้ นเรียกรุน่ ลูกรุน่ หลานซึง่ เกิดต่างแดนว่า ฮกเกีย้ นบ่าบ่า ไม่วา่ จะถือก�ำเนิดจากพ่อแม่ทเี่ ป็นชาวฮกเกีย้ น หรือจากพ่อชาวฮกเกีย้ นทีแ่ ต่งกับหญิงไทย
(วิลาสวงศ์ พงศะบุตร และประพิณ มโนมัยวิบูลย์ ๒๕๔๘ : ๒๓๔)

ประพิณ มโนมัยวิบูลย์
551
The Journal of the Royal lnstitute of Thailand

Volume 36 No. 4 Oct-Dec 2011

Abstract Chinese Communities in Thailand: Variety of Chinese Dialects


Prapin Manomaivibool
Associate Fellow of the Academy of Arts, The Royal Institute, Thailand

Chinese people stated coming to Thailand in the Sukhothai Period. Most of them
ware merchants transporting goods on board their junks for trading, In the Ayutthaya Period
some Chinese traders settled in Ayutthaya and played a role in the Thai junk trade. In the Thon
Buri Period a large number of Chinese came to trade and reside in Thailand. The Chinese who
had settled in Thailand from the Thon Buri to the Rattanakosin Periods usually came from Guangdong,
Fujian and Hainan provinces.

Chinese communities in Thailand can be divided into five groups according to the dialects
they speak, namely Teochew, Hokkien, Hakka, Cantonese, and Hainanese. Among these five groups,
the Hokkiens and Cantonese came to Thailand in the Ayutthaya Period. But after the fail of Ayutthaya
to the Early Rattanakosin Period a large number of Teochew Chinese migrated until they formed the
biggest group in Bangkok, followed by Hainanese and Hakkas.

Key words : Chinese communities in Thailand, Teochew, Hokkien, Hakka, Cantonese, Hainanese

ชุมชนจีนในประเทศไทย : หลากหลายส�ำเนียงจีน
552
วารสารราชบัณฑิตยสถาน
ปีที่ ๓๖ ฉบับที่ ๔ ต.ค.-ธ.ค. ๒๕๕๔

เรื่องยุ่ง ๆ เกี่ยวกับอักษรควบ*
นววรรณ พันธุเมธา
ราชบัณฑิต ส�ำนักศิลปกรรม
ราชบัณฑิตยสถาน

บทคัดย่อ

บทความนี้เสนอปัญหาบางประการเกี่ยวกับอักษรควบ ดังนี้
๑. อักษรควบในค�ำบางค�ำออกเสียงไม่ควบกล�้ำ
๒. ค�ำที่มีอักษรควบบางค�ำไม่น่าจะเขียนเช่นนั้น เพราะค�ำเดิมไม่มีเสียงควบกล�้ำ
๓. ค�ำที่มีอักษรควบบางค�ำเคยออกเสียงไม่ควบกล�้ำ
๔. ค�ำที่เขียนต่างกันในปัจจุบัน คือเขียนโดยมีอักษรควบและไม่มีอักษรควบ แต่เดิมเป็นค�ำเดียวกัน
๕. ค�ำที่ปัจจุบันไม่ออกเสียงควบกล�้ำ ในอดีตอาจจะเคยออกเสียงควบกล�้ำ

ค�ำส�ำคัญ : อักษรควบ, เสียงควบกล�้ำ

ในหนังสือหลักภาษาไทย พระยา พยัญชนะที่ประสมกับตัว ร, ล, ว นอกจากเรื่องอักษรควบไม่ออก


อุปกิตศิลปสารกล่าวถึงอักษรควบว่า นี้ ถ้าอ่านเป็นเสียง ๒ พยางค์ ก็ไม่นับว่า เสียงควบกล�้ำแล้ว ยังมีปัญหาเกี่ยวกับ
(๒) อักษรควบ คือพยัญชนะที่ เป็นอักษรควบ เช่น อร่อย อ่าน อะ-หร่อย, ค�ำที่มีอักษรควบอีกหลายปัญหา ดังจะ
ควบกับตัว ร, ล, ว มีเสียงกล�้ำเป็นสระ ตลาด อ่าน ตะ-หลาด, ตวาด อ่าน ตะ-หวาด... ประมวลมาต่อไปนี้
เดียวกัน มี ๒ อย่าง คือ (ก) อักษรควบแท้ (อุปกิตศิลปสาร, ๒๕๑๑ : ๒๑) ๑. ค�ำทีเ่ ขียนอย่างอักษรควบ แต่
ได้แก่ อักษรควบที่ออกเสียงพยัญชนะ การที่พระยาอุปกิตศิลปสารแบ่ง ไม่ออกเสียงควบกล�้ำ
ทั้ง ๒ ตัว เช่น กรู, กลด, กว่า ฯลฯ (ข) อักษรควบเป็นอักษรควบแท้และอักษร ๒. ค�ำทีเ่ ขียนอย่างอักษรควบ แต่
อักษรควบไม่แท้ ได้แก่ อักษรควบทีอ่ อก ควบไม่แท้๑ แสดงว่าท่านได้เห็นปัญหา ไม่น่าจะเป็นอักษรควบ
เสียงแต่ตัวหน้าตัวเดียวบ้าง ออกเสียง แล้วว่า มีอกั ษรควบทีไ่ ม่ได้ออกเสียงควบ ๓. ค�ำทีป่ จั จุบนั ออกเสียงควบกล�ำ้
กลายเป็นตัวอื่นไปบ้าง เช่น จริง, สรวม, กล�้ำตามรูปเขียน อักษรควบเช่นนี้ท่าน แต่น่าจะเคยออกเสียงไม่ควบกล�้ำ
ไซร้, ทราบ, ทรง,ทราม, ทราย เป็นต้น... เรียกว่าอักษรควบไม่แท้

*
บทความนี้ปรับปรุงจากการบรรยายผลงานทางวิชาการในที่ประชุมส�ำนักศิลปกรรม เมื่อวันที่ ๒ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๒

เดิมพระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจารยางกูร) เรียก อักษรควบว่า อักษรประโยค ท่านเขียนไว้ว่า
วิธีประสมอักษรใช้ในค�ำภาษาไทยแต่เพียงอักษรสูงน�ำอักษรต�่ำ ดังแจกมาในวาหนิติ์นิกรนั้น ก็ยังหาภอที่จะใช้ในค�ำภาษาไทยไม่ ต้องจัดตัว (ร ล ว)
ประสมกับอักษรที่ควรจะประสมกันได้ สองอักษรร่วมสะระกันเป็นค�ำเดียว ตั้งชื่อว่า อักษรประโยค...
(ศรีสุนทรโวหาร, ๒๕๑๔ : ๑๙๓)
ค�ำว่าอักษรควบอาจเป็นค�ำที่พระยาอุปกิตศิลปสารใช้ตามผู้เขียนหนังสือ สยามไวยากรณ์ แต่ค�ำว่าอักษรควบแท้และอักษรควบไม่แท้อาจเป็นค�ำที่ท่านคิดขึ้นเอง

นววรรณ พันธุเมธา
553
The Journal of the Royal lnstitute of Thailand

Volume 36 No. 4 Oct-Dec 2011

๔. ค�ำทีแ่ ยกเขียนเป็น ๒ แบบ คือ ค�ำที่จะกล่าวถึงมี ๒ กลุ่มคือ ปลัก ปล เป็นอักษรควบ


เขียนอย่างอักษรควบและไม่ใช่อกั ษรควบ ๑) ค�ำทีแ่ ท้จริงไม่ได้มอี กั ษรควบ หลัก หล เป็นอักษรน�ำ
๕. ค� ำ ที่ ป ั จ จุ บั น ไม่ อ อกเสี ย ง ๒) ค�ำที่มีอักษรควบไม่แท้ ปลัด ปล ไม่ ใช่ อั ก ษรควบ อั ก ษรน� ำ
ควบกล�้ำ แต่อาจจะเคยออกเสียงควบกล�้ำ ป เป็นพยัญชนะต้นของพยางค์
๑) ค�ำที่แท้จริงไม่ได้มีอักษรควบ แรก ล เป็นพยัญชนะต้นของพยางค์หลัง
ค�ำทีเ่ ขียนอย่างอักษรควบ แต่ไม่ออกเสียง ตามอักขรวิธีของไทย พยัญชนะ เรื่องยุ่ง ๆ ที่เกิดขึ้นก็คือ ค�ำบางค�ำ
ควบกล�้ำ ที่เรียงกัน ๒ ตัวอาจเป็นอักษรควบหรือ ต้องออกเสียงเรียงพยางค์ แต่มผี อู้ อกเสียง
อักษรน�ำหรือไม่ใช่ทงั้ อักษรควบอักษรน�ำ ผิด เป็นเสียงควบกล�้ำ๒ เช่น
เช่น

ผลิต ต้องออกเสียง ผะ-หฺลิด มีผู้ออกเสียง ผฺลิด


ผลึก ” ผะ-หฺลึก ” ผฺลึก
ปราชัย ” ปะ-รา-ไช ” ปฺรา-ไช
ปร�ำปรา ” ปะ-ร�ำ-ปะ-รา ” ปฺร�ำ-ปฺรา
ปรัศว์ ” ปะ-หฺรัด ” ปฺรัด
จรด ” จะ-หฺรด ” จฺรด
ค�ำบางคู่เขียนเหมือนกัน แต่ออกเสียงได้ ๒ แบบ ความหมายต่างกัน ท�ำให้สับสน เช่น
ปรัก ออกเสียง ปฺรัก หมายถึง เงิน
ออกเสียง ปะหฺรัก ” หัก
พลี ออกเสียง พฺลี ” เสียสละ เช่น พลีชีพเพื่อชาติ, บวงสรวงเชิญเอามา
(ใช้แก่ยาสมุนไพร) เช่น ไปพลียาที่ต้นเทียน คือไป
บวงสรวงเก็บต้นเทียน หรือส่วนใดส่วนหนึง่ ของ
ต้นเทียนมาท�ำยารักษาโรค
ออกเสียง พะลี หมายถึง การบวงสรวง, เครื่องบวงสรวง

นอกจากนั้ น มี บ างค� ำ ที่ เ ขี ย น จรวจ [จฺรวด] (แบบ) ก. กรวด, หางยาว เมือ่ จุดชนวนแล้วเหวีย่ งให้พงุ่ ขึน้
คล้ า ยกั น แต่ พจนานุ ก รม ฉบั บ หลั่งน�้ำ. (เทียบ ข. จฺรวจทึก ว่า กรวดน�้ำ) สูง, กรวด ก็เรียก.
ราชบั ณ ฑิ ต ยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒ จรวด ๑ [จะหฺรวด] น. ชื่อดอกไม้ (ข. ก�ำชฺรัวจ ว่า พลุ) ว. สูงชัน,
ก�ำหนดการอ่านออกเสียงไว้ต่างกัน เช่น ไฟชนิด หนึ่ง ใช้ ไม้ อ ้ อ บรรจุ ดิ นด� ำ มี ใช้ว่า กรวด ก็มี


สาเหตุที่อาจารย์ภาษาไทยแต่ก่อนก�ำหนดให้พยัญชนะที่เรียงกัน ๒ ตัวในค�ำบางค�ำออกเสียงเรียงพยางค์ ไม่ใช่เสียงควบกล�้ำ น่าจะเกี่ยวเนื่องกับที่มาของค�ำ
เช่น ผลิต มาจากค�ำ ผลิต (ออกเสียง ผะ-ลิ-ตะ) ในภาษาบาลี ผล ในค�ำนีจ้ ึงต้องออกเสียงเรียงพยางค์ คือออกเสียงค�ำ ผลิต ว่า ผะ-หลิด

เรื่องยุ่ง ๆ เกี่ยวกับอักษรควบ
554
วารสารราชบัณฑิตยสถาน
ปีที่ ๓๖ ฉบับที่ ๔ ต.ค.-ธ.ค. ๒๕๕๔

(ราชบัณฑิตยสถาน, ๒๕๔๖ : ๒๘๙) ก. อั ก ษรควบไม่ แ ท้ ที่ ไม่ อ อก เรือ่ งยุง่ ๆ ทีเ่ กิดขึน้ ก็คอื มีคำ� ทีอ่ อก
อันทีจ่ ริง เสียง จฺร ไม่มใี นภาษาไทย เสียง ร ออกเสียงแต่อักษรตัวหน้า เช่น เสียงเหมือนกัน แต่เขียนต่างกัน ความ
จริง ไซร้ สร่าง เศร้า ไม่ออกเสียง ร ที่ หมายก็ต่างกัน ท�ำให้บางครั้งเกิดปัญหา
๒) ค�ำที่มีอักษรควบไม่แท้ ควบอยู่ด้วย ในการเขียน เช่น
เราอาจแบ่งอักษรควบไม่แท้ได้ ข. อักษรควบไม่แท้ ทร ที่ออก
เป็น ๒ กลุ่มคือ เสียง เป็น ซ เช่น ทรง ทราบ ทราม ทราย

สรวม = ขอ สวม = ครอบลงหรือคล้องหรือหุ้มไว้ เป็นต้น


โทรม = เสื่อมสภาพ โซม = เปียกทั่ว
เดิม โซรม = รุมกัน, ช่วยกัน

นอกจากนั้น ก็มีค�ำถามว่าท�ำไม ไม่ออกเสียง ค�ำตอบอาจเป็น ดังนี้ จากภาษาอืน่ คนไทยออกเสียงอย่างไทย ๆ


ต้องมีอักษรควบไม่แท้ให้ยุ่งยาก ทั้ง ๆ ที่ ๑. ไทยยืมค�ำทีม่ อี กั ษรควบไม่แท้ แต่ก็รักษารูปเขียนไว้ เช่น

ค�ำสันสกฤต ศฺรี ไทยเขียน ศรี ออกเสียง สี


” ศฺรทฺธา ” ศรัทธา ” สัด-ทา
ค�ำเขมร สฺรง่ ” สรง ” สง
” สฺรวล ” สรวล ” สวน
ค�ำที่เขียน ทร แล้วออกเสียง ซ นัน้ น่าสังเกตว่า มักยืมจากภาษาเขมรหรือยืมภาษาบาลีสันสกฤตผ่านภาษา
เขมร เขมรออกเสียง ตฺร แต่ไทยออกเสียง ซ เช่น
ค�ำเขมร โทฺรม ออกเสียง โตฺรม
ค�ำไทย โทรม ” โซม
ค�ำเขมร ทฺรง่ ” ตฺร็วง
ค�ำไทย ทรง ” ซง
ค�ำเขมร ทฺรุฑ ” ตรุด
ค�ำไทย ทรุด ” ซุด
ค�ำเขมร ทฺรูง ” ตฺรูง
(ข. โบ ทฺรฺวง)
ค�ำไทย ทรวง ” ซวง
ค�ำสันสกฤต ทฺรวฺย เขมรเขียน ทฺรพฺย ออกเสียง เตฺรือบ
ไทยเขียน ทรัพย์ ออกเสียง ซับ

นววรรณ พันธุเมธา
555
The Journal of the Royal lnstitute of Thailand

Volume 36 No. 4 Oct-Dec 2011

ศาสตราจารย์ ดร.คุ ณ บรรจบ เสียงต่างกับปัจจุบนั ตัวอย่างเช่น ค�ำ สร้อย เพชรเสมอ (บรรจบ พันธุเมธา, ๒๕๒๙ :
พันธุเมธา เคยเล่าว่า ชาวนครศรีธรรมราช ปัจจุบันออกเสียง ส้อย แต่เมื่อก่อนตัว ร ๒๒-๒๓)
บางคนมักออกเสียง ตฺร เป็น ซ เช่น ชาตรี อาจออกเสียงด้วยก็ได้ ดังที่ศาสตราจารย์
ออกเสียง ชาซี ชาวสงขลาทีอ่ อกเสียง ตฺร ดร.คุณบรรจบ พันธุเมธา เขียนไว้ใน ค�ำที่เขียนอย่างอักษรควบ แต่ไม่น่าจะ
เป็น ซ ก็มี เช่น ไม้ตรี ออกเสียงเป็น ไม้ซี บทความชื่อ “จริงท�ำไมจึงมี ร” ว่า เป็นอักษรควบ
ค�ำบอกเล่านีช้ วนให้สนั นิษฐานว่า ทีน่ า่ สนใจมากก็คอื ค�ำ สร้อย ทีอ่ อก ค�ำทีจ่ ะกล่าวถึงแยกได้เป็น ๒ พวก
ไทยคงรับค�ำเขมรที่ออกเสียง ตฺร มาออก เสียงกันตามลุ่มน�ำ้ เมาว่า จ้ะหร่อย หรือ พวกหนึง่ น่าจะเป็นค�ำยืม อีกพวกหนึง่ น่า
เสียง ซ ค�ำทีอ่ อกเสียง โตฺรม จึงกลายเป็น ซะหร่ อ ย อธิ บ ายว่ า เป็ น สร้ อ ยระย้ า จะเป็นค�ำไทยเอง
โซม ตฺร็วง กลายเป็น ซง ส่วนรูปเขียน ประดับศอเจ้านางเมืองมหาเทวี มีลกั ษณะ ๑) ค�ำที่น่าจะเป็นค�ำยืม
ไทยมิได้เปลี่ยน ยังใช้ ทร ตามแบบเขมร เป็นสร้อยหลายสาย ยาวบ้าง สัน้ บ้าง รวบ จะกล่าวถึง ๒ ค�ำคือ สรวม กับ สร้าง
๒. ค�ำทีม่ อี กั ษรควบไม่แท้เป็นค�ำ เข้าไว้ดว้ ยกัน และคงจะประดับเพชรด้วย ค�ำ ๒ ค�ำนี้ไทยอาจยืมจากภาษาเขมร แต่
ที่มีการเปลี่ยนแปลงเสียง เมื่อก่อนออก จึงมักมากับค�ำว่าส้อยแสง ทีแ่ ปลว่า สร้อย ภาษาเขมรไม่มี ร ควบ

ค�ำเขมร สูม (โซม) (ข. โบ โสม, สฺวม)


ค�ำไทย สรวม
ค�ำเขมร สาง (ซาง) (ข. โบ สง, สาง)
ค�ำไทย สร้าง

อย่างไรก็ตาม ในภาษามอญมีคำ� ว่า เศร้า หมายถึง หมอง ไม่ผ่องใส อักษรควบ ก็ถูกแล้ว เพราะน่าจะยืมจาก
สรงฺ (สะรัง) หมายถึง การกระท�ำ มีผู้ สลดหดหู่ เช่น หน้าเศร้า เศร้าใจ ภาษา ค�ำเขมร ทฺราย (เตฺรียย) ซึ่งหมายถึงเนื้อ
สันนิษฐานว่า เป็นทีม่ าของค�ำว่า สร้าง ใน ไทขาวมีค�ำ เสา หมายถึง จาง เลือน เช่น ทราย แต่ ทราย ที่หมายถึงเศษหินขนาด
ภาษาไทย ถ้าไทยยืมค�ำว่า สร้าง จากค�ำ ฮุ้นเสา หมายถึง รูปที่สีซีดเลือน หนาเสา เล็กน่าจะใช้ ซ เป็นพยัญชนะต้น เพราะค�ำ
สรงฺ ก็พอจะมีเหตุผลว่าท�ำไมมี ร ในค�ำว่า หมายถึง หน้าเศร้า ภาษาไทพ่าเก่ มีคำ� เส่า นีเ้ ป็นค�ำไทยเราเอง ภาษาไทหลายภาษาก็
สร้าง หมายถึง มัว ครึ้ม เช่น พ่าเส่า หมายถึง มีค�ำที่ออกเสียงคล้ายค�ำนี้ เช่น
๒) ค�ำที่น่าจะเป็นค�ำไทย ฟ้าครึ้ม ภาษาไทขาว ซาย
จะกล่าวถึง ๓ ค�ำคือ สร่าง เศร้า อาจเป็นได้ว่า สร่าง และ เศร้า ไม่ ภาษาไทพ่าเก่ ซ้าย
ทราย ทั้ง ๓ ค�ำพบในภาษาไท๓ ด้วย ได้ออกเสียง ร มาแต่เดิม ทั้ง ๒ ค�ำจึงไม่ ภาษาไทเหนือ ซ้าย
ภาษาไทเท่าที่พบ ไม่ได้ออกเสียง ร น่าจะเขียนอย่างอักษรควบ
สร่าง หมายถึง คลาย ทุเลา เช่น ส่วนค�ำว่า ทราย ในภาษาไทย มี ๒ ค�ำที่ปัจจุบันออกเสียงควบกล�ำ้ แต่น่าจะ
สร่างไข้ สร่างโศก สร่างเมา ภาษาไท ความหมาย ความหมายหนึง่ คือชือ่ สัตว์ปา่ เคยออกเสียงไม่ควบกล�้ำ
ขาวมีค�ำ ซ้างหมายถึง ทุเลา เช่น ซ้าง ประเภทกวาง อีกความหมายหนึง่ คือ เศษ ค�ำที่จะกล่าวถึงคือ ค�ำที่ออกเสียง
ไตฺส หมายถึง สร่างไข้ ซ้างเหลา หมาย หินขนาดเล็ก มีลกั ษณะซุยร่วนไม่เกาะกัน ควบกล�้ำ ทฺร ปัจจุบันคนไทยออกเสียง
ถึง สร่างเหล้า ทราย ที่เป็นชื่อสัตว์ เขียนอย่าง อักษรควบ ทร ในค�ำยืมจากภาษาต่าง


ภาษาไท หมายถึงภาษาในตระกูลไทที่พูดนอกประเทศไทย

เรื่องยุ่ง ๆ เกี่ยวกับอักษรควบ
556
วารสารราชบัณฑิตยสถาน
ปีที่ ๓๖ ฉบับที่ ๔ ต.ค.-ธ.ค. ๒๕๕๔

ประเทศบางค�ำเป็นเสียงควบกล�้ำ ทฺร เช่น อันที่จริง ไทยน่าจะเคยออกเสียง แม่ ทร นัน้ อ่านส�ำเนียงเหมือน


ทรัมเป็ต จันทรา นิทรา อินทราทิตย์ แต่ ค�ำที่เขียน ทร เป็น ซ ทั้งหมด เพิ่งจะเริ่ม อักษรตัว ซ
ออกเสียงอักษรควบ ทร ในค�ำยืมจาก ออกเสียง ทร ในค�ำบางค�ำเป็นเสียงควบ ทร ทรา ทริ ทรี ทรึ ทรื ทรุ ทรู เทร...
ภาษาต่างประเทศบางค�ำเป็นเสียง ซ เช่น กล�้ำในสมัยรัตนโกสินทร์ (ศิลปากร, ๒๕๑๓ : ๕๕)
ทรัพย์ พุทรา อินทรี หลักฐานที่แสดงว่า ไทยเคยออก ใน ปกีระณ�ำพจนาตถ์ พระยาศรี
นีท่ �ำให้เกิดค�ำถามว่า ท�ำไมออก เสียง ทร ในค�ำทุกค�ำเป็น ซ ได้แก่ แบบเรียน สุนทรโวหาร (น้อย อาจารยางกูร) กล่าว
เสียงอักษรควบ ทร เป็น ๒ แบบ หนังสือไทยเล่มต่าง ๆ เช่น ในประถม ก กา ถึงค�ำที่เขียน ทร ออกเสียง ซ ว่า
ก�ำหนดไว้ชัดเจนว่า

หนึง่ ค�ำใช้ทอรอแทนซอนัน้ มีส�ำคัญควรพิเคราะห์ได้เสาะสาว


คือนิทราอินทราจันทราดาว อีกค�ำกล่าวอินทรีมีไม้ไทร
ทรงทรางทรวงแทรกจ�ำแนกบท โดยก�ำหนดทรุดทรัพย์ล�ำดับได้
ทราบอีกโทรมทรามทรายรายกันไป ทอรอใช้ต่างซอข้อคดี
(ศรีสุนทรโวหาร, ๒๕๑๔ : ๗๔๓)

บทกลอนยังมีต่อไปอีกยาว มีค�ำที่ ตรงกับ พ.ศ. ๒๔๓๙ ก็มคี �ำ อินทรา บอก ค�ำที่แยกเขียนเป็น ๒ แบบคือ เขียนอย่าง
ใช้ ทร แทน ซ อีกมาก เช่น ทรง ทราง เสียงอ่านว่า ǏNTHǍRA นิทรา บอกเสียง อักษรควบ และไม่ใช่อักษรควบ
แทรก ทรุด อ่านว่า NǏTTHRA และจันทรา บอกเสียง ค� ำ ที่ จ ะกล่ า วถึ ง คื อ ทราบ กั บ
น่ า สั ง เกตว่ า ค� ำ นิทรา อินทรา อ่านว่า CHǍNTHRA ซาบ ทราบ พยัญชนะต้นเป็น ทร ซึ่งเป็น
จั นทรา ซึ่ง ปัจ จุ บัน ออกเสียงควบกล�้ำ ถ้าเชื่อพจนานุกรมทั้ง ๒ เล่ม ก็ อักษรควบไม่แท้ ค�ำนี้หมายถึง รู้ ซาบ
พระยาศรีสนุ ทรโวหารกล่าวว่า ออกเสียง ซ คงต้องถือว่าในสมัยที่ท�ำพจนานุกรมคือ พยัญชนะต้นเป็น ซ ซึ่งเป็นอักษรเดี่ยว
แต่ ถ ้ า ดู พ จนานุก รมที่ ท� ำ ในระยะเวลา ประมาณ พ.ศ. ๒๓๙๗-๒๔๓๙ ค�ำ นิทรา ไม่ใช่อักษรควบ ค�ำนี้หมายถึง ซึมแผ่ไป
ไล่เลีย่ กันนัน้ จะรูส้ กึ สับสน สัพะ พะจะนะ และจันทรา ออกเสียงควบกล�ำ้ ส่วนค�ำ ทราบ กับ ซาบ ดูเหมือนว่าจะเป็น
พาสาไท ของชอง-บาตีสต์ ปาเลอกัวซึ่ง อินทรา ออกเสียงเรียงพยางค์ ค�ำ ๒ ค�ำที่พ้องเสียงกัน แม้จะออกเสียง
พิมพ์ เมื่อ พ.ศ. ๒๓๙๗ มีค�ำว่า อินทะรา นี่แสดงว่าเพิ่งจะมีการออกเสียง เหมือนกัน แต่กม็ คี วามหมายต่างกัน ทัง้ ยัง
บอกเสียงอ่านไว้วา่ ǏNTHA:RA ค�ำนิดทรา ทร ในค�ำบางค�ำเป็นเสียงควบกล�้ำในสมัย เขียนต่างกันอีกด้วย แต่ถา้ พิจารณาถึงทีม่ า
บอกเสียงอ่านไว้ว่า NǏTTHRA และค�ำ รัตนโกสินทร์นี่เอง แต่เดิมเสียงควบกล�้ำ ของค�ำ ทั้งค�ำว่า ทราบ และ ซาบ อาจมา
จันตรา บอกเสียงอ่านไว้ว่า CHǍNTRA ทฺร ไม่มีในภาษาไทย๔ จากค�ำเขมรค�ำเดียวกันคือ ชฺราบ (เจฺรียบ)
ศริพจน์ภาษาไทย์ ซึง่ พิมพ์เมือ่ ค.ศ. ๑๘๙๖ ซึ่งมีความหมาย ๒ อย่างคือ ๑ ซึมซาบ


พระยาอุปกิตศิลปสารเขียนไว้ว่า
อนึง่ ค�ำตัว ท ควบ ร ที่มาจากบาลีและสันสกฤตควรเป็นเสียงควบแท้ เช่น นิทรา, อินทรีย์, จันทร, อินทรา (ถ้าเขียน จันทร, อินทร อ่าน จัน-ทอน,
อิน-ทอน ก็ได้) ฯลฯ, ถ้าเป็นค�ำไทยต้องเป็นเสียง ซ เช่น ทราบ (ซาบ), ทรง (ซง), ทราม (ซาม) ฯลฯ
(อุปกิตศิลปสาร, ๒๕๑๑ : ๕๓)
ปัจจุบัน ค�ำว่า อินทรีย์ อ่าน อิน-ซี

นววรรณ พันธุเมธา
557
The Journal of the Royal lnstitute of Thailand

Volume 36 No. 4 Oct-Dec 2011

เช่ น ทึ ก ชฺ ร าบ (ตึ ก เจฺ รี ย บ) หมายถึ ง ๒ ... แลมีพระราชหฤไทย ทราบ ซาบข่าว, คือความที่รู้ข่าวนัน้ , แต่
น�้ำซึมซาบ ๒ ทราบ เช่น สูมชฺราบ (โซม ในพระต�ำราถวายนัน้ แลมีพระราชศรัทธา เปนค�ำพูดกับผู้มีบันดาศักดิ์, เหมือนอย่าง
เจฺรียบ) หมายถึง ขอได้ทราบ ไว้ ต ามพระราชทานพระกั ล ปนาแต่ ขุนนางผู้ใหญ่ เปนต้น.
สาเหตุที่สันนิษฐานเช่นนี้เพราะ โบราณราชประเวณี... ซาบความ, เปนชือ่ การทีร่ คู้ วามนัน้ ,
ในเอกสารสมัยอยุธยา ไทยเขียนค�ำนี้ว่า (ประชุมจดหมายเหตุ สมัยอยุธยา ภาค ๑, แต่ เปนความเปรี ย บเหมื อ นอย่ า งน�้ ำ ที่
ชราบ ซึ่งตรงกับค�ำเขมร ชฺราบ ดังนี้ ๒๕๑๐: ๗๗) ทราบไป.
บอกมาให้ ชราบ ในวันจันทร ค�ำว่า ทราบ ในตัวอย่างแรกหมายถึง ถ้ า เชื่ อ ตามค� ำ อธิ บ ายของผู ้ ท� ำ
เดือนอาย... ซึมแผ่ไป สิง่ ทีซ่ มึ แผ่ไปคือ น�ำ้ ค�ำว่า ทราบ อักขราภิธานศรับท์ ซาบ หมายถึง เปียก
(ประชุมจดหมายเหตุ สมัยอยุธยา ในตัวอย่างหลัง หมายถึง รู้ ความหมายดู ซ่ า นไป และรู ้ เหมื อ นอย่ า งน�้ำ ที่ เปี ย ก
ภาค ๑, ๒๕๑๐: ๔) เหมือนจะต่างออกไป แต่อันที่จริงความ ซ่านไป ซาบ ความหมายแรก ปัจจุบันเรา
ค�ำว่า ชราบ ในตัวอย่างข้างต้น หมายก็เหมือนกับตัวอย่างแรก คือหมายถึง เขียน ซาบ ส่วน ซาบ ความหมายหลัง
หมายถึง รู้ ซึมแผ่ไป สิง่ ทีซ่ มึ แผ่ไปในพระราชหฤทัย ปัจจุบันเราเขียน ทราบ
นอกจากจะเขียนว่า ชราบ ค�ำนีเ้ คย คือความรู้เกี่ยวกับพระต�ำรา
เขียนว่า ทราบ มีความหมายที่ดูเหมือน ในสมั ย ต้ น รั ต นโกสิ นทร์ ค� ำ นี้ ค�ำทีป่ จั จุบนั ไม่ออกเสียงควบกล�้ำ แต่อาจ
จะต่างกันเป็น ๒ อย่าง เขียนว่า ซาบ มีความหมาย ๒ อย่างซึ่ง จะเคยออกเสียงควบกล�้ำ
๑ ... กาลเมือ่ วันหนึง่ นัน้ ก็เลงเห็น เกี่ยวข้องกัน ดัง อักขราภิธานศรับท์ ให้ ค�ำที่จะกล่าวถึงคือค�ำที่มี มล เป็น
น�้ำอันรดลงก่อนนั้น ครั้นรดลงก็ทราบ ความหมายไว้ว่า พยัญชนะต้น ปัจจุบนั ต้องอ่านว่า มะล ค�ำ
หายไป... ซาบ, รู้, แจ้ง คือเปนชื่ออาการ เหล่านี้บางค�ำพบในภาษาที่ใช้ทั่วไป เช่น
(ประชุมจดหมายเหตุ สมัยอยุธยา ภาค ๑, ที่เปียกซ่านไปนั้น, เหมือนอย่างผ้าฤๅ แมลง เมล็ด บางค�ำพบในวรรณคดี เช่น
๒๕๑๐: ๔๑) กะดาดเปียกน�ำ้ เปนต้น. อนึง่ คือรูน้ นั้ ด้วย. มละ พบในลิลติ ตะเลงพ่าย เมลือง พบใน
ซาบเกล้าซาบกระหม่อม เปนชื่อ โคลงยวนพ่าย (โบราณเรียกว่า ลิลิตยวน
ความทีร่ นู้ นั้ , แต่เปนค�ำใช้จำ� เภาะกราบทูล พ่าย) และมหาชาติค�ำหลวง ดังนี้
เท่านัน้ .

มันเห็นเศิกสระทก ตระดกดาลระรัว
ยิ่งกว่ากลัวสวามิศ บ เต้าติดตูต้อย
มละแต่ข้อยสองคน เข้าโรมรณราวิศ
ในอมิตรหมู่กลาง แสนเสนางค์เนืองบร
(ลิลิตตะเลงพ่าย)

เรื่องยุ่ง ๆ เกี่ยวกับอักษรควบ
558
วารสารราชบัณฑิตยสถาน
ปีที่ ๓๖ ฉบับที่ ๔ ต.ค.-ธ.ค. ๒๕๕๔

ทุกพ้องพิรพ่าหเจ้า จอมเมลือง เลิศแฮ


สรรพเครื่องสรรพาวุธ เลิศล้วน
เกราะกรายส�ำลีเนือง นอกออก ไปแฮ
ทวนธนูหน้าไม้ถ้วน หมู่หมาย ฯ
(ลิลิตยวนพ่าย)
อันว่าฟ้าแมลบเมลืองเนือง ก็ออื บนนฦๅสยงสับท ประดับด้วยเมฆทลา
เวหาเห็นกระช่าง แสงใสสว่างทุกทิศ โสดแล
(มหาชาติค�ำหลวง)

ค�ำว่า มละ ความหมายเหมือนกับ ๑๓. แผลง ล เป็น ล-บ, ล-ม, ม-ล มาจาก ล และเดิมอาจจะออกเสียงควบกล�ำ้
ค�ำ ละ ค�ำว่าเมลือง ความหมายเหมือนกับ เช่น ลัด เป็น ละบัด, โลภ เป็น ลโมภ ลาว เป็น มฺล ก็ได้ ทั้งนี้เพราะเสียง มฺล ยังมี
ค�ำ เรือง อาจมีผคู้ ดิ ว่าเกิดจากการแผลงค�ำ เป็น มลาว, แล เป็น มแล, ลัก เป็น มลัก ในภาษาไทยถิ่นบางภาษา เช่น ภาษาไทย
ต�ำราไวยากรณ์ไทยบางเล่มก็กล่าวถึงการ (วรเวทย์พิสิฐ, ๒๕๐๒ : ๒๙) ถิน่ ใต้ ใน พจนานุกรมภาษาถิน่ ใต้ ๒๕๒๕
แผลง ล เป็น มล ดังนี้ อย่างไรก็ตาม มล อาจไม่ได้แผลง มีค�ำที่พยัญชนะต้นเป็น มฺล อยู่ ๘ ค�ำ
ได้แก่

เมล็ด [mlet 7] น. เมล็ด.


ว. นิดเดียว.
ค�ำนี้ แมล็ด, แม็ด ก็ว่า.
เมล่อ [mlə: 6] ก. ทะลึ่ง, เสือก, ทะเล้น, ไม่ได้เรื่องได้
ราว,ไม่เข้าท่า ; เมร่อ ก็ว่า.
เมละ [mle: 6] น. 1. มะลิ
2. ลูกปลาตัวเล็กๆ น�ำมาใส่เกลือ
3. ลูกปลาตัวเล็ก เรียก “โลกเมละ”.
เมลิน [mlə:n 5] ก. ลืมตา.
เมลิ่น [mlə:n ]
6
ก. ลื่น ; เลิ่น ก็ว่า
เมลือก [mltak 6] น. น�้ำเมือก
ก. ค้อนควัก ; เหลือก (ช.พ., ร.น.) ก็ว่า.
เมลือง [mltay 5] ว. 1. งาม, เปล่งปลั่ง, รุ่งเรือง.
2. เป็นมันเลื่อม.
เมลื่อย [mltaj 6] ว. เมื่อย.

นววรรณ พันธุเมธา
559
The Journal of the Royal lnstitute of Thailand

Volume 36 No. 4 Oct-Dec 2011

นอกจากนัน้ เราจะพบค�ำต่าง ๆ ไฟหากมาล้าง มากกว่าน�ำ้ แลลม ไฟมล้าง ปัจจุบันและในวรรณคดี เช่น ไตรภูมิ


ที่มีความหมายคล้ายกันถึง ๓ ค�ำ ค�ำหนึง่ ๗ คาบเล่า น�้ำจึงมล้างคาบหนึง่ เล่า พระร่วงมีข้อความว่า “อยู่หึงนานนัก
พยัญชนะต้นเป็น มล ค�ำหนึง่ พยัญชนะ (ไตรภูมิพระร่วง) ตระบัดฝนจึงตก เมื่ออาทิแรกตกเมล็ด
ต้นเป็น ม และค�ำหนึง่ พยัญชนะต้นเป็น ๒ ผีส้ นมโทษถึงตายแลให้มล้าง หนึง่ เท่าดินธุลี อยูห่ งึ นานแล้ว จึงตกเมล็ด
ล เช่น ไซ้ ให้ใส่สนับเพลาก่อนจึ่งมล้าง หนึง่ เท่าพรรณผักกาด อยูห่ งึ นานเล่าจึงตก
มลาก มาก ลาก ค�ำที่พยัญชนะ (กฎหมายตราสามดวง) เท่าเมล็ดถั่ว”
ต้นเป็น มล ได้แก่ค�ำว่า มลาก พบใน ค�ำทีพ่ ยัญชนะต้นเป็น ม ได้แก่คำ� ว่า ค�ำที่พยัญชนะต้นเป็น ม ได้แก่
วรรณคดี เช่น ม้าง พบในภาษาไทยถิน่ อีสาน หมายความ ค�ำว่าเม็ด
๑) ...สมบัติเป็นมลากเป็นดีแห่ง ว่า ท�ำลาย รื้อ ค�ำที่พยัญชนะต้นเป็น ล ได้แก่
โชติ ก เศรษฐี นั้น ลื อ ชาทั่ ว แผ่ นดิ นชมพู ค�ำทีพ่ ยัญชนะต้นเป็น ล ได้แก่คำ� ว่า ค�ำว่า เล็ด พบในภาษาไทยถิ่นใต้ เล็ดล่อ
ทวีปนีท้ ุกแห่ง ล้าง พบในวรรณคดี และปัจจุบันพบใน (ออกเสียงสระเป็น แอะ) หมายถึงมะม่วง
(ไตรภูมิพระร่วง) บางบริบท เช่น ฆ่าล้างโคตร ล้างผลาญ หิมพานต์ และพบในวรรณคดี ไตรภูมิ
๒) ...ขึน้ ช้างไปผะผ้าย มาคะคล้าย เมลิน, มลืน , มืน, มื้น, ลืม ค�ำที่ พระร่วง มีคำ� ว่า เล็ด ซึง่ บางแห่งใช้เหมือน
โดยทาง ถับถึงกลางจรอกปู่ หมอเฒ่าอยู่ พยัญชนะต้นเป็น มล ได้แก่ค�ำว่า เมลิน กับค�ำว่า เมล็ด ในปัจจุบนั เช่น “ถ้ายืน่ มือ
แลเห็น แสร้งแปรเป็นโฉมมลาก เป็นบ่าว และมลืน ค�ำว่า เมลิน พบในภาษาไทย ล้วงเข้าไปในเนื้อหว้าพอสุดแขนจึงถึง
ภาคย์บ่าวงาม สองถึงถามหาปู่ ปู่หัวอยู่ ถิ่นใต้ ค�ำว่า มลืน พบในภาษาไทอาหม เล็ดในหว้า” บางแห่งใช้เหมือนกับค�ำว่า
ยะแย้ม ข้อยว่าสองแสล้ม มาแต่ด้าว ค�ำทีพ่ ยัญชนะต้นเป็น ม ได้แก่คำ� ว่า เม็ ด ในปั จ จุ บั น เช่ น “แลมี แ ต่ เ สี ย ง
แดนใด มืนและมื้น ค�ำว่า มืน พบในภาษาไทย ฟ้าร้อง ส่วนว่าฝนมิได้ตกเลยสัก เล็ด”
(ลิลิตพระลอ) ถิ่นเหนือและถิ่นอีสาน ค�ำว่า มื้น พบใน เมลือก มล๋าก เมือก เลือก ค�ำที่
ค�ำทีพ่ ยัญชนะต้นเป็น ม ได้แก่คำ� ว่า ภาษาไทใหญ่ พยัญชนะต้นเป็น มล ได้แก่ค�ำว่า เมลือก
มาก พบในส�ำนวน ผู้ลากมากดี ค�ำทีพ่ ยัญชนะต้นเป็น ล ได้แก่คำ� ว่า และมล๋าก ค�ำว่า เมลือก พบในภาษาไทย
ค�ำทีพ่ ยัญชนะต้นเป็น ล ได้แก่คำ� ว่า ลืม (ตา) ถิน่ ใต้ ค�ำว่า มล๋าก พบในภาษาไททีพ่ ดู ใน
ลาก พบในวรรณคดี เช่น ไตรภูมพิ ระร่วง มลื่น มื่น ลื่น ค�ำที่พยัญชนะต้น หวูห่ มิง มณฑลกวางสีตอนกลาง หมายถึง
มีข้อความว่า “จึงคนทั้งหลายนัน้ ได้ยิน เป็น มล ได้แก่ค�ำว่า เมลิ่นและมลื่น ค�ำว่า เมือก
เสียงอันเพราะแลถูกเนือ้ จ�ำเริญใจนักหนา เมลิ่น พบในภาษาไทยถิ่นใต้ ค�ำว่า มลื่น ค�ำทีพ่ ยัญชนะต้นเป็น ม ได้แก่คำ� ว่า
แลยินลากยินดีทุกคน” “เมื่อนั้นคนทั้ง พบในวรรณคดี เช่น มหาชาติค�ำหลวง เมือก
หลายยินลากยินดีแล้วก็ไปโดยเสด็จทุ (ก) กัณฑ์ชูชก มีร่ายว่า “โฉมแม่มลื่นตาบ่าว ค�ำทีพ่ ยัญชนะต้นเป็น ล ได้แก่คำ� ว่า
คนแล” และพบในส�ำนวน ผู้ลากมากดี เนื้อนงถ่าวถนิมกาม” เลือก
มล้าง ม้าง ล้าง ค�ำที่พยัญชนะต้น ค�ำที่พยัญชนะต้นเป็น ม ได้แก่ เมลื่อย เมื่อย เลื่อย ค�ำที่พยัญชนะ
เป็น มล ได้แก่คำ� ว่า มล้าง พบในภาษาไทย ค�ำว่า มื่น พบในภาษาไทยถิ่นเหนือ ถิ่น ต้นเป็น มล ได้แก่ค�ำว่า เมลื่อย พบใน
ถิ่นใต้ ในวรรณคดีและในกฎหมายเก่า อีสาน และภาษาไทใหญ่ ภาษาไทยถิ่นใต้และพบในวรรณคดี เช่น
เช่น ค�ำทีพ่ ยัญชนะต้นเป็น ล ได้แก่คำ� ว่า มหาชาติคำ� หลวง กัณฑ์กมุ าร มีวา่ “นทีธาร
๑ ...อันว่าไหม้แลล้างให้ฉบิ หาย ลื่น เย็นเฉือ่ ย ราพีน่ อ้ งเมลือ่ ยมือสอง โสดแล”
เสียนัน้ มี ๓ จ�ำพวกแล จ�ำพวกหนึง่ เพือ่ ไฟ เมล็ด เม็ด เล็ด ค�ำที่พยัญชนะต้น ค�ำทีพ่ ยัญชนะต้นเป็น ม ได้แก่คำ� ว่า
จ�ำพวกหนึง่ เพือ่ น�ำ้ จ�ำพวกหนึง่ เพือ่ ลมแล เป็น มล ได้แก่คำ� ว่า เมล็ด พบในภาษาไทย เมื่อย

เรื่องยุ่ง ๆ เกี่ยวกับอักษรควบ
560
วารสารราชบัณฑิตยสถาน
ปีที่ ๓๖ ฉบับที่ ๔ ต.ค.-ธ.ค. ๒๕๕๔

ค�ำที่พยัญชนะต้นเป็น ล ได้แก่ แมลง แมง แลง ค�ำทีพ่ ยัญชนะต้น ไตรภูมิพระร่วง มีข้อความว่า “แลไม้นนั้
ค�ำว่า เลื่อย พบในภาษาไทยถิ่นเหนือ เป็น มล ได้แก่ ค�ำว่า แมลง ค�ำทีพ่ ยัญชนะ หาด้วงหาแลงมิได้”
หมายถึง เมื่อยล้า เหนื่อยอ่อน และพบ ต้นเป็น ม ได้แก่ค�ำว่า แมง (ภาษาไทย แมลบ แมบ แลบ ค�ำที่พยัญชนะ
ในวรรณคดี เช่น บทเห่กล่อมพระบรรทม ถิ่นเหนือ เขียน แมลง อ่าน แมง) ต้นเป็น มล ได้แก่ค�ำว่า แมลบ พบใน
ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณมีกาพย์ ว่า ค�ำทีพ่ ยัญชนะต้นเป็น ล ได้แก่คำ� ว่า ภาษาไทยถิ่ น ใต้ แ ละภาษาไทลื้ อ ที่ พู ด
“ด้วยล้าเลื่อยเหนื่อยนัก พระวรพักตร์ แลง ใน แลงกินฟัน ซึ่งบางคนก็พูดว่า ในมณฑลยูนนาน ประเทศสาธารณรัฐ
หม่นหมอง” แมงกินฟัน และพบในวรรณคดี เช่น ประชาชนจีน ผ่าแมลบ หมายความว่า
ฟ้าแลบ และพบในวรรณคดี เช่น

โดยรอบหัวก�ำนัน้ ย่อมประดับด้วยแก้ว ๗ ประการ


แลบ่อนเลื่อมใสงามดั่งฟ้าแมลบ แลมีรัศมีดั่งพระอาทิตย์ เมื่อพิจารณาดูใส
เลื่อมพรายงามดั่งสายฟ้าแมลบรอบๆ ไพล่ๆ ไขว้ๆ ไปมา ดูงามนักหนาทั่ว
ทุกแห่งแล
(ไตรภูมิพระร่วง)

ค�ำทีพ่ ยัญชนะต้นเป็น ม ได้แก่คำ� ว่า ล แล้วแผลงเป็น มะล ข้อสันนิษฐานนีอ้ าจ บทเห่กล่อมพระบรรทม ฉบับหอพระสมุด


แมบ พบในภาษาไทยถิ่นเหนือ ถิ่นอีสาน มีส่วนถูก ค�ำบางค�ำ เช่น มลาว อาจแผลง วชิ ร ญาณ. พระนคร : โสภณ
และไทใหญ่ มาจาก ลาว แต่คำ� ทีม่ เี สียง มะล ส่วนใหญ่ พิพรรธนากร; ๒๔๖๖.
ค�ำทีพ่ ยัญชนะต้นเป็น ล ได้แก่คำ� ว่า น่าจะมีมาแต่เดิม มิใช่เกิดจากการแผลงค�ำ บรรจบ พันธุเมธา. พจนานุกรมเขมร-ไทย
แลบ คนไทลือ้ คงมิได้แผลงค�ำ แมลบ จาก แลบ ฉบั บ ทุ น พระยาอนุ ม านราชธน.
ภาษาไทยถิ่นอีสานมีค�ำว่า แมบ หรื อ แมบ และคนไทในหวู ่ ห มิ ง ๕ เล่ม กรุงเทพฯ : จงเจริญการพิมพ์;
และ แลบ ตามพจนานุกรมภาคอีสาน- ก็คงมิได้แผลงค�ำ มล๋าก จากค�ำเมือก หรือ ๒๕๑๗-๒๕๒๖.
ภาคกลาง แมบ หมายถึง “มีแสงกะพริบ เลือก เราอาจสันนิษฐานในทางตรงข้าม บรรจบ พันธุเมธา. พจนานุกรมพ่าเก่-
มีแสงแวววาว, อาการฟ้าแลบ เช่น ฟ้า คือเดิมเป็น มฺล แล้วแยกเสียงเป็น ม และ ไทย-อังกฤษ. เอกสารอัดส�ำเนา;
เหลื้อมแมบ=ฟ้าแลบแปลบ แมบๆ ก็ว่า,” ล หรือแทรกเสียงเป็น มะล ถ้าเชือ่ ตามข้อ ๒๕๓๐.
แลบ หมายถึง “พ้นออกจากที่เดิมหรือที่ สันนิษฐานนี้ ค�ำทีม่ ี มล ก็เป็นค�ำทีป่ จั จุบนั บรรจบ พันธุเมธา. “จริง ท�ำไมจึงมี ร” ใน
ปกปิดก�ำบัง (ใช้กบั ของแบน ๆ) เช่น แลบ นี้ไม่ได้ออกเสียงควบกล�้ำ แต่อาจจะเคย ภาษาและวรรณคดีไทย. ปีที่ ๓
ลิ้น, ไฟแลบ เป็นต้น.” ออกเสียงควบกล�้ำเป็น มฺล ฉบับที่ ๓ (ธ.ค. ๒๕๒๙ : ๒๒-๒๓).
เห็นได้วา่ ค�ำทีม่ เี สียง มฺล ม ล และ บวรบรรณรักษ์, นายร้อยเอก หลวง.
มะล มักมีความหมายคล้ายคลึงกันจน บรรณานุกรม สํ ส กฤต-ไท-อั ง กฤษ อภิ ธ าน.
ชวนให้คิดว่า เดิมน่าจะเป็นค�ำเดียวกัน ไตรภูมิพระร่วงของพระญาลิไทย. พิมพ์ พระนคร : กรมวิชาการ กระทรวง
ปัญหาคือค�ำเดิมควรจะเป็นเสียงใด ข้อ ครั้งที่ ๒. พระนคร : องค์การค้า ศึกษาธิการ; ๒๕๐๗.
สันนิษฐานประการหนึง่ คือ เดิมเป็น ม หรือ ของคุรุสภา; ๒๕๐๖.

นววรรณ พันธุเมธา
561
The Journal of the Royal lnstitute of Thailand

Volume 36 No. 4 Oct-Dec 2011

ประชุมจดหมายเหตุ สมัยอยุธยา ภาค ๑. วรเวทย์ พิ สิ ฐ , พระ. หลั ก ภาษาไทย. อั ก ขราภิ ธ านศรั บ ท์ ของหมอปรั ด เล.
พระนคร : คณะกรรมการจัดพิมพ์ พระนคร : โร ง พิ ม พ ์ วิ ท ย า ลั ย พระนคร : องค์การค้าของคุรสุ ภา;
เอกสารทางประวั ติ ศ าสตร์ เทคนิค; ๒๕๐๒. ๒๕๑๔.
วัฒนธรรมและโบราณคดี ส�ำนัก ศริ พ จน์ ภ าษาไทย์ พจนานุก รมไทย- อุดม รุง่ เรืองศรี. พจนานุกรมล้านนา-ไทย
นายกรัฐมนตรี; ๒๕๑๐. ฝรั่งเศส-อังกฤษ ฉบับ Bishop ฉบับแม่ฟ้าหลวง. กรุ ง เทพฯ :
ปาเลอกัว, ชอง-บาตีสต์. สัพะ พะจะนะ J.L.Vey จั ด ท� ำ พิ เ ศษส� ำ หรั บ มู ล นิธิ แม่ ฟ ้ า หลวงและธนาคาร
พาสาไท. กรุงเทพฯ : สถาบัน คณะอนุกรรมการช�ำระกฎหมาย ไทยพาณิชย์ จ�ำกัด; ๒๕๓๓.
ภาษาไทย กรมวิชาการ กระทรวง ตราสามดวง ส� ำ นัก เลขาธิ ก าร อุปกิตศิลปสาร, พระยา. หลักภาษาไทย.
ศึกษาธิการ; ๒๕๔๒. นายกรัฐมนตรี; ๒๕๔๙. พระนคร : ไทยวั ฒ นาพานิช ;
พจนานุกรม ภาคอีสาน-ภาคกลาง ฉบับ ศรีสุนทรโวหาร, พระยา. ภาษาไทยของ ๒๕๑๑.
ปณิธาน. สมเด็จพระมหาวีรวงศ์ พระยาศรี สุ น ทรโวหาร (น้ อ ย ÐìêÐìêu Chinh Nhim, Jean Donaldson.
(ติสฺสมหาเถระ). กรุงเทพฯ : ไทย อาจารยางกูร). พิมพ์ครั้งที่ ๓. Tai-Vietnamese-English Diction-
วัฒนาพานิช; ๒๕๑๕. พระนคร : แพร่พิทยา; ๒๕๑๔. ary. Saigon; 1970.
พจนานุ ก รมภาษาถิ่ น ใต้ ๒๕๒๕. ศานติ ภักดีค�ำ. พจนานุกรมค�ำยืมภาษา Halliday, R. A Mon-English Dictionary.
กรุงเทพฯ : สถาบันทักษิณคดีศกึ ษา เขมรในภาษาไทย. กรุงเทพฯ : Bangkok : Siam Society;1922.
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ; อมรินทร์พริ้นติ้ง แอนด์พับลิชชิ่ง Luo Yongxian. A Dictionary of Dehong,
๒๕๒๕. จ�ำกัด มหาชน, ๒๕๔๙. Southwest China. Canberra : Paciffiic
มหาชาติ ค� ำ หลวง ฉบั บ หอพระสมุ ด ศิลปากร, กรม. ประถม ก กา ประถม Linguistics, Research School of
วชิรญาณ; ๒๔๖๐. ก กา หัดอ่าน ปฐมมาลา อักษรนิติ Paciffiic and Asian Studies, The
ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรม ฉบับ แบบเรียนหนังสือไทย. ธนบุรี : Australian National University;
ราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒. ศิลปาบรรณาคาร; ๒๕๑๓. 1999.
กรุงเทพฯ : นานมีบุ๊คส์; ๒๕๔๖. ศิลปากร, กรม. เรื่องกฎหมายตราสาม
ลิลติ พระลอ. ธนบุรี : บรรณาคาร; ๒๕๑๔. ดวง. กรุ ง เทพฯ : อุ ด มศึ ก ษา;
ลิลิตยวนพ่าย. พระนคร : ศรีหงส์ ๒; ๒๕๒๑.
๒๔๗๗.

เรื่องยุ่ง ๆ เกี่ยวกับอักษรควบ
562
วารสารราชบัณฑิตยสถาน
ปีที่ ๓๖ ฉบับที่ ๔ ต.ค.-ธ.ค. ๒๕๕๔

Abstract Some Confusion Concerning Double Letters for Consonants


Navavan Bandhumedha
Fellow of the Academy of Arts, The Royal Institute, Thailand

This paper presents some confusion concerning double letters for a consonant as follows:
1. Double letters for an initial consonant in some words are pronounced as a single consonant.
2. Some words should not be written with double letters since the original words were pronounced as
a single consonant.
3. Initial consonant clusters of some words used to be pronounced as a single consonant in former
time.
4. Some words which at present are written differently, for example, written with double letters and
with a single letter, were originally the same words.
5. Two consecutive letters which at present are pronounced as initial consonants of two consecutive
syllables might have been pronounced as initial consonant cluster of the second syllable.

Key words : double letters for a consonant, consonant clusters

นววรรณ พันธุเมธา
563
The Journal of the Royal lnstitute of Thailand

Volume 36 No. 4 Oct-Dec 2011

วรรณกรรมทักษิณ :
หลักฐานส�ำคัญของภาคใต้ ที่ท้าทายการศึกษา*
ชวน เพชรแก้ว
ภาคีสมาชิก ส�ำนักศิลปกรรม
ราชบัณฑิตยสถาน

บทคัดย่อ
หนังสือบุด เป็นวรรณกรรมลายลักษณ์ของภาคใต้ที่บันทึกสรรพวิทยาการต่าง ๆ ไว้ก่อนที่การพิมพ์จะ
แพร่หลาย แหล่งรวบรวมที่ส�ำคัญได้แก่ วัด และบ้านของผู้ใฝ่รู้ ในสมัยแรกเริ่มการพิมพ์ได้มีการน�ำวิทยาการ
จากหนังสือบุดมาจัดพิมพ์เป็นหนังสือเล่มเล็กเพื่อเผยแพร่ ต่อมามีนกั วิชาการภาคใต้จ�ำนวนหนึง่ ได้เก็บรวบรวม
หนังสือบุด หนังสือใบลาน เอกสารต่าง ๆ กันอย่างจริงจังท�ำให้มวี รรณกรรมไม่นอ้ ยพิมพ์ออกเผยแพร่อย่างต่อเนือ่ ง
ใน พ.ศ. ๒๕๔๔-๒๕๔๗ โครงการวิจัยภูมิปัญญาทักษิณจากวรรณกรรมและพฤติกรรมได้คัดสรรวรรณกรรม
๘๔ เรื่อง จัดท�ำเป็น วรรณกรรมทักษิณ : วรรณกรรมคัดสรร พิมพ์เผยแพร่ ใน พ.ศ. ๒๕๔๘ มีเนื้อหาสาระ
เกีย่ วกับ ศิลาจารึกและจารึก ต�ำรา คัมภีร์ ประวัตศิ าสตร์ พงศาวดาร ต�ำนาน การแพทย์ เหตุการณ์สำ� คัญในท้องถิน่
นิทานประโลมโลก ความเชื่อและคตินิยม นิราศ หลักศาสนา ปรัชญาวรรณกรรมเฉพาะกิจ กฎหมาย บุคคลและ
สถานที่ ประเพณีและพิธีกรรม ปกิณกะ และสุภาษิตค�ำสอนนีค่ ือ ส่วนเสี้ยวของฐานรากสังคมภาคใต้อันเป็นวิถี
และพลังที่ท้าทายการศึกษา

ค�ำส�ำคัญ : วรรณกรรมทักษิณ, วรรณกรรมคัดสรร, หนังสือบุด, หนังสือใบลาน

บทน�ำ ใบลาน และสมุดข่อยรุ่งโรจน์ และเป็น พบว่า อย่างช้าเคยมีมาตั้งแต่สมัยสมเด็จ


ภาคใต้มีสรรพวิทยาการต่าง ๆ ที่ ช่วงที่นิยมใช้อักษรขอมตลอดมาจนถึง พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ดังเช่น จดหมาย
บรรพบุรษุ สัง่ สมถ่ายทอดเป็นวรรณกรรม สมัยกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้น ส�ำหรับ ของท่านจัน เมืองถลาง ที่มีโต้ตอบกับ
ลายลักษณ์อย่างอเนกอนันต์ วรรณกรรม การใช้อักษรไทยและอักษรขอมไทยใน ฟรานซิส ไลท์ ชาวอังกฤษที่เมืองปีนงั
ดังกล่าวมีทั้งที่บันทึกบนแผ่นศิลา แผ่น ภาคใต้ พบหลักฐานที่ชัดเจนจากจารึก ส�ำหรับวรรณกรรมภาคใต้ที่ตกทอดมา
ทองค�ำ ใบลาน สมุดข่อยหรือหนังสือบุด บนแผ่นทองค�ำที่ใช้หุ้มปลียอดพระบรม- จนกระทั่ ง ถึ ง ปั จ จุ บั น ส่ ว นใหญ่ เ ป็ น
และกระดาษฝรั่ง วรรณกรรมที่เป็นศิลา ธาตุเจดีย์ วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร หนังสือบุด หนังสือใบลาน และหนังสือ
จารึกของภาคใต้ระหว่างพุทธศตวรรษ จังหวัดนครศรีธรรมราช ตรงกับ พ.ศ. เล่มเล็ก หนังสือบุดและหนังสือใบลาน
ที่ ๑๒-๑๘ ล้วนเป็นอิทธิพลตัวอักษรมา ๒๑๕๙ ในแผ่นดินสมเด็จพระเอกาทศรถ เป็นเอกสารเก่าช่วงก่อนการพิมพ์ ส่วน
จากภายนอก ได้แก่ อักษรปัลลวะ อักษร แต่คาดว่าการใช้อักษรไทยยังไม่เป็นที่ หนังสือเล่มเล็กเป็นหนังสือซึ่งพิมพ์เผย
มอญ อักษรทมิฬ และอักษรขอม ครัน้ ถึง นิยมแพร่หลายในภาคใต้ขณะนัน้ ในส่วน แพร่ในระยะแรก ๆ ทีก่ ารพิมพ์แพร่หลาย
พุทธศตวรรษที่ ๑๘ วัฒนธรรมการใช้ ของการใช้กระดาษฝรั่งเขียนภาษาไทย ในภาคใต้ โดยส่วนหนึง่ น�ำวิทยาการมา

*
บทความนี้ปรับปรุงจากการบรรยายผลงานทางวิชาการในที่ประชุมส�ำนักศิลปกรรม เมื่อวันที่ ๗ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๓

วรรณกรรมทักษิณ : หลักฐานส�ำคัญของภาคใต้ที่ท้าทายการศึกษา
564
วารสารราชบัณฑิตยสถาน
ปีที่ ๓๖ ฉบับที่ ๔ ต.ค.-ธ.ค. ๒๕๕๔

จากหนังสือบุด และหนังสือใบลานมา มนต์ ฟังเทศน์ และถวายภัตตาหารแล้ว ขณะเดียวกันศูนย์วัฒนธรรมต่าง ๆ ใน


จัดพิมพ์ อีกส่วนหนึง่ เป็นการสร้างสรรค์ เวลาว่างก่อนเที่ยงและเวลาว่างหลังเที่ยง ภาคใต้ ได้ เ ก็ บ รวบรวมวรรณกรรมกั น
ขึ้นใหม่ของผู้รู้ ก่อนจะกลับบ้านจะมีชาวบ้าน ชาววัด อย่างจริงจัง ท�ำให้มีวรรณกรรมไม่น้อย
เป็นกลุ่ม ๆ สวดหนังสือตามระเบียง พิมพ์ออกเผยแพร่อย่างต่อเนื่อง แหล่ง
พัฒนาการการศึกษาวรรณกรรมทักษิณ พระอุโบสถระเบียงพระด้าน และศาลาวัด สื บ ค้ น ส� ำ คั ญ ที่ เ ก็ บ รวบรวมและศึ ก ษา
ก่อนทีก่ ารพิมพ์จะแพร่หลายอย่าง หนังสือทีใ่ ช้สวดส่วนใหญ่เป็นวรรณกรรม วรรณกรรมดังกล่าว เช่น สถาบันทักษิณคดี
กว้ า งขวาง หนัง สื อ บุดในฐานะสรรพ ประโลมโลกและวรรณกรรมที่เกี่ยวกับ มหาวิทยาลัยทักษิณ ศูนย์วฒั นธรรมภาคใต้
วิ ท ยาการได้ รั บ การเอาใจใส่ แ ละเก็ บ ศาสนา ทั้งผู้สวดและผู้ฟังต่างด�่ำลึกใน มหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ นครศรี ธ รรมราช
รักษาไว้เป็นอย่างดี วัดเก่าแก่ทุกวัดและ เนื้อหาสาระ ค�ำสอน กลายเป็นความสุข ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัย
ที่ บ ้ า นของผู ้ ใฝ่ รู ้ ใฝ่ ศึ ก ษามี ห นัง สื อ บุ ด ความบันเทิง นอกเหนือไปจากการดูหนัง ราชภั ฏ สุ ร าษฎร์ ธ านี ศู น ย์ วั ฒ นธรรม
เก็บรวบรวมไว้เป็นจ�ำนวนมาก บางเล่ม ตะลุง มโนห์รา ฟังเพลงบอก และเพลง มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต ศูนย์วฒ ั นธรรม
ยังคงมีสภาพสมบูรณ์พอที่จะน�ำมาศึกษา แปดบท ฯลฯ นอกจากสวดหนังสือกัน จังหวัดพัทลุง โรงเรียนสตรีพทั ลุง เป็นต้น
ได้ แต่ก็มีไม่ถึงร้อยละ ๑๐ ของหนังสือ ที่วัดแล้ว บ้านใดที่มีทุนทรัพย์หากมีงาน แม้จะมีแหล่งรวบรวม และศึกษาค้นคว้า
ที่เก็บรวบรวมได้ ทั้ง ๆ ที่ผู้เก็บ ผู้คัดลอก หรือกิจการใดก็มักนิยมให้ผู้ช�ำนาญการ อย่ า งจริ ง จั ง มากขึ้ น แต่ ผ ลงานศึ ก ษา
ผู้ศึกษาพยายามรักษาไว้ให้คงอยู่เพื่อเป็น สวดหนังสือไปสวดโดยให้ค่าตอบแทน วรรณกรรมทั ก ษิ ณ ก็ มิ ไ ด้ เ คลื่ อ นตั ว
สมบั ติ ข องคนรุ ่ น หลั ง ด้ ว ยการสร้ า ง เป็นสิ่งของบ้าง เป็นเงินบ้าง การสวด ก้าวไกลไปกว่าเดิมเท่าใดนัก หากเปรียบ
คตินยิ ม ความเชือ่ ว่าเป็นหนังสือศักดิส์ ทิ ธิ์ หนัง สื อ ดั ง กล่ า วช่ ว ยให้ มี ผู ้ จ ดจ� ำ เรื่ อ ง เที ย บกั บ จ� ำ นวนวรรณกรรมที่ เ ก็ บ ไว้
แต่ก็ไม่วายถูกท�ำลายด้วยความเชื่อบาง ราวต่าง ๆ ได้มากมาย ซึ่งภายหลังเมื่อ ตามแหล่งต่าง ๆ จ� ำนวนไม่น้อยกว่า
ประการ ถูกขายให้ชาวต่างชาติ และหมด ต้นฉบับหนังสือเสื่อมสภาพสูญหายไป ๖,๐๐๐ ฉบับ (ใน พ.ศ. ๒๕๔๐ สถาบัน
ความนิยมเนื่องจากระบบการพิมพ์สมัย บุคคลเหล่านี้อาศัยการจดจ�ำถ่ายทอดให้ ราชภัฏในภาคใต้ได้จดั ท�ำข้อมูลจากแหล่ง
ใหม่แพร่หลาย วันนี้จึงมีหนังสือเหลือ เรื่องราวต่าง ๆ ที่ส�ำคัญยังคงอยู่ไม่น้อย สืบค้นเฉพาะ ๕ แหล่ง มีวรรณกรรม
อยู่ส่วนหนึ่งซึ่งน้อยนิดหากเทียบเคียง แต่ปจั จุบนั สภาพการณ์เช่นนีห้ มดไปแล้ว รวมทั้งสิ้น ๖,๕๑๙ รายการ เป็นของ
กับอดีต แต่ก็ยังคงเป็นความภูมิใจของ อย่างสิ้นเชิง สถาบันทักษิณคดีศึกษา ๑,๓๗๙ รายการ
ชาวภาคใต้ที่ใฝ่รู้ใฝ่ศึกษาเรื่องนี้ เพราะนี่ เมื่อประมาณ ๓๐ ปีที่ผ่านมานี้ สถาบันราชภัฏนครศรีธรรมราช ๓,๗๖๔
คือ วัฒนธรรมภาคใต้ที่เล่าขานถึงความ ท่านขุนอาเทศ (กลอน มัลลิกะมาส) นาย รายการ สถาบั น ราชภั ฏ สุ ร าษฎร์ ธ านี
เป็นภาคใต้ และบอกกล่าวถึงอิทธิพล พร้อม ศรีสมั พุทธ พระภิกษุดำ� วัดหัวอิฐ ๗๔๘ รายการ สถาบั น ราชภั ฏ ภู เ ก็ ต
ต่าง ๆ ที่หล่อหลอมความเป็นเอกลักษณ์ เมืองนครศรีธรรมราช นายดิเรก พรต ๔๘๒ รายการ และศู น ย์ วั ฒ นธรรม
ของพวกเขา ตะเสน รองศาสตราจารย์ภิญโญ จิตต์ จังหวัดพัทลุง ๑๔๖ รายการ)
เมื่อประมาณ ๕๐-๖๐ ปีที่ผ่าน ธรรม ศาสตราจารย์สุธิวงศ์ พงศ์ไพบูลย์ ใน พ.ศ. ๒๕๔๔-๒๕๔๗ มี
มานี้ ชาวบ้านชาววัดไม่น้อยยังนิยมสวด อาจารย์วิเชียร ณ นคร และบุคคลอื่น ๆ ชุ ด โครงการวิ จั ย ภู มิ ป ั ญ ญาทั ก ษิ ณจาก
หนัง สื อ ซึ่ ง เป็ น วิ ธี ก ารถ่ า ยทอดความรู ้ อีกจ�ำนวนหนึ่งได้พยายามเก็บรวบรวม วรรณกรรมและพฤติ ก รรม ได้ รั บ ทุ น
และความบันเทิงอย่างหนึง่ ในช่วงทีค่ วาม หนังสือบุด หนังสือใบลาน เอกสารต่าง ๆ สนับสนุนการวิจัยจากส�ำนักงานกองทุน
บันเทิงจากสิง่ บันเทิงเช่นในปัจจุบนั ยังไม่ กันอย่างจริงจัง สถาบันทักษิณคดีศึกษา สนับสนุนการวิจัย (สกว.) ศาสตราจารย์
แพร่หลาย ทุกวันพระ ๘ ค�่ำ และ ๑๕ ค�่ำ มหาวิทยาลัยทักษิณได้จดั ประชุมสัมมนา สุ ธิ ว งศ์ พงศ์ ไพบู ล ย์ ผู ้ เป็ น หั ว หน้ า
ภายหลังจากทีช่ าวบ้านรับศีล ฟังพระสวด เกี่ยวกับวรรณกรรมท้องถิ่นขึ้นหลายครั้ง โครงการ ได้ระดมนักวิชาการของภาคใต้

ชวน เพชรแก้ว
565
The Journal of the Royal lnstitute of Thailand

Volume 36 No. 4 Oct-Dec 2011

มาร่วมกันศึกษา ในส่วนของโครงการ คณะผู ้ วิ จั ย ได้ คั ด สรรวรรณกรรมรวม ประมวลไว้เป็นอย่างดี ย่อมเป็นลู่ทางที่


วิจัยภูมิปัญญาทักษิณจากวรรณกรรมซึ่ง จ�ำนวน ๘๔ เรื่อง จัดท�ำเป็น วรรณกรรม ง่ายและสะดวกต่อการศึกษาอย่างดียงิ่ แต่
เป็นโครงการย่อยในโครงการดังกล่าวมี ทักษิณ : วรรณกรรมคัดสรร ด้วยการ ก็คาดหวังไม่ได้แน่นอนนักว่า จะได้รับ
นักวิจัยร่วมมากกว่า ๔๐ คน ได้ศึกษา ปริวรรตเป็นอักขรวิธีปัจจุบันโดยรักษา ความสนใจอย่างกว้างขวางต่อไปหรือไม่
ค้นคว้าตรวจสอบวรรณกรรมทั้งหนังสือ ถ้ อ ยค� ำ เดิ ม ไว้ จั ด ท� ำ เชิ ง อรรถและ เพราะความหยาบกระด้างของผู้คนใน
บุดและผลงานวรรณกรรมทีพ่ มิ พ์เผยแพร่ สังเคราะห์ผลงาน เพื่อเป็นแหล่งอ้างอิง ยุ ค วั ต ถุ นิ ย มมั ก มองเห็ น แค่ ป ระโยชน์
จ�ำนวนมากกว่า ๕,๐๐๐ ฉบับ ชั้นต้น และค้นคว้าศึกษาในเชิงวิจักษณ์ วิจารณ์ ใช้ ส อยระดั บ ตื้ นซึ่ ง เป็ น แค่ รู ป ธรรมที่
คณะนักวิจัยได้คัดเลือกศึกษาในลักษณะ หรือเชิงเปรียบเทียบเพือ่ จะได้รจู้ กั และเข้า ผิวเผินเท่านัน้
วรรณกรรมปฏิทศั น์ จ�ำนวน ๔๓๕ เรือ่ ง ถึงวรรณกรรมท้องถิ่นภาคใต้มากยิ่งขึ้น
เพื่อประมวลสารัตถะ รูปแบบ ลักษณะ ชุดโครงการวิจัยภูมิปัญญาทักษิณ มีอะไรในวรรณกรรมทักษิณ : วรรณกรรม
ทั่วไปและลักษณะเฉพาะของแต่ละเรื่อง จากวรรณกรรมดังกล่าวนับเป็นมิติใหม่ คัดสรร
ขัน้ ต่อมาได้จดั ท�ำเป็น วรรณกรรมทักษิณ : ของการศึกษา อาจเป็นความหวังได้ว่า วรรณกรรมทักษิณ : วรรณกรรม
วรรณกรรมปริทัศน์ โดยการสังเคราะห์ เป็นผลงานศึกษาที่ช่วยยืดลมหายใจของ คัดสรร อันเป็นส่วนหนึง่ ของโครงการ
วรรณกรรมในแง่ มุ มต่างๆ และจัดท� ำ วรรณกรรมทั ก ษิ ณ ให้ ย าวนานขึ้ น อี ก วิจัยภูมิปัญญาทักษิณจากวรรณกรรมมี
หนังสือวรรณกรรมทักษิณ : วรรณกรรม หรือจากที่กระจัดกระจายด้วยการพิมพ์ เนื้อหาสาระครอบคลุมกว้างขวาง คือ
พินิจ ส�ำหรับผู้ที่ประสงค์จะศึกษาเป็น เผยแพร่ ม าแล้ ว ก็ ดี มาเป็ น งานพิ ม พ์
ภาพรวมในเบื้ อ งต้ น และขั้ น สุ ด ท้ า ย โดยผ่านการคัดสรรในระดับหนึ่งและ

ศิลาจารึกและจารึกในลักษณะอื่น ต�ำรา คัมภีร์


ประวัติศาสตร์ พงศาวดาร ต�ำนาน การแพทย์
บันทึกเหตุการณ์ส�ำคัญในท้องถิ่น นิทานประโลมโลก
ความเชื่อและคตินิยม นิราศ
หลักศาสนา ปรัชญา วรรณกรรมเฉพาะกิจ
กฎหมาย บุคคลและสถานที่
ประเพณีและพิธีกรรม ปกิณกะ
สุภาษิตค�ำสอน

เนือ้ หาซึง่ ครอบคลุมสาระดังกล่าว เนื้อเรื่อง ลักษณะเฉพาะ และคุณค่า ส่วน นี้ผู้ศึกษาได้จัดท�ำเชิงอรรถอธิบายศัพท์


ได้ จ ากการศึ ก ษาวรรณกรรมทั้ ง หมด ทีส่ อง คือ เนือ้ หาวรรณกรรม ซึง่ ปริวรรต ถ้อยค�ำยากและค�ำศัพท์ภาษาถิ่นไว้ท้าย
๘๔ เรือ่ ง แต่ละเรือ่ งผูศ้ กึ ษาจัดเนือ้ หาเป็น เป็นอักขรวิธีปัจจุบัน แต่ได้รักษาหรือ หน้าที่มีค�ำศัพท์ดังกล่าว สาระในแต่ละ
๒ ส่วน คือ ส่วนแรกเป็นความรู้เกี่ยวกับ คงถ้อยค�ำเดิมไว้ บางเรื่องที่มีต้นฉบับ เรื่องจึงช่วยให้ผู้สนใจสามารถศึกษาได้
วรรณกรรมและการวิเคราะห์ ส่วนที่สอง หลายเล่มและบางเล่มขาดความสมบูรณ์ อย่างสะดวกและรวดเร็วขึน้ กว่าการค้นหา
เป็นการปริวรรตวรรณกรรม ส่วนแรก ผู้ศึกษาได้น�ำมาช�ำระเป็นฉบับใหม่ที่มี ต้นฉบับเดิมหรือฉบับคัดลอก
ผู ้ ศึ ก ษากล่ า วถึ ง ประวั ติ แ ละลั ก ษณะ เนือ้ หาสมบูรณ์ โดยมีบทสรุปและวิพากษ์ หากมี ค� ำ ถามว่ า นอกเหนื อ จาก
วรรณกรรม ผู้รจนา อายุของวรรณกรรม ผลของการศึกษาควบคู่ไว้ด้วย นอกจาก การด� ำ เนินงาน วรรณกรรมทั ก ษิ ณ :

วรรณกรรมทักษิณ : หลักฐานส�ำคัญของภาคใต้ที่ท้าทายการศึกษา
566
วารสารราชบัณฑิตยสถาน
ปีที่ ๓๖ ฉบับที่ ๔ ต.ค.-ธ.ค. ๒๕๕๔

วรรณกรรมคัดสรรที่ได้รวบรวมศึกษา เท่านัน้ แต่ผคู้ นและสังคมอืน่ ๆได้รงั สรรค์ พุทธศาสนา และคติความเชื่อดั้งเดิมของ


วรรณกรรมในสาระดังกล่าวแล้ว อะไร วรรณกรรมขึ้นเพื่อบันทึกเรื่องราวต่าง ๆ มลายูในท้องถิ่นผสมผสาน สะท้อนการ
คื อ ความใหม่ ความน่ า สนใจของการ ในสังคมของพวกเขา อีกทั้งช่วยให้มอง ปฏิสัมพันธ์กับคนต่างถิ่นใกล้ไกล กล่าว
รวบรวมศึ ก ษาครั้ ง นี้ สิ่ ง ที่ น ่ า สนใจ เห็นอิทธิพลบางประการของการก่อเกิด ถึ ง การเกิ ด ของสรรพสิ่ ง ที่ ตั ว เอกของ
ประการแรก คือ มีวรรณกรรมจ�ำนวน วรรณกรรมที่หลากหลายออกไปอีกด้วย ต�ำนาน คือ พระอิศวร และพระอุมา เป็น
ไม่น้อยเป็นผลงานที่ไม่เคยมีผู้ใดศึกษา วรรณกรรมทักษิณ : วรรณกรรมคัดสรร ผูใ้ ห้ทงั้ โลกนีแ้ ละจักรวาล การเกิดหยูกยา
อย่างจริงจังและไม่เคยเผยแพร่ให้เป็นทีร่ บั จึ ง มี คุ ณ อนั น ต์ ต ่ อ สั ง คมภาคใต้ แ ละ มนต์คาถา ตลอดจนพิธีกรรมต่าง ๆ ที่มี
รู้ต่อสาธารณชนอย่างกว้างขวางมาก่อน ประเทศชาติของเราโดยส่วนรวมอย่าง ต่อเนื่องมาจนถึงปัจจุบันนี้ เช่น พิธีกรรม
เช่น ต�ำนานสร้างโลกฉบับบ้านป่าลาม แน่นอน ในการเกิด การแต่งงาน การท�ำศพ การท�ำ
โองการพญากรูด จารึกแผ่นทองที่ปลี ไร่ท�ำนา การท�ำขวัญข้าว เป็นต้น
ยอดพระมหาธาตุเจดีย์นครศรีธรรมราช เสี้ ย วหนึ่ ง จากวรรณกรรมทั ก ษิ ณ :
เกาะตะรุเตาทัณฑสถานประวัติศาสตร์ วรรณกรรมคัดสรร โองการพญากรูด
แหล่หมอจันทร์ ปรมัตถธรรมค�ำกาพย์ ได้ ก ล่ า วมาในตอนต้ น แล้ ว ว่ า ต้ นฉบั บ วรรณกรรมเล่ ม นี้ เป็ น
พลายจ� ำ เริ ญ (คชานุ ส รณ์ ) ค� ำ กาพย์ คณะผู้ศึกษาวิจัยจ�ำนวนมากกว่า ๔๐ คน หนัง สื อ บุ ด ขาว ศู น ย์ วั ฒ นธรรมมหา
โจทย์เลขปริศนา และแบบเรียนค�ำกาพย์ ได้เริ่มเสาะหาต้นฉบับวรรณกรรมจาก วิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ ภู เ ก็ ต เก็ บ รวบรวมไว้
เป็นต้น ประการทีส่ องในเมือ่ วรรณกรรม แหล่งเก็บรวบรวมวรรณกรรมในภาคใต้ ต้นฉบับเขียนว่า “ตัมราองการพญากรูด”
ดังกล่าวมิได้มีการศึกษากันอย่างจริงจัง มาตรวจสอบและคัดเลือกจากวรรณกรรม วรรณกรรมฉบับนีแ้ ปลกกว่าโองการฉบับ
และไม่เคยเผยแพร่อย่างกว้างขวางมาก่อน จ�ำนวนหลายพันเล่ม โดยศึกษาในลักษณะ อื่น ๆ กล่าวคือ ได้ก�ำหนดเอาต้นไม้ คือ
ความจริงบางประการแต่เดิมเป็นทีร่ กู้ นั ใน วรรณกรรมปฏิทัศน์ จ�ำนวน ๔๓๕ เรื่อง ต้นมะกรูด จากภูเขาสหัสบรรพต มาเป็น
วงจ�ำกัด เช่น ผู้เป็นเจ้าของ และผู้สนใจ แล้วด�ำเนินการคัดสรรจนเหลือเพียง ๘๔ พญายาด้วยอ� ำนาจฤทธิ์แห่งพระผู้เป็น
ในวงแคบเท่ า นั้น สรรพวิ ท ยาการทั้ ง เรื่อง ทั้ง ๘๔ เรื่องนี้ล้วนน่าสนใจทั้งสิ้น เจ้าที่ก�ำกับไว้ โดยมอบหมายให้เจ้าพิธี
ปวงก็รังแต่จะเสื่อมสูญ และหมดสิ้นไป ในที่นจี้ ะกล่าวถึงส่วนเสี้ยวเล็ก ๆ (หมอ) น�ำไปรักษาผู้ป่วย เนื้อหาทั้งหมด
ตามกาล เมื่อเป็นเช่นนัน้ วรรณกรรมดัง จากวรรณกรรมเพี ย งบางเรื่ อ ง เพื่ อ มี ๑๑ ส่วน คือ เริม่ จากการสดุดพี ระพุทธ
กล่าวทีน่ ำ� มาศึกษาเผยแพร่จงึ ช่วยไขความ สนับสนุน “ความมีอะไรในวรรณกรรม พระธรรม พระสงฆ์ การให้ความส�ำคัญ
จริงบางประการเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ ทักษิณ : วรรณกรรมคัดสรร” ต่อมะกรูดในฐานะพญายา การกล่าวถึง
สังคม ความเชื่อ ค่านิยม วิถีชีวิต ฯลฯ พระอิศวรณรายณ์ และพลังธรรมชาติ
อันเป็นการช่วยเสริมการศึกษาเกี่ยวกับ ต�ำนานสร้างโลกฉบับบ้านป่าลาม ของสมุนไพรมะกรูด และความเชื่อมั่น
ผู้คนและสังคมภาคใต้ให้แจ่มชัดขึ้นได้ ต�ำนานฉบับนี้บันทึกในหนังสือ ทางจิ ต การน� ำ คาถาอาคมและอ� ำ นาจ
อีกระดับหนึง่ สิง่ ทีน่ า่ สนใจซึง่ เป็นอนุสติ บุดขาว ผู้เป็นเจ้าของเป็นหมอพื้นบ้าน ของพระรัตนตรัยมาช่วยขจัดปัดเป่าให้
อีกประการหนึง่ ก็คือ การศึกษารวบรวม ที่บ้านป่าลาม ต�ำบลช้างไห้ตก อ�ำเภอ เคราะห์ร้ายหาย การท�ำคุณไสย และการ
วรรณกรรมครั้งนี้เป็นการเปิดโลกใหม่ โคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี เนือ้ เรือ่ งหนักไป สะเดาะเคราะห์เภทภัยจากการถูกกระท�ำ
ทางวรรณกรรมให้กว้างยิ่งขึ้น เป็นการชี้ ทางต�ำนานฮินดู ที่ได้มีการปรับแต่งเพื่อ ทางไสยศาสตร์ การกล่าวถึงสรรพพิษ
ทางให้เห็นว่าภูมิปัญญาจากวรรณกรรม ให้มีความสอดคล้องกับสภาพภูมิศาสตร์ ทั้งหลาย การน�ำเอาพุทธมนต์ คือ อิติปิ
ของมนุ ษ ยชาติ มิ ไ ด้ จ� ำ กั ด อยู ่ แ ค่ เมื อ ง และสภาพสังคมของกลุ่มชนในท้องถิ่น โสมาใช้ การอ้างอ�ำนาจจากพระฤๅษีเพื่อ
หลวง เมื อ งใหญ่ ห รื อ เมื อ งศู น ย์ ก ลาง ภาคใต้ตอนล่าง มีคติ ความเชื่อในทาง ปัดเป่าสรรพพิษให้หาย การแก้อาถรรพณ์

ชวน เพชรแก้ว
567
The Journal of the Royal lnstitute of Thailand

Volume 36 No. 4 Oct-Dec 2011

คุณไสย คุณผี คุณยา การกล่าวถึงพญายา จรรโลงอาณาจักร อีกทั้งยังเสริมย�้ำให้ ณ โรงพยาบาลในภายหลัง ที่ท่าเทียบเรือ


อีกอย่างหนึง่ คือพระไพล การใช้ธรณีสาร กระจ่างชัดด้านพุทธศาสนาแบบลังกาวงศ์ สะพานเจ้าฟ้า อ�ำเภอกันตัง จังหวัดตรัง
ปัดเป่าเสนียดจัญไร และสุดท้ายกล่าวถึง ในภาคใต้ด้วย เมื่อวันที่ ๒๕ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๔๕๕
ข้อปฏิบัติส�ำหรับหมอหรือเจ้าพิธี หมอจันทร์จงึ ถูกศาลพิพากษาให้ประหาร
พระปรมัตถธรรมค�ำกาพย์ ชีวิต นับเป็นคดีสะเทือนขวัญอย่างยิ่ง
จารึ ก แผ่ นทองที่ ป ลี ย อดพระมหาธาตุ วรรณกรรมท้องถิ่นภาคใต้ เรื่อง จึงมีนกั ประพันธ์ในท้องถิ่นน�ำเรื่องนี้มา
เจดีย์นครศรีธรรมราช พระปรมั ต ถธรรม ค� ำ กาพย์ เป็ น แต่งเป็นบทแหล่หลายส�ำนวน เพื่อแหล่
จารึกแผ่นทองดังกล่าวนี้มีจ�ำนวน วรรณกรรมที่บันทึกในหนังสือบุดขาว เล่าสู่กันฟังอย่างแพร่หลาย จนเป็นที่รู้จัก
มากกว่า ๕๐ แผ่น เย็บต่อกันด้วยเส้น ที่พบแล้วมีทั้งฉบับสมบูรณ์และที่ช�ำรุด กันทั่วไปในภาคใต้ มีการโจษขานและ
ด้ า ยทองค� ำ เป็ น ผื น ใหญ่ หุ ้ ม ไว้ ร อบปลี ไม่น้อยกว่า ๓๐ ฉบับ พบกระจายอยู่ วิพากษ์วิจารณ์อย่างกว้างขวาง บทแหล่
ยอดพระบรมธาตุ แต่ละแผ่นท�ำขึ้นต่างปี ทั่วไปทั่วภาคใต้ มีชื่อเรียกแตกต่างกัน ดังกล่าวมีผู้จดจ�ำและบันทึกไว้เป็นลาย
ต่าง พ.ศ. การบูรณปฏิสังขรณ์พระบรม- คือ “พระบอริมดั ” “พระบอระมัด”“พระ ลักษณ์ก็มาก บันทึกเหตุการณ์จริงที่ว่า
ธาตุเจดีย์ เมือ่ พ.ศ. ๒๕๓๓ ช่วยให้ทราบ สีบอริมดั ” และ “นีห่ นาในร่าง” สารัตถะ นีน้ อกจากเป็นการบันทึกประวัติศาสตร์
และกระจ่างในเรื่องราวต่าง ๆ หลาย ส�ำคัญของพระปรมัตถธรรม ค�ำกาพย์ คือ ทางหนึง่ แล้ว ยังเป็นอุทาหรณ์เตือนสติ
ประการ จารึกดังกล่าวมีทั้งที่จารึกด้วย การชี้ให้พุทธบริษัทเข้าถึงเนื้อธรรมขั้น คนทั่วไปว่า ความขัดแย้งเนื่องจากการ
อักษรขอม และอักษรไทย การท�ำแผ่นทอง ปรมัตถธรรม (ประโยชน์อย่างยิ่ง, ความ ใช้อำ� นาจของผูม้ อี ำ� นาจอาจกลายเป็นช่อง
หุม้ ปลียอดพระธาตุ เป็นพุทธบูชากระท�ำ จริงอันเป็นที่สุด, ลึกซึ้งยากที่ปุถุชนจะ ว่างในการปกครองและรุนแรงจนกลาย
กันหลายคราว ศักราชเก่าที่สุดอยู่ในสมัย เข้าใจได้) อันเป็นปูชนียวัตถุขนั้ เอกอุตรง เป็นความเคียดแค้นถึงแก่การท�ำลายชีวิต
อยุธยาคือพุทธศักราช ๒๑๕๕ ตรงกับ กับนัยของ “รัตนตรัย” หรือ “แก้วสาม กันได้ เป็นโทษทั้งผู้ที่เกี่ยวข้องและต่อ
รัชสมัยสมเด็จพระเอกาทศรถ จารึกแผ่น ประการ” หรือพระพุทธคุณ พระธรรมคุณ ระบบ จนยากที่จะเยียวยาได้
ทองที่บอกศักราชมีจ�ำนวน ๑๘ แผ่น และพระสังฆคุณ วรรณกรรมเรือ่ งนีแ้ สดง
ใช้อกั ษรขอมล้วน ๆ ๙ แผ่น ใช้อกั ษรไทย ให้เห็นถึงความเป็นปราชญ์ของผูร้ จนาทัง้ พลายจ�ำเริญ (คชานุสรณ์) ค�ำกาพย์
ล้วน ๒ แผ่น ใช้อกั ษรขอมและอักษรไทย ด้านศาสนา ด้านภาษา และวรรณศิลป์ วรรณกรรมท้องถิ่นภาคใต้เรื่องนี้
จ� ำ นวน ๗ แผ่ น อั ก ษรไทยที่ มี อ ายุ ผูแ้ ต่งบันทึกในกระดาษฝรัง่ เป็นเรือ่ งเดียว
เก่าที่สุด คือ พ.ศ. ๒๑๕๙ จารึกแผ่น แหล่หมอจันทร์ ทีใ่ ช้สตั ว์เป็นตัวเอกของเรือ่ ง เนือ้ หาของ
ทองค�ำดังกล่าวนี้ได้ให้ความกระจ่างด้าน บทแหล่หมอจันทร์ หรือ แหล่ วรรณกรรมได้มาจากเรื่องราวจริงของ
พัฒนาการใช้อกั ษรและอักษรศาสตร์ของ เทศน์หมอจันทร์ เป็นมุขปาฐะส�ำหรับ ช้างพลายเชือกหนึง่ คือ พลายจ�ำเริญ ซึ่ง
ผู้คงแก่เรียน หรือปราชญ์ชาวบ้านภาคใต้ แหล่ เ ล่ า เหตุ ก ารณ์ ที่ เ กิ ด ขึ้ น จริ ง กรณี เป็นช้างของตระกูล ณ นคร ช้างเชือกนี้
ได้ แ ก่ วั ฒ นธรรมการใช้ อั ก ษรขอม หมอจันทร์ หรือนายจันทร์ บริบาล ต้อง บางกระแสบอกว่ า มี ชี วิ ต อยู ่ ใ นสมั ย
และอักษรไทยในสมัยอยุธยาจนถึงสมัย กลายเป็นฆาตกรยิงพระสถลสถานพิทกั ษ์ รัชกาลที่ ๓-๔ แต่บางกระแสบอกว่า
ต้ น รั ต นโกสิ นทร์ กล่ า วคื อ ระบุ ชั ด ว่ า (คออยู่เคียด ณ ระนอง) ผู้ว่าราชการ มี ชี วิ ต อยู ่ ในสมั ย รั ช กาลที่ ๔-๗ แห่ ง
ในแผ่ น ดิ น พระเอกาทศรถในภาคใต้ เมืองตรังถึงแก่ชีวิตและยิงพระยารัษฎา กรุงรัตนโกสินทร์ เรื่องนีจ้ ึงยังสับสนอยู่
มีการใช้ภาษาไทยกันแล้ว นอกจากนี้ นุประดิษฐ์ (คอซิมบี้ ณ ระนอง) สมุห ผู้แต่งเรื่องนี้ คือ พระปลัดเลี่ยม อาสโย
จารึ ก แผ่ นทองชุ ด ดั ง กล่ า วได้ แ สดงถึ ง เทศาภิ บ าลมณฑลภู เ ก็ ต บาดเจ็ บ สาหั ส (เลี่ยม นาครภัฏ) มีชีวิตอยู่ตั้งแต่สมัย
วัฒนธรรมการใช้ศาสนจักรเป็นเครื่อง และถึงแก่อนิจกรรมขณะพักรักษาตัวอยู่ รัชกาลที่ ๕ (พ.ศ. ๒๔๒๙) และมรณภาพ

วรรณกรรมทักษิณ : หลักฐานส�ำคัญของภาคใต้ที่ท้าทายการศึกษา
568
วารสารราชบัณฑิตยสถาน
ปีที่ ๓๖ ฉบับที่ ๔ ต.ค.-ธ.ค. ๒๕๕๔

เมื่อ พ.ศ. ๒๕๑๐ เนื้อเรื่องกล่าวถึงเรื่อง บทสรุป ทั้ ง หนั ง สื อ บุ ด หนั ง สื อ ใบลาน และ
ราวของพลายจ�ำเริญตั้งแต่เกิดจนถึงล้ม สังคมไทยภาคใต้ใช้วรรณกรรม หนังสือเล่มเล็กที่พิมพ์เผยแพร่ในยุคเก่า
ว่าเป็นช้างแสนรู้ มีความรู้สึกนึกคิดและ ท้องถิ่นส�ำหรับถ่ายทอดความรู้ ความคิด ยั ง คงกระจั ด กระจายอยู ่ ทั่ ว ไปในพื้ นที่
มีพฤติกรรมคล้ายมนุษย์ รักผู้เลี้ยงที่มี สร้างคุณลักษณะของผู้คน หรือการใช้ ภาคใต้ วรรณกรรมเหล่ า นี้ เป็ น มรดก
ความเมตตากรุณา ท�ำร้ายผูเ้ ลีย้ งทีห่ ยาบช้า ประโยชน์เพื่อแก้ไขปัญหาบางประการ ทางภู มิ ป ั ญ ญาของชาติ ที่ ก� ำ ลั ง รอการ
ทารุณ และไม่รักษาสัญญาถึงแก่สิ้นชีวิต วรรณกรรมจึ ง เป็ น เครื่ อ งมื อ ส� ำ คั ญ ใน เสื่อมสูญ หากไม่สนใจศึกษากันอย่าง
เสียมากต่อมาก ผลสุดท้ายช้างเชือกนี้ การสร้ า งพลั ง ให้ สั ง คมมี ส มรรถนะ จริงจัง การศึกษาแค่ วรรณกรรมทักษิณ :
ถูกช้างเถื่อนรุมแทงจนเสียชีวิต ในเรื่อง ศักยภาพ เจตคติ ตลอดจนค่านิยม และ วรรณกรรมคัดสรร ได้เพียง ๘๔ เรื่อง
นี้นอกจากเล่าเรื่องราวของพลายจ�ำเริญ คุ ณ ธรรมจริ ย ธรรมตามที่ สั ง คมพึ ง ยังเป็นส่วนเสี้ยวที่น้อยนิดซึ่งไม่เพียงพอ
แล้ว ยังสอดแทรกสาระส�ำคัญเกี่ยวกับ ประสงค์ สิ่งดังกล่าวช่วยให้ชาวภาคใต้ ต่อการอยู่รอดตลอดไปของวรรณกรรม
การด� ำ รงชี วิ ต สภาพสั ง คม ประเพณี เป็นผู้รู้จักตนเอง สามารถจัดการตนเอง ดังกล่าว อนึง่ เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา
วัฒนธรรมของชาวภาคใต้ชว่ งนัน้ ไว้อย่าง กั บ สภาพแวดล้ อ มที่ ต นด� ำ รงอยู ่ ไ ด้ ทีส่ ำ� คัญยิง่ อย่างหนึง่ คือ การเรียนรูข้ อม -
น่าสนใจอีกด้วย ท�ำให้สามารถยืนหยัดด้วยตนเองอย่าง บาลี และขอม-ไทย หากในส่วนนี้ผู้รู้ยัง
อิสระ มีคุณลักษณะเฉพาะหลายประการ คงหดหายไปเรื่อย ๆ วรรณกรรมจาก
เกาะตะรุเตาทัณฑสถานประวัติศาสตร์ ที่โดดเด่น เช่น เป็นคนชอบสงสัย ไม่เชื่อ หนังสือบุดที่บันทึกด้วยอักษรขอมก็คงมี
วรรณกรรมชิ้นนี้เป็นบันทึกส่วน อะไรง่าย ๆ รักพวกพ้อง มีวิจารณญาณ โอกาสแพร่หลายได้ยาก การฟื้นกลับไป
บุคคลที่บันทึกในสมุดฝรั่งของอดีตพัศดี ในการตัดสินใจ ยอมรับและปรับเปลี่ยน เรียนรู้สิ่งดังกล่าวน่าจะยังไม่สายเกินไป
เรื อ นจ�ำเกาะตะรุ เตา เกาะตะรุเตาเป็น ความคิดความเชื่อบนฐานของข้อมูลและ หากสถาบันการศึกษาทีช่ นู โยบายว่า “เป็น
ทัณฑสถานกักขังนักโทษทัง้ คดีอกุ ฉกรรจ์ ความมีเหตุผล มีแนวทางการคิด วิเคราะห์ สถาบันอุดมศึกษาเพื่อพัฒนาท้องถิ่น”
และนักโทษการเมือง เรื่องราวที่บันทึก สังเคราะห์ สร้างสรรค์เป็นของตนเอง ด�ำเนินการอย่างจริงเกี่ยวกับเรื่องนี้ รวม
เป็นเหตุการณ์ระหว่าง พ.ศ. ๒๔๘๔- ๒๔๙๘ ด้วยการตีค่า ปรับรูปแบบตามยุคสมัย ทั้งหน่วยงานวัฒนธรรมในระดับชาติให้
สาระส�ำคัญของบันทึก คือ สภาพทาง และสภาวการณ์ เพื่อน�ำไปใช้ตามความ ความสนใจสนับสนุนด้านวิชาการและ
ภู มิ ศ าสตร์ ข องเกาะตะรุ เ ตาขณะนั้ น เหมาะสม ทุนการศึกษาค้นคว้า การอนุรักษ์ อีกทั้ง
แผนการจัดตั้งเกาะตะรุเตาเป็นที่กักกัน พัฒนาการการศึกษาวรรณกรรม ส่งเสริมการน�ำไปใช้ประโยชน์ด้านการ
ควบคุมนักโทษ และนิคมฝึกอาชีพผู้ต้อง ทั ก ษิ ณ และการน�ำ วรรณกรรมท้ อ งถิ่ น ศึกษาและการพัฒนาอย่างแท้จริง
กั ก กั น สภาพความเป็ น อยู ่ ข องนัก โทษ ภาคใต้มากล่าวถึงเพียง ๗ เรื่อง เป็น ส่วนเสี้ยวการศึกษาวรรณกรรม
ธรรมดาและนักโทษการเมือง การหลบหนี เพียงส่วนเสีย้ วเล็ก ๆ เพือ่ ชีแ้ นะให้เห็นว่า ท้องถิ่นภาคใต้ครั้งนี้ ประจักษ์ว่าภาคใต้
ของนักโทษการเมือง การบริหารงานอย่าง วรรณกรรม คือ ส่วนส�ำคัญของสังคม คือ คลังวรรณกรรมอันอุดมไปด้วยความ
แหลกเหลวและขบวนการคอร์ รั ป ชั น ภาคใต้ ที่ ท รงคุ ณค่ า อย่ า งอเนกอนันต์ หลากหลายด้านเนื้อหาสาระ ต้นฉบับที่
ของเจ้าหน้าที่ และการปราบปรามสลัด หากมุ่งศึกษาให้ถึงแก่นสารและน� ำมา เป็นหนังสือบุด และใบลาน ซึ่งมีอยู่เป็น
ตะรุเตา สาระของบันทึกเรื่องนีน้ ับเป็น ใช้ประโยชน์อย่างจริงจัง วรรณกรรม อเนกอนันต์นนั้ ยังมีหลงเหลือให้ศึกษา
ประสบการณ์อันมีคุณค่าที่ตีแผ่อีกแง่มุม ท้องถิ่นดังกล่าวแม้จะสูญเสียไปมาก แต่ โดยเก็บรวบรวมไว้ตามวัดวาอาราม บ้าน
หนึง่ ให้ภายนอกได้รับรู้ นับเป็นบันทึก ก็ยังมีต้นฉบับหลงเหลือกระจัดกระจาย ของผู้ใฝ่รู้และเจริญด้วยการศึกษา และ
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นที่น่าสนใจ ซึ่งหา อยู่ตามวัด และที่เป็นสมบัติส่วนตัวอีก สถาบันการศึกษาต่าง ๆ ต้นฉบับที่คัด
ได้ยากจากงานในระบบราชการ ส่วนหนึง่ ประมาณไม่น้อยกว่าหมื่นเล่ม ลอกลงสมุ ด อย่ า งฝรั่ ง และต้ นฉบั บ ที่

ชวน เพชรแก้ว
569
The Journal of the Royal lnstitute of Thailand

Volume 36 No. 4 Oct-Dec 2011

พิมพ์เผยแพร่เมือ่ การพิมพ์เข้ามามีบทบาท ปริทัศน์. กรุงเทพฯ : ส�ำนักงาน วรรณกรรมท้ อ งถิ่ น ภาคใต้ :


ได้แพร่กระจายอยู่ทั่วไปในสังคมภาคใต้ กองทุนสนับสนุนการวิจยั (สกว.); สถานภาพการศึ ก ษาและแหล่ ง
ในเวลาต่อมา สภาพการณ์เช่นนี้ท�ำให้ ๒๕๔๗. สืบค้น. นครศรีธรรมราช : โรงพิมพ์
เห็นความเป็นพลวัตของผู้สร้าง เนื้อหา ชวน เพชรแก้ว. “ลักษณะวรรณกรรมของ ไทม์ พริ้นติ้ง; ๒๕๔๐.
สาระ และผู้เสพวรรณกรรมแต่ละช่วง นครศรี ธ รรมราช” ในรายงาน ชวน เพชรแก้ว และคณะ. วรรณกรรม
เวลาได้อย่างเด่นชัด จากการเลือกสรร สั ม มนาประวั ติ ศ าสตร์ นครศรี - ทั ก ษิ ณ : วรรณกรรมคั ด สรร.
วรรณกรรมบางเรื่องมาน�ำเสนอพอเป็น ธรรมราช ครัง้ ที่ ๓ : ประวัตศิ าสตร์ กรุงเทพฯ : ส�ำนักงานกองทุนสนับ
มู ล ท� ำ ให้ เห็ น บทบาทของวรรณกรรม นครศรี ธ รรมราชจากภาษาและ สนุนการวิ จั ย และมหาวิ ท ยาลั ย
ที่ มี อ ยู ่ อ ย่ า งกว้ า งขวาง เห็ น ได้ ชั ด ว่ า วรรณกรรม. นครศรีธรรมราช : ราชภัฏสุราษฎร์ธานี; ๒๕๔๗.
วรรณกรรมภาคใต้ เป็ น สรรพวิ ช าหรื อ วิ ท ยาลั ย ครู นครศรี ธ รรมราช; . วรรณกรรมทักษิณ : วรรณกรรม
ศาสตร์ส� ำหรับคนในสังคมเรียนรู้และ ๒๔๒๖. ปริทัศน์. กรุงเทพฯ : ส�ำนักงาน
ใช้ประโยชน์ เป็นบันทึกประวัติศาสตร์ .“วรรณกรรมท้องถิน่ สุราษฎร์ธานี ก อ ง ทุ น ส นั บ ส นุ น ก า ร วิ จั ย ;
สังคมหรือถ่ายโยงความรู้ เป็นอาหารใจ และคุ ณ ค่ า บางประการของ ๒๕๔๗.
และอาหารทางปัญญา เป็นแก่นสารที่ วรรณกรรมนิทาน” ในรายงาน ประทุ่ม ชุ่มเพ็งพันธุ์. ประวัติศาสตร์
แสดงถึงความเป็นหมูพ่ วก เป็นจารีตหรือ สัมมนาประวัติศาสตร์สุราษฎร์- อารยธรรมภาคใต้. กรุงเทพฯ :
แนวทางปฏิบตั ขิ องสังคม เป็นการอธิบาย ธานี. สุราษฎร์ธานี : วิทยาลัยครู ชมรมเด็ก; ๒๕๔๕.
ข้อเท็จจริง เป็นการประจานและชี้แนะ สุราษฎร์ธานี; ๒๕๒๗. . ศิลปวัฒนธรรมภาคใต้ . กรุงเทพฯ :
ทางเลือก นีค่ อื ฐานรากของสังคมภาคใต้ .“อัตลักษณ์และพลวัตวรรณกรรม สุวีริยาสาส์น; ๒๕๔๘.
การที่สิ่งดังกล่าวนีจ้ ะมีวิถีและพลังต่อไป ทั ก ษิ ณ กลุ ่ ม สุ ภ าษิ ต และค� ำ สั่ ง สุธวิ งศ์ พงศ์ไพบูลย์. “วรรณกรรมท้องถิน่
ได้นนั้ ขึ้นอยู่กับว่าจะท�ำอย่างไรให้สิ่งดัง สอน.” ใน ชวน เพชรแก้ว (หัวหน้า ภาคใต้”. ใน สารานุกรมวัฒนธรรม
กล่าวยังคงเป็นวัฒนธรรมที่เคลื่อนไหว โครงการภู มิ ป ั ญ ญาทั ก ษิ ณจาก ไทยภาคใต้ เล่ม ๑๔. . กรุงเทพฯ
ต่อไปในสังคมได้เพียงใด วรรณกรรมท้องถิ่น). วรรณกรรม มูลนิธิสารานุกรมวัฒนธรรมไทย
ทักษิณ : วรรณกรรมปริทัศน์. ธนาคารไทยพาณิชย์; ๒๕๔๒.
บรรณานุกรม กรุงเทพฯ : ส�ำนักงานกองทุน สุธิวงศ์ พงศ์ไพบูลย์ และชวน เพชรแก้ว.
ก่องแก้ว วีระประจักษ์. “พัฒนาการการ สนับสนุนการวิจยั (สกว.) ๒๕๔๗. วรรณกรรมทักษิณ : วรรณกรรม
เขียนอักษรในหนังสือสมุดไทย .วรรณกรรมท้องถิ่นจากหนังสือ พินจิ . กรุงเทพฯ : ส�ำนักงานกองทุน
และหนังสือบุด.” ใน ชวน เพชรแก้ว บุด. สุราษฎร์ธานี : วิทยาลัยครู สนับสนุนการวิจัย; ๒๕๔๒.
(หั ว หน้ า โครงการภู มิ ป ั ญ ญา สุราษฎร์ธานี; ๒๕๓๒.
ทักษิณจากวรรณกรรมท้องถิ่น). .ส� ำ นั ก ศิ ล ปะและวั ฒ นธรรม
วรรณกรรมทักษิณ : วรรณกรรม สถาบั น ราชภั ฏ กลุ ่ ม ภาคใต้ .

วรรณกรรมทักษิณ : หลักฐานส�ำคัญของภาคใต้ที่ท้าทายการศึกษา
570
วารสารราชบัณฑิตยสถาน
ปีที่ ๓๖ ฉบับที่ ๔ ต.ค.-ธ.ค. ๒๕๕๔

Abstract Southern Literature: A Significant Evidence from the South that Challenges Studying
Chuan Phetkaew
Associate Fellow of the Academy of Arts, The Royal Institute, Thailand

ÉNangsue Bud is a written southern literature that recorded various fields of knowledge before
printing became prominent. Significant sources for the compilation of knowledge were temples and
houses of learned persons. During the time when printing was first introduced some knowledge from
the Nangsue Bud was printed as booklets for distribution. Later a number of southern scholars began to
seriously collect Nangsue Bud, palm-leaf manuscripts, and documents, resulting in the publication of
a large number of literary works being published in succession. During 2001-2004 the Research
Project on Southern Wisdom from Literature and Behavior selected 84 literary works to be included in
Southern Literature: Selected Works, issued in 2005. Their subject matters deal with stone inscriptions
and inscriptions, texts, scriptures, history, chronicles, legends, medicine, significant local incidents,
romantic fiction, beliefs and traditions, travels, religious principles, special literary philosophy, law,
people and places, customs and rituals, miscellany, and proverbs. This is a fraction of the foundation of
southern society which has become way and force that challenge studying.

Key words : southern literature, selected literary works, Nangsue Bud, palm-leaf manuscripts

ชวน เพชรแก้ว
571
The Journal of the Royal lnstitute of Thailand

Volume 36 No. 4 Oct-Dec 2011

เอร็อสทรัต (Érostrate):
กรณีศึกษาตัวเอกปฏิลักษณ์* จินตนา ด�ำรงค์เลิศ
ภาคีสมาชิก ส�ำนักศิลปกรรม
ราชบัณฑิตยสถาน

บทคัดย่อ
เอร็อสทรัตเป็นชื่อเรื่องสั้นซึ่ง ฌ็อง-ปอล ซาทร์ เขียนขึ้นและพิมพ์เผยแพร่ใน ค.ศ. ๑๙๓๙ ตัวเอก
ของเรื่องนี้ชื่อ ปอล อีลแบร์ มีลักษณะเป็นตัวเอกปฏิลักษณ์ กล่าวคือ ท�ำงานเป็นลูกจ้างระดับไม่ส�ำคัญ เกลียดการ
สัมผัสเพือ่ นมนุษย์ เบือ่ ชีวติ ทีจ่ ำ� เจซ�ำ้ ซาก วันหนึง่ เขาเกิดความคิดทีจ่ ะท�ำให้ตวั เองเด่นดังขึน้ มาเช่นเดียวกับเอร็อส
ทรัต ผู้เผาวิหารของเทพีอาร์เทอมิส ธิดาของซุส วิหารนี้เป็น ๑ ใน ๗ สิ่งมหัศจรรย์ของโลก เขาซื้อปืนพกมาและ
น�ำไปยิงชายอ้วนคนหนึ่งซึ่งเขาไม่รู้จักที่กลางถนน หลังจากนั้นเขาจึงวิ่งไปขังตัวเองอยู่ในห้องสุขาของร้านกาแฟ
แห่งหนึ่ง พยายามจะฆ่าตัวตายแต่ก็ไม่กล้าท�ำ กลับออกมามอบตัวในที่สุด
ค�ำส�ำคัญ : ตัวเอกปฏิลักษณ์, เอร็อสทรัต, ฌ็อง-ปอล ซาทร์

บทน�ำ Intimité และ L’enfance d’ un chef พจนานุ ก รมศั พ ท์ ว รรณกรรม


Érostrate เป็ นชื่ อ เรื่ อ งสั้ นซึ่ ง ประเด็ น ส� ำ คั ญ ที่ จ ะศึ ก ษาในบทความ อั ง กฤษ-ไทย ฉบั บ ราชบั ณฑิ ต ยสถาน
ฌ็อง-ปอล ซาทร์ (Jean-Paul Sartre) นี้ เ กี่ ย วกั บ ลั ก ษณะและพฤติ ก รรมของ (๒๕๔๕:๒๗) ให้ค�ำอธิบาย “ตัวเอก
เขียนขึน้ และพิมพ์เผยแพร่ใน ค.ศ. ๑๙๓๙ ตัวเอกปฏิลักษณ์ (anti-hero) ในเรื่อง ปฏิลักษณ์ (anti-hero)” ไว้ดังนี้
โดยรวมเล่มกับเรื่องสั้นอื่น ๆ ของเขาอีก Érostrate
๔ เรื่อง ได้แก่ Le mur, La chambre,

ตัวเอกที่มิได้แสดงให้เห็นประจักษ์ว่ามีความยิ่งใหญ่ มีศักดิ์ศรี มีอำ� นาจและมี


ความกล้าหาญเมื่อเผชิญกับชะตากรรมดังเช่นตัวเอกในโศกนาฏกรรมสมัยก่อน
แต่เป็นผูท้ ไี่ ม่มคี วามส�ำคัญ ไร้เกียรติยศ ไร้อำ� นาจ หรือไม่ยอมต่อสูด้ นิ้ รน ตัวเอก
เช่นนี้มีอยู่เสมอในบทละคร และบันเทิงคดีประเภทร้อยแก้วในปัจจุบัน

ตัวเอกปฏิลักษณ์ในวงวรรณคดี วิกฤตจิตส�ำนึก (crise de conscience) Érostrate ฌ็อง-ปอล ซาทร์ ใช้ ค� ำ ว่ า


ฝรั่ ง เศสปรากฏในผลงานวรรณกรรม ซึ่งแสดงออกมาในงานเขียนของพวกเขา “ตั ว เอกสี ด� ำ ( héros noir)” (Sartre
จ�ำนวนมากตั้งแต่หลังสงครามโลกครั้ง เช่น ความสูญสิ้นศรัทธาในพระผู้เป็นเจ้า 2007: 87) ที่มีลักษณะเหมือน “มนต์ด�ำ
ที่ ๑ การที่มนุษย์ขัดแย้งกันจนถึงกับฆ่า การต่ อ ต้ า นความคิ ด แบบเก่ า ตั ว เอก (Magie noire)” ซึ่งตรงข้ามกับ “ตัวเอก
กั นตายจ� ำ นวนนั บ ล้ า นคนในสงคราม ปฏิ ลั ก ษณ์ ก็ เ ป็ น ปรากฏการณ์ ห นึ่ ง ที่ สีขาว (héros blanc)” (Sartre 2007: 87)
ท�ำให้นกั คิดนักเขียนฝรัง่ เศสหลายคนเกิด สะท้อนวิกฤตจิตส�ำนึกดังกล่าว ในเรื่อง
*
บทความนี้ปรับปรุงจากการบรรยายผลงานทางวิชาการในที่ประชุมส�ำนักศิลปกรรม เมื่อวันที่ ๒๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๔

เอร็อสทรัต (Erostrate) : กรณีศึกษาตัวเอกปฏิลักษณ์


572
วารสารราชบัณฑิตยสถาน
ปีที่ ๓๖ ฉบับที่ ๔ ต.ค.-ธ.ค. ๒๕๕๔

ที่มาของชื่อเอร็อสทรัต ของฌ็อง-ปอล ซาทร์ มาเซ (Massé) เรือ่ งสัน้ Érostrate ของฌ็อง-ปอล ซาทร์
ชือ่ เอร็อสทรัต (ÉÉrostrate) ตรงกับ เพือ่ นของตัวเอกของเรือ่ งคือ ปอล อีลแบร์ ฌ็อง-ปอล ซาทร์ด�ำเนินเรื่องราว
ภาษากรีกว่า Hêrostratos เป็นชาวเมือง (Paul Hilbert) กล่ า วว่ า ผู ้ ค นจ� ำ ชื่ อ โดยใช้สรรพนาม “Je (ผม)” เป็นผู้เล่า
เอฟิเซิส (Ephesus) ซึ่งเป็นเมืองท่าเรือ สถาปนิกผู้สร้างวิหารอันงดงามที่ถูกเผา ผู้อ่านไม่รู้จักชื่อของเขาเมื่อเริ่มต้นเรื่อง
ในเอเชียไมเนอร์ และเป็นที่ตั้งวิหารของ ไปไม่ได้ แต่กลับจ�ำชื่อเอร็อสทรัตผู้เผา แต่จะรู้ภายหลังว่าเขาชื่อปอล อีลแบร์ ผู้
เทพีอาร์เทอมิส (Artemis) ธิดาของซุส วิหารได้ แสดงว่าเอร็อสทรัตประเมิน ประกาศตนว่าเป็นศัตรูตวั ฉกาจของมนุษย์
(Zeus) ซึง่ วิหารนีเ้ ป็น ๑ ใน ๗ สิง่ มหัศจรรย์ ถูกแล้วที่ไปเผาวิหารของเทพีอาร์เทอมิส อีลแบร์เช่าห้องพักอยู่ชั้นที่ ๖ ของอาคาร
ของโลก เอร็อสทรัตเป็นชายหนุ่มสามัญ อีลแบร์ เล่าว่า “...เอร็อสทรัตตายไปแล้ว ซึ่งท�ำให้เขารู้สึกว่าอยู่เหนือผู้คนที่เดิน
ชนผู้ไม่มีความส�ำคัญแต่อย่างใด วันหนึง่ กว่าสองพันปี แต่การกระท�ำของเขายัง ขวักไขว่อยู่บนทางเท้าข้างถนน อีลแบร์
เขาปรารถนาจะให้โลกจดจ�ำการกระท�ำ เปล่งประกายประดุจเพชรสีดำ� ...”(Sartre เล่าว่าเขาชอบยืนมองผูค้ นทีร่ ะเบียงชัน้ ๖
ของเขา จึงได้เผาวิหารของเทพีอาร์เทอมิส 2007: 88) อีลแบร์จึงประสงค์จะเดิน เช่นเดียวกับชอบสถานทีท่ มี่ คี วามสูงแห่ง
ลงเสียในวันเดียวกับวันเกิดของพระเจ้า รอยตามเอร็อสทรัต อื่นด้วย เขาเล่าว่า
อเล็กซานเดอร์มหาราช ในเรือ่ ง Érostrate

ทีร่ ะเบียงชัน้ ๖ นีแ่ หละทีผ่ มอาจอยูไ่ ด้ตลอดชีวติ เราต้องใช้สญ


ั ลักษณ์ทางวัตถุมาค�ำ้ จุน
ความสูงส่งด้านศีลธรรม หาไม่แล้วศีลธรรมจะพังทลาย กล่าวอีกนัยหนึง่ ก็คือ ความ
สูงส่งที่ผมมีเหนือคนอื่น ๆ นัน้ ไม่ใช่อะไรเลยนอกจากตัวผมที่อยู่สูงกว่าคนอื่น ๆ
ผมยืนอยู่เหนือมนุษย์ ซึ่งตัวผมเองก็เป็นมนุษย์ด้วย และผมก็พินจิ พิจารณาความเป็น
มนุษย์ นี่เป็นเหตุผลว่าท�ำไมผมถึงชอบหอวิหารนอทร-ดาม ระเบียงหอไอเฟล วิหาร
ซาเคร-เกอร์ ชั้นที่ ๖ ที่ถนนเดอล็องบร์ สถานที่เหล่านี้เป็นสัญลักษณ์ที่วิเศษ
(Sartre 2007: 79-80)

อีลแบร์ใช้รายละเอียดทางกายภาพ สูงส่งเหนือบุคคลอื่น เขาไม่ชอบเดินตาม กายของคนทีเ่ ดินผ่านไปมา เขาบรรยายว่า


เป็นสิ่งสนับสนุนความมั่นใจว่าตนเอง ท้องถนนเพราะท�ำให้เขาเสี่ยงที่จะสัมผัส

บางครั้งผมจ�ำเป็นต้องลงไปในถนน ตัวอย่างเช่น ไปท�ำงาน ผมรู้สึกอึดอัดหายใจไม่


ใคร่ออก เมื่อต้องยืนอยู่ระดับเดียวกับคนอื่น เป็นการยากมากกว่าที่จะมองพวกเขาเป็น
เหมือนมด พวกเขาสัมผัสเรา...
(Sartre 2007: 80)

ความรูส้ กึ เกลียดคนอืน่ หรือเพือ่ น ซึ่งแปลว่า อาการคลื่นเหียนอยากอาเจียน ความนับถือในเพื่อนมนุษย์ ความรู้สึก


มนุษย์ปรากฏในวรรณกรรมหลายเรื่อง ตัวเอกคือ รอก็องแต็ง (Roquentin) เป็น นึกคิดเช่นนีป้ รากฏชัดเจนในผลงานละคร
อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง ก่ อ นหน้ า นี้ซ าทร์ เขี ย น ชายหนุ ่ ม ธรรมดาคนหนึ่ง ที่ เบื่ อ หน่ า ย เรื่อง Huis Clos (ทางตัน) ซึ่งพิมพ์เผย
นวนิยายเรือ่ ง La Nausée ใน ค.ศ. ๑๙๓๘ ความจ�ำเจซ�ำ้ ซากของชีวติ และสังคม ขาด แพร่ใน ค.ศ. ๑๙๔๔ หลังจากเขียนเรื่อง

จินตนา ด�ำรงค์เลิศ
573
The Journal of the Royal lnstitute of Thailand

Volume 36 No. 4 Oct-Dec 2011

ÉÉrostrate ซาทร์เขียนประโยคส�ำคัญที่ ห้องที่โรงแรมทุกเสาร์แรกของเดือน เมื่อ รังเกียจการสัมผัสผิวกายของมนุษย์ทกุ คน


มักได้รับการอ้างอิงว่า “นรกคือคนอื่น เลอาเปลือ้ งผ้าออก เขาได้แต่มองโดย “ไม่ แม้แต่ยามทักทายเพื่อนร่วมงาน เขาก็ไม่
(...l’enfer, c’est les Autres)” ได้แตะต้องตัวเธอ (sans la toucher)” ยอมถอดถุงมือ อีลแบร์เล่าว่า
ในเรื่อง ÉÉ rostrate อีลแบร์เล่าว่า (Sartre 2007: 82) เขาปฏิบัติกับผู้หญิง
เขาพาหญิงโสเภณีชื่อ เลอา (Léa) ขึ้น คนอื่น ๆ ด้วยวิธีการเดียวกัน อีลแบร์

...วันจันทร์วันหนึง่ ผมประพฤติตนสุภาพมากกับพวกเขา (เพื่อนร่วม


งาน) แม้วา่ ผมจะรูส้ กึ สยองทีจ่ ะจับมือทักทายพวกเขา ทีจ่ ะถอดถุงมือเพือ่ กล่าวสวัสดี
มีวิธีการที่ดูหยาบคายเพื่อเปลือยมือ สะบัดถุงมือและค่อย ๆ ดึงถุงมือออกจากนิ้ว
เผยให้เห็นฝ่ามือที่อิ่มด้วยไขมันแต่มีรอยย่น ส่วนผม ผมสวมถุงมืออยู่ตลอดเวลา
(Sartre 2007: 87)

ปอล อีลแบร์ไม่เพียงแค่รังเกียจ ปราศจากความเห็นอกเห็นใจเมื่อเพื่อน ด้วย เขาเล่าถึงเหตุการณ์ครั้งนัน้ ว่า


การสัมผัสเพื่อนมนุษย์เท่านัน้ หากแต่ยัง มนุษย์ประสบเคราะห์กรรมจนถึงตายอีก

...ครัง้ หนึง่ ผมเห็นผูช้ ายคนหนึง่ ตายในท้องถนน เขาล้มลงไปต่อหน้าต่อตาผม


มีคนมาพลิกศพ เห็นได้ว่าเขาเลือดไหล นัยน์ตาเบิกโพลง ตัวเอียง เลือดอาบ ผม
บอกกับตัวเองว่า “ไม่เป็นไร ภาพนี้ไม่น่าสะเทือนใจมากไปกว่าภาพวาดสด ๆ
คนเขาเอาสีแดงมาป้ายจมูก ก็เท่านัน้ ” ผมรู้สึกเย็นวาบที่ขาและต้นคอ แล้วก็เป็นลม
หมดสติไป ผู้คนพาผมมาที่ร้านขายยา ตบที่ไหล่ และเอาเหล้าให้ผมดื่ม ผมอยาก
จะฆ่าคนเหล่านี้เสียจริง
(Sartre 2007: 80)

อีลแบร์สรุปความรู้สึกที่เขามีต่อ พวกเขา” (Sartre 2007: 81) ความเกลียด ไปยิงคน ก่อนหน้านี้ อีลแบร์ไปซือ้ ปืนพก
มนุษย์ว่าคือความเกลียดชัง เขากล่าวว่า นี้รุนแรงมากขึ้นทุกที จนกระทั่งเย็นวัน มา ๑ กระบอก แล้วพกใส่กระเป๋ากางเกง
“ผมมีเหตุผลที่หนักแน่นกว่าที่จะเกลียด เสาร์วันหนึง่ เขาเกิดความคิดที่จะเอาปืน ก่อนออกไปเดินเล่นในถนน เขาเล่าว่า

...ผมรูส้ กึ ว่าเจ้าปืนกระบอกนีเ้ คลือ่ นไหวเหมือนปูอยูใ่ นกางเกง มันเสียดสีตน้


ขาและเย็นเฉียบ แล้วมันก็ค่อย ๆ อุ่นขึ้นเมื่อสัมผัสร่างกายผม ...บางครั้ง ผมเข้าไป
ในห้องสุขา แม้แต่ที่นี่-ผมก็ระวังตัวเพราะเรามักจะมีคนมายืนข้าง ๆ -, ผมควักปืน
ออกมาแล้วชูขึ้น มองดูด้ามปืนซึ่งเป็นลายสี่เหลี่ยมสีด�ำและไกปืนสีด�ำซึ่งเหมือน
เปลือกตากึ่งปิด...
(Sartre 2007: 81)

เอร็อสทรัต (Erostrate) : กรณีศึกษาตัวเอกปฏิลักษณ์


574
วารสารราชบัณฑิตยสถาน
ปีที่ ๓๖ ฉบับที่ ๔ ต.ค.-ธ.ค. ๒๕๕๔

อี ล แบร์ พ าโสเภณี ชื่ อ เรอเน เขากลับมาบ้านและนอนหลับฝันร้ายถึง อื่น อีลแบร์หาสถานที่ซึ่งเอื้อต่อการล่า


(Renée) ไปที่โรงแรม ตั้งใจไว้ว่าจะฆ่า ผูห้ ญิงคนนัน้ อีกหลายคืน หลังจากวันนัน้ เหยื่อของเขามากขึ้น ในวันอาทิตย์ เขาจึง
หล่อนเป็นรายแรก แต่แล้วก็ไม่ได้ท�ำ เขา อี ล แบร์ พ กปื นติ ด ตั ว เมื่ อ ออกจากบ้ า น ไปที่ชัตเล (Châtelet) ยืนคอยอยู่ที่หน้า
ทิ้งเงินให้หล่อนจ�ำนวนหนึ่งและจากมา เสมอ เขามักจะเดินตามหลังผู้คนที่สัญจร โรงแสดงคอนเสิร์ตคลาสสิกจนถึงเวลา
เฉย ๆ ท�ำให้เรอเนประหลาดใจมาก อีลแบร์ บนถนน นึกจินตนาการว่าพวกเขาล้มลง เลิก ผูค้ นหลัง่ ไหลเดินออกมา อีลแบร์เล่า
บันทึกว่า “นีแ่ หละสิง่ ทีผ่ มต้องการ ท�ำให้ และเขายืนยิงคนเหล่านัน้ (Sartre 2007: 86) ถึงจินตนาการของเขาว่า
ผู้คนประหลาดใจ” (Sartre 2007: 86) ซึ่งเป็นสัญลักษณ์ว่าเขาเหนือกว่าบุคคล

...ผมเลื่อนมือขวาลงไปในกระเป๋าและก�ำด้ามปืนแน่น สักครู่ต่อมาผมเห็น
ตัวเองก�ำลังลั่นปืนยิงพวกเขา (ที่เดินออกมาจากโรงแสดงคอนเสิร์ต) จนล้มกลิ้ง
ทับถมกัน พวกทีร่ อดชีวติ มีสหี น้าหวาดกลัว วิง่ ฝ่าประตูกระจกเข้าไปในโรงแสดง
คอนเสิร์ต นี่เป็นเกมรบกวนประสาท มือผมสั่นระริกจนต้องไปนัง่ ดื่มเหล้าที่ร้าน
เดรอแอร์เพื่อสงบสติอารมณ์
(Sartre 2007: 86-87)

การที่อีลแบร์ตั้งเป้าหมายในชีวิต คริสต์ศตวรรษที่ ๒๐ หลายเรื่อง เป็น ไปท�ำงาน (boulot) เย็นก็กลับบ้านนอน


ไว้แค่การฆ่าคนโดยไร้เหตุผล แสดงให้ ตัวละครธรรมดาในสังคมและมีบทบาท (dodo) ท�ำให้ไม่มเี วลาคิดสร้างสรรค์หรือ
เห็นว่าอีลแบร์เป็นตัวเอกปฏิลักษณ์ เป็น ไม่ส�ำคัญ ซึ่งสะท้อนภาพสังคมฝรั่งเศส สันทนาการกับผู้อื่น ปอล อีลแบร์ ก็เป็น
ผู้ขาดเกียรติยศ ขาดศักดิ์ศรี มีเป้าหมาย ในยุ ค ที่ มี ค วามเจริ ญ ทางวั ต ถุ ม ากเป็ น ตัวละครหนึ่งที่สะท้อนภาพนี้ เขาเบื่อ
ชีวิตที่ต�่ำต้อยและเป็นไปในทางท�ำลาย สังคมที่อยู่ภายใต้อิทธิพลของเศรษฐกิจ หน่ายกับสภาพชีวิตที่ต�่ำต้อย ไร้ความ
ซึง่ เทียบไม่ได้เลยกับตัวเอกทีร่ จู้ กั กันดีเช่น แบบทุนนิยมและเสรีนิยมที่บดขยี้มนุษย์ ส�ำคัญ จึงปรารถนาที่จะกระท�ำการบาง
อินทรีแดง ซูเปอร์แมน หรือไอ้แมงมุม จนโดดเดีย่ ว อ้างว้าง เหงา เบือ่ ฌ็อง-ปอล สิ่ ง บางอย่ า งเพื่ อ ดึ ง ดู ด ความสนใจจาก
ตัวละครเอกที่ยกตัวอย่างมาข้างต้นเป็นผู้ ซาทร์ เสนอภาพตัวละครเหล่านี้ โดย ผูค้ นในสังคมด้วยการฆ่าคน เขาวิเคราะห์
ที่รักเพื่อนมนุษย์ กล้าหาญและเสียสละ เฉพาะผู้ที่อยู่ในกรุงปารีสว่ามีชีวิตที่จ�ำเจ ตนเองและแผนฆาตกรรมนี้ว่า
ช่วยเหลือผู้อื่นอยู่เสมอ ตัวละครแบบ ดังค�ำว่า “Métro-Boulot-Dodo” กล่าว
ปอล อีลแบร์ปรากฏในวรรณกรรมสมัย คือ ตืน่ เช้ามานัง่ รถไฟใต้ดนิ (métro) เพือ่

...เมือ่ ผมลงไปเดินในถนน ผมรูส้ กึ ว่าตัวผมมีพลังประหลาด ผมพกปืนไว้กบั


ตัว เจ้าปืนนี้เป็นสิ่งซึ่งระเบิดและส่งเสียงดัง แต่ทว่าความมั่นใจของผมมิได้มาจาก
ปืนกระบอกนี้ หากแต่มาจากตัวผมเอง ผมเป็นคนประเภทปืนพก ประทัด และลูก
ระเบิด วันหนึง่ ทีป่ ลายทางชีวติ เศร้าของผม ผมก็จะระเบิด ผมจะท�ำให้โลกสว่างไสว
ด้วยเปลวไฟที่ลุกโชน และดับลงภายในชั่วพริบตาประดุจสายฟ้าแมกนีเซียม...
(Sartre 2007: 88-89)

จินตนา ด�ำรงค์เลิศ
575
The Journal of the Royal lnstitute of Thailand

Volume 36 No. 4 Oct-Dec 2011

เมือ่ ปอล อีลแบร์ ตัดสินใจแน่วแน่ หรือไม่ก็ออกไปเดินตามถนน ครุ่นคิด หลังจากนัน้ เขาเขียนจดหมายลูกโซ่ ๑๐๒


ที่จะเป็นฆาตกรที่ฆ่าคนไม่เลือกหน้า เขา วางแผนฆ่าคน เขาถูกไล่ออกจากงาน ฉบับ มีใจความบางตอน ดังนี้
ก็หยุดไปท�ำงาน ปิดตนเองอยู่ในห้องพัก อย่ า งเป็ นทางการเมื่ อ ต้ น เดื อ นตุ ล าคม

...คุณโชคดีที่มีความรักมนุษย์อยู่ในสายเลือด...เมื่อคุณเห็นคนเหมือนคุณ
ทั้ง ๆ ที่คุณไม่รู้จัก คุณก็รู้สึกเห็นอกเห็นใจเขา...
ผมคิดว่าคุณคงจะอยากรู้ว่าคนที่ไม่รักคนอื่นนัน้ เป็นอย่างไร ก็ผมไงล่ะ ผม
รักคนอืน่ น้อยมากจนกระทัง่ จะฆ่าพวกเขาสักครึง่ โหลเร็ว ๆ นี้ บางทีคณ
ุ อาจถามว่า
ท�ำไมแค่ครึ่งโหลล่ะ ก็เพราะปืนพกของผมบรรจุกระสุนแค่ ๖ นัดน่ะซิ...

...ทุกสิ่งเกิดขึ้นราวกับว่าคุณได้รับพรจากพระผู้เป็นเจ้า แต่ผมไม่ได้รับพร
นัน้ เลย ...ถ้าผมไม่รักคนอื่น ๆ ก็เป็นเพราะว่าผมมันเป็นคนยากแค้น และผมไม่
สามารถมีที่รับแสงแดด พวกเขาฉกชิงความหมายของชีวิตไปจากผมจนหมดสิ้น
ผมหวังว่าคุณเข้าใจว่าผมหมายถึงอะไร เป็นเวลา ๓๓ ปีแล้วที่ผมต้องเผชิญกับ
ประตูที่ปิดตายซึ่งมีข้อความเขียนไว้เหนือประตูว่า “ไม่มีใครเข้าประตูนี้ได้ถ้าเขา
ไม่รักเพื่อนมนุษย์”...
ปอล อีลแบร์
(Sartre 2007: 90-91)

อี ล แบร์ น� ำ จดหมายทั้ ง ๑๐๒ ว่าใบหน้าเขาเปลี่ยนแปลงไป นัยน์ตามี ส�ำเร็จ เขากล่าวว่าใบหน้าของคนที่มิได้


ฉบับใส่ซองปิดผนึกและจ่าหน้าซองถึง ขนาดโตขึ้นและมีสีด�ำ “เป็นนัยน์ตาอัน เป็นฆาตกรมักขีเ้ หร่เพราะแลดูเป็นมนุษย์
นักเขียนชาวฝรั่งเศส จากนัน้ ก็รวบรวม งดงามของศิลปินและฆาตกร” (Sartre มากเกินไป (Sartre 2007: 93) แต่หน้า
จดหมายทั้งหมดใส่ลิ้นชักโต๊ะไว้ ตลอด 2007: 92) ในขณะเดียวกัน อย่างไรก็ตาม ของฆาตกรจะเปลี่ยนไปหลังการฆ่าคน
๑๕ วันต่อมา เขาขังตัวเองอยู่ในห้องพัก อีลแบร์ตั้งใจจะให้ดวงตาของเขาเปลี่ยน อีลแบร์บรรยายว่า
และครุ่นคิดถึงแผนการฆ่าคน เขาสังเกต ไปอีกหลังจากเขากระท�ำการฆาตกรรม

...ฆาตกรรมตัดชีวิตของฆาตกรขาดออกเป็น ๒ ส่วน มีบางขณะที่ฆาตกร


อาจต้องการถอยหลังไป แต่ฆาตกรรมยังคงอยู่ที่นนั่ ข้างหลังคุณ มันสกัดเส้นทาง
ไว้...
(Sartre 2007: 93)

อีลแบร์วางแผนจะไล่ฆ่าคนตั้งแต่ ยังห้องที่เขาพักอาศัยอยู่และรอให้ต�ำรวจ เมื่ อ วั น ล่ า สั ง หารมาถึ ง ในวั น ที่


ต้นถนนโอแดซา (Odessa) ลงมา ในขณะ แกะรอยมาพบตัวเขา ซึ่งก็คงจะใช้เวลา ๒๗ ตุลาคม เวลา ๖ โมงเย็น อีลแบร์
ที่ผู้คนตระหนกตกใจและวุ่นวายอยู่กับ มากกว่า ๑ ชั่วโมง และเมื่อมีคนมาเคาะ หยิ บ ปื น พกติ ด ตั ว ออกจากบ้ า นพร้ อ ม
การเก็บศพ เขาจะถือโอกาสวิง่ หนีกลับไป ประตูห้อง เขาก็จะอมปืนยิงตนเอง หยิบจดหมายลูกโซ่ทเี่ ตรียมไว้ไปด้วย เขา

เอร็อสทรัต (Erostrate) : กรณีศึกษาตัวเอกปฏิลักษณ์


576
วารสารราชบัณฑิตยสถาน
ปีที่ ๓๖ ฉบับที่ ๔ ต.ค.-ธ.ค. ๒๕๕๔

รูส้ กึ มือเย็นและเลือดฉีดขึน้ สมอง นัยน์ตา (Montparnasse) มีผู้คนเดินขวักไขว่ เขา บางคนผลักเขา บางคนกระทบศอกและ


กระตุ ก เมื่ อ เดิ น ผ่ า นถนนมงปาร์ นั ส ต้องสัมผัสกับผู้คนอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ ไหล่ของเขา อีลแบร์บรรยายต่อไปว่า

...ทันทีทนั ใด ผมพบว่าตนเองอยูท่ า่ มกลางฝูงคนเหล่านี้ ผมรูส้ กึ โดดเดีย่ ว


อย่างรุนแรง รู้สึกตัวลีบเล็ก คนเหล่านี้อาจท�ำร้ายผมถ้าพวกเขาต้องการ ปืนที่ผม
พกไว้ในกระเป๋าท�ำให้ผมกลัว ผมรู้สึกว่าพวกเขาอาจคิดว่าผมมีอาวุธติดตัวอยู่...
ผมอาจถูกประชาทัณฑ์ ผมอาจถูกพวกเขาโยนขึน้ เหนือศีรษะ แล้วทิง้ ลงมาเหมือน
หุ่นกระบอก ผมจึงตัดสินใจเลื่อนวันฆ่าคนไปวันรุ่งขึ้น...
(Sartre 2007: 94)

อี ล แบร์ ป ิ ด ตั ว เองอยู ่ ในห้ อ งต่ อ เมือ่ ถึงวันทีเ่ ขาวางแผนไว้ อีลแบร์ เพราะปืนเขาบรรจุกระสุนไว้ ๖ นัด พอถึง
มาอีก ๓ วัน โดยไม่กินไม่นอน (Sartre เหงือ่ ตกจนเสือ้ ชุม่ เขารูส้ กึ กลัว พอถึงเวลา เวลา ๑ ทุม่ ๕ นาที มีชาย ๑ คน หญิง ๑ คน
2007: 94) ต่อมาในวันจันทร์ มีคนมากด ๖ โมงเย็น เขาจึงออกจากห้อง เอาจดหมาย เดินมากับเด็ก ๒ คน ข้างหลังเขามีหญิงชรา
สัญญาณเรียก แต่อีลแบร์ไม่เปิดประตู ลูกโซ่ไปหยอดใส่ตไู้ ปรษณีย์ เขาเดินไปถึง เดินตามมาอีก ๓ คน อีลแบร์เดินตามไป
พอตกกลางคืนเขาไปหาโสเภณีคนโปรด ถนนโอแดซาและยืนรออยู่ ผู้หญิง ๒ คน แต่เขามิได้ลงมือฆ่าบุคคลเหล่านัน้ แม้แต่
เมื่อเธอเปลือยร่าง เขาใช้ปืนจี้บังคับให้ เดิ น ผ่ า นไป เขาก็ ยั ง ไม่ ไ ด้ ลั่ น ไกปื น คนเดียว เขาเล่าว่า
เธอคลานบนพื้นห้อง หลังจากนั้นก็จับ ต่อมาอีกครู่หนึง่ มีผู้ชายเดินมาอีก ๓ คน
เธอมัดไว้ที่เสาแล้วเล่าให้เธอฟังว่าเขาจะ เขายังคงปล่อยให้ผ่านไป บอกกับตนเอง
ไปฆ่าคน ว่ า เขาต้ อ งการยิ ง คนติ ด ต่ อ กั น ๖ คน

...ผมไม่อยากฆ่าพวกเขาอีกแล้ว พวกเขาเดินลับไปในฝูงคนบนถนน ผม
ยืนพิงผนังตึก ได้ยินนาฬิกาตีบอกเวลา ๒ ทุ่ม ๓ ทุ่ม ผมพูดย�้ำกับตัวเองว่า:
“ท�ำไมต้องฆ่าผู้คนเหล่านีซ้ ึ่งตายแล้ว” ผมอยากจะหัวเราะเสียจริง สุนขั ตัวหนึง่
เข้ามาเลียเท้าผม
(Sartre 2007: 97)

อีลแบร์เปรียบผู้คนที่เดินขวักไขว่ เช่นเดียวกัน มือกับเขาอย่างรุนแรง เขาลัน่ ไกปืนใส่พงุ


อยูบ่ นถนนว่า “ตายแล้ว” เพราะเขามองว่า ในเวลาต่อมา อีลแบร์เดินตามชาย ของชายอ้วนผูน้ นั้ ไป ๓ นัด แล้ววิง่ หนีไป
ชีวติ มนุษย์เหล่านีไ้ ร้สาระ ว่างเปล่าราวกับ ร่างอ้วนคนหนึ่งอย่างกระชั้นชิดจนเขา ผูค้ นวิง่ ไล่ตามจับอีลแบร์พร้อมกับ
คนที่ ต ายไปแล้ ว ค� ำ พู ด ของอี ล แบร์ มองเห็นต้นคออวบสีแดง รอยย่นทีต่ น้ คอ ร้องว่าเขาเป็นฆาตกร อีลแบร์ลั่นกระสุน
ประโยคนีส้ ะท้อนความคิดของฌ็อง-ปอล ดูเหมือนกับรอยยิม้ ทันใดนัน้ ชายร่างอ้วน ไปอีก ๒ นัด แล้ววิ่งเข้าไปในร้านกาแฟ
ซาทร์ทวี่ า่ การใช้ชวี ติ เพียงแค่ผา่ นไปวัน ๆ หันกลับมายิม้ กับเขา และถามหาถนนเดอ เขาขังตัวเองอยูใ่ นห้องน�ำ้ คงเหลือกระสุน
อย่างไร้จดุ หมายนัน้ ไม่พอเพียง คนเราน่า ลาเกเต (rue de la Gaîté) อีลแบร์ตะลึง อีก ๑ นัด เขาพยายามจะฆ่าตัวตาย เขาเล่า
จะใช้ชีวิตให้มีสาระได้มากกว่าที่เป็นอยู่ มองหน้าเขา และเมื่อเขายื่นมือมาเพื่อ ในตอนท้ายเรื่องว่า
ชีวิตของอีลแบร์ในเรื่อง Érostrate ก็ ทักทาย อีลแบร์ก็รู้สึกรังเกียจการสัมผัส

จินตนา ด�ำรงค์เลิศ
577
The Journal of the Royal lnstitute of Thailand

Volume 36 No. 4 Oct-Dec 2011

...ผมอมปลายกระบอกปืนไว้ในปาก และกัดมันอย่างแรง แต่ผมไม่กล้า


เหนีย่ วไก ไม่กล้าแม้แต่จะเอานิว้ สอดเข้าไปในช่องไกปืน ทุกสิง่ ตกอยูใ่ นความเงียบ
อีกครั้งหนึง่
แล้วผมก็โยนปืนลงและเปิดประตูให้พวกเขาเข้ามา
(Sartre 2007: 99)

ปอล อี ล แบร์ เ ป็ น ตั ว ละครที่ ด�ำเนินรอยตาม อย่างไรก็ตามวรรณกรรม (Gabriel d’Aubarède) ในวารสาร Les


พยายามสร้างชื่อเสียงให้กับตนเอง แต่ เรือ่ งÉ Érostrate แสดงให้เห็นถึงเจตนารมณ์ Nouvelles Littéraires ฉบั บ วั นที่ ๑
วิธีการของเขาเป็นไปในทางท�ำลายเพื่อน ของฌ็ อ ง-ปอล ซาทร์ ที่ ใ ช้ ว รรณคดี กุมภาพันธ์ ค.ศ. ๑๙๕๑ ตอนหนึง่ ว่า
มนุษย์ เขาเป็นตัวอย่างหนึ่งของตัวเอก ท�ำหน้าที่สะท้อนภาพสังคม ดังที่เขาเคย
ปฏิลักษณ์ซึ่งไม่ควรเป็นแบบอย่างที่ จะ ให้ สั ม ภาษณ์ แ ก่ ก าบรี แ ยล โดบาแรด

...ผมพยายามที่จะไม่ท�ำให้วรรณคดีสูญค่าหรือด้อยค่าลงในแง่พันธกิจ
ที่มีต่อสังคม ในทางตรงกันข้าม ผมตั้งใจจะท�ำให้วรรณคดีมีความส�ำคัญยิ่งขึ้น
มีความยิง่ ใหญ่กว่าช่วงเวลาทีผ่ า่ นมา ถ้าวรรณคดีเป็นเพียงสิง่ บันเทิง ก็จะมีคณ
ุ ค่า
ไม่ถึง ๑ ชั่วโมงด้วยซ�้ำ เมื่อเราพิจารณาวรรณคดีในฐานะเป็นบ่อเกิดของมนุษย์
จะพบว่าวรรณคดีแสดงถึงความหวังและความเย้ยหยันทุกด้านของสังคม เป็น
เสมือนภาพสะท้อนสังคม…

บรรณานุกรม Jeanson, Francis. Sartre dans sa vie. Molnar, T. Sartre, philosophe de la


Paris: Edition du Seuil; 1974. contestation. Paris: Le Prieuré,
ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรมศัพท์ LAROUSSE TROIS VOLUMESEN 1970.
วรรณกรรม อังกฤษ-ไทย ฉบับ COULEURS. Tome deux. Sartre, Jean-Paul. Le mur. Paris:
Paris: Librairie Larousse, Gallimard, Collection Folio,
ราชบั ณ ฑิ ต ยสถาน. กรุ ง เทพ
1966. 2007.
มหานคร: ราชบั ณฑิ ต ยสถาน, Les Nouvelles Littéraires. 1 février
๒๕๔๕) 1951.

เอร็อสทรัต (Erostrate) : กรณีศึกษาตัวเอกปฏิลักษณ์


578
วารสารราชบัณฑิตยสถาน
ปีที่ ๓๖ ฉบับที่ ๔ ต.ค.-ธ.ค. ๒๕๕๔

Abstract Érostrate: A Case Study of Anti-Hero


Chintana Damronglert
Associate Fellow of the Academy of Arts, The Royal Institute, Thailand

Érostrate is a short story by Jean-Paul Sartre which was published in 1939. In the
story the main character is an anti-hero who works a menial job and lives an insignificant
routine life. He is out of touch with humanity. One day, he conceives of an idea to make himself famous.
He would follow the path of mythological Greek character Érostrate. Érostrate burned down one of the
Seven Wonders of the World; the Temple of Artemis, one of Zeus’ daughters. From this inspiration,
he concocts a plan to shoot and kill people at random. When comes the time to implement his plan, he
cannot bring himself to kill until he comes across a fat man in the middle of the street. The man evokes
something inside him; prompting him to take a shot. After which, he runs and locks himself in a toilet
in the nearest café. He tries to commit suicide but fails. In the end, he surrenders himself to the police.

Key words : Anti-hero, Érostrate, Jean-Paul Sartre

จินตนา ด�ำรงค์เลิศ
579
The Journal of the Royal lnstitute of Thailand

Volume 36 No. 4 Oct-Dec 2011

การอนุรักษ์โขนหน้าจอ* ไพโรจน์ ทองค�ำสุก


ภาคีสมาชิก ส�ำนักศิลปกรรม
ราชบัณฑิตยสถาน

บทคัดย่อ
โขน เป็นนาฏกรรมชัน้ สูงอย่างหนึง่ ของไทยทีม่ มี าแต่โบราณ การแสดงโขนนัน้ มีววิ ฒ ั นาการมาอย่างต่อ
เนื่อง รูปแบบของการแสดงแบ่งได้เป็น ๕ ประเภท ประกอบด้วย โขนกลางแปลง โขนนัง่ ราว โขนหน้าจอ โขน
โรงใน และโขนฉาก ส�ำหรับการแสดงโขนหน้าจอนัน้ จะจัดแสดงในงานพระราชพิธีเฉลิมฉลองในโอกาสต่าง ๆ
นอกจากนี้ยังจัดแสดงในงานพระราชพิธีพระราชทานเพลิงพระศพ และนิยมจัดแสดงในงานศพของบุคคลทั่วไป
แต่ในปัจจุบันหาชมได้ยากมาก การแสดงโขนหน้าจอมีเอกลักษณ์เฉพาะคือ จัดแสดงกลางแจ้ง สร้างเป็นเวที มีจอ
อยู่ด้านหลังเวที โดยด้านขวามือ (ของผู้ชม) เขียนภาพปราสาทราชวัง สมมติเป็นกรุงลงกา หรือเมืองยักษ์ ส่วน
ด้านซ้ายมือ เขียนภาพพลับพลา สมมติเป็นที่พักของกองทัพพระราม ตรงกลางเป็นผ้าขาวจอด้านหลังทั้งหมดจะ
มีเสาขึน้ อยูเ่ จ็ดต้นเป็นส่วนทีย่ ดื ผ้าขาว ดนตรีทใี่ ช้ประกอบการแสดงคือวงปีพ่ าทย์ ในอดีตมีการจัดการแสดงอย่าง
ต่อเนื่องเดือนหนึง่ ประมาณ ๔-๕ ครั้ง แต่ในปัจจุบันมีการจัดการแสดงปีหนึง่ ประมาณ ๒-๓ ครั้งเท่านัน้

ค�ำส�ำคัญ : โขนหน้าจอ

บทน�ำ พระมหากษัตริย์ โขนจึงเป็นเสมือนหนึง่ ที่มาของการเล่นโขนไว้ว่า ไทยเรารับ


โขน เป็นมหรสพทีม่ คี วามส�ำคัญยิง่ เครื่องราชูปโภคส่วนพระองค์พระมหา ต้ น แบบเดิ ม ของการเล่ น ดึ ก ด� ำ บรรพ์
เป็ น มรดกทางวั ฒ นธรรมของชาติ ที่ มี กษัตริย์ โขนเป็นเอกลักษณ์ทแี่ สดงให้เห็น หรือชักนาคดึกด�ำบรรพ์เข้ามาแล้วน�ำมา
ประวัตคิ วามเป็นมาน่าศึกษาค้นคว้าอย่าง ถึงความเป็นชาติ ความเจริญรุ่งเรือง ซึ่ง ประดิษฐ์ดัดแปลงน�ำศิลปะชนิดต่าง ๆ
ยิ่ง เป็นศิลปะชั้นสูงแห่งราชส�ำนักที่มีมา บรรพบุรษุ ได้สร้างสรรค์ไว้ให้เป็นสมบัติ ของหนังใหญ่และกระบี่กระบอง เข้ามา
ตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา เป็นจุดก�ำเนิด อันน่าภาคภูมิใจ ผสมผสานในภายหลัง เกิดเป็นนาฏกรรม
แห่งความเชื่อ ความศรัทธาทางศาสนา โขนมีววิ ฒ
ั นาการสืบเนือ่ งมาตัง้ แต่ ที่เรียกว่า “โขน” ดังความที่เขียนไว้ใน
เป็นนาฏกรรมเพื่อการสรรเสริญ เทิดทูน อดีตจนถึงปัจจุบนั นายธนิต อยูโ่ พธิ์ อดีต หนังสือ โขน ว่า
บูชา และแสดงความจงรักภักดีต่อองค์ อธิบดีกรมศิลปากร ได้สนั นิษฐานเกีย่ วกับ

“การเล่นโขนน่าจะมาจากเล่นหนัง ซึ่งก็อาจเป็นไปได้เพราะมีบทพากย์
เจรจา เรื่อง รามเกียรติ์ส�ำหรับเล่นหนังที่นับว่าเป็นวรรณคดีรุ่นเก่าถึงสมัยกรุง
ศรีอยุธยาเหลือปรากฏอยู่... บทที่ใช้ส�ำหรับศิลปะของการเล่นหนังมีแต่ค�ำพากย์
และค�ำเจรจา แต่ผู้เชิดหนังต้องใช้ไม้ทั้งสองถือไม้ทาบตัวหนังแล้วก็ใช้เท้าเต้น
ออกท่าไปตามค�ำพากย์ ค�ำเจรจา และตามเพลงหน้าพาทย์ของปี่พาทย์ คล้าย

*
บทความนี้ปรับปรุงจากการบรรยายผลงานทางวิชาการในที่ประชุมส�ำนักศิลปกรรม เมื่อวันที่ ๖ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๒

การอนุรักษ์โขนหน้าจอ
580
วารสารราชบัณฑิตยสถาน
ปีที่ ๓๖ ฉบับที่ ๔ ต.ค.-ธ.ค. ๒๕๕๔

กับเต้นระบ�ำร�ำเท้า ศิลปะแห่งการเล่นหนังของเราจะมีความเดิมมาว่าได้รับแบบอย่าง
มาจากชวามลายูหรือที่ไหนก็ตามที แต่ควรพิจารณาว่าศิลปะแห่งการเต้นเท้าของ
ผู้เชิดหนังนั้น ส่วนส�ำคัญจะใช้หลักมาจากไหน เคยสังเกตเห็นนักกระบี่กระบอง
ร�ำออกท่าคล้ายท่าของโขนละครอยู่หลายท่า... และยังมีชื่อเพลงประกอบการร�ำการ
ต่อสู้ของกระบี่กระบองเป็นอันมากที่มีชื่อเหมือนเพลงของโขนละคร จึงชวนให้คิดว่า
ท่าเต้นของผู้เชิดหนังแต่เดิมคงจะเอามาหรือดัดแปลงมาจากท่าร� ำต่อสู้แบบ วีรชัย
(War Dance) เช่นร�ำกระบี่กระบองด้วยก็ได้ และศิลปะของการเต้นโขนบางอย่างบาง
ตอนก็ได้มาจากท่ากระบีก่ ระบองด้วย.... จึงเห็นได้วา่ โขนน�ำเอาศิลปะของการเล่นหลาย
อย่างมาผสมกัน” (ธนิต อยู่โพธิ์ ๒๕๑๑ : ๒๑-๒๒)

การแสดงโขนใช้ศลิ ปะการเต้นให้ ได้เป็น ๕ ประเภท คือ ผู้แสดงเข้าออก ถัดไปด้านขวามือ (ของ


เข้ากับจังหวะดนตรี และเพลงหน้าพาทย์ ๑. โขนกลางแปลง ผู้ชม) มีภาพเขียนเป็นรูปปราสาทราชวัง
เป็นหลัก ด�ำเนินเรือ่ งด้วยการพากย์-เจรจา ๒. โขนนัง่ ราว (โขนโรงนอก) สมมติเป็นกรุงลงกา หรือเมืองยักษ์ ส่วน
ผู้แสดงส่วนใหญ่สวมหัว ใช้วงปี่พาทย์ ๓. โขนหน้าจอ ด้านซ้ายมือ มีภาพเขียนเป็นรูปพลับพลา
ประกอบการแสดง ภายหลังมีการร้อง ๔. โขนโรงใน พระราม ด้านหลังจอผ้าขาว และภาพเขียน
เข้าไปด้วย เรือ่ งทีแ่ สดงโขนนิยมเล่นเรือ่ ง ๕. โขนฉาก ทั้งสองจะมีเสาขึ้นอยู่ ๗ ต้นเป็นส่วนที่
รามเกียรติ์เพียงเรื่องเดียว รามเกียรติ์นนั้ ยืดผ้าขาว บนหัวเสาทั้ง ๗ ต้น ประดับ
แพร่หลายในดินแดนสยามมาแต่โบราณ โขนหน้าจอ ธงชาติไทย และที่ส�ำคัญ กลางผ้าขาวจะ
โดยมีเค้าเรือ่ งมาจาก มหากาพย์รามายณะ การแสดงโขนหน้ า จอ ซึ่ ง ใน ติดภาพพระคเณศตรากรมศิลปากร ด้าน
ฉบับทมิฬในอินเดียตอนใต้ มิใช่มาจาก ปัจจุบันหาชมได้ยากมาก เป็นการแสดง หลังของเวทีมีส่วนที่ยกพื้นเป็นที่ตั้งวง
รามายณะ ฉบับวาลมิกิ โดยตรง ชาวสยาม โขนบนเวทียกพื้นด้วยโครงเหล็ก หรือ ปีพ่ าทย์ สองข้างทีเ่ ป็นประตูเข้าออกจะใช้
ยกย่องนับถือรามายณะเป็นพิเศษ จึงรับคติ ด้วยวิธีการจัดถังน�้ำมันตั้งเรียงเป็นแนว ไม้กระดานพาดเป็นทางลาดเพื่อสะดวก
ไว้เต็มที่ โดยผ่านกลุ่มชนชั้นสูง หรือชั้น ยาวจากนั้นจึ ง น�ำ ไม้ ก ระดานมาวางใน ต่อการเข้าออกของนักแสดงโขนที่ต้อง
ปกครอง แม้ไทยจะได้ต้นเค้าเรื่องมาจาก ลักษณะรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า แล้วปูทับด้วย สวมศีรษะ ส่วนสุดท้ายด้านหลังเวทีจะ
มหากาพย์รามายณะ แต่ไทยก็มไิ ด้คดั ลอก ผ้ายางยาวตลอดแนว มีความสูงประมาณ เป็นที่แต่งตัวและพักผ่อนของนักแสดง
เอามาอย่างชนิดค�ำต่อค�ำ หากแต่ได้น�ำมา ๕-๗ เมตร กว้าง ๕-๗ เมตร ยาว ๑๖-๑๘ มีการตั้งศีรษะครูโดยจัดแบ่ง ตามจารี ต
ปรุงแต่ง ด�ำเนินเรื่องใหม่โดยสอดแทรก เมตร มีจอผ้าขาวขึงตามความยาวของโรง ของการแสดงโขน ให้ฝ่ายพระและลิงอยู่
คตินยิ มแบบไทยเข้าไว้อย่างสมบูรณ์ การ ด้านล่างของจอผ้าขาวมีตารางประกอบไว้ ด้านซ้าย ฝ่ายยักษ์อยู่ด้านขวา (ของผู้ชม)
แสดงโขนมีระเบียบวิธกี ารแสดงทีพ่ ฒ ั นา เพื่อให้นกั ดนตรีสามารถมองเห็นตัวโขน
ไปตามยุคตามสมัยเกิดการแสดงโขนแบ่ง ได้อย่างชัดเจน สองข้างจอมีประตูสำ� หรับ

ไพโรจน์ ทองค�ำสุก
581
The Journal of the Royal lnstitute of Thailand

Volume 36 No. 4 Oct-Dec 2011

การแสดงโขนหน้าจอ ด้านขวามือ (ของผู้ชม) มีภาพเขียนเป็นรูปปราสาทราชวัง สมมติเป็นกรุงลงกา หรือเมืองยักษ์ ส่วนด้านซ้าย


มือ มีภาพเขียนเป็นรูปพลับพลาสมมติเป็นที่พักของกองทัพพระราม ภาพเขียนทั้งสองจะมีเสาขึ้นอยู่เจ็ดต้นเป็นส่วนที่ยืดผ้าขาว

การแสดงโขนหน้าจอ ที่จัดการ ประมาณ ๑๖๐-๒๐๐ คน หากเป็นงานนอก ใช้โกร่งตีประกอบจังหวะ ก็เพื่อให้เกิด


แสดงในงานพระราชทานเพลิ ง ศพ (งานที่จัดโดยไม่ผ่านกรมศิลปากร) สนน เสียงดังครึกครื้น จังหวะเพลงจะได้แน่น
เจ้าภาพส่วนใหญ่จะต้องเป็นผู้ที่มีฐานะ ราคาจะอยู่ที่ ๓๐๐,๐๐๐ บาท หรือมาก อีกประการเพราะการแสดงโขนหน้าจอ
มากพอสมควร เพราะการแสดงโขน กว่านี้ จัดแสดงกลางแจ้ง เสียงที่ดังจะได้เรียก
หน้าจอมีค่าใช้จ่ายค่อนข้างสูง ส�ำนัก ผู้คนมาชมการแสดงโขน โกร่งคือไม้ไผ่
การสังคีต กรมศิลปากรมีระเบียบเป็น จารีตในการแสดงโขนหน้าจอ มีลักษณะความยาวประมาณ ๑ เมตร วาง
ค่าใช้จ่ายสนนราคาในกรุงเทพฯ และ จารีตในการแสดงโขนหน้าจอมี พาดบนไม้รองอีกทีหนึง่ เจาะรูไม้ไผ่เป็น
ปริ ม ณฑลประมาณ ๒๐๐,๐๐๐ บาท ดังนี้ ระยะ ใช้ไม้กรับตีให้จังหวะ
ส่วนในต่างจังหวัดก็ขึ้นอยู่กับระยะทาง ๑. ดนตรี ในการแสดงโขนหน้า ๒. ก่อนเริ่มการแสดงโขนหน้า
ประมาณราคา ๓๐๐,๐๐๐ บาทขึ้นไป จอใช้วงปี่พาทย์ เหมือนการแสดงโขน จอ จะมีการบรรเลงเพลงโหมโรง โดย
โดยสามารถจัดการแสดงได้ในช่วงเวลา ประเภทอื่น แต่เพิ่มเครื่องดนตรีชิ้นหนึง่ ใช้เวลาบรรเลงประมาณ ๓๐ นาที ก็เพื่อ
๑๖.๐๐-๒๔.๐๐ น. (พักช่วง ๑๘.๐๐ น. แล้ว ชื่อว่า โกร่ง เพื่อใช้ตีประกอบเพลงหน้า เป็นการเชิญชวนคนดูให้มาชมการแสดง
จึงมาเริ่มแสดงเวลา ๒๐.๐๐ น.) การ พาทย์ที่มีกลองทัดตี เช่น เพลงกราวนอก โขน การแสดงโขนหน้าจอมักจัดแสดง
จั ด แสดงแต่ ล ะครั้ ง จะใช้ ผู ้ ป ฏิ บั ติ ง าน เพลงกราวใน เหตุทกี่ ารแสดงโขนหน้าจอ ในพื้นที่ต่างจังหวัดไกล ๆ เมื่อชาวบ้าน

การอนุรักษ์โขนหน้าจอ
582
วารสารราชบัณฑิตยสถาน
ปีที่ ๓๖ ฉบับที่ ๔ ต.ค.-ธ.ค. ๒๕๕๔

ได้ยินเสียงดนตรีก็จะรีบเดินทางมาชม ด้านซ้าย (ของผู้ชม) และเข้าด้านซ้าย รู้บทก่อนที่จะร�ำ สามารถประดิษฐ์คิด


การแสดงโขน เป็นการเผื่อเวลาในการ ส่ ว นฝ่ า ยยั ก ษ์ จ ะออกด้ า นขวาแล้ ว เข้ า กระบวนท่าได้อย่างงดงาม
เดินทางของชาวบ้าน ด้านขวา โดยเฉพาะการออกว่าราชการ ๙. การเรี ย กเพลงหน้ า พาทย์
๓. ผู้แสดงโขนหน้าจอ ตัวที่เป็น แล้วไปจัดทัพของทั้ง ๒ ฝ่าย แต่ถ้าเป็น ผู้พากย์จะเรียกเพลงหน้าพาทย์หลังจาก
เสนา นางก�ำนัล จะต้องคลานออกไปนัง่ การออกกราวผูแ้ สดงจะออกจากด้านซ้าย จบการพากย์ เจรจา เพื่อให้ผู้บรรเลง
เฝ้าก่อนที่ตัวนายจะเดินออก เมื่อจบการ (ของผู้ชม) แล้วเข้าด้านขวา ทั้งฝ่ายพระ ดนตรีบรรเลงเพลงหน้าพาทย์ให้ตวั โขนร�ำ
แสดงตัวนายจะเดินเข้า พวกเสนายักษ์เดิน และฝ่ายยักษ์ การเรียกเพลงหน้าพาทย์จะมีคำ� ว่า บัดนัน้
ตาม นางก�ำนัลสอดสร้อยตาม ส่วนเสนา ๖. บทโขน เนื่องจากการแสดง หรือบัดนี้ แล้วจึงบอกเพลงหน้าพาทย์
ลิงก็คลานในท่าลิงเข้าโรง โขนหน้าจอไม่มีม่านปิดเปิด ไม่มีฉาก ที่จะให้นกั ดนตรีบรรเลง
๔. ต� ำ แหน่ ง ในการนั่ ง ของผู ้ ประกอบการแสดง การเขียนบทจึงจ�ำเป็น ๑๐. การแผลงศรในการแสดงโขน
แสดงโขนหน้าจอ จะต้องนัง่ ตามความยาว อย่างยิ่งที่จะต้องมีความต่อเนื่องกัน และ หน้าจอ วิธีแสดงโขนหน้าจอ ซึ่งส่วน
ของเวทีที่ใช้แสดง พวกเสนาจะนัง่ คู่กัน จะต้องระบุตัวโขนเข้า ออกให้ชัดเจน ใหญ่จะเป็นเรื่องของการต่อสู้ระหว่าง
หันหน้าเข้าหานาย หันข้างตัวให้ผู้ชม บทโขนหน้าจอ ผู้พากย์จะต้องจดจ�ำบท พระราม และทศกัณฐ์ ฝ่ายยักษ์ เมื่อ
ส่วนต�ำแหน่งการตั้งเตียง ฝ่ายพระจะตั้ง สามารถเจรจาด้นโต้ตอบกันให้ได้อย่าง พระรามท�ำท่าแผลงศรออกไป จะมีตัว
ด้านซ้าย ประกอบด้วยเตียงใหญ่ (พระราม) แม่นย�ำ เจรจาด�ำเนินเนื้อเรื่องต่อกับบท ตลกโขนถือลูกศร วิ่งออกจากประตูด้าน
และเตียงเล็ก (พระลักษมณ์)โดยตั้งให้ พากย์ให้ได้อย่างคล้องจอง พระราม (ด้านซ้าย) แล้ววิง่ ไปหาฝ่ายยักษ์
เตี ย งใหญ่ อ ยู ่ ด ้ า นนอกเอี ย งเข้ า หาผู ้ ช ม ๗. ในการแสดงโขนจะมีผู้พากย์ ที่เป็นคู่ต่อสู้ โดยน�ำลูกศรเข้าตีกับคันศร
เล็กน้อย ถ้ามีนางสีดาก็ให้นงั่ เตียงใหญ่ เจรจาแทน ซึ่งมีต�ำแหน่งยืนพากย์ คือ ของฝ่ายยักษ์ จากนัน้ ตัวตลกก็นำ� ลูกศรปัก
กั บ พระราม โดยนั่ ง ด้ า นขวามื อ ของ ถ้าเป็นผู้พากย์ฝ่ายไหนก็ยืนด้านนัน้ โดย ที่อกยักษ์ ปี่พาทย์ก็จะท�ำเพลงโอดทันที
พระราม ส�ำหรับต�ำแหน่งการนัง่ ของพิเภก ไม่ดูบท ผู้พากย์จะมีเฉพาะผู้ชายเท่านัน้ นอกจากนีต้ ัวตลกโขนจะมีหน้าที่
และพญาวานร จะนัง่ ตรงกลางระหว่าง แม้จะพากย์แทนตัวนางก็ตาม แต่ทั้งนี้ จัดเตียง จัดอุปกรณ์ ประกอบ และจัดโรง
สิบแปดมงกุฎ โดยเรียงล�ำดับดังนี้ พิเภก ก็จะมีวิธีการคัดเลือก หากพากย์ตัวยักษ์ พิธีในตอนนัน้ ๆ ผู้ชมต้องท�ำประหนึง่
ชามพูวราช สุครีพ หนุมาน ชมพูพาน องคต ก็จะใช้ผู้ที่มีน�้ำเสียงใหญ่ ดุดัน พากย์ ว่าไม่เห็นตัวตลกพวกนี้ การแต่งตัวของ
และนิลนนท์ ส่วนต�ำแหน่งการตัง้ เตียงฝ่าย ตัวพระก็จะใช้ผู้ที่มีน�้ำเสียงทุ้ม นุ่มนวล ตัวตลก คือสวมเสือ้ สีแดงเข้ม ลายเป็นทาง
ยักษ์จะตั้งด้านขวา ส�ำหรับมโหทรและ พากย์ ตั ว นางก็ จ ะใช้ ผู ้ ที่ มี น�้ำ เสี ย งอ่ อ น แขนยาว นุ่งโจงกระบวนผ้าพิมพ์ลาย มี
เปาวนาสูรนัน้ จะนัง่ หัวแถวของเสนายักษ์ หวาน นุ่มนวล (แต่ไม่ต้องดัดเสียง) ผ้าคาดเอว สวมหมวกหูกระต่าย หากตัว
โดยนัง่ ให้เหลื่อมหน้าเล็กน้อย ๘. การบอกบทร้ อ งตามจารี ต ตลกต้องการให้ผู้ชมเห็นตัวต้องเปลี่ยน
๕. การเข้าออกของผู้แสดง เมื่อ โขนหน้าจอ ผู้พากย์ เจรจาโขน จะบอก ศีรษะ เช่น ถือกลดพระรามก็สวมหัวลิง
การตั้งเตียงถูกก�ำหนดไว้ชัดเจน การเข้า บทร้องด้วยเสียงดัง น�ำก่อนนักร้องทุกครัง้ ถือกลดทศกัณฐ์ก็สวมหัวยักษ์ เป็นตลก
ออกก็เหมือนกัน หากเป็นฝ่ายพระ จะออก จากนัน้ นักร้องจึงร้องตาม ท�ำให้ผู้แสดง ฝ่ายไหนก็สวมหัวฝ่ายนัน้

ไพโรจน์ ทองค�ำสุก
583
The Journal of the Royal lnstitute of Thailand

Volume 36 No. 4 Oct-Dec 2011

นางเมขลาร�ำเชิดฉิ่งในการแสดงโขนหน้าจอ นนทุกขึ้นเฝ้าพระอิศวรในการแสดงโขนหน้าจอ
ชุดเมขลา-รามสูร ชุดนารายณ์ปราบนนทุก

กวางทองในการแสดงโขนหน้าจอ ชุดลักสีดา พระรามพิพากษานิลพัทในการแสดงโขนหน้าจอชุดจองถนน

การอนุรักษ์โขนหน้าจอ
584
วารสารราชบัณฑิตยสถาน
ปีที่ ๓๖ ฉบับที่ ๔ ต.ค.-ธ.ค. ๒๕๕๔

พระอินทร์แปลงในการแสดงโขนหน้าจอ ชุดพรหมาสตร์ พระรามรบทศกัณฐ์ในการแสดงโขนหน้าจอ ชุดยกรบ

คนพากย์ในการแสดงโขนหน้าจอ จะยืนอยู่ด้านข้างเวทีตรงประตูเข้า-ออก

ไพโรจน์ ทองค�ำสุก
585
The Journal of the Royal lnstitute of Thailand

Volume 36 No. 4 Oct-Dec 2011

ข้อควรระวัง ๓. แมลง การแสดงโขนหน้าจอ ๓-๔ ครั้ง แต่ในปัจจุบันปีหนึง่ อาจมีการ


การจัดการแสดงโขนหน้าจอ มีขอ้ ส่วนใหญ่มักจัดการแสดงในต่างจังหวัด แสดงแค่ ๒-๓ ครั้ง ด้วยเหตุนี้เมื่อความ
ควรระวังดังนี้ ไกล ๆ ในช่วงเวลากลางคืน เมื่อเวทีโขน ทราบถึงสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ
๑. เวที หากเป็นถังน�้ำมันปูด้วย เปิดแสงไฟพวกแมลงชนิดต่าง ๆ จะบิน สยามบรมราชกุมารี ทรงมีความห่วงใย
แผ่นไม้ ไม่สู้ดีนัก เพราะไม้จะกระดก มาเล่นไฟเป็นจ�ำนวนมาก เมือ่ ตัวโขนออก และมีพระราชประสงค์ที่จะอนุรักษ์ เพื่อ
ไปมา ไม่แน่น เมื่อแสดงโขนแผ่นไม้จะ แสดง แมลงเหล่านีจ้ ะเป็นอุปสรรคต่อการ ให้ประชาชนทั่วไปได้รู้จักวิธีการแสดง
ยืดหยุน่ มาก ท�ำให้ยนื ไม่อยู่ ส่วนแผ่นยาง แสดงมาก นอกจากจะเข้าตา เข้าปากแล้ว โขนแบบโบราณที่หาชมได้ยาก และทรง
ที่ใช้ปูบนพื้นไม้ หากปูในช่วงเย็น ก่อน บางครัง้ ก็คลานเข้าไปตามร่างกาย ผูแ้ สดง คุณค่าในการอนุรักษ์ ในครั้งนัน้ ได้ทรง
การแสดงโขนหน้าไฟจะท�ำให้แผ่นยาง ที่สวมหัวโขนเมื่อแมลงเข้าไปในหัวโขน พระกรุณาโปรดเกล้าฯบรรเลงระนาดเอก
ร้อนจากแสงแดดมาก ผู้แสดงโขนถึงกับ ต้องเข้าหลังเวทีทันที เพื่อน�ำแมลงออก ประกอบการแสดงโขนหน้ า จอ ชุ ด
ไม่สามารถอยู่นงิ่ ได้ หากเป็นโขนตัวลิง ไปไม่เช่นนัน้ แมลงจะเข้าหู เข้าตาจนไม่ ศึ ก ทศกั ณ ฐ์ ข าดเศี ย รขาดกร เมื่ อ
ก็กระโดดไปมาได้ เพราะฉะนัน้ ช่วงเย็น สามารถแสดงต่อได้ พุทธศักราช ๒๕๔๕ และในปีต่อมา
จึงห้ามปูแผ่นยางเป็นอันขาด เมื่อแดดร่ม ๔. พลุ ในการแสดงโขนหน้าจอ พุทธศักราช ๒๕๔๖ เนื่องในวันอนุรักษ์
แล้วจึงน�ำแผ่นยางมาปู สาเหตุที่ต้องปู เจ้าภาพจะนิยมให้มกี ารจุดพลุ ประทัด คือ มรดกไทย กรมศิ ล ปากรได้ ส นอง
แผ่นยางเพราะกันเสี้ยนไม้ต�ำเท้าผู้แสดง เมื่อแสดงโขนไปได้ระยะหนึง่ ช่วงเวลา พระราชด�ำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ
นอกจากนี้ ส ่ ว นประกอบของเวทีก็เกิด เผาจริงคือประมาณ ๒๒.๐๐ น. หลังจาก สยามบรมราชกุมารี ที่ทรงพระกรุ ณา
อุปสรรคต่อการแสดง คือผ้าม่านที่ติด พิธีกรรมเผาจริงแล้วจะมีการจุดพลุหรือ โปรดเกล้าฯ ให้จัดการแสดงโขนหน้าจอ
บนประตูทางเข้า-ออก หากผูแ้ สดงทีส่ วม ประทัด ซึง่ จะเป็นช่วงทีห่ ยุดพักการแสดง แบบโบราณเรื่ อ งรามเกี ย รติ์ ใ นตอนที่
ชฎาไม่ทนั ระวัง เมือ่ ออกแสดงปลายยอด โขน แต่จ�ำเป็นต้องมีเจ้าหน้าที่ถือไม้ยาว คนไทยแต่งขึ้นเอง ไม่ปรากฏอยู่ในเรื่อง
หลุดติดกับผ้าม่าน ผู้แสดงวิ่งออกไปต้อง คอยปัดเฝ้าระวัง เพราะพลุหรือประทัด รามเกียรติ์ฉบับรามายณะ เพื่อแสดงใน
รีบกลับเข้ามาสวมยอด หรือผูแ้ สดงทีส่ วม ทีเ่ จ้าภาพจุดนัน้ บางครัง้ กระเด็นมาถูกจอ เห็นถึงแหล่งทรัพย์สนิ ทางศิลปวัฒนธรรม
หัวโขนก็ตาม ปลายยอดมักจะติดผ้าม่าน การแสดงโขน ถึงกับไหม้ลุกลามจนไม่ ไทยอย่างแท้จริง จึงได้มกี ารจัดท�ำบทโขน
ถึงกับผงะหงายหลังก็มี สามารถแสดงโขนได้ก็เคย หน้าจอ ชุดศึกวิรญ ุ จ�ำบังขึน้ ทูลเกล้าฯ ถวาย
๒. ไฟฟ้า การจัดสร้างเวทีโขน ๕. ควันไฟ จากพลุ หรือประทัด เพื่อขอพระราชทานพระราชวินิจฉัยซึ่ง
หน้าจอมีการติดตั้งไฟฟ้าโดยรอบเพื่อให้ อาจท�ำให้ผู้แสดงโขน นักดนตรี และเจ้า ก็ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้จดั แสดง
แสงสว่าง ซึ่งมีการติดตั้งทั้งด้านบน ด้าน หน้าที่อื่น ๆ เกิดอาการส�ำลักควัน เพราะ และร่วมทรงระนาดเอกประกอบการแสดง
ข้าง และด้านหน้าเวที ไฟฟ้าที่ติดด้าน ไม่รู้จะไปหลบที่ไหนไกลได้ โขน แสดงให้เห็นถึงพระปรีชาสามารถ
หน้าเวที เมื่อผู้แสดงออกนัง่ โดยเฉพาะ ๖. ฝน ในบางครั้งอาจมีฝนตก ด้ า นดุ ริ ย างคศิ ล ป์ แ ละด้ า นนาฏศิ ล ป์
โขนตัวเสนายักษ์ เสนาลิง ที่นงั่ แถวนอก หากฝนตกมากไม่หยุดก็จะงดการแสดง รวมทั้งพระราชปณิธานที่มุ่งมั่นในการ
จะต้องนัง่ ติดกับไฟฟ้าทีต่ ดิ ตัง้ ไว้ดา้ นหน้า แต่ถ้าหากฝนตกแล้วหยุด ก่อนเวลาเลิก อนุรักษ์สืบทอดมรดกทรัพย์สินทางศิลป
ซึ่งมีความร้อนสูงมาก จะขยับหนีได้ก็ไม่ (๒๔.๐๐ น.) ก็จะแสดงต่อ สิง่ ทีต่ อ้ งระวัง วัฒนธรรมอย่างแท้จริง นับเป็นพระมหา
มากนักเพราะรูปแบบแถวถูกก�ำหนดไว้ ก็คือไฟฟ้ารั่ว เกิดไฟดูด ซึ่งเคยเกิดขึ้น กรุ ณาธิ คุ ณที่ ไ ด้ พ ระราชทานแก่ เหล่ า
แล้ว ไหนอุณหภูมิที่มีความร้อนอยู่แล้ว แล้ว ผู้แสดงขึ้นเวทีจับเสาเหล็กถูกไฟฟ้า ศิลปินกรมศิลปากร และประชาชนไทย
เครื่องแต่งกายที่ค่อนข้างหนา ยังมาเจอ ดูดหมดสติ ต้องรีบน�ำส่งโรงพยาบาล ทั้งปวงอย่างหาที่สุดมิได้ (กรมศิลปากร
กับหลอดไฟฟ้าทีม่ คี วามร้อนสูง ท�ำให้ยงิ่ การจัดการแสดงโขนหน้าจอใน ๒๕๔๖ : ค�ำน�ำ)
ทวีคูณความร้อนมากขึ้นไปอีก อดีตเคยมีการแสดงถึงเดือนละประมาณ

การอนุรักษ์โขนหน้าจอ
586
วารสารราชบัณฑิตยสถาน
ปีที่ ๓๖ ฉบับที่ ๔ ต.ค.-ธ.ค. ๒๕๕๔

บทสรุป หน้าจอเป็นอย่างมาก นอกจากนี้ความ บรรณานุกรม


การศึ ก ษาเรื่ อ งการอนุ รั ก ษ์ โขน นิยมการแสดงโขนหน้าจอในปัจจุบันมี ธนิต อยู่โพธิ์. โขน. พระนคร : ศิวพร;
หน้าจอท�ำให้เห็นได้ว่ากระบวนการอัน เหตุปัจจัยของค่าจ้างที่มีราคาสูงมาก จึง ๒๕๑๑. ปั ญ ญา นิต ยสุ ว รรณ.
เป็นจารีตต่าง ๆ ขาดหายไปมาก ไม่วา่ จะ ท� ำ ให้ ก ารว่ า จ้ า งน� ำ โขนหน้ า จอไปจั ด อนุสรณ์งานพระราชทานเพลิงศพ
เป็นรูปแบบการแสดง กระบวนท่าร�ำ และ แสดงลดน้อยลงมาก ทัง้ โขนของราชการ นายปัญญา นิตยสุวรรณ. กรุงเทพ
เพลงทีใ่ ช้ประกอบการแสดง เนือ่ งจากใน และเอกชน จึงเป็นหน้าที่ของหน่วยงาน มหานคร : ไอเดีย สแควร์; ๒๕๔๘.
ปัจจุบันมีการตัดทอนระยะเวลาในการ ภาครัฐที่จะต้องอนุรักษ์การแสดงโขน ศิลปากร, กรม. สูจิบัตร ศึกวิรุญจ�ำบัง.
แสดงลงมาก และมีการปรับปรุงบท เพื่อ หน้าจอไว้ไม่ให้สูญหายไปจากแผ่นดิน กรุ ง เทพมหานคร : ม.ป.ท. ;
ให้เหมาะสมกับความต้องการของผูช้ มใน ไทยต่อไป ๒๕๔๖.
ยุคปัจจุบนั นับว่ามีผลต่อการอนุรกั ษ์โขน

Abstract The Conservation of Khon Na Cho


Pairoj Thongkumsuk
Associate Fellow of The Academy of Arts, The Royal Institute, Thailand

Phu Rotchana/Author/Poet/Creator of Thaksin (Southern) Literature Chuan Petkaew existed


since before the start of mass publication. In the old days, literary works were recorded in a kind of
homemade book known as Nangsue Bud or Samut Khoi, which is made from dried leaves. Most works
bare no record of their authors. Sometimes, there are names of the copier (a person who copies the
work onto the book but not the composer himself). Sometimes the name appearing on the book is that
of the patron who provides financial sponsorship for the creation of the book. Most creators of Thaksin
literature are monks or religious laymen since they are well learned in both Dhamma and the secular
world. The works are meant to be like an educational charity which the creators believe would bring them
enlightenment and happiness. In the Central Region, the content and the language used are sometimes
influenced by the Royal Court if the authors have a personal link to it. Though most works are being
distributed free of charge, some aren’t. Those that are composed for financial gain are, however, written
in Klon with more variety in content. Besides the monks and the learned laymen, sometimes performers
and singers would participate in writing the literary works as well.

Key words : Khon Na Cho

ไพโรจน์ ทองค�ำสุก
587
The Journal of the Royal lnstitute of Thailand

Volume 36 No. 4 Oct-Dec 2011

น�้ำท่วม ปัญหาโลกแตก*
มาลิทัต พรหมทัตตเวที
ภาคีสมาชิก ส�ำนักศิลปกรรม
ราชบัณฑิตยสถาน

บทคัดย่อ
อุทกภัยครั้งใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ของประเทศไทยที่เกิดขึ้นเมื่อ พ.ศ. ๒๕๕๔ นี้ท�ำความเสียหาย
อย่างใหญ่หลวงทั้งทางด้านการสูญเสียชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน เพราะน�้ำท่วมครอบคลุมพื้นที่ประมาณ
๒ ใน ๓ ของประเทศตั้งแต่ภาคเหนือจดใต้ สาเหตุของน�้ำท่วมส่วนหนึ่งมาจากปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่อยู่
เหนือการควบคุมของมนุษย์ แต่การเปลี่ยนแปลงทางธรรมชาติบางครั้งก็เป็นผลมาจากการกระท�ำของมนุษย์ เช่น
เทคโนโลยีสมัยใหม่ท�ำให้เกิดการท�ำลายชั้นโอโซนในบรรยากาศ เกิดภาวะเรือนกระจก ท�ำให้โลกร้อน น�้ำแข็งขั้ว
โลกละลาย เกิดน�้ำท่วม ในประเทศไทยการตัดไม้ท�ำลายป่า การถางป่าเพื่อท�ำไร่เลื่อนลอยท�ำให้เกิดภูเขาหัวโล้น
ไม่มีต้นไม้ไว้ปะทะการไหลของน�้ำ ท�ำให้ดินถล่ม การถมคูคลองเพื่อสร้างถนน สิ่งก่อสร้างและโรงเรือนเป็นการ
กีดขวางทางระบายน�้ำออกสู่ทะเล ท�ำให้น�้ำท่วมหนักและนาน เรื่องน�้ำท่วมใหญ่ไม่ใช่เรื่องใหม่ เป็นเรื่องที่มีมา
ช้านานในต�ำนานของชาติต่าง ๆ ไม่วา่ เล็กหรือใหญ่ในแทบจะทุกมุมโลก เรื่องเหล่านี้มีทั้งความคล้ายคลึงกันใน
ประเด็นส�ำคัญและความแตกต่างกันในรายละเอียดปลีกย่อย ในสมัยโบราณผู้คนมักตั้งถิ่นฐานอยู่ติดแม่น�้ำหรือ
ทะเลเพื่อความสะดวกในการคมนาคมและการค้าขาย เมื่อถึงหน้าน�้ำก็เป็นธรรมดาที่น�้ำจะหลากท่วมบ้านเรือนได้
ท�ำให้สันนิษฐานได้ว่า ครั้งหนึ่งน่าจะเกิดน�้ำท่วมใหญ่ในระดับโลก ท�ำให้ผู้คนล้มตายแทบจะไม่เหลือสืบเผ่าพันธุ์
คนโบราณจึงคิดว่าน�้ำท่วมโลกคือการที่พระเจ้าหรือเทพเจ้าลงโทษมนุษย์ซึ่งกระท�ำผิดบาป แต่เหตุที่ยังมีมนุษย์
สืบเผ่าพันธุ์ต่อมาก็เพราะยังมีคนดีเหลืออยู่ที่ปฏิบัติตามค�ำสั่งของพระเจ้าหรือเทพเจ้าท�ำให้รอดชีวิตได้

ค�ำส�ำคัญ : ต�ำนาน, น�้ำท่วมโลก, โลกร้อน

บทน�ำ ก็เท่าเทียมกันไม่เลือกชั้นวรรณะ จะบ้าน “น�้ำเหนือ” หลาก “น�้ำทะเล” หนุน และ


ในประเทศไทยขณะนี้ไม่มีค�ำใด ยาจกหรื อ เศรษฐี มี สิ ท ธิ์ ถู ก น�้ ำ ท่ ว มได้ “น�้ำฝน” กระหน�่ำ เกิดขึ้นพร้อม ๆ กัน
จะดึงดูดความสนใจของผู้ฟังได้เท่ากับ เหมือนกัน แต่ปีนี้ภาวะน�้ำท่วมรุนแรงถึง ถึงท่วมก็ไม่ทว่ มขังเป็นเวลานานเนือ่ งจาก
ค�ำว่า “น�ำ้ ท่วม” เวลาเจอหน้ากัน ค�ำทักทาย ขั้นต้องมีการอพยพผู้คนออกจากพื้นที่ มีการป้องกันเพือ่ รักษาสถานทีส่ ำ� คัญทาง
แทนทีจ่ ะเป็น “ไปไหนมา” “สบายดีหรือ” เสี่ยงอันตรายเป็นการโกลาหลเนื่องจาก ราชการและเขตเศรษฐกิจ โดยใช้วธิ ผี นั น�ำ้
กลับถามกันว่า “ที่บ้านน�้ำท่วมแล้วหรือ น�้ำมาเร็วและแรงมาก ส�ำหรับกรุงเทพฯ จากกรุงเทพฯ ชัน้ ในออกไปรอบนอก ใน
ยั ง ” เนื่ อ งจากอุ ท กภั ย ที่ ค นไทยก� ำ ลั ง ซึ่งเคยมีคูคลองมากมายจนฝรั่งเรียกว่า อดีต น�ำ้ ก็เคยท่วมกรุงเทพฯ มาแล้วหลาย
เผชิ ญ อยู ่ นั้ น ใหญ่ ห ลวงนั ก และก� ำ ลั ง “เวนิสตะวันออก” นัน้ ปรกตินำ�้ จะไม่ทว่ ม ครั้งตั้งแต่สร้างเมืองมา ซึ่งเป็นธรรมดา
แผ่ขยายไปทัว่ ประเทศ ผูท้ ไี่ ด้รบั ผลกระทบ นอกจากจะมีภาวะที่น�้ำทั้ง ๓ ชนิด คือ ของเมืองที่ตั้งอยู่ในที่ราบลุ่มแม่น�้ำ แต่

*
บทความนี้ปรับปรุงจากการบรรยายผลงานทางวิชาการในที่ประชุมส�ำนักศิลปกรรม เมื่อวันที่ ๒๙ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๔

น�้ำท่วม ปัญหาโลกแตก
588
วารสารราชบัณฑิตยสถาน
ปีที่ ๓๖ ฉบับที่ ๔ ต.ค.-ธ.ค. ๒๕๕๔

สภาพบ้านเมืองที่มีคูคลองระบายน�้ำได้ เรือสุพรรณหงส์จ�ำลองที่อยู่ในสระน�้ำ คล้ า ยคลึ ง กั น ในรู ป แบบโดยทั่ ว ไปซึ่ ง


สะดวกและวิ ถี ชี วิ ต ของผู้คนที่มักปลูก ของมหาวิทยาลัยโผล่ให้เห็นแค่หัวหงส์ เป็นการบันทึกเหตุการณ์ว่าได้เคยมีน�้ำ
บ้านใต้ถนุ สูง น�ำ้ ท่วมก็ยงั อยูไ่ ด้ การสัญจร ผู้เขียนลองลุยน�้ ำ เข้าไปทางประตูหลัง ท่วมโลกครัง้ ใหญ่โดยพระเจ้าหรือเทพเจ้า
ไปมาก็ใช้เรือพาย ท�ำให้ไม่ลำ� บากมากมาย มหาวิทยาลัยด้านหมู่บ้านเสรี ปรากฏว่า เป็นผู้บันดาลให้เกิดขึ้น ส่วนใหญ่แล้ว
อะไรนัก น�ำ้ สูงถึงระดับสะโพก ปีนนั้ มหาวิทยาลัย ทั้ ง โลกจะถู ก น�้ ำ ท่ ว ม แต่ จ ะมี ม นุ ษ ย์
ในกรุงเทพฯ เกิดน�้ำท่วมใหญ่ครั้ง รามค�ำแหงปิดเพราะน�้ำท่วม ๒ เดือนเต็ม ผู้หนึ่งกับครอบครัวของเขาพร้อมด้วย
ส�ำคัญมา ๓ ครั้ง คือเมื่อ พ.ศ. ๒๔๘๕ ผู้เขียนไม่สบายเพราะลุยน�้ำจนต้องเข้า สัตว์จ�ำนวนหนึ่งที่รอดชีวิตได้เนื่องจาก
พ.ศ. ๒๕๒๖ และ พ.ศ. ๒๕๓๘ น�้ำท่วม โรงพยาบาลแต่ไม่ต้องลาป่วย มีเรื่องเล่า ได้รบั การเตือนล่วงหน้า ท�ำให้เขาสามารถ
พ.ศ. ๒๔๘๕ นัน้ เป็นผลสืบเนื่องมาจาก ครึกครื้นว่าผู้บริหารมหาวิทยาลัยเรือล่ม สร้างหรือจัดหาเรือหรือพาหนะทีจ่ ะพาให้
ฝนตกหนักอย่างต่อเนื่องท�ำให้ระดับน�้ำ ตกน�้ ำ บนถนนรามค� ำ แหง ต้ น มะม่ ว ง พ้นจากน�้ำท่วมไปได้ หลังจากเวลาผ่าน
ในแม่น�้ำเจ้าพระยาสูงมากจนไหลล้นคัน หน้าคณะฯ ยืนต้นตายเพราะถูกเรือชน พ้นไประยะหนึง่ ความโกรธของพระเจ้า
กันน�้ำทั้ง ๒ ฝั่งแม่น�้ำตลอดแนว ผู้เขียน เป็นต้น ส่วนน�้ำท่วม พ.ศ. ๒๕๓๘ นัน้ หรือเทพเจ้าก็บรรเทาเบาบางลง น�้ำเริ่ม
เกิดไม่ทัน แต่ก็ได้เห็นจากภาพยนตร์ข่าว ทีบ่ า้ นติดเกาะอยู่ ๑ สัปดาห์ เพราะรถเล็ก ลดและแผ่นดินจะปรากฏให้เห็นอีกครั้ง
ที่แท้ ประกาศวุฒิสาร ศิลปินแห่งชาติ ลุยน�้ำไม่ได้ ถนนพัฒนาการได้ชื่อใหม่ว่า หนึง่ มีมนุษย์และสัตว์สืบพืชพันธุ์ต่อไป
สาขาศิ ล ปะการแสดง พ.ศ. ๒๕๒๔ ถนนด้ อ ยพั ฒ นาการเพราะเต็ ม ไปด้ ว ย รายละเอียดเท่านัน้ ที่จะแตกต่างกันไปใน
บันทึกไว้วา่ ผูค้ นในกรุงเทพฯ สัญจรไปมา หลุมซึ่งมองไม่เห็น อันตรายมากเวลาขับ แต่ละชาติ
โดยการใช้เรือเป็นพาหนะ สถานทีส่ ำ� คัญ ๆ รถผ่าน น�้ำเมื่อขังอยู่นานก็เริ่มเน่าเป็นที่
เช่ น อนุ ส าวรี ย ์ ชั ย สมรภู มิ พระที่ นั่ง เพาะยุงอย่างดี ทีน่ า่ สยดสยองคือเสาประตู ต�ำนานเมโสโปเตเมีย
อนันตสมาคม น�้ำก็ท่วมจนสมาชิกสภา บ้านที่เป็นสีขาวนั้นกลายเป็นสีด�ำสนิท ต� ำ นานเก่ า แก่ เรื่ อ งหนึ่ง มาจาก
ผู้แทนราษฎรต้องนัง่ เรือไปประชุมสภาฯ เพราะยุงเป็นล้าน ๆ ตัวเกาะเต็มไปหมด เมโสโปเตเมีย โดยที่ บีโรซุส (Berosus)
เมื่อ พ.ศ. ๒๕๒๖ ซึ่งน�้ำท่วมจากพายุ น�ำ้ ท่วมปีนไี้ ม่ใช่เฉพาะประเทศไทย ผู ้ เ ป็ น ชาวเมื อ งบาบิ โ ลเนี ย ได้ เ ขี ย น
ที่ พั ด เข้ า มาหลายลู ก ท� ำ ให้ ฝ นตกอย่ า ง เท่านัน้ ที่เดือดร้อน ประเทศเพื่อนบ้านเรา ประวัติศาสตร์ของชาติของตนเป็นภาษา
หนักนัน้ ผู้เขียนได้รับผลกระทบโดยตรง ก็เช่นกัน มากบ้างน้อยบ้าง ท�ำให้นกึ ถึง กรีกเมื่อศตวรรษที่ ๓ ก่อนคริสตกาลว่า
เพราะทั้ ง บ้ า นและที่ ท� ำ งานอยู ่ ใ นเขต ต�ำนานเรื่อง น�้ำท่วมโลก (Deluge) ซึ่ง เออา (Ea) เทพแห่งน�้ำและความฉลาด๑
ตะวันออกของกรุงเทพฯ ซึ่งเป็นที่ ๆ เล่าถึงอุทกภัยครั้งใหญ่ที่น่าจะเคยเกิดขึ้น ได้ปรากฏตนต่อ ซิซุทรอส (Xisuthros)
เขาผันน�้ำจากกรุงเทพฯ ชั้นในไปกองไว้ ในโลก ส่งผลให้อารยธรรมและผู้คน กษัตริยอ์ งค์ที่ ๑๐ แห่งบาบิโลเนียในความ
จ�ำได้ว่าวันที่ ๒๘ กันยายนเป็นวันเกิด ล้มหายตายจากไปเกือบจะหมดโลก จน ฝัน และเตือนพระองค์วา่ จะมีนำ�้ ท่วมใหญ่
คณะมนุ ษ ยศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย เป็นที่มาของต�ำนานของหลายชาติหลาย ซึ่งจะท�ำลายล้างมนุษยชาติทั้งหมด แต่
รามค�ำแหง ยังสนุกสนานกันอยูเ่ ลย รุง่ ขึน้ ภาษาทีก่ ระจัดกระจายอยูท่ วั่ ไปอย่างกว้าง ซิซทุ รอสจะปลอดภัยหากพระองค์เชือ่ ฟัง
ไปท� ำ งานผู ้ ค นหน้ า มหาวิ ท ยาลั ย ขวาง จะพบได้ในอินเดีย เอเชียอาคเนย์ ค�ำสั่ง ๒ ข้อของเทพเจ้า ข้อที่ ๑ จะต้อง
รามค� ำ แหงเต็ ม ไปหมด มองเข้ า ไปดู ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ นิวกินี หมู่เกาะ เขียนประวัติของโลกตั้งแต่ต้นและน�ำไป
ทีไ่ หนได้ มหาวิทยาลัยกลายเป็นทะเลสาบ แปซิฟกิ ในอเมริกาเหนือและใต้ เม็กซิโก ฝังไว้ที่ ซิปปารา (Sippara) นครแห่งตะวัน
ไปแล้ว ถนนรามค�ำแหงกลายเป็นคลอง และประเทศยุโรปอื่น ๆ เรื่องราวเหล่านี้ ข้ อ ที่ ๒ คื อ ต้ อ งต่ อ เรื อ และน� ำ สั ต ว์


เออา (Ea): เทพแห่งน�้ำและความฉลาด พร้อมด้วย เอนู (Anu) เทพแห่งสวรรค์ และ เอ็นลิล (Enlil) เทพแห่งอากาศหรือลม ประกอบเป็นไตรเทพของเมโสโปเตเมีย

มาลิทัต พรหมทัตตเวที
589
The Journal of the Royal lnstitute of Thailand

Volume 36 No. 4 Oct-Dec 2011

๔ เท้า/๒ เท้า รวมทัง้ มนุษย์บรรทุกไปให้ รวมทั้งแก้วแหวนเงินทองไว้ในเรือ เมื่อ เกิดน�้ำท่วมเรือก็ลอยอยู่ ๙ วัน ๙ คืน เมื่อ
เต็ม ซิซุทรอสท�ำตามค�ำแนะน�ำ เมื่อเกิด ถึงเวลาได้เกิดพายุฟ้าฝน ๖ วัน ๖ คืน ซึ่ง ฝนหยุดตกในวันที่ ๑๐ เรือได้ไปติดค้าง
น�้ำท่วม ผู้ที่อยู่บนเรือเท่านัน้ ที่มีชีวิตรอด แม้แต่เทพเจ้าเองยังหวาดผวา ในวันที่ ๗ บนยอดเขา พาร์นสั ซุส (Parnassus) เมือ่
ไปได้โดยติดอยู่บนยอดเขา มีการส่งนก พายุสงบลง เมือ่ น�ำ้ ลดยอดเขาก็โผล่ เรือไป น�ำ้ ลดดูเคเลียนกับภรรยาออกจากเรือและ
๓ ชนิดคือนกเขา นกนางแอ่น และนก ติดอยู่ที่เขาไนเซอร์ (Nisir หรือ Nizir)๒ ท�ำพิธีสังเวยซุส ซึ่งประทับใจในความ
กาน�ำ้ ไปส�ำรวจพืน้ ทีเ่ มือ่ น�ำ้ ลด นก ๒ ชนิด อุตนาพิชติมสั่งให้นกเขากับนกนางแอ่น ภักดีของเขาและสัญญาว่าจะให้ พ รแก่
แรกบินกลับมาโดยที่ขาเปื้อนโคลน เมื่อ ออกไปดู ส ถานการณ์ นกทั้ ง ๒ บิ น ดูเคเลียน สิ่งที่เขาขอคือให้ซุสบันดาลให้
นกกาน�้ำไม่กลับมาแสดงว่าแผ่นดินแห้ง กลั บ มาเพราะหาที่ แห้ ง ไม่ ได้ เมื่ อ ส่ ง เผ่าพันธุ์มนุษยชาติกลับมาด�ำรงอยู่ต่อไป
แล้ว ซิซุทรอสกับครอบครัวจึงออกจาก นกกาน�้ำออกไปมันไม่บินกลับมาแสดง อี ก ต� ำ นานหนึ่ ง กล่ า วว่ า ดู เ คเลี ย นกั บ
เรือและสร้างแท่นบูชาเพือ่ สักการะเทพเจ้า ว่าน�้ำแห้งดีแล้ว อุตนาพิชติมจึงท�ำการ เพอร์ราเดินทางไปที่เดลฟี (Delphi) เพื่อ
คนที่ยังอยู่บนเรือได้ยินแต่เสียงของพวก สักการะเทพเจ้าบนยอดเขา ซึ่งเหล่าเทพ สวดขอพรจากเทพีทีมิส (Themis) ซึ่ง
เขาพูดว่าจะไปอยู่กับเทพเจ้าแล้ว ต่อไป ต่างก็ชื่นชมกับเครื่องสังเวยของพวกเขา สั่งให้ทั้งคู่คลุมศีรษะ แก้สายรัดเอวออก
พวกที่ เหลื อ จะต้ อ งหาทางกลั บ ไปยั ง มาก มีแต่เทพเอ็นลิลเท่านัน้ ที่ยังขุ่นข้อง และโยนกระดูกของบรรพบุรษุ คนแรกไป
บาบิโลเนียและขุดข้อเขียนที่ซิซุทรอส เพราะเห็นว่ายังมีมนุษย์เหลือรอดอยู่ แต่ ข้างหลัง ดูเคเลียนกับภรรยางงอยูพ่ กั ใหญ่
ฝั ง ไว้ ที่ นครซิ ป ปาราขึ้นมาเผยแพร่ต่อ ในที่สุดเอ็นลิลก็หายโกรธและให้พรแก่ ก่อนจะไขปริศนาได้ จึงใช้ผ้าคลุมศีรษะ
ผู้คนและตั้งบ้านเมืองสืบต่อไป อุตนาพิชติมและภรรยาให้เป็นเหมือน เดินข้ามท้องทุ่งไปพร้อมทั้งโยนก้อนหิน
ต� ำ นานเก่ า แก่ แ ละน่ า สนใจอี ก เทพเจ้า คือเป็นอมตะมีชวี ติ อยูไ่ ด้ตลอดไป ซึ่ ง เก็ บ ขึ้ น มาจากพื้ น ดิ น ข้ า มไหล่ ไ ป
เรื่องหนึ่งจากเมโสโปเตเมียคือเรื่องจาก ข้างหลัง ค�ำไขปริศนาคือ พวกเขาสืบ
มหากาพย์ กิลกาเมช (Gilgamesh) ตัว ต�ำนานกรีก เชื้อสายมาจากจีอา (Gaia) ผู้เป็นแม่ธรณี
กิลกาเมชเองซึ่งเป็นวีรบุรุษนั้นไม่ได้มี ส�ำหรับต�ำนานกรีก เมื่อศตวรรษ และก้ อ นหิ นก็ คื อ กระดู ก ของแม่ ธ รณี
ส่วนเกีย่ วข้องกับน�้ำท่วมซึง่ เกิดก่อนสมัย ที่ ๕ ก่อนคริสตกาล พินดาร์ (Pindar) นัน่ เอง ก้อนหินที่ดูเคเลียนโยนเกิดเป็น
ของเขา แต่เป็นเรื่องที่เขาได้รับฟังมาจาก กวีชาวกรีกได้เขียนไว้ว่า เทพซุส (Zeus) มนุ ษ ย์ ผู ้ ช าย ส่ ว นก้ อ นหิ น ที่ เพอร์ ร า
บรรพบุรุษผู้เป็นอมตะคือ อุตนาพิชติม บันดาลให้น�้ำท่วมโลกเนื่องจากมนุษย์ โยนเกิดเป็นมนุษย์ผู้หญิง ท�ำให้มีมนุษย์
(Utnapishtim) เรื่ อ งนี้ เ กิ ด ขึ้ น มานาน ท�ำตัวเลวร้ายมาก มีผรู้ อดตายคือ ดูเคเลียน สืบเผ่าพันธุ์ต่อไป ในต�ำนานนี้ไม่มีการ
แล้วเมื่อเหล่าเทพประชุมตกลงกันว่าจะ (Deucalion) กั บ เพอร์ ร า (Pyrrha) กล่าวถึงสัตว์วา่ รอดชีวติ มาได้อย่างไร แต่
ส่งน�้ำมาท่วมโลกเพื่อให้มนุษย์จมน�ำ้ ตาย ภรรยาของเขา ดูเคเลียนเป็น บุตรของ อีกต�ำนานหนึ่งซึ่งใกล้เคียงกับเรื่องของ
แต่เทพเออา ได้แอบเตือนอุตนาพิชติม โพรมีทอี สุ (Prometheus) ผูเ้ ฉลียวฉลาด บาบิโลเนีย กล่าวว่า ดูเคเลียนน�ำสัตว์ทงั้ ที่
ล่วงหน้าโดยการบอกเป็นนัยให้เขาต่อเรือ และได้ ชื่ อ ว่ า เป็ น บิ ด าแห่ ง มนุ ษ ยชาติ ดุรา้ ยและไม่ดรุ า้ ยอย่างละคูไ่ ปในเรือด้วย
ถ้าใครถามก็ห้ามบอกเรื่องน�้ำท่วม แต่ให้ เพราะเป็นผู้น� ำไฟมามอบให้มนุษย์ใช้ และเทพเจ้าก็บันดาลให้สัตว์ทั้งหลายอยู่
ตอบว่าได้ท�ำให้ เอ็นลิล (Enlil) เทพแห่ง และยั ง ได้ ให้ ค� ำ แนะน� ำ สั่ ง สอนที่ เป็ น ด้วยกันได้โดยไม่ท�ำอันตรายซึ่งกันและ
อากาศหรื อ ลมพิ โรธจึงต้องหาทางหนี ประโยชน์แก่มนุษย์ในการด�ำรงชีวิตด้วย กันจะเห็นว่าดูเคเลียนท�ำหน้าที่เป็นผู้สืบ
อุ ต นาพิ ช ติ ม ต่ อ เรื อ ด้ ว ยเปลื อ กไม้ แ ละ ดูเคเลียนเป็นคนดีจึงได้รับค�ำแนะน�ำให้ ต่อเผ่าพันธุ์มนุษยชาติให้ด�ำรงต่อมา
บรรทุกครอบครัว ผู้คน และสัตว์ต่าง ๆ ต่อเรือ ทัง้ คูข่ นึ้ ไปอยูบ่ นเรือ ซึง่ เมือ่ ฝนตก


Niser (Nizir) : ชื่อสถานที่ที่เชื่อกันว่าเรือของอุตนาพิชติมไปติดอยู่ เทียบได้กับ Mount Ararat ซึ่งเรือของโนอาห์ในพระคัมภีร์เก่าไปติดอยู่
ในปัจจุบันนักโบราณคดีคาดว่าน่าจะเป็นภูเขา Pir Magrun (Gudrun) ซึ่งอยู่แถบ Suleimani ใน Kurdistan ของอิรัก

น�้ำท่วม ปัญหาโลกแตก
590
วารสารราชบัณฑิตยสถาน
ปีที่ ๓๖ ฉบับที่ ๔ ต.ค.-ธ.ค. ๒๕๕๔

ต�ำนานยิว ออกไปส�ำรวจ นกกาน�้ำบินหายไปแต่ เซแซร์ (Cesair) บุตรสาวของ บิท (Bith)


ในต�ำนานของชาวยิว เรื่องเกี่ยว นกเขากลับมาเพราะหาที่เกาะไม่ได้ หลัง ผู้เป็นบุตรของโนอาห์เป็นผู้น�ำมา ทุกคน
กับน�้ำท่วมใหญ่ที่เป็นที่รู้จักกันมากที่สุด จากเวลาผ่านไป ๗ วัน นกเขาก็ถกู ส่งออก จมน�้ำตายยกเว้น ฟินทาน (Fintan) ผู้ซึ่ง
แม้จะไม่เก่าแก่ที่สุดคือ เรื่องที่ปรากฏใน ไปอีก คราวนี้มันคาบใบมะกอกกลับมา มีชีวิตรอดอยู่ได้หลายยุคสมัยในรูปของ
พระธรรมปฐมกาล (Book of Genesis) ด้วย ครั้งที่ ๓ นกเขาไม่กลับมาแสดงว่า ปลาแซมอน นกอินทรี และเหยี่ยว และ
ซึ่งเป็นบทแรกของ พระคัมภีร์เก่า (Old แผ่นดินแห้งดีแล้ว โนอาห์กับครอบครัว กลับคืนรูปเป็นมนุษย์ในที่สุด ฟินทาน
Testament) ว่ า หลั ง จากที่ ลู ก หลาน จึงออกจากเรือ สร้างแท่นบูชาและท�ำการ ได้เป็นประจักษ์พยานถึงเหตุการณ์ที่เกิด
ของแอดั ม มนุ ษ ย์ ค นแรกของโลกได้ สั ง เวยขอบคุ ณ พระเจ้ า ยาห์ เวห์ ได้ ท� ำ ขึน้ ในประวัตศิ าสตร์ของไอร์แลนด์จนได้
สืบเชื้อสายมา ๑๐ ชั่วคนแล้ว ยาห์เวห์ พั นธสั ญ ญากั บ โนอาห์ ว ่ า ต่ อ แต่ นี้ ไป รับฉายาว่า ฟินทานผูช้ าญฉลาด (Fintan
(Yahweh) คือพระเจ้าของชาวยิวนัน้ เห็นว่า โลกจะไม่ถูกท�ำลายด้วยน�้ำอีกตราบเท่า the Wise) ท�ำหน้าที่เป็นผู้ให้ค�ำปรึกษา
โลกที่พระองค์สร้างขึ้นมาเสื่อมโทรมลง ที่ยังมีสายรุ้งเป็นประจักษ์พยาน และลูก แก่ชาวไอริช จะเห็นได้ว่าน�้ำท่วมใหญ่
เต็มไปด้วยความชั่วร้าย ดังนัน้ พระองค์ หลานของโนอาห์จะทวีคูณจนเต็มโลก ครั้ ง นี้ต ่ อ เนื่ อ งกั บ เรื่ อ งใน พระคั ม ภี ร ์
จึงจะท�ำลายล้างมนุษย์และสิง่ มีชวี ติ อืน่ ๆ สันนิษฐานว่าพวกยิวคงจะได้เค้าเรื่องนี้ ไบเบิล เพราะกล่าวถึงโนอาห์ด้วย คงจะ
ด้วยน�้ำท่วม ทั้งนี้ยกเว้น โนอาห์ (Noah) มาจากต�ำนานเมโสโปเตเมียเมื่อพวกเขา เป็นเพราะอิทธิพลของคริสต์ศาสนาซึ่ง
ซึง่ เป็นคนดีมคี ณ
ุ ธรรม เหมาะสมทีจ่ ะเป็น ไปอาศัยอยู่ในแถบคัลเดีย (Chaldea) แพร่เข้าไปในหมู่เกาะอังกฤษ
บรรพบุรษุ ของชนเชือ้ ชาติใหม่ทจี่ ะเกิดมา และน�ำเรื่องนี้ไปด้วยเมื่ออพยพไปอยู่ที่
ในโลกหลังน�้ำท่วม พระเจ้าสัง่ ให้โนอาห์ คานาอั น (Canaan) ซึ่ ง ปั จ จุ บั น คื อ ต�ำนานเวลส์
สร้างเรือขนาดใหญ่ หรือ ark จากไม้สน บริ เวณที่ ค รอบคลุ ม ประเทศอิ ส ราเอล ต�ำนานจาก เวลส์ เล่าว่า เคยมีดิน
โกเฟอร์ รวมทั้งก�ำหนดแบบและขนาด ปาเลสไตน์ เลบานอน และแถบตะวัน แดนทางตะวันตกของแถบที่เป็นฝั่งทะเล
ของเรือด้วย โนอาห์จะต้องน�ำครอบครัว ตกของจอร์แดน ตะวันตกของเวลส์ปัจจุบัน ซึ่งบัดนี้จม
ของเขา สั ต ว์ ทุ ก ประเภททั้ ง ตั ว ผู ้ แ ละ อยู่ใต้ อ่าวคาร์ดิเกิน (Cardigan Bay)
ตัวเมีย ถ้าเป็นสัตว์สะอาดก็อย่างละ ๗ ตัว ต�ำนานเคลต์ เมืองหลวงของดินแดนที่จมหายไปนีช้ ื่อ
สัตว์ไม่สะอาด๓ อย่างละคู่ โนอาห์ท�ำตาม ต�ำนานของพวก เคลต์ (Celt) ซึ่ง เคเออร์ กวิ ด โน (Caer Gwyddno)
ค� ำสั่งและยาห์เวห์ก็บันดาลให้น�้ ำท่วม เป็นชนชาติดั้งเดิมที่อาศัยอยู่ในบริเวณที่ เรื่ อ งมี อ ยู ่ ว ่ า ในตอนต้ น ศตวรรษที่ ๖
ใหญ่ เ นื่ อ งจากฝนตกโดยไม่ ห ยุ ด เลย เป็นเกาะอังกฤษปัจจุบันนี้ ดังปรากฏใน กวิดโนการันฮีร์ (Gwyddno Garanhir)
เป็นเวลา ๔๐ วัน ๔๐ คืน แม้แต่ยอดเขา Books of Invasions หรือ Book of the ผูค้ รอบครองดินแดนทีเ่ รียกว่า Lowland
ก็ยังจมน�้ำ มีแต่เรือของโนอาห์เท่านั้น Conquest of Ireland ได้พด ู ถึงการทีพ่ วก Hundred กับ เซตเท็นนิน (Seithennin)
ที่ยังลอยอยู่ได้ เมื่อน�้ำลดลงเรือก็ไปค้าง เกล (Gael) หรือ กอล (Gaul) อพยพเข้า โอรสของกษัตริย์แห่ง ซายเว็ด (Syved)
อยู่บนยอดเขา อารารัต (Ararat) ๔ ใน มาสู่เกาะนี้หลายระลอกด้วยกัน การมา ช่วยกันท�ำหน้าที่รักษาฝั่งน�้ำ ในงานเลี้ยง
อาร์มีเนีย โนอาห์ส่งนกกาน�้ำและนกเขา ครั้งแรกเกิดขึ้นก่อนน�้ำท่วมใหญ่ โดยมี คืนหนึง่ เซตเท็นนินเมามากจนกระทัง่ เปิด


ในพระคัมภีรข์ องศาสนายิวระบุไว้วา่ “บรรดาสัตว์ทเี่ ราสร้างแล้วมอบให้เป็นอาหารของเจ้า และเจ้ากินสัตว์นไี้ ด้คอื สัตว์ทมี่ เี ท้าแยกเป็นกีบด้วย บดเอือ้ งด้วย
แต่ถ้ามีลักษณะอย่างเดียว ไม่ครบทั้ง ๒ อย่าง กินไม่ได้ เช่นอูฐ เท้ากีบไม่ผ่า แต่บดเอื้อง หรือหมู เท้ากีบผ่า แต่ไม่บดเอื้อง กินไม่ได้ มันเป็นสัตว์ไม่สะอาด อย่ากิน
อย่าถูกต้อง”

Mount Ararat : ปัจจุบันเชื่อกันว่า คือภูเขาที่อยู่ในตุรกีตะวันออก มีชื่อเรียกว่า Aghri Dagh ในภาษาเติร์ก และ Masis ในภาษาอาร์มีเนียน อารารัตใน
พระคัมภีร์อาจไม่ใช่ภูเขา เป็นแต่เพียงเนินหรือเขาเตี้ย ๆ เหตุที่เรียกภูเขาอาจเนื่องมาจากความสับสนในการแปลเพราะค�ำว่า har ในภาษาอัคเคเดียนและ
ภาษาฮีบรูแปลได้ทั้ง “ภูเขา” และ “เนินเขา”

มาลิทัต พรหมทัตตเวที
591
The Journal of the Royal lnstitute of Thailand

Volume 36 No. 4 Oct-Dec 2011

ท่อระบายน�้ำทิง้ ไว้ ท�ำให้น�้ำทะเลไหลเข้า พระองค์ ล งไปในน�้ ำ เกิ ด เป็ น ไข่ ท อง พระพรหมจะบรรทมหลับ ระหว่างนีโ้ ลก
มาได้และท่วมพื้นที่ทั้งหมด มีคนเพียง พระพรหมเข้าไปอยู่ในไข่ทอง ๑ ปี แล้ว จะกลายเป็นมหาสมุทรไป ในระหว่าง ๑
ไม่กคี่ นทีร่ อดชีวติ รวมทัง้ กวิดโน การันฮีร์ ออกจากไข่มาเป็นพระพรหมาปิตามหา กัลปนัน้ มีพระมนูซึ่งมีหน้าที่สร้างมนุษย์
บุตรชายของเขาชื่อ เอ็ลฟิน (Elphin) ผู้สร้างโลก เมื่อสิ้นเวลา ๑ กัลป คือ บังเกิด ๑๔ องค์ ภาพของพระมนูที่เรา
และตั ว เซตเท็ นนิน เอง ที่ ตั้ ง ของเมื อ ง ๑,๐๐๐ มหายุค หรือ ๑ วันของพระพรหม คุน้ ตาคือฤๅษีนงุ่ หนังเสือ ว่ากันว่าพระมนู
ที่จมหายไปนี้ ว่ากันว่ามีก้อนหินใหญ่ใต้ โลกจะแตกสลายกลายเป็นกลางคืน ซึ่ง เป็นเพียงฤๅษีที่รอดชีวิตจากมหายุคหนึง่
น�ำ้ แถบ ซาร์น คึนเฟลิน (Sarn Cynfelin)
เป็นเครื่องหมายบอกให้รู้ เรื่องนี้ท�ำให้
นึ ก ถึ ง นค ร ส า ป สู ญ แ อ็ ต แ ล นติ ส
(Atlantis) ทีจ่ มหายไปซึง่ เพลโต (Plato)
ปรั ช ญาเมธี ช าวกรี ก เคยกล่ า วถึ ง และ
ยั ง เป็ นที่ ถ กเถี ย งกั นจนถึ ง ปั จ จุ บั นนี้ ว ่ า
แอ็ตแลนติส มีอยู่จริงหรือไม่ หรือเป็น
เพียงต�ำนานเท่านัน้

ต�ำนานสแกนดิเนเวีย
ในต� ำ นานสแกนดิ เนเวี ย การที่
น�้ำท่วมโลกไม่ใช่การลงโทษของเทพเจ้า
แต่เป็นเพราะเมื่อโลกจะแตกดับลง สัตว์
เลื้อยคลานรูปร่างคล้ายงูยักษ์ที่เรียกว่า
World Serpent หรือ The Serpent of
Midgard ซึ่งขดตัวอยู่รอบโลกและคอย
กัดกินรากของต้น อึกดราซิล (Yggdrasil)
หรือ World Tree อยู่ตลอดเวลาได้โผล่
ขึ้นมาจากมหาสมุทร พ่นพิษไปทั่วโลก
ท�ำให้น�้ำท่วมโลก

ต�ำนานอินเดีย
ส่วนต�ำนานอินเดีย เรื่องของน�้ำ
ท่วมใหญ่มีความเกี่ยวพันกับการสร้าง
และท�ำลายโลก ในความเชื่อโดยทั่วไป
ของชาวอินเดีย ผู้ที่ท�ำหน้าที่สร้างโลก
คือ พระพรหม ซึ่งเป็นองค์อาตมภู คือ
ผู้เกิดเองแต่เดิมนั้นมีแต่พื้นน�้ำอันกว้าง เรือ่ งของโนอาห์ จากแง่มมุ ของมุสลิม จิตรกรรม Mogul miniature จากศตวรรษที่ ๑๖
ใหญ่ พระพรหมจึงได้หว่านน�้ำเชื้อของ (Encyclopedia of World Mythology, Octopus Books Limited, 1975)

น�้ำท่วม ปัญหาโลกแตก
592
วารสารราชบัณฑิตยสถาน
ปีที่ ๓๖ ฉบับที่ ๔ ต.ค.-ธ.ค. ๒๕๕๔

และมีบทบาทส�ำคัญในการสร้างมหายุค ใหญ่ในโลกเพื่อลงโทษมนุษย์ที่ชั่วร้าย
ต่อไป (๑ มหายุค = ๔,๓๒๐,๐๐๐ ปีมนุษย์) ผู้คนต้องไปซ่อนตัวตามภูเขา แย่งอาหาร
พระมนูองค์ส�ำคัญที่มีบทบาทเกี่ยวกับ และที่อยู่กับสัตว์ร้าย ท�ำให้ต้องทนทุกข์
น�ำ้ ท่วมคือ พระมนูองค์ที่ ๗ หรือพระมนู ทรมานมาก มีเทพเจ้าองค์เดียวบนสวรรค์
ไววัสวัต เกิดขึน้ ในกฤตะยุคซึง่ เป็นยุคแรก คือ คุน (Khun) ซึง่ มีเมตตาต่อมนุษยชาติ
ตามต�ำนานฮินดู วันหนึง่ ขณะที่พระมนู และรู้สึกว่าการลงโทษนี้รุนแรงเกินไป
ผู้ได้บ�ำเพ็ญเพียรมาเป็นเวลาหมื่นปีจนมี จึงขอร้องให้เง็กเซียนฮ่องเต้ท�ำให้น�้ำลด
บารมีแก่กล้าเท่าพระพรหมเองก�ำลังเข้า แต่ไม่เป็นผล คุนท�ำการสร้างเขื่อนซึ่ง
ฌานอยู่ใกล้ธารน�้ำ มีปลาน้อยตัวหนึง่ มา ไม่สามารถทานน�้ำหนักของน�้ำได้ มีเต่า
ขอร้องให้ช่วยปกป้องมันจากปลาอีกตัว ๓ ขา และนกฮูกมีเขาปรากฏตัวขึ้นและ
ที่ก�ำลังไล่ล่ามันอยู่ พระมนูจึงเอาปลาใส่ แนะน�ำให้คุนขโมย ดินงอก (Swelling
ไหไปปล่อยในสระ แต่ปลาโตขึ้นจนอยู่ Earth) ซึ่งมีสรรพคุณในการงอกไม่มี
ในสระไม่ได้ต้องน�ำไปยังแม่น�้ำคงคา แม้ ที่สิ้นสุดมาจากเง็กเซียนฮ่องเต้ เพราะมัน
แต่แม่นำ�้ คงคาก็ยงั ใหญ่ไม่พอส�ำหรับปลา เป็นสิ่งเดียวที่จะปิดกั้นน�้ำได้ คุนหาดิน
เลยต้ อ งเอามั น ไปปล่ อ ยในมหาสมุ ท ร นี้มาได้ก้อนหนึง่ แล้วลงไปยังโลกมนุษย์
และแล้วปลาก็แสดงตนเป็นพระพรหม โยนก้อนดินลงไปในน�้ำ ทันใดนัน้ ดินก็
เตือนพระมนูว่าน�้ำจะท่วมโลกให้ต่อเรือ เริม่ โก่งตัวขึน้ ไม่ชา้ ก็กลายเป็นภูเขากัน้ น�ำ้
เพื่อบรรทุกฤๅษี ๗ ตน และสรรพสิ่งทั้ง เอาไว้ น�้ำจึงแห้งสนิท เหล่ามนุษย์พา
หลายที่พวกพราหมณ์ถือว่าสลักส�ำคัญ กันปีติยินดี แต่เง็กเซียนฮ่องเต้โกรธมาก
เมื่อน�้ำเริ่มสูงขึ้นปลาจ�ำแลงก็ใช้เขาของ Noah’s ark จากต้นฉบับของเอธิโอเปีย จึงส่ง ชู-จุง (Chu-jung) ภูตแห่งไฟและ
มันดึงเรือขึ้นไปบนยอดสูงสุดของภูเขา สมัยศตวรรษที่ ๑๘ เพชฌฆาตแห่ ง สวรรค์ ล งมาก� ำ จั ด คุ น
หิมาลัย หลังจากเวลาผ่านไปหลายปีน�้ำก็ (Encyclopedia of World Mythology, แล้วน�ำดินที่เหลือกลับไปสวรรค์ น�้ำจึง
ลดลง พระมนูท�ำพิธบี �ำเพ็ญเพียรเพือ่ บูชา Octopus Books Limited, 1975) ท่วมโลกอีกครั้งหนึง่ แม้คุนจะถูกฆ่าแต่
ปลา ของถวายก็มีนม เนยใส นมเปรี้ยว ข้างต้น แต่มีเพิ่มเติมว่าสาเหตุที่พระวิษณุ วิญญาณของเขายังอยู่เพื่อท�ำภารกิจให้
ซึ่งเมื่อ ๑ ปีผ่านไปของเหล่านี้ได้กลาย ต้องอวตารลงมาเพราะขณะที่พระพรหม เสร็จสิ้น มีชีวิตใหม่เกิดขึ้นในร่างของ
เป็นสาวสวยผู้บอกว่าเธอเป็นธิดาของ บรรทมหลับนัน้ อสูรหัยครีพได้มาขโมย เขาซึง่ ไม่เน่าเปือ่ ย โดยมีมนุษย์ทเี่ ศร้าโศก
พระมนู และจะช่ ว ยให้ พ ระองค์ มี ลู ก คั ม ภี ร ์ พ ระเวท ไปจากพระโอษฐ์ ข อง คิดถึงเขาเฝ้าระวังอยู่ เมือ่ เวลาผ่านไป ๓ ปี
หลานมากมาย ดังนัน้ ต่อมาพระมนูจงึ ได้ พระองค์ เป็นเหตุให้นำ�้ ท่วมโลก ปลาทอง เง็ ก เซี ย นฮ่ อ งเต้ ส ่ ง เทวดาถื อ ดาบของ
ให้กำ� เนิดมนุษยชาติและได้รบั พรมากมาย อวตารสังหารหัยครีพได้ เมือ่ น�ำ้ ลดลงแล้ว หวู่ (Wu) จักรพรรดิองค์แรกของราชวงศ์
หลายประการ พระมนูจงึ สร้างเผ่าพันธุม์ นุษย์ขนึ้ มาใหม่ โจว (Chou Dynasty) ลงมาสังหารคุน
ปลาตั ว ที่ ม าเตื อ นพระมนู นั้ น เมื่อคมดาบผ่าท้องของคุน มีมังกรมีปีก
บางส�ำนวนก็ว่าคือพระวิษณุ หรือพระ ต�ำนานจีน และเขาโผล่ออกมา มังกรนีค้ ือ หยู (Yu)
นารายณ์ ซึง่ อวตารเป็นปลาในมัสยาวตาร ในต�ำนาน จีน มีเรือ่ งเล่าว่า เจ้าแห่ง ลูกของเขานัน่ เอง คุนเองกลายสภาพเป็น
อวตารปางที่ ๑ เพือ่ มาช่วยพระมนูไววัสวัต สวรรค์คอื เทียนเฉิน (Tien-shen) ทีไ่ ทย หมีหรือมังกรสีเหลืองกระโดดหายไปอยู่
เนื้ อ หาของอวตารปางนี้ก็ เหมื อ นเรื่ อ ง เรียกว่า เง็กเซียนฮ่องเต้ ท�ำให้เกิดน�ำ้ ท่วม ที่ก้นทะเล

มาลิทัต พรหมทัตตเวที
593
The Journal of the Royal lnstitute of Thailand

Volume 36 No. 4 Oct-Dec 2011

เมื่ อ หยู ท ราบเรื่ อ งเศร้ า ที่ เ กิ ด ขึ้ น น�้ำเต้า ซึ่งเธอเอาไปวางไว้หลังบ้าน เมื่อ บนยอดเขาและน�้ำได้ลดลงแล้ว บัดนี้เกิด
กับบิดา เขาจึงขออนุญาตเง็กเซียนฮ่องเต้ ได้ยินเสียงดังมาจากน�ำ้ เต้าทั้งสองจึงลอง ดวงอาทิตย์ ๙ ดวงและดวงจันทร์ ๗ ดวง
เพือ่ ใช้ดนิ งอกไปควบคุมน�้ำท่วม โดยการ เผาเปลือกน�้ำเต้าดู มีผู้คนหลายเผ่าพันธุ์ ขึ้นบนท้องฟ้า ท�ำให้โลกถูกแผดเผาใน
เอาดินไปอุดล�ำธารทั้งหมด ๒๓๓,๕๕๙ ออกมาจากน�้ำเต้า ได้แก่ชาว Rumeet เวลากลางวัน
สายด้ ว ยกั น แล้ ว สร้ า งภู เขาทั่ ว ทุ ก มุ ม ชาวขมุ ชาวไทย ชาวตะวันตก และชาวจีน นกสี ท องทั้ ง สองกลั บ มาพร้ อ ม
โลกเพือ่ น�้ำจะได้ทว่ มไม่ถงึ และจะได้เป็น ชาว Rumeet ผิวด�ำกว่าเพื่อนเพราะออก ด้วยฆ้อนทองและคีมเงิน นกสอนวิธีใช้
เหมือนสมอยึดโลกไว้ด้วย แต่เหตุที่ยังมี มาก่อนจึงถูกเขม่าไฟที่เปลือกน�้ำเต้าจับ เครื่องมือทั้ง ๒ อย่างให้เด็กทั้งคู่เพื่อจะ
น�้ำท่วมอยู่บ้างเพราะยังมีช่องว่างเล็ก ๆ ในตอนแรกผู้คนเหล่านี้พูดไม่ได้ ได้แต่ ได้ไปเอาคันธนูและลูกธนูมาจากราชา
ซึ่งหยูไม่สามารถอุดได้หมด ส่วนน�้ำที่ นัง่ เรียงกันเป็นแถวบนท่อนไม้ เมื่อท่อน แห่งมังกรผู้เป็นเจ้าของ สองพี่น้องเดิน
ท่วมขังโลกอยู่แล้ว หยูให้มังกรมีปีกใช้ ไม้หัก ด้วยความตกใจจึงเปล่งเสียงร้อง ทางไปยังสระมังกรและใช้ฆอ้ นทองเคาะ
หางของมันท�ำเขือ่ นกัน้ น�ำ้ ให้ไหลกลับไป ออกมา ท�ำให้พูดได้ ต่อมาคนเผ่าต่าง ๆ วังที่สร้างจากโขดหินของราชามังกรด้วย
สูท่ ะเล ซึง่ บางครัง้ ต้องเจาะภูเขาเพือ่ ให้นำ�้ ก็เรียนรู้วิธีเขียนที่แตกต่างกันออกไป เสียงอันดัง จนกระทั่งราชามังกรต้องส่ง
ระบายออกไปได้ หยูจึงได้ชื่อว่าเป็นนาย บริวาร คือปลาหลายชนิด ออกไปดูว่า
ของน�้ำท่วมเพราะเขาสามารถควบคุมไม่ ต�ำนานลีซอ เกิดอะไรขึ้น เด็ก ๆ ใช้คีมคีบปลาและ
ให้น�้ำท่วมโลกได้ ต�ำนานชนเผ่าลีซอ มีอยู่ว่า หลัง โยนมันไปบนฝั่ง ในที่สุด ราชามังกรก็
จากความตายเกิดขึ้นในโลกอันสืบเนื่อง ออกมาดูเหตุการณ์ด้วยตนเองและถูกจับ
ต�ำนานขมุ มาจากค�ำสาปของลิงเสนตัวหนึง่ ท้องฟ้า ด้วยวิธีเดียวกัน จึงต้องมอบคันธนูกับ
ต� ำ นานของชนชาติ ขมุ ใน และแผ่นดินก็กระหายที่จะได้วิญญาณ ลูกธนูให้สองพี่น้องซึ่งน� ำอาวุธนี้ไปยิง
ประเทศไทยมีว่า พี่น้องชายหญิงคู่หนึง่ และกระดูกของมนุษย์ นีค่ ือสาเหตุที่เกิด ดวงอาทิตย์และดวงจันทร์ตก เหลือไว้แต่
พยายามจะจับหนูออกมาจากกระบอก น�้ำท่วม มีเด็กก�ำพร้าสองพี่น้องชายหญิง ดวงที่ส่องแสงสว่างที่สุดคู่เดียว จากนัน้
ไม้ไผ่ แต่หนูบอกว่ามันก�ำลังขุดไม้ไผ่เพือ่ อาศัยอยู่ในหมู่บ้านอย่างยากจนข้นแค้น ทั้งสองก็ออกไปเสาะหาคนอื่น ๆ ทั้ง
หนีน�้ำท่วม และสั่งให้พี่น้องเข้าไปซ่อน วันหนึ่งมีนกสีทองคู่หนึ่งบินมาหาสอง ทางเหนือและทางใต้ แต่ก็ไม่พบใครเลย
อยู่ในกลอง คนอื่น ๆ ใช้แพเป็นพาหนะ พี่น้องและเตือนให้รู้ว่าคลื่นมหึมาก�ำลัง นกสีทองแนะน�ำให้ทั้งคู่แต่งงานกัน ซึ่ง
หนีน�้ำท่วม แต่แพคว�่ำท�ำให้ทั้งหมดจม จะซัดมาท่วมโลก ให้ทั้งคู่เข้าไปซ่อนตัว ทั้งสองปฏิเสธ แต่นกบอกว่านี่เป็นลิขิต
น�้ำตาย สองพี่น้องเจาะหนังกลองดู เมื่อ ในน�้ำเต้าและอย่าออกมาจนกว่าจะได้ยิน สวรรค์ หลังจากลองเสี่ยงทายด้ ว ยวิ ธี
เห็นน�้ำก็ปิดหนังกลองและรอคอย ครั้งที่ เสียงนกสีทองอีกครั้ง เด็กทั้งสองเตือน ต่าง ๆ ถึง ๓ ครั้ง ทั้งคู่ก็ยินยอมแต่งงาน
๒ เมื่อเจาะหนังกลองก็มองเห็นดินแห้ง เพือ่ นบ้านแต่ไม่มใี ครเชือ่ ทัง้ คูจ่ งึ เลือ่ ยขัว้ กันและมีบตุ รชายและหญิงอย่างละ ๖ คน
จึงออกมาจากกลอง อีกต�ำนานหนึง่ ว่า เขา ของน�้ำเต้าออกและเข้าไปอยู่ข้างใน ไม่มี ซึ่งเดินทางไปยังทิศต่าง ๆ และได้กลาย
ใช้เข็มเล่มยาว ๆ เจาะหนังกลอง เมือ่ ไม่มี ลมหรือฝนเป็นเวลา ๙๙ วัน ท�ำให้โลก เป็นบรรพบุรุษของเชื้อชาติต่าง ๆ
น�้ำรั่วเข้ามาแสดงว่า น�้ำแห้งแล้ว ทั้งสอง แห้งผาก และแล้วฝนก็ตกอย่างหนักท�ำให้
มองหาคู่ครองแต่ไม่พบใครเพราะเหลือ เกิดน�้ำท่วม พัดพาทุกสิ่งทุกอย่างไปหมด ต�ำนานเมารี
กันแค่ ๒ คนพี่น้อง เขาได้ยินเสียงนก สองพี่น้องได้ยินเสียงน�้ำเต้ากระแทกกับ ต�ำนานน�ำ้ ท่วมของพวกเมารี จาก
กาเหว่าร้องเพลงว่า “พี่ชายและน้องสาว ฐานของสวรรค์ หลังจากรอเป็นเวลานาน นิวซีแลนด์มีอยู่ว่า นานมาแล้วมีผู้คนอยู่
ควรกอดกัน” ทัง้ สองจึงหลับนอนด้วยกัน เขาจึงได้ยินเสียงนกสีทองร้องเรียก และ มากมายหลายเผ่าซึ่งต่างก็ทะเลาะเบาะ
๗ ปีผา่ นไปน้องสาวคลอดลูกออกมาเป็น ออกจากน�้ำเต้าเพื่อพบว่าตนเองมาติดอยู่ แว้งและต่อสูก้ นั อยูเ่ สมอ ท�ำให้ละเลยการ

น�้ำท่วม ปัญหาโลกแตก
594
วารสารราชบัณฑิตยสถาน
ปีที่ ๓๖ ฉบับที่ ๔ ต.ค.-ธ.ค. ๒๕๕๔

บูชา ตาเน (Tane) เทพผูส้ ร้างและปฏิเสธ หนึง่ มีว่าวีรบุรุษชื่อ ตาฮวากิ (Tawhaki) ๓ กลุ่มนีค้ ือ ตัวแทนของพวกคนสามัญ
ค�ำสั่งสอนของเทพเจ้า ศาสดา ๒ ท่านคือ ถูกน้องเขย ๒ คนของเขาท�ำร้ายปางตาย พวกผู้ดี และพวกพระในสังคมของพวก
ปารา-เวนูอา-เมอา (Para-whenua-mea) แต่ตาฮวากิรอดไปได้และน�ำเหล่านักรบ แนตเชซโบราณ
กับ ตูปู-นูอิ-อา-ตูอา (Tupu-nui-a-tua) ของเขากับครอบครัวของคนเหล่านัน้ ไป
สอนหลักค�ำสอนที่แท้จริงเกี่ยวกับการ อยู่บนเขาสูง เขาสร้างหมู่บ้านที่มีการ ต�ำนานอเมริกาใต้
แยกตัวระหว่างท้องฟ้าและแผ่นดิน แต่คน ป้องกันขันแข็งบนเขา แล้วจึงขอให้เหล่า ส่วนทางอเมริกาใต้ น�้ำท่วมใหญ่
อื่น ๆ กลับหัวเราะเยาะพวกเขา ทั้งสอง เทพซึ่งเป็นบรรพบุรุษของตนช่วยเขาแก้ เกี่ยวพันกับการสร้างโลก เป็นผลของ
โกรธมาก จึงต่อแพขนาดใหญ่ขึ้นที่ต้น แค้น น�้ำจากสวรรค์จึงตกลงมาท่วมทุก การลงโทษเพื่อสร้างมนุษย์เผ่าพันธุ์ใหม่
แม่น�้ำ โตฮิงกา (Tohinga River) สร้าง คนบนโลกตายหมด ให้ดีกว่าเดิม ในต�ำนานของพวก คอยาโอ
บ้านบนแพและน�ำรากเฟิร์น มันเทศ กับ (Collao) เล่าว่า ชายเผ่าผู้หนึง่ พาตัวจามรี
สุนขั ไปไว้บนแพด้วย เสร็จแล้วทั้งคู่จึง ต�ำนานแนตเชซ ของเขาไปหาหญ้ากิน แต่มนั ท�ำท่าโศกเศร้า
สวดอ้อนวอนให้ฝนตกหนักเพือ่ ให้มนุษย์ ทางทวีปอเมริกาเหนือ มีเรื่องราว ไม่ยอมกินหญ้า มันบอกว่าอีก ๕ วัน
เชื่อในอ�ำนาจของตาเน ชายหนุ่ม ๒ คน ของอินเดียแดงเผ่าแนตเชซ (Natchez) ซึง่ น�้ ำ ทะเลจะท่ ว มโลกและท� ำ ลายทุ ก สิ่ ง
ชื่อ ติอู (Tiu) และ เรติ (Reti) หญิงสาว เคยอาศัยอยู่แถบแม่น�้ำมิสซิสซิปปีตอน ทุกอย่าง ตัวจามรีแนะน�ำให้เขาขึ้นไปบน
ชื่อ ไว-ปูนา-ฮาอู (Wai-puna-hau) กับ ล่าง พวกนีส้ ร้างบ้านบนเนินดิน และเป็น ยอดเขาวิลคาโคโต (Villcacoto) และน�ำ
ผูห้ ญิงอีกหลายคนก็โดยสารไปกับแพด้วย เผ่าเดียวที่แบ่งเป็นวรรณะต่าง ๆ มีการ อาหารไปให้พอส�ำหรับ ๕ วัน ทีบ่ นยอดเขา
ติอูท�ำหน้าที่เป็นนักบวชบนแพ เขาสวด ติดต่อระหว่างเมืองต่าง ๆ และมีการจัด มีสตั ว์และนกอยูแ่ น่นขนัด น�ำ้ ทะเลเริม่ สูง
มนตร์เพื่อขอฝน และฝนก็ตกหนักเป็น ระบบสังคมอย่างมีแบบแผน จนกระทั่ง ขึ้นและท่วมเขาทุกลูกยกเว้นวิลคาโคโต
เวลา ๕-๖ วัน จนติอูต้องสวดมนตร์ขอ ถู ก อารยธรรมของพวกผิ ว ขาวท� ำ ลาย การที่ต้องอยู่กันอย่างเบียดเสียดเยียดยัด
ให้ฝนหยุดตก แต่แม้ฝนจะหยุดแล้วน�้ำก็ ต�ำนานของอินเดียแดงเผ่านี้เล่าว่า สุนขั ท�ำให้หางสุนัขจิ้งจอกแหย่ลงไปในน�้ำ
ยังสูงขึ้นเรื่อย ๆ และพัดแพลอยไปตาม ตัวหนึง่ เตือนมนุษย์ซงึ่ เป็นนายของมันให้ ปลายหางของมันจึงกลายเป็นสีด�ำตั้งแต่
แม่น�้ำโตฮิงกา จนออกทะเลไป ในเดือน ต่อแพเพราะน�้ำจะท่วม เมื่อระดับน�้ำสูง นัน้ มา หลังจากเวลาผ่านไป ๕ วันน�้ำก็ลด
ที่ ๘ น�้ำเริ่มเบาบางลง ซึ่งติอูรู้ได้จากร่อง ขึ้นทั้งคนและสุนขั ก็เห็นภูเขาระเบิดและ และมีผู้คนสืบเชื้อสายจากชายผู้นตี้ ่อมา
รอยบนไม้เท้าของเขา ในที่สุดแพก็ไปถึง มีสัตว์ประหลาดต่าง ๆ ออกมา แต่น�้ำก็
ฮาวายกิ (Hawaiki) น�ำ้ ทีท่ ว่ มท�ำให้สภาพ ท่วมทุกสิง่ ทุกอย่างตายหมด ยกเว้นมนุษย์ ต�ำนานกีโต
ของโลกเปลี่ยนแปลงไป และคนที่อยู่บน และสุนขั ของเขาซึง่ แพถูกน�้ำพัดพาให้ขนึ้ ทางแถบชายฝัง่ ทะเลแถวเมือง กีโต
แพก็เป็นผูร้ อดชีวติ เพียงกลุม่ เดียว พวกเขา ไปอยูบ่ นเมฆ สุนขั บอกมนุษย์ให้โยนมัน (Quito) ชนพืน ้ เมืองเล่าว่าเมือ่ เกิดน�้ำท่วม
ท�ำพิธีบูชาเทพ ตาเน เทพรังจิ (ท้องฟ้า) ลงไปในน�้ำ มิฉะนัน้ พวกเขาจะกลับไปที่ พี่น้อง ๒ คนหนีขึ้นไปอยู่บนยอดเขาสูง
เทพเรฮูอา (Rehua) และเทพเจ้าองค์ เก่าไม่ได้ เมื่อมนุษย์ท�ำตาม แพของทั้ง ชือ่ ฮัวคายยัน (Huacayñan) ระดับน�ำ้ สูง
อื่น ๆ ที่แท่นบูชาแยกกันแต่ละองค์ หลัง สองก็ลอยต�ำ่ ลง สุนขั บอกมนุษย์ไม่ให้ลง ขึน้ เท่าใด ภูเขาก็สงู ขึน้ ตามไปด้วย เมือ่ น�้ำ
จากก่อไฟโดยการใช้ไม้ ๒ อันถูกันแล้ว สู่พื้นดินจนกว่าน�้ำจะแห้งได้ ๗ วัน และ ลดอาหารก็หมดลง พวกเขาพากันไปหา
พวกเขาได้ถวายสาหร่ายทะเลเพื่อแสดง แล้วก็มีคนเข้ามาหามนุษย์ ๓ กลุ่มด้วย อาหารและสร้างกระท่อมเล็ก ๆ อยู่ วันหนึง่
ความขอบคุณทีเ่ ทพเจ้าได้ชว่ ยให้รอดตาย กันเพราะพวกเขาเห็นแสงไฟบนแพ กลุม่ เมื่ อ สองพี่ น ้ อ งกลั บ ถึ ง บ้ า นก็ พ บว่ า มี
ปัจจุบนั นีม้ แี ต่หวั หน้านักบวชเท่านัน้ ทีไ่ ป แรกไม่สวมเสื้อผ้า กลุ่มที่ ๒ เสื้อผ้าขาด อาหารและเครื่องดื่มรออยู่แล้วแต่ไม่รู้ว่า
ยังสถานที่ศักดิ์สิทธิ์เหล่านี้ได้ อีกต�ำนาน วิน่ และกลุม่ ที่ ๓ สวมเสือ้ ผ้าสวยงาม คน ใครเป็นผูเ้ ตรียมไว้ให้ เหตุการณ์เช่นนีเ้ กิด

มาลิทัต พรหมทัตตเวที
595
The Journal of the Royal lnstitute of Thailand

Volume 36 No. 4 Oct-Dec 2011

ขึ้นเป็นเวลา ๑๐ วัน ในที่สุดพี่ชายก็แอบ ๗. เมื่อน�้ำลดจะมีการส่งนกออก บทสรุป


ซ่อนตัวเพือ่ สังเกตการณ์ และเห็นนกแก้ว ไปส�ำรวจพื้นดินว่าแห้งแล้วหรือยัง เรื่องที่ได้บรรยายมาทั้งหมดเป็น
๒ ตั ว แต่ ง กายเหมื อ นพวก คาญาริ ส ์ ๘. เมื่อน�้ำแห้งแล้วจะมีการบูชา เพี ย งส่ ว นหนึ่ง ของต� ำ นานที่ ม าจากทั่ ว
(Cayaris) เข้ า มาในกระท่ อ มและเริ่ ม ขอบคุณเทพเจ้าหรือพระเจ้า โลก ไม่ได้จ�ำกัดวงอยู่แต่ในดินแดนแถบ
หุงหาอาหารที่น�ำมา นกแก้วหน้าเป็นผู้ ๙. คนดีนนั้ จะท�ำหน้าทีส่ ร้างหรือ ใดแถบหนึง่ เท่านัน้ แสดงว่าปรากฏการณ์
หญิง เมื่อเห็นชายหนุ่มเข้านกก็บินหนีไป สืบทอดเผ่าพันธุ์มนุษย์ต่อไป ธรรมชาตินมี้ ลี กั ษณะทีเ่ ป็นสากล ต�ำนาน
โดยไม่ทิ้งอาหารไว้ให้ เมื่อน้องชายของ ข้อต่าง ของหลาย ๆ ชาติมคี วามคล้ายคลึงกันมาก
เขากลับมารู้เรื่องเข้าก็ลองซ่อนตัวดูบ้าง ๑. ในต�ำนานฮินดู โลกจะแตก เช่น เรื่องของน�้ำท่วมโลกและเรือโนอาห์
๓ วั นต่ อ มานกแก้ ว กลับมาอีก ผู้เป็น ดับเมือ่ สิน้ กัลป หรือ ๑ วันของพระพรหม ในต� ำ นานยิ ว เรื่ อ งจากมหากาพย์
น้ อ งชายจั บ นกแก้ ว ตั ว เล็ ก ไว้ ได้ จาก กลายเป็นกลางคืนซึ่งพระองค์จะบรรทม กิลกาเมช ทั้งนี้ อาจเกิดจากการถ่ายทอด
ความสัมพันธ์ระหว่างทัง้ สองเกิดบุตรชาย หลับ อสูรหัยครีพขโมยพระเวทไปจาก ทางวัฒนธรรม นัน่ คือ การที่สภาพทาง
หญิง ๖ คน ซึ่งเป็นบรรพบุรุษของพวก โอษฐ์ของพระพรหมท�ำให้เกิดน�้ำท่วม ภูมิศาสตร์เอื้ออ� ำนวย เช่น มีเขตแดน
คายาริส์ทั้งหมด โลก ส่วนทางสแกนดิเนเวียนเป็นเพราะ ติดต่อกัน มีการค้าขายกัน การสงคราม
เมื่อโลกจะแตกดับ World Serpent โผล่ ก็เป็นสาเหตุหนึง่ ที่ทำ� ให้ทั้งผู้รุกรานและ
สรุปเรื่องจากต�ำนาน ขึ้นมาจากมหาสมุทร พ่นพิษไปทั่วโลก ผู้ถูกรุกรานรับเอาวัฒนธรรมของกันและ
เมื่อพิจารณาเรื่องราวจากต�ำนาน ท�ำให้น�้ำท่วมโลก กันไว้ หรืออาจเกิดจากการที่ต�ำนานของ
ต่าง ๆ เทียบเคียงกัน จะเห็นข้อเหมือน ๒. ผูท้ เี่ ตือนคนดีเกีย่ วกับน�้ำท่วม แต่ละชาติต่างมีวิวัฒนาการขึ้นมาเองไม่
และข้อต่างกันดังต่อไปนี้ อาจเป็นเทพเจ้าหรือเป็นสัตว์เลี้ยงของเขา เกี่ยวข้องกัน ที่เรียกว่า Independent
ข้อเหมือน ก็ได้ Development เหตุ ที่ ค ล้ า ยคลึ ง กั น ได้
๑. น�้ ำ ท่ ว มนั้น มั ก เกิ ด ในระดั บ ๓. พาหนะที่คนดีใช้ในการหนี เพราะสภาพความเป็นอยูแ่ ละสิง่ แวดล้อม
โลกและแผ่กระจายไปอย่างกว้างขวาง ให้พ้นจากน�้ำท่วมแตกต่างกันไป จะเป็น ที่คล้ายคลึงกัน มีปรากฏการณ์ธรรมชาติ
๒. สาเหตุของน�้ำท่วมมักเป็นผล เรือ แพ หรือหีบก็แล้วแต่ แบบเดียวกันทั่วโลก อย่างเช่น เมืองส่วน
ของการลงโทษมนุษย์ที่ชั่วร้ายโดยการ ๔. จ�ำนวนคนและสัตว์ทลี่ งไปอยู่ ใหญ่จะตัง้ อยูบ่ นฝัง่ แม่น�้ำ ซึง่ เมือ่ ถึงฤดูนำ�้
กระท�ำของเทพเจ้าหรือพระเจ้า ในพาหนะแตกต่างกันไปในแต่ละกรณี ก็จะเกิดน�้ำท่วมได้ และครั้งหนึง่ ในอดีต
๓. มีคนที่รอดชีวิตได้เนื่องจาก ๕. วัน เวลาระหว่างทีเ่ กิดพายุ ฟ้า น�ำ้ ทีท่ ว่ มนัน้ อาจเป็นในระดับทีก่ ว้างขวาง
เป็นคนดีคนหนึง่ หรือจ�ำนวนหนึง่ พร้อม ฝน แตกต่างกัน มาก คือท่วมท้นไปหมดทั้งโลกทีเดียว
กับสัตว์นานาพันธุ์ ๖. จ�ำนวนเวลาทีน่ ำ�้ ท่วมแตกต่าง มนุษย์พยายามหาค�ำตอบว่าท�ำไม
๔. คนดีจะได้รับการเตือนล่วง กัน มากที่สุดคือ ๔๐ วัน ๔๐ คืน น�้ำจึงท่วมโลก เหตุผลที่ง่ายที่สุดก็คงเป็น
หน้าว่าน�้ำจะท่วม ๗. จ�ำนวนเวลาทีน่ ำ�้ จะแห้งก็แตก เพราะมนุษย์มพี ฤติกรรมทีช่ วั่ ร้าย พระเจ้า
๕. เขาจะได้รบั การแนะน�ำให้ตอ่ ต่างกัน จึงลงโทษ แต่ถา้ คิดตามหลักวิทยาศาสตร์
พาหนะอย่างหนึง่ และบรรทุกครอบครัว ๘. มีเพียงในต�ำนานยิวที่พระเจ้า ค�ำตอบคงเป็นเพราะโลกร้อนขึ้นทุกวัน
พร้อมด้วยสัตว์เลี้ยงลงในพาหนะนัน้ สัญญาว่าจะไม่ให้เกิดน�้ำท่วมใหญ่อีก ท�ำให้น�้ำแข็งที่ขั้วโลกละลายเกิดน�้ำท่วม
๖. เมื่อเกิดน�้ำท่วมพาหนะจะไป ๙. วิธกี ารในการสร้างมนุษย์หรือ ซึ่งท�ำไปท�ำมาถ้าจะถามว่าท�ำไมโลกจึง
ติดอยู่บนยอดเขาสูง สืบทอดเผ่าพันธุ์มนุษย์ต่างกันไป ร้อน ก็ต้องย้อนกลับมาที่การกระท�ำของ
มนุษย์อกี โดยเฉพาะมนุษย์ในยุคปัจจุบนั

น�้ำท่วม ปัญหาโลกแตก
596
วารสารราชบัณฑิตยสถาน
ปีที่ ๓๖ ฉบับที่ ๔ ต.ค.-ธ.ค. ๒๕๕๔

ซึ่งมีเทคโนโลยีก้าวหน้า เครื่องอ�ำนวย โลกได้รับความเสียหาย ความน่าเชื่อถือ


ความสะดวกของมนุษย์ และอุปกรณ์ ของประเทศลดลงในสายตาของชาวโลก
ในครัวเรือน ไม่ว่าจะเป็นตู้เย็น เครื่อง อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวซึ่งเป็นแหล่ง
ปรับอากาศ สเปรย์ปรับอากาศ และยา รายได้หลักของประเทศก็เสียหายหนัก
ฆ่าแมลงที่มีส่วนผสมของสารท�ำความ เกิดผลกระทบทั้งในด้านการสูญเสียชีวิต
เย็น Chlorofluorocarbon (CFC) ล้วน และทรัพย์สินของประชาชน ทั้งนี้ยังไม่
ส่งเสริมให้เกิดการท�ำลายชั้นโอโซนใน ได้นับถึงงบประมาณมหาศาลที่จะต้อง
บรรยากาศ ท�ำให้เกิดภาวะเรือนกระจก ใช้ในการฟื้นฟูบ้านเมือง จะโทษใครได้
(Greenhouse Effect) ส่งผลต่อการเพิ่ม นอกจากจะพูดว่าเราท�ำตัวเราเอง ตอนนี้
ขึ้นของอุณหภูมิบรรยากาศโลก เกิดเป็น ธรรมชาติจึงเอาคืนบ้าง
ภาวะโลกร้อน (Global Warming) สิ่งที่เป็นก� ำลังใจให้ชาวไทยยืน
ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ เช่น หยั ด อยู ่ ไ ด้ ใ นภาวะน�้ ำ ท่ ว มคราวนี้คื อ ในบ้านของตนได้ โดยเฉพาะผู้ที่มีจิต
แผ่นดินไหว ภูเขาไฟระเบิด พายุไต้ฝุ่น น�้ำพระราชหฤทัยของพระบาทสมเด็จ อาสาช่วยเหลือเพือ่ นร่วมชาติในยามทุกข์
โหมกระหน�ำ่ คลืน่ สึนามิซดั เข้าท�ำลายฝัง่ พระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้าฯ ยาก แม้บางคนจะเป็นผู้ประสบภัยเอง
อยู่เหนือการควบคุมของมนุษย์ แต่การ พระบรมราชินนี าถ ที่ทรงห่วงใยราษฎร การน�ำเสนอภาพข่าวอย่างใกล้ชิดและ
เปลี่ ย นแปลงทางธรรมชาติ บ างเรื่ อ งก็ ที่ได้รับความเดือดร้อน ทั้งสองพระองค์ เจาะลึกของสือ่ มวลชน รวมทัง้ การท�ำงาน
เป็นผลสืบเนือ่ งจากการกระท�ำของมนุษย์ รวมทั้งพระบรมวงศานุวงศ์ทุกพระองค์ ของทหารในการอ�ำนวยความสะดวกแก่
โดยเฉพาะในประเทศไทยที่ มี ก ารตั ด ได้พระราชทานและประทานความช่วย ประชาชนในการเดินทางอย่างแข็งขัน
ไม้ท� ำลายป่า การถางที่เผาป่าเพื่อการ เหลือบรรเทาทุกข์แก่คนเหล่านั้นอย่าง ข้อมูลและค�ำแนะน�ำต่าง ๆ ที่ปรากฏใน
ท�ำไร่เลื่อนลอย ท�ำให้ภูเขาหัวโล้นไม่มี สม�่ำเสมอ และน�้ำใจของคนไทยจ�ำนวน โลกออนไลน์ถึงวิธีป้องกันน�้ ำเข้าบ้าน
ต้ น ไม้ ไว้ ป ะทะการไหลของน�้ ำ จึ ง เกิ ด มากที่ได้บริจาคเงิน อาหารและน�้ำดื่ม การห่อหุ้มรถยนต์ และการสร้างอุปกรณ์
ดินถล่ม การถมคูคลองเพื่อสร้างถนน เสื้อผ้า ยา อุปกรณ์ยังชีพ จัดหาที่พักพิง ช่วยชีวิตต่าง ๆ จากวัสดุที่หาได้รอบตัว
สิ่งก่อสร้างและโรงเรือน ก็เป็นผลท�ำให้ ให้ผทู้ นี่ ำ�้ ท่วมบ้านจนไม่สามารถอยูอ่ าศัย เช่น การท�ำเสื้อชูชีพจากขวดน�้ำพลาสติก
ไม่มีที่ ๆ จะเป็นแก้มลิงให้นำ�้ ระบายได้ ซึง่ วิทยาลัยอาชีวศึกษาต่าง ๆ จะมีบทบาท
บางครั้งยังกีดขวางทางเดินน�้ำไม่ให้ไหล มากในเรื่องนี้ ท�ำให้เห็นว่าคนไทยก็เป็น
ออกสู่ทะเลได้สะดวก อุทกภัยคราวนี้ นักประดิษฐ์ทมี่ คี วามสามารถ โดยเฉพาะ
จึงรุนแรงและกว้างขวางมาก ตั้งแต่ภาค ในเวลาคับขัน
เหนือลงมาจนถึงกรุงเทพฯ ทัง้ ยังอาจลาม
ลงไปถึงภาคใต้ด้วย จังหวัดที่ส�ำคัญ เช่น
นครสวรรค์และพระนครศรีอยุธยาถูกน�้ำ
ท่วมขังเป็นเวลานาน ความเสียหายทาง
ด้านเศรษฐกิจสุดจะประมาณค่า จากการ
ที่ไม่สามารถป้องกันแหล่งผลิตอาหาร
คื อ ไร่ น า อุ ต สาหกรรมหลายแห่ ง จาก
น�้ำท่วมได้ โบราณสถานซึ่งเป็นมรดก

มาลิทัต พรหมทัตตเวที
597
The Journal of the Royal lnstitute of Thailand

Volume 36 No. 4 Oct-Dec 2011

บรรณานุกรม MacCana, Proinsias. Celtic Mythology. ( h t t p : / / w w w. r e l i g i o n s . m b u . a c . t h


มาลิทัต พรหมทัตตเวที. เทพนิยายที่เป็น Feltham, Middlesex: Hamlyn html.part2/rel10p.3htm สืบค้น
พื้นฐานของวรรณคดี. กรุงเทพฯ : House; 1973. เมือ่ วันที่ ๒๕ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๔)
แสงจันทร์การพิมพ์; ๒๕๒๕. Osborne, Harold. South American (http://www.talkorigins.org/faqs flood/
Burland, Cottic. North American Indian Mythology. Feltham, Middle sex: myths.html สืบค้นเมื่อวันที่ ๒๙
Mythology. London: Paul Hamlyn Hamlyn House; 1968. ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๔)
Limited; 1965. Warner, Rex, (ed). World Encyclopedia
Christie, Anthony. Chinese Mythology. of Mythology. Hong Kong:
Feltham, Middlesex:Hamlyn Mandarin Publishers Limited;
House; 1968. 1975.
Every, George. Christian Mythology. (http://www.noahs-ark-flood.com/
Feltham, Middlesex: Hamlyn mountain.htm สื บ ค้ น เมื่ อ วั นที่
House; 1970. ๒๕ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๔)

Abstract Deluge: A Global Catastrophe


Malithat Promathatavedi
Associate Fellow of The Academy of Arts, The Royal Institute, Thailand

The most devastating flood in the history of Thailand occurring in 2011 has brought about a
great loss of lives and properties since the flood water covered an area approximately two-thirds of the
country from north to south. A part of the flooding was the result of natural phenomena beyond human
control. However, changes in nature are sometimes caused by man. For example, modern technologies
lead to the destruction of the ozone layer, creating a greenhouse effect which in turn causes global warm-
ing. The melting of the polar ice caps causes flooding. In Thailand deforestation and slash-and-burn type
of farming cause the mountains to be denuded. Without trees to brace the flow of rainwater, landslide
occurs. The filling up of canals and waterways to build roads and housings block the water from flowing
out to the sea, causing the inundation to be severe and prolonged. The story of the deluge is not new. It
has been in existence in the myths of many nations big and small all over the world. These stories are
similar in the main points and may differ in some specific details. In ancient times people usually settled
close to the seas or rivers for convenience in communication, transportation and trade. When the tide
was high, it was natural for the water to overflow the banks and flood human settlements. It is therefore
possible to make a hypothesis that at a certain time a deluge must have occurred at a global level, causing
almost all lives on earth to perish. Ancient people thus believed that the deluge was God’s punishment
for human sins. The reason why the human race was able to continue was because there were some good
people who heeded God’s words and so they survived to perpetuate the human race.

Key words : myths, deluge

น�้ำท่วม ปัญหาโลกแตก
598
วารสารราชบัณฑิตยสถาน
ปีที่ ๓๖ ฉบับที่ ๔ ต.ค.-ธ.ค. ๒๕๕๔

ไชยยศ เหมะรัชตะ
ราชบัณฑิต ส�ำนักธรรมศาสตร์และการเมือง
ราชบัณฑิตยสถาน

บทคัดย่อ
แม้ว่าประเทศไทย จะมีการบังคับใช้กฎหมายเกี่ยวกับทรัพย์สินทางปัญญา มาตั้งแต่ พ.ศ. ๒๔๔๕
อันได้แก่ พ.ร.บ.กรรมสิทธิ์ผู้แต่งหนังสือ ร.ศ. ๑๒๐ แต่เริ่มเข้าสู่ยุคการบังคับใช้ทรัพย์สินทางปัญญาอย่างจริงจัง
เมือ่ มีการบังคับใช้ พ.ร.บ.ลิขสิทธิ์ พ.ศ. ๒๕๒๑ ซึง่ มีระยะเวลาเพียง ๓๐ ปีเท่านัน้ และกฎหมายส่วนใหญ่ทถี่ กู ตรา
ขึน้ นัน้ ล้วนแต่มวี ตั ถุประสงค์เพือ่ อนุวตั ใิ ห้เป็นไปตามความตกลงระหว่างประเทศ ไม่วา่ จะเป็นสนธิสญ
ั ญา ณ กรุง
เบิร์น และล่าสุดก็คือ ข้อตกลงว่าด้วยสิทธิในทรัพย์สินทางปัญญาที่เกี่ยวกับการค้า (TRIPs) และ ทริปส์ ผนวก
(TRIPs-PLUS) ซึง่ ให้ความคุม้ ครองทรัพย์สนิ ทางปัญญาทีก่ า้ วล่วงไปเกินกว่าความรูค้ วามเข้าใจของคนไทยทัว่ ไป
เช่น การคุ้มครองเครื่องหมายการค้าที่ไม่สามารถเห็นได้ด้วยตา เช่น เสียง กลิ่น รส และเรื่องอื่น ๆ ไปจนถึงการ
เสนอให้มกี ารบังคับใช้กฎหมายอาญาเพือ่ ลงโทษผูซ้ อื้ สินค้าทีล่ ะเมิดทรัพย์สนิ ทางปัญญา อันเป็นการแสดงถึงความ
พยายามอย่างยิ่งยวดของหน่วยงานของรัฐที่จะปฏิบัติตามพันธะกรณีเหล่านัน้
เนือ้ หาของบทความนี้ จะเป็นการรายงานถึงผลการศึกษาเกีย่ วกับปัญหาทีเ่ กิดจากการบังคับใช้กฎหมาย
ทรัพย์สินทางปัญญาทั้งที่เป็นส่วนข้อเท็จจริง และความเห็นของผู้เขียน เพื่อให้ผู้เกี่ยวข้องสามารถน�ำไปใช้เป็น
ข้อมูลในการปรับปรุงกฎหมายต่อไป ซึ่งพบว่า ปัญหาทางปฏิบัติส่วนใหญ่ เกิดจากการขาดความเข้าใจพื้นฐาน
ในเรื่องวัตถุประสงค์ของกฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา และมีบทบัญญัติที่ไม่เพียงพอต่อการรองรับการบังคับใช้
กฎหมายในกลุ่มนี้ จึงควรจะได้มีการศึกษา และแก้ไขความบกพร่องดังกล่าวอย่างเป็นระบบ เพื่อให้ประเทศไทยมี
ความพร้อมในระดับทีส่ ามารถใช้บทบัญญัตเิ หล่านัน้ ให้เกิดประโยชน์ตอ่ สังคม ก่อนทีจ่ ะอนุวตั กิ ฎหมายอืน่ ๆ เพือ่
ให้เป็นไปตามพันธะกรณีที่มีต่อนานาประเทศ

บทน�ำ ระหว่างประเทศ ท�ำให้ประเทศไทยต้อง ค�ำจ�ำกัดความของทรัพย์สินทางปัญญา


โดยเหตุที่ระบบความคิดในเรื่อง น�ำระบบความคิดโดยที่สังคมไทยไม่มี ในรูปแบบต่าง ๆ โดยอาศัยค�ำจ�ำกัดความ
ทรั พ ย์ สิ น ทางปั ญ ญามิ ไ ด้ เ กิ ด ขึ้ น จาก ความพร้ อ มและพยายามน� ำ มาใช้ ใ น ในบทกฎหมายในเรื่องนัน้ ๆ โดยละเลย
ความจ�ำเป็นในสังคมไทย ประกอบกับ ระบบกฎหมายไทยด้ ว ยความเข้ า ใจ ที่จะชี้ให้เห็นถึงลักษณะร่วมกันที่ส�ำคัญ
ความรีบเร่งในการปฏิบัติตามพันธะกรณี ที่มีอยู่ท�ำให้นกั กฎหมายไทยพยายามให้ ของทรัพย์สินทางปัญญาแต่ละประเภท๑

นอกเหนือจากที่กล่าวมาข้างต้น ลักษณะต่าง ๆ ของทรัพย์สินทางปัญญามีการจ�ำแนกไว้ถึง ๑๘ ประการ โปรดศึกษาเพิ่มเติมใน ไชยยศ เหมะรัชตะ, อัตลักษณ์
ของกฎหมายทรัพย์สนิ ทางปัญญา, Chulalongkorn Review, ปีที่ ๑๙ ฉบับที่ ๗๔ มกราคม-มีนาคม ๒๕๕๐, กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
หน้า ๕๘-๖๗

ไชยยศ เหมะรัชตะ
599
The Journal of the Royal lnstitute of Thailand

Volume 36 No. 4 Oct-Dec 2011

และความสัมพันธ์กบั กฎหมายทีเ่ กีย่ วข้อง การแสดงออกทางความคิด จึงเป็นสิ่งที่ พิ จ ารณาถึ ง ทรั พ ย์ สิ นทางปั ญ ญาซึ่ ง มี
ส่งผลการพัฒนากฎหมายทรัพย์สินทาง ไม่มีรูปร่าง ไม่มีมิติ ทั้งยังมีลักษณะที่ ความสัมพันธ์กับสินสมรส และมรดก
ปั ญ ญาของไทยต้ อ งอิ ง อยู ่ กั บ ความคิ ด แตกต่างจากทรัพย์ตามประมวลกฎหมาย ไม่สามารถน�ำประมวลกฎหมายแพ่งและ
กระแสหลักของประเทศที่ ได้รับ แพ่งและพาณิชย์ ที่สามารถยึดถือและ พาณิชย์ในเรื่องดังกล่าวมาบังคับใช้
ประโยชน์จากทรัพย์สินทางปัญญาใน ครอบครองได้ทางกายภาพ จึงไม่อาจ ๑.๑ การให้ ท รั พ ย์ สิ นทาง
ประเทศนัน้ และขาดทิศทางการพัฒนา น�ำหลักกฎหมาย ตามประมวลกฎหมาย ปั ญ ญาตกเป็ น สิ น สมรส ตามมาตรา
ที่เหมาะสม การเริ่มต้นศึกษาความคิด แพ่งและพาณิชย์มาปรับใช้กับทรัพย์สิน ๑๔๗๔
พื้นฐานโดยอิงจากปัญหาที่เกิดขึ้นจาก ทางปัญญาเป็นการทั่วไป ซึ่งแนวความ ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
ใช้กฎหมาย จะช่วยให้มขี อ้ เท็จจริงเพิม่ ขึน้ คิ ด ดั ง กล่ า ว ศาลไทยยอมรั บ และวาง ได้วางหลักว่า หากคูส่ มรสได้ทรัพย์สนิ ใด
เพื่อการพัฒนาในเรื่องดังกล่าว บรรทัดฐานอย่างชัดเจน ตัวอย่างเช่น มาระหว่างสมรส ให้ถือว่าทรัพย์สินนัน้
การไม่นำ� หลักกฎหมายในเรือ่ งการครอบ เป็นสินสมรส และคู่สมรสจะต้องจัดการ
ส่ ว นที่ ๑ การปรั บ ใช้ ก ฎหมายที่ ไ ม่ ครองปรปักษ์ ตามมาตรา ๑๓๘๒ มาใช้ ทรัพย์สินร่วมกัน ตามมาตรา ๑๔๘๐
เหมาะสม กับทรัพย์สินทางปัญญา ด้วยเหตุผลข้าง ประกอบกับมาตรา ๑๔๗๔ ก�ำหนดต่อไป
เนื่ อ งจากลั ก ษณะของทรัพย์สิน ต้น การครอบครองเทปบันทึกเสียงเพื่อ ว่า ในกรณีทเี่ ป็นทีส่ งสัย ให้สนั นิษฐานไว้
ทางปั ญ ญามี พื้ นฐานมาจากแนวความ ให้ได้มาซึ่งลิขสิทธิ์เพลง๒ หรือการใช้ ก่อนว่าเป็นสินสมรสนัน้
คิดที่แตกต่างกัน การบัญญัติกฎหมาย เครื่องหมายการค้าในลักษณะที่เป็นการ จากหลักกฎหมายข้างต้น เมื่อน�ำ
เพื่ อ คุ ้ ม ครองทรั พ ย์ สิ น ทางปั ญ ญาใน ละเมิด ๓ จึงไม่ท�ำให้ผู้กล่าวอ้างได้รับ ทรัพย์สินทางปัญญาซึ่งล้วนแต่เกิดจาก
แต่ละประเภท จึงมักจะตราเป็นกฎหมาย สิทธิโดยเหตุแห่งการครอบครองปรปักษ์ การสร้างสรรค์ จะเห็นได้ว่า
เฉพาะ เพื่ออธิบายความหมาย การขอรับ ซึ่งศาลเห็นว่า ทรัพย์สินทางปัญญานั้น ประการที่ ๑ แม้คู่สมรสจะถือว่า
สิทธิ หน้าที่ และข้อก�ำหนดที่เกี่ยวข้อง แม้ว่าจะเป็นทรัพย์สินประเภทหนึง่ แต่ก็ เป็นบุคคลทีม่ คี วามส�ำคัญต่อผูส้ ร้างสรรค์
โดยเข้าใจว่า ประมวลกฎหมายแพ่งและ มีลักษณะพิเศษที่มีความแตกต่างไปจาก งาน แต่ไม่ปรากฏความสัมพันธ์หรือจุด
พาณิชย์ ซึ่งเป็นบทบัญญัติที่วางพื้นฐาน อสังหาริมทรัพย์ หรือสังหาริมทรัพย์ จน เกาะเกีย่ วกับงานทีส่ ร้างสรรค์แต่ประการ
ที่เกี่ยวกับสิทธิ และหน้าที่ของปัจเจกชน ไม่อาจจัดเป็นทรัพย์สินในความหมาย ใด จึงไม่มีเหตุผลที่กฎหมายจะให้ความ
มี ค วามเพี ย งพอที่ จ ะน� ำ ไปปรั บ ใช้ โดย ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ และ คุม้ ครองหรือประโยชน์แก่ผทู้ ไี่ ม่เกีย่ วข้อง
อนุโลมต่อไป ซึ่งในความเป็นจริงแล้ว ไม่ อ าจครอบครองได้ อ ย่ า งทรั พ ย์ สิ น ประการที่ ๒ สิทธิในทรัพย์สิน
การปรับใช้อาจท�ำได้อย่างจ�ำกัดเท่านั้น ทัว่ ไป จึงไม่อาจจะแย่งการครอบครองได้ ทางปัญญา มิได้เป็นสิทธิในทางเศรษฐกิจ
ไม่สามารถน�ำไปปรับใช้ได้เป็นการทัว่ ไป เพราะเจ้าของมิได้สูญเสียสิทธิจากการใช้ แต่เพียงประการเดียว อาทิเช่น “ธรรม
ดังจะได้ให้รายละเอียดในส่วนนี้ ทรัพย์สินทางปัญญาแต่ประการใด สิทธิ” ในกฎหมายเรื่องลิขสิทธิ์อันเป็น
๑. การน�ำหลักกฎหมายเกีย่ วกับ จากบรรทัดฐานดังกล่าวจะเห็น สิทธิของผูส้ ร้างสรรค์ในการทีจ่ ะปกป้อง
ทรั พ ย์ สิ นทั่ ว ไปตามประมวลกฎหมาย ได้ว่า การน�ำประมวลกฎหมายแพ่งและ ชื่ อ เสี ย งเกี ย รติ คุ ณ ของผู ้ ส ร้ า งสรรค์
แพ่งและพาณิชย์มาปรับใช้ พาณิชย์ไปปรับใช้เพื่อบังคับทรัพย์สิน อันอาจมาจากการกระท�ำในลักษณะต่าง ๆ
เนื่องจากทรัพย์สินทางปัญญามี ทางปัญญา จึงพึงจะต้องปรับใช้ดว้ ยความ ของบุคคลอืน่ เช่น การดัดแปลง ตัดทอน
ลักษณะเป็นนามธรรม เพราะเป็นเพียง ระมัดระวัง โดยในส่วนต่อไป จะเป็นการ งานให้เสียรูป หรือการที่บุคคลใดแอบ

ค�ำพิพากษาศาลฎีกาที่ ๘๔๖/๒๕๓๔

ค�ำพิพากษาศาลฎีกาที่ ๙๕๔๔/๒๕๔๒ และ ๖๔๖๖/๒๕๓๘

ปัญหาบางประการในการบังคับใช้กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา
600
วารสารราชบัณฑิตยสถาน
ปีที่ ๓๖ ฉบับที่ ๔ ต.ค.-ธ.ค. ๒๕๕๔

อ้างว่าตนเป็นผู้สร้างสรรค์งานทั้ง ๆ ที่ ความคิดในการสร้างสรรค์ บางครั้งใช้ สินค้าดังกล่าว ดังนั้น จึงถือได้ว่าสามี


บุคคลนัน้ มิใช่เป็นผู้สร้างสรรค์งานนัน้ ๔ เวลากว่าค่อนชีวิต อ้างสิทธิขอแบ่งปัน และภรรยาเป็นเจ้าของเครือ่ งหมายการค้า
หากถื อ ว่ า ลิ ข สิ ท ธิ์ เ ป็ น สิ น สมรสตาม “การแสดงออกทางความคิดแต่ล�ำพัง” ร่ ว มกั น โดยไม่ ต ้ อ งไปค� ำ นึง เรื่ อ งจด
กฎหมายแล้ว คู่สมรสซึ่งมิได้เป็นผู้สร้าง ของผู้สร้างสรรค์ ทะเบียนแต่อย่างใด และไม่อาจถือได้ว่า
สรรค์งาน ย่อมสามารถใช้ธรรมสิทธิไป อย่างไรก็ตาม นักกฎหมายบางท่าน ค�ำพิพากษาดังกล่าววางบรรทัดฐานว่า
อ้ า งสิ ท ธิ ในเรื่ อ งเกี ย รติ คุ ณของผู ้ ส ร้ า ง เห็ น ว่ า ทรั พ ย์ สิ น ทางปั ญ ญาที่ ไ ด้ ม า ทรั พ ย์ สิ น ทางปั ญ ญาที่ ไ ด้ ม าระหว่ า ง
สรรค์ต่อผู้อื่น โดยอนุโลมว่าเป็นคู่สมรส ระหว่างสมรส ย่อมถือว่าเป็นสินสมรส สมรส ถือเป็นสินสมรส
และก่ อ ให้ เ กิ ด ข้ อ โต้ แ ย้ ง ได้ ว ่ า ในเมื่ อ โดยอ้างค�ำพิพากษาศาลฎีกาที่ ๒๕๒๙/ ๑.๒ การปรับหลักกฎหมาย
ผูส้ ร้างสรรค์ไม่ใช้ธรรมสิทธิ ภรรยาของ ๒๕๓๘ ซึ่งได้ให้เหตุผลว่า เนื่องจาก ในเรื่ อ งมรดกที่ ไม่ มี ผู ้ รั บ ตามประมวล
ผู้สร้างสรรค์จะอ้างเหตุใดในการใช้สิทธิ เครื่ อ งหมายการค้ า ได้ จ ดทะเบี ย นใน กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา ๑๗๕๓
ประการที่ ๓ มาตรา ๑๔๗๑ ได้ ระหว่างที่สมรส จึงถือว่าเป็นทรัพย์สิน เมื่อเจ้าของทรัพย์สินทางปัญญา
บัญญัติความหมายของ “สินส่วนตัว” ที่ ม าระหว่ า งสมรส และมี ส ภาพเป็ น ถึ ง แก่ ค วามตาย ทรั พ ย์ สิ นทางปั ญ ญา
ไว้ว่า หมายถึงเครื่องใช้ที่จ�ำเป็นในการ สินสมรส ดังนัน้ สามีและภรรยาย่อมเป็น ซึ่ ง ถื อ เป็ นทรั พ ย์ สิ น ประเภทหนึ่ง ตาม
ประกอบอาชีพ หรือวิชาชีพของคู่สมรส เจ้าของเครื่องหมายการค้าร่วมกันนั้น ๕ ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ย่อม
ฝ่ายใดฝ่ายหนึง่ ตัวอย่างเช่น ทนายความ เมื่ อ พิ จ ารณาข้ อ เท็ จ จริ ง ในคดี ดั ง กล่ า ว ถือเป็นมรดก และตกทอดสู่ทายาท และ
ก็ ค งเป็ น เสื้ อ ครุ ย เครื่ อ งคอมพิ ว เตอร์ จะพบข้อเท็จจริงว่า ในกรณีนี้เป็นเรื่อง หากไม่มที ายาท ก็ให้มรดกนัน้ ตกเป็นของ
ต�ำรากฎหมาย และในกรณีทเี่ ป็นนักเขียน ของสามีภรรยาต้องการจะหย่ากัน และ แผ่นดิน
นัน้ พึงเห็นได้ชัดว่า Source Code ของ ท�ำสัญญาแบ่งสินสมรสทีเ่ ป็นเครือ่ งหมาย ส�ำหรับในกรณีของทรัพย์สินทาง
โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ลิขสิทธิ์ พันธุ์พืช การค้าซึ่งภรรยาเป็นผู้คิดและสร้างสรรค์ ปัญญาซึ่งเป็นมรดกที่ไม่มีผู้รับนัน้ การ
ต�ำรับยาเหล่านี้ย่อมถือว่าสิ่งที่จ�ำเป็นใน แล้ ว ให้ ส ามี น� ำ ไปจดทะเบี ย นไปชื่ อ ถื อ ว่ า ทรั พ ย์ สิ นทางปั ญ ญานั้นจะตกสู ่
การประกอบอาชีพหรือวิชาชีพทั้งสิ้น ของตน โดยให้ ต กเป็ นของภรรยาแต่ แผ่ น ดิ น ในลั ก ษณะที่ เ ป็ น สิ ท ธิ ห วง
ประการที่ ๔ ในกรณีทผี่ สู้ ร้างสรรค์ เพียงฝ่ายเดียว แต่ในขณะที่ยังมิได้ไป กั น ต่ อ ไป ย่ อ มจะเป็ น การปรั บ ใช้
งานและผู้สมรสหย่ากัน จะต้องจัดการ จดทะเบียนโอนให้แก่อดีตภรรยานัน้ มี กฎหมายที่ มิ ได้ ค� ำ นึง ถึ ง วั ต ถุ ป ระสงค์
แบ่งสินสมรส และหากไม่สามารถตกลง ผู้ละเมิดเครื่องหมายการค้าดังกล่าว ศาล ของกฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา คือ
ได้ คูก่ รณีจะต้องร้องขอต่อศาลเพือ่ ให้น�ำ ถื อ ว่ า เครื่ อ งหมายการค้ า เป็ นของอดี ต การผู ก ขาดเพื่ อ สงวนและรั ก ษาไว้ ซึ่ ง
ทรัพย์สินไปขายทอดตลาด ยิ่งเป็นกรณี ภรรยาทันที แม้ว่ายังไม่จดทะเบียน และ “โอกาส” ที่ ผู ้ ส ร้ า งสรรค์ จ ะได้ ใ ช้
ที่ เห็ น ได้ ชั ด เจนยิ่ ง ขึ้ นถึ ง ความเบาบาง ถื อ ว่ า เป็ น ผู ้ เ สี ย หายที่ มี สิ ท ธิ ฟ ้ อ งคดี ประโยชน์ ในทรั พ ย์ สิ นทางปั ญ ญาแต่
ของเหตุผลที่กฎหมายจะสนับสนุนให้ผู้ ดั ง กล่ า ว ผู ้ เ ขี ย นเห็ น ว่ า เนื่ อ งจากมี เพียงผู้เดียวภายในระยะเวลาที่กฎหมาย
ที่ไม่มีความสัมพันธ์กับงานสร้างสรรค์ ข้ อ เท็ จ จริ ง ที่ ว ่ า ฝ่ า ยภรรยาได้ คิ ด และ ได้บัญญัติไว้ ดังนัน้ เมื่อผู้สร้างสรรค์ดัง
ที่ต้องอาศัยความอุตสาหะ ทุ่มเทก�ำลัง ออกแบบเครื่องหมายการค้าเพื่อใช้กับ กล่ า วเสี ย ชี วิ ต ในระหว่ า งที่ ร ะยะเวลา


ไชยยศ เหมะรัชตะ, ลักษณะของกฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา พิมพ์ครั้งที่ ๔, กรุงเทพมหานคร : ส�ำนักพิมพ์นติ ิธรรม, ๒๕๔๕ หน้า ๕๙

ปภาศรี บัวสวรรค์, การจัดการสินสมรสของคูส่ มรสในทรัพย์สนิ ทางปัญญา เปรียบเทียบลิขสิทธิก์ บั สิทธิบตั ร หน้า ๔๘-๖๐, ผลงานทางวิชาการด้านกฎหมาย
และกระบวนการยุตธิ รรม ในการสัมมนาทางวิชาการเพือ่ การพัฒนาการศึกษาด้านนิตศิ าสตร์ ตามโครงการสัมมนาทางวิชาการเพือ่ เสริมสร้างความร่วมมือในการพัฒนา
กระบวนการยุติธรรม ระหว่าง คณะนิติศาสตร์ของมหาวิทยาลัยภาครัฐและภาคเอกชน และส�ำนักงานกิจการยุติธรรม ครั้งที่ ๓ จัดโดย ส�ำนักงานคณะกรรมการการ
อุดมศึกษา ส�ำนักงานกิจการยุติธรรม สภานิติศึกษา ระหว่างวันที่ ๓๐ พฤษภาคม-๑ เมษายน ๒๕๕๑

ไชยยศ เหมะรัชตะ
601
The Journal of the Royal lnstitute of Thailand

Volume 36 No. 4 Oct-Dec 2011

ดังกล่าวยังไม่สิ้นสุด บุคคลผู้เป็นทายาท ๒.๑ ทรั พ ย์ สิ นทางปั ญ ญา ความส� ำ เร็ จ ในการจดทะเบี ย น ขึ้ น อยู ่
ก็ควรจะได้รับการสืบสิทธิของผู้สร้าง ควรจะได้รับการคุ้มครองซ�้ำซ้อนหรือไม่ กับหลักเกณฑ์ในการรับจดทะเบียนของ
สรรค์งาน เว้นแต่จะปรากฏข้อเท็จจริงว่า เช่น งานศิลปกรรมที่ถูกใช้เป็นเครื่อง หน่วยงานของรัฐ ทั้งในและต่างประเทศ
ผู้สร้างสรรค์ไม่มีทายาทโดยธรรมและ หมายการค้า ควรจะได้รับความคุ้มครอง ดังนัน้ การจดทะเบียนเครือ่ งหมายการค้า
มิได้ท�ำพินัยกรรมไว้ ย่อมจะถือได้ว่า ในฐานะลิขสิทธิ์ หรือเครื่องหมายการค้า จึงมีต้นทุนที่สูงกว่า
กฎหมายได้ ใ ห้ ค วามคุ ้ ม ครองแก่ ผู ้ เพราะทรัพย์สินทางปัญญาแต่ละลักษณะ (ข) งานอั น มี ลิ ข สิ ท ธิ์ ส ามารถ
สร้างสรรค์จนถึงที่สุดแล้ว และสังคม มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยส�ำคัญ โดย ใช้ อ ้ า งได้ เ กื อ บทั่ ว โลก โดยเฉพาะ
ควรจะได้รับประโยชน์จากทรัพย์สินทาง เฉพาะต้ น ทุ น ในการสร้ า งสรรค์ ง าน ประเทศสมาชิกที่เป็นภาคีของอนุสัญญา
ปัญญาดังกล่าวโดยไม่มีความจ�ำเป็นจะ เหล่านัน้ อาทิเช่น การลงทุนและก�ำหนด เบอร์น โดยไม่มีระบบตรวจสอบความ
ต้องหวงกันอีกต่อไป นัน่ ก็คือทรัพย์สิน มาตรฐานเพื่อให้เครื่องหมายการค้าเป็น ถู ก ต้ อ งในแต่ ล ะประเทศ ในขณะที่
ทางปั ญ ญาจะต้ อ งสิ้ น สภาพไปนั่น เอง ที่ ย อมรั บ นั้น อย่ า งน้ อ ยที่ สุ ด จะต้ อ งมี เครื่องหมายการค้า ใช้อ้างว่าได้เฉพาะใน
การพิจารณาให้ทรัพย์สินทางปัญญาซึ่ง การควบคุมคุณภาพของสินค้า เพื่อให้มี ประเทศที่รับจดทะเบียนเท่านัน้
เป็นมรดกที่ไม่มีผู้รับยังคงสภาพเดิมของ มาตรฐานหรือมีความแตกต่างในระดับ กรณีเหล่านี้เป็นตัวอย่างที่ส่งผล
ทรัพย์สินทางปัญญาไว้ และปล่อยให้รัฐ ที่ ท� ำ ให้ ลู ก ค้ า เลื อ กหรื อ จ� ำ แนกสิ นค้ า ต่อการพัฒนาระบบกฎหมายทรัพย์สิน
เข้ามารับประโยชน์จากการหวงกันนั้น ของตน โดยไม่จำ� ต้องเป็นงานสร้างสรรค์ ทางปั ญ ญาให้ บิ ด เบื อ นไป ซึ่ ง ในท้ า ย
ย่อมจะเห็นได้ว่าการขัดต่อเจตนารมณ์ ที่มีระดับสูงกว่าปกติ ไม่เหมือนกับสิทธิ ที่สุด ระบบทรัพย์สินทางปัญญาที่เกี่ยว
พืน้ ฐานของกฎหมายทรัพย์สนิ ทางปัญญา บัตร ซึ่งจะต้องให้มีขั้นการประดิษฐ์ที่ กั บ เครื่ อ งหมายการค้ า จะถู ก ท� ำ ให้ เ สี ย
สูงกว่าที่สังคมรับรู้ ดังนัน้ หากให้ความ หายไป หากเรายอมรับให้มีการคุ้มครอง
ส่วนที่ ๒ ความทับซ้อนของกฎหมาย คุ้มครองบิดเบือนไปจากสภาพที่เป็นอยู่ ทรัพย์สนิ ทางปัญญาในลักษณะทีซ่ ำ�้ ซ้อน
ทรัพย์สินทางปัญญา และกฎหมายอื่น ๆ ก็ย่อมจะเป็นการคุ้มครองซ�้ ำซ้อน ซึ่ง กันดังกล่าว
นอกจากความไม่ ส มบู ร ณ์ ใ น ท�ำให้สังคมแบกรับภาระ ตัวอย่างเช่น ๒.๒ ค ว า ม ทั บ ซ ้ อ น กั บ
เรื่องบทบัญญัติทั่วไป จนท�ำให้มีความ เจ้าของเครื่องหมายการค้าหรือสิทธิบัตร กฎหมายที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ ประโยชน์ โดย
พยายามอุดช่องว่างโดยการใช้กฎหมาย อาจอ้างว่า “งานรูปทรงหลายมิติ” ของ รวมของสังคม
ที่ไม่เหมาะสมแล้ว ในระหว่างกฎหมาย ตนเป็นศิลปกรรมที่ได้รับลิขสิทธิ์ และ แม้ว่าทรัพย์สินทางปัญญา เป็น
ทรัพย์สินทางปัญญา ยังมีความทับซ้อน ถือว่าผูล้ ะเมิดทรัพย์สนิ ทางปัญญาของตน กฎหมายที่ ให้ สิ ท ธิ แ ก่ ผู ้ ส ร้ า งสรรค์ ใน
ในระหว่างกันตัวอย่างเช่น ความทับซ้อน เป็นผู้ละเมิดลิขสิทธิ์ ทั้ง ๆ ที่ใช้ “งานรูป ลักษณะที่ผูกขาด และหวงกันเพื่อให้หา
ในระหว่างงานศิลปกรรมอันมีลิขสิทธิ์ ทรงหลายมิติ” แบบเครื่องหมายการค้า ประโยชน์จากทรัพย์สินทางปัญญา แต่
กับเครื่องหมายการค้า และสิทธิบัตรการ หรือสิทธิบัตร และเมื่อเราพิจารณาถึง โดยสภาพของทรัพย์สินทางปัญญาแต่
ออกแบบ ความทับซ้อนเหล่านีก้ ่อให้เกิด เหตุทเี่ จ้าของงานกล่าว จะสามารถจ�ำแนก เพียงล�ำพัง ยังไม่ก่อให้เกิดระบบผูกขาด
ความยุ่งยากในหลายประการ ตั้งแต่การ เหตุผล ได้ดังนี้ เพราะผู้สร้างสรรค์ก็เป็นเพียงผู้แข่งขัน
ขอรับสิทธิการได้รับความคุ้มครองตาม (ก) งานอันมีลิขสิทธิ์ไม่ต้องจด รายหนึง่ ในระบบตลาด และหากงานของ
กฎหมาย รวมถึงการท�ำงานของเจ้าหน้าที่ ทะเบียน ในขณะที่เครื่องหมายการค้า ผูส้ ร้างสรรค์สามารถ “ทดแทน” โดยงาน
ทีเ่ กีย่ วข้อง โดยเฉพาะในประเด็นต่อไปนี้ ต้องจดทะเบียนและต้องเสียค่าธรรมเนียม ของผูอ้ นื่ การผูกขาดก็จะไม่เกิดขึน้ ดังนัน้


W.R. Comish, Intellecutual Property: Patent, Copyright, Trade Mark and Allied Right, (London, Weet & Maxwell, 1999. p. 39.

ปัญหาบางประการในการบังคับใช้กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา
602
วารสารราชบัณฑิตยสถาน
ปีที่ ๓๖ ฉบับที่ ๔ ต.ค.-ธ.ค. ๒๕๕๔

จึงต้องมีข้อเท็จจริงที่มีนัยส�ำคัญอื่น ๆ กฎหมายควรจะศึกษาต่อไปถึงผลกระทบ งานกับส�ำนักงานอัยการสูงสุด๑๑ การขาด


ผนวกเป็นปัจจัยที่ก่อให้เกิดการผูกขาด ของการด�ำเนินการดังกล่าว หลักเกณฑ์และแนวทางในการบังคับใช้
เช่น เจ้าของทรัพย์สนิ ทางปัญญามีอ�ำนาจ นอกจากบทบัญญัตทิ ปี่ รากฏอยูใ่ น กฎหมายเพราะกังวลว่า การออกหลัก
เหนือตลาด จึงจะก่อให้เกิดการผูกขาดได้๖ กฎหมายแต่ละเรือ่ งนัน้ หน่วยงานของรัฐ เกณฑ์ที่ไม่สมบูรณ์ และกลายเป็นข้อ
ในประเด็นนี้ กฎหมายในแต่ละ หลายหน่วยงานก็มีบทบาทในการบังคับ อ้างที่ใช้ในการฝ่าฝืนกฎหมาย จะท�ำให้
เรือ่ งทีร่ บั รองให้ทรัพย์สนิ ทางปัญญาเป็น ใช้กฎหมายต่าง ๆ ที่มีวัตถุประสงค์ใน เข้าใจว่าเป็นความไร้ประสิทธิภาพของ
สิทธิตามกฎหมาย ได้พยายามรักษาความ การลดความรุนแรงของการผูกขาด เช่น หน่วยงานรัฐ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการผลิต
สมดุ ล เพื่ อ มิ ให้ มี ก ารผู ก ขาดจนก่ อ ให้ การที่ ก รมการค้ า ภายในก� ำ หนดให้ ค ่ า บุคลากรทีม่ คี วามรูท้ างด้านกฎหมาย ในปี
เกิดผลกระทบต่อสังคม โดยได้เปิดช่อง ลิขสิทธิ์เพลงต่าง ๆ เป็นบริการควบคุม ๒๕๔๘ คณะนิตศิ าสตร์ ในสังกัดสถาบัน
ให้มีข้อยกเว้นในบทบัญญัติในกฎหมาย ราคา๙ ตามพระราชบัญญัติการก�ำหนด การอุดมศึกษาเอกชน จ�ำนวน ๓๔ แห่ง
นัน้ ๆ เช่น ข้อยกเว้นการละเมิดลิขสิทธิ์ ราคาสินค้าและบริการ พ.ศ. ๒๕๔๒ มีบุคลากรที่สอนวิชานี้ไม่ถึง ๕ คน
และการบังคับใช้ลขิ สิทธิใ์ นเรือ่ งการแปล เนื่องจากเกิดปัญหาการบังคับใช้ลิขสิทธิ์ จากที่กล่าวมาแล้วข้างต้น ภาครัฐ
เพื่อการศึกษา (FAIR USE) ในมาตรา เพลงต่าง ๆ อย่างไม่เหมาะสม จนก่อให้ จึงไม่ควรทีจ่ ะคาดหวังให้สถาบันตุลาการ
๓๒ แห่งพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. เกิดการกระทบกระทัง่ และมีความรุนแรง เป็นหน่วยงานที่ชี้ขาดในประเด็นเรื่อง
๒๕๓๗๗ แต่เนือ่ งจากบทบัญญัตเิ หล่านัน้ มากขึน้ เรือ่ ย ๆ ซึง่ ในท้ายทีส่ ดุ กลับต้องใช้ ความทับซ้อนของกฎหมายทรัพย์สนิ ทาง
เป็นการวางแนวทางอย่างกว้าง ๆ ไว้ เพื่อ วิธีขอความร่วมมือจากภาคเอกชนแทน ปัญญา แต่ควรจะร่วมกับภาคเอกชนใน
รอให้สังคมวางบรรทัดฐาน ซึ่งต้องใช้ การบั ง คั บ ใช้ พ ระราชบั ญ ญั ติ การก�ำหนดแนวทางร่วมกันเพื่อให้สังคม
ระยะเวลาในการวางบรรทัดฐานเหล่านี้ การแข่งขันทางการค้า พ.ศ. ๒๕๔๒ ขั บ เคลื่ อ นไปได้ โดยไม่ ต ้ อ งกั ง วลว่ า
จึงท�ำให้มีผู้ฉวยโอกาส ละเมิดสิทธิของ เป็นกฎหมายอีกฉบับหนึ่งที่กรมการค้า แนวทางหรือหลักเกณฑ์ที่ก�ำหนดขึ้น จะ
ผู้สร้างสรรค์งานดังกล่าว โดยอาศัยข้อ ภายในพยายามอย่ า งยิ่ ง ที่ จ ะน� ำ มาลด กลายเป็นสิ่งที่ภาคเอกชนใช้ในการศึกษา
ยกเว้นเหล่านัน้ เพื่อแก้ไขปัญหาข้างต้น ความรุนแรงของผู้ทรงสิทธิในทรัพย์สิน เพื่ อ หาช่ อ งว่ า งในการฝ่ า ฝื นกฎหมาย
กรมทรัพย์สินทางปัญญาจึงได้พยายาม ทางปัญญาที่มีอ�ำนาจเหนือตลาด๑๐ แต่ เพราะลักษณะดังกล่าวคือแนวทางหนึ่ง
สร้ า งคู ่ มื อ ในการใช้ ง านอั น มี ลิ ข สิ ท ธิ์ การบั ง คั บ ใช้ ก ฎหมายดั ง กล่ า วกลั บ มี ในการพัฒนากฎหมายและการต่อสู้เพื่อ
ประเภทต่าง ๆ ตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๕๐ อุปสรรคนานานับประการ ไม่ว่าจะเป็น ประโยชน์ของสังคม
จนถึงปัจจุบัน เช่น ในการเรียนการสอน ความพร้อมของเจ้าหน้าที่ในการบังคับ
รายงานข่าว งานเขียน๘ เป็นต้น ซึ่งนัก ใช้กฎหมาย ความขัดแย้งในการปฏิบัติ

ส�ำหรับในกฎหมายทรัพย์สินทางปัญญาอื่น ๆ ก็มีปรากฏเกือบทั้งหมด การบังคับใช้สิทธิบัตร (COMPULSORY LICENSE) ตามมาตรา ๕๑-๕๒ ตาม
พระราชบัญญัติสิทธิบัตร พ.ศ. ๒๕๒๒, มาตรา ๓๓ ในกฎหมายคุ้มครองพันธุ์พืช, มาตรา ๓๔-๓๕ ใน กฎหมายที่เกี่ยวกับผังภูมิวงจร และ มาตรา ๓๔ ในกฎหมาย
ที่เกี่ยวกับภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย

http://www.ipthailand.org/ipthailand/index.php?option=com_content&task=category&sectionid=21&id=207&Itemid=232 วันที่ ๗ สิงหาคม ๒๕๕๒

ประกาศคณะกรรมการกลางว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ เรื่อง การแจ้งค่าตอบแทน ต้นทุน ค่าใช้จ่าย หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขเกี่ยวกับการให้
สิทธิในการเผยแพร่งานลิขสิทธิ์เพลงเพื่อการค้า ลงวันที่ ๑๑ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๒
๑๐
การศึกษาซึง่ จ�ำกัดขอบเขตการวิจยั ในเรือ่ ง ยา เมล็ดพันธุพ์ ชื ซอฟแวร์ และหนังสือต�ำราเรียน โดยศูนย์วจิ ยั และพัฒนากฎหมาย คณะนิตศิ าสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,
โครงการศึกษาวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของกฎหมายทรัพย์สนิ ทางปัญญากับกฎหมายการแข่งขันทางการค้าและกฎหมายป้องกันการผูกขาด เสนอ กรมทรัพย์สนิ ทางปัญญา,
๒๕๕๑
๑๑
ส�ำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา, บันทึกส�ำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา เรื่อง อ�ำนาจการสอบสวนตามกฎหมายว่าด้วยการแข่งขันทางการค้า เรื่องเสร็จ
ที่ ๒๐๙/๒๕๕๒ เมษายน ๒๕๕๒

ไชยยศ เหมะรัชตะ
603
The Journal of the Royal lnstitute of Thailand

Volume 36 No. 4 Oct-Dec 2011

ส่วนที่ ๓ ปัญหาทางปฏิบัติที่เกิดจากตัว (๑) ผู้ยื่นค�ำขอและประสบความ เจ้าของอาจอ้างว่า เครื่องหมายที่ที่น�ำไป


กฎหมายและการบังคับใช้กฎหมาย ส�ำเร็จในการจดทะเบียนเครื่องหมายร่วม จดทะเบี ย นอนุญ าตให้ บุ ค คลภายนอก
๓.๑ ความพยายามในการ เกือบทัง้ หมดเป็นนิตบิ คุ คลประเภทบริษทั ใช้สิทธินนั้ เป็นเครื่องหมายการค้าทั้ง ๆ
บังคับใช้กฎหมายที่มีเนื้อหาไม่ชัดเจน จ�ำกัด โดยมีเพียง ๒๐ กว่ารายเท่านั้น ที่ มี ลั ก ษณะหรื อ รู ป ร่ า งแบบเดี ย วกั บ
กฎหมายทรั พ ย์ สิ น ทางปั ญ ญา และบางบริ ษั ท อ้ า งเหตุ ผ ลในการเป็ น เครื่ อ งหมายร่ ว มที่ จ ดทะเบี ย นไว้ แ ล้ ว
บางฉบั บ มี ก ารบั ญ ญั ติ ศั พ ท์ ซึ่ ง ไม่ มี “กลุ่มเดียวกัน” โดยเหตุที่มี “กรรมการ ก็ตาม ซึ่งไม่น่าจะถือได้ว่า การรับจด
ความหมายอธิ บ ายไว้ หรื อ มิ ได้ มี ก าร ร่วมกันเพียงหนึง่ คน” ทะเบี ย นในลั ก ษณะดั ง กล่ า วเป็ น การ
ศึกษาวัตถุประสงค์ที่แท้จริงของถ้อยค�ำ (๒) ผู ้ ยื่ น ค� ำ ขอจดทะเบี ย น ด�ำเนินการที่เป็นไปตามเจตนารมณ์ของ
ในตัวบทกฎหมายว่ามีความหมายเช่นใด เครือ่ งหมายร่วมบางราย ได้นำ� เครือ่ งหมาย กฎหมายแต่อย่างใด
หน่วยงานของรัฐทีเ่ กีย่ วข้องจ�ำเป็นจะต้อง เดียวกันนี้ไปจดทะเบียนเป็นเครื่องหมาย ๓.๒ ก า ร บั ง คั บ ต า ม ค� ำ
บังคับใช้กฎหมายเท่าที่จะท�ำได้ จึงก่อ การค้ า ซึ่ ง เจ้ า หน้ า ที่ ก รมทรั พ ย์ สิ น พิพากษาของศาล
ให้เกิดความลักลั่นและก่อให้เกิดปัญหา ทางปัญญาได้รบั จดทะเบียน และก�ำหนด ในบางกรณี มีการใช้ทรัพย์สิน
ต่อเนื่อง ตัวอย่างเช่น ให้ เ จ้ า ของเครื่ อ งหมายการค้ า และ ทางปั ญ ญาในลั ก ษณะที่ ทั บ ซ้ อ นกั บ
“เครื่องหมายร่วม” ตามพระราช เครื่องหมายร่วมจดทะเบียนเครื่องหมาย กฎหมายอื่น ๆ เช่น กฎหมายเรื่องชื่อ
บัญญัติเครื่องหมายการค้า พ.ศ. ๒๕๓๔ ทั้ ง สองประเภทเป็ น เครื่ อ งหมายชุ ด ของบุคคล ตามมาตรา ๑๘ แห่งประมวล
ได้ ให้ ค วามหมายว่ า เป็ น เครื่ อ งหมาย ดั ง นั้น เมื่ อ เจ้ า ของเครื่ อ งหมายการค้ า กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ เป็นต้น ซึ่งใน
การค้าหรือเครื่องหมายบริการที่ใช้หรือ และเครื่ อ งหมายร่ ว ม ซึ่ ง จดทะเบี ย น เรื่องนี้ กฎหมายได้วางหลักว่า เจ้าของ
จะใช้ โดยบริ ษั ท หรื อ วิ ส าหกิ จ ในกลุ ่ ม เครื่ อ งหมายชุ ด แล้ ว มี ค วามประสงค์ นามผู้เสื่อมเสียประโยชน์ จากการที่มี
เดี ย วกั น หรื อ โดยสมาชิ ก ของสมาคม จะโอนเครือ่ งหมายทัง้ สองประเภท จะต้อง ผู้อื่นมาใช้นามเดียวกันโดยไม่มีอ� ำนาจ
สหกรณ์ สหภาพ สมาพันธ์ กลุ่มบุคคล โอนเครื่องหมายทั้งสองประเภทดังกล่าว ตามกฎหมาย เจ้าของนามจะร้องขอต่อ
หรื อ องค์ ก รอื่ น ใดของรั ฐ หรื อ เอกชน นัน้ ไปพร้อมกัน จะโอนเฉพาะเครือ่ งหมาย ศาลให้สั่งห้ามการใช้นามนั้นก็ได้ ซึ่ง
และมาตรา ๙๔ ได้วางหลักต่อไปว่า ให้ ร่ ว ม หรื อ เครื่ อ งหมายการค้ า แต่ เพี ย ง ศาลไทยได้ขยายความของนามของบุคคล
น�ำหลักเกณฑ์ในเรื่องเครื่องหมายการค้า ประเภทเดียวไม่ได้๑๒ ให้รวมไปถึงชือ่ เครือ่ งหมายการค้าและชือ่
มาปรับใช้ทั้งหมด ยกเว้นการอนุญาตให้ นอกจากนี้ ตามกฎหมายนัน้ ได้ ทางการค้าด้วย โดยถือว่าเป็น “ค�ำเรียก
ใช้แก่บุคคลอื่น ประเด็นปัญหาที่เกิดขึ้น มีข้อจ�ำกัดไม่ให้น�ำเครื่องหมายร่วมไป ขาน” ถือเป็นชื่อบุคคลประเภทหนึง่
คื อ การที่ มิ ไ ด้ มี ค� ำ จ� ำ กั ด ความว่ า อนุญ าตให้ บุ ค คลอื่ น ใช้ ได้ แต่ ก ารน� ำ กรณี ดั ง กล่ า วเกิ ด ขึ้ น จากการที่
“กลุ่มเดียวกัน” มีความหมายเช่นใด จาก เครื่องหมายเดียวกันไปยื่นขอจดทะเบียน นิติ บุ ค คลหลายประเภท ไม่ ว ่ า จะเป็ น
การตรวจสอบข้อมูลของผู้ยื่นค�ำขอจด เพื่อให้เป็นทั้งเครื่องหมายการค้า และ ห้างหุ้นส่วนจ�ำกัด หรือบริษัท ได้น�ำเอา
ทะเบียนเครือ่ งหมายร่วมใน พ.ศ. ๒๕๕๐ เครือ่ งหมายร่วม ย่อมจะเห็นได้วา่ มีเจตนา เครื่องหมายการค้าที่มีชื่อเสียงแพร่หลาย
พบประเด็นที่น่าสนใจ ดังนี้ หลีกเลี่ยงกฎหมายในเรื่องนี้ เนื่องจาก ไปใช้ประกอบกับค� ำอื่น กลายเป็นชื่อ

๑๒
มาตรา ๑๔ ในกรณีที่เครื่องหมายการค้าที่ขอจดทะเบียนนัน้ จะใช้ส�ำหรับสินค้าจ�ำพวกเดียวกัน หรือต่างจ�ำพวกกันที่นายทะเบียนเห็นว่า มีลักษณะอย่าง
เดียวกันกับสินค้าทีใ่ ช้เครือ่ งหมายการค้าอีกเครือ่ งหมายหนึง่ ทีไ่ ด้จดทะเบียนไว้แล้ว หรือทีอ่ ยูใ่ นระหว่างการขอจดทะเบียนของเจ้าของเดียวกัน ถ้านายทะเบียนเห็นว่า
เครือ่ งหมายการค้าเหล่านัน้ เหมือนกัน หรือคล้ายกันจนถึงกับว่า ถ้าหากบุคคลอืน่ จะเป็นผูใ้ ช้เครือ่ งหมายการค้าทีข่ อจดทะเบียนนัน้ แล้ว ก็อาจจะเป็นการท�ำให้สาธารณชน
สับสนหรือหลงผิดในความเป็นเจ้าของของสินค้าหรือแหล่งก�ำเนิดของสินค้า ให้นายทะเบียนมีค�ำสั่งให้จดทะเบียนเครื่องหมายการค้าเหล่านัน้ เป็นเครื่องหมายชุด...”

ปัญหาบางประการในการบังคับใช้กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา
604
วารสารราชบัณฑิตยสถาน
ปีที่ ๓๖ ฉบับที่ ๔ ต.ค.-ธ.ค. ๒๕๕๔

ของนิติบุคคล ตัวอย่างเช่น ห้างหุ้นส่วน สิ ท ธิ ที่ ไม่ สุ จ ริ ต และศาลจะพิ พ ากษา ร้องขอนายทะเบียนห้างหุ้นส่วนบริษัท


จ�ำกัด XXX เป็นต้น เมื่อเจ้าของนาม ตามค�ำขอท้ายฟ้อง เพื่อห้ามนิติบุคคล ลบชื่อหรือเปลี่ยนแปลงชื่อเป็นอย่างอื่น
เหล่านัน้ มาฟ้องร้องต่อศาล ศาลจะถือว่า เหล่านั้นใช้ชื่อที่เป็นเครื่องหมายการค้า เนื่ อ งจากไม่ มี ร ะเบี ย บหรื อ หลั ก เกณฑ์
การที่นติ ิบุคคลเหล่านี้ใช้สิทธิในเรื่องชื่อ นั้น๑๓ อย่างไรก็ตาม ในการบังคับตาม รองรั บ ซึ่ ง ในท้ า ยสุ ด นายทะเบี ย นก็
ของบุคคลโดยการน�ำเครื่องหมายการค้า ค� ำ พิ พ ากษาของศาลจะพบว่ า หาก ด�ำเนินการได้แต่เพียงบันทึกเป็นหมายเหตุ
ของผู้อื่นซึ่งมีชื่อเสียงแพร่หลาย ไปเป็น นิตบิ คุ คลทีแ่ พ้คดีนนั้ ไม่ไปด�ำเนินการจด ท้ายหนังสือรับรอง ในท�ำนองว่า
ชื่อของนิติบุคคลนั้น หรือน�ำไปใช้เป็น ทะเบียนเปลี่ยนแปลงชื่อเป็นประการอื่น
ส่ ว นหนึ่ง ของชื่ อ นิติ บุ ค คลเป็ นการใช้ โจทก์ผู้ชนะคดี ก็ไม่อาจจะไปด�ำเนินการ

“ศาลทรัพย์สนิ ทางปัญญาและการค้าระหว่างประเทศกลาง ได้มคี �ำพิพากษาเมือ่


วันที่ กรกฎาคม ๒๕๔๓ ห้ามมิให้ ห้างหุ้นส่วนนี้ใช้ชื่อ...เป็นชื่อห้างอีกต่อไป”

นิติ บุ ค คลที่ แพ้ ค ดี เนื่ อ งจากศาล บทสรุปและข้อเสนอแนะ ควรแก้ไขโดยการศึกษาความรู้พื้นฐาน


พิพากษาว่าใช้สิทธิในชื่อบุคคลไม่สุจริต ปั ญ หาทางปฏิ บั ติ ส ่ ว นใหญ่ เ กิ ด ในเรื่องทรัพย์สินทางปัญญาอย่างจริงจัง
เหล่านี้ บางรายก็ยินยอมเปลี่ยนชื่อ บาง จากความไม่เข้าใจพื้นฐานในทรัพย์สิน และสร้างระบบกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับ
ราย ผู้บริหารก็ปล่อยให้ถูกทิ้งร้างโดยชื่อ ทางปั ญ ญา โดยเฉพาะในประเด็ น ความหมาย การบังคับใช้สทิ ธิ สิทธิของคู่
ดังกล่าวยังคงอยู่ในระบบฐานข้อมูลชื่อ วั ต ถุ ป ระสงค์ ประกอบกั บ ความไม่ สมรส การตกทอดสู่ทายาท ฯลฯ เพื่อให้
นิติบุคคลของกรมพัฒนาธุรกิจการค้าต่อ สมบูรณ์ของบทกฎหมาย และมาตรการ เกิดความสมบูรณ์ และสามารถปกป้อง
ไป๑๔ แต่อย่างไรก็ตาม บางนิตบิ คุ คลยังคง รองรั บ ที่ ไ ม่ เ พี ย งพอในการบั ง คั บ ใช้ ประโยชน์ของสังคมได้อย่างแท้จริง
ประกอบกิจการปกติ และคงชือ่ ทีใ่ ช้สทิ ธิ กฎหมาย ดังนัน้ ก่อนที่ประเทศไทยจะ
ไม่สุจริตต่อไป เพราะเหตุที่ไม่มีระเบียบ ก้าวต่อไปในการอนุวัติกฎหมายในกลุ่ม
หรือหลักเกณฑ์แก้ไขปัญหาในลักษณะ ทรัพย์สินทางปัญญา เพื่อให้เป็นไปตาม
ดังกล่าว พันธะกรณีที่มีอยู่กับนานาประเทศ จึง

๑๓
ตัวอย่างเช่น คดีหมายเลขด�ำ ที่ ทป. ๑๓๒/๒๕๔๔ คดีหมายเลขแดงที ่ ๑๒๑/๒๕๔๕ คดีหมายเลขด�ำ ที่ ทป. ๑๐๓/๒๕๔๖ คดีหมายเลขแดงที่ ๒๙/๒๕๔๘
และ ค�ำพิพากษาศาลฎีกาที่ ๕๔๒/๒๕๔๖
๑๔
เมื่อมีการปรับปรุง ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ใน พ.ศ. ๒๕๕๑ ซึ่งก�ำหนดให้นติ ิบุคคลสิ้นสภาพนิติบุคคลตั้งแต่เมื่อนายทะเบียนขีดชื่อออกเสียจาก
ทะเบียน (มาตรา ๑๒๗๓/๓) ไม่ใช่เพียงเลิกกัน ชื่อของนิติบุคคลรายดังกล่าว จึงถูกลบออกจากระบบ

ไชยยศ เหมะรัชตะ
605
The Journal of the Royal lnstitute of Thailand

Volume 36 No. 4 Oct-Dec 2011

Abstract Problems of Intellectual Property Law Enforcement


Chaiyos Hemarajata
Fellow of the Academy of Moral and Political Sciences, The Royal Institute, Thailand

Despite Thailand has been enforcing a series of intellectual property laws since 1902,
initially with the Proprietary Right of Author Act R.E. 120. However, the era of determined
enforcement has come only after the enactment of the Copyright Act B.E. 2521 in the past 30 years. Most
of the laws were enacted with the primary purpose of implementing international treaties; for example, the
Berne Convention for the Protection of Literaryand Artistic Works and recently the Agreement on Trade
Related Aspects of Intellectual Propety Rights (TRIPs) and TRIPs–PLUS (which provide protection to intellectual
properties beyond ordinary cognition of common Thais, for instance, the protection of trademark
that cannot be seen by eyes e.g. sound, scent, taste, etc.). There is also a proposal for the imposition
of criminal liabilities on purchasers of piracy products which demonstrates the utmost endeavor of govern-
ment agencies to act in accordance with those international obligations.

This article is a report on the result of study on problems arisen out of intellectual
property law enforcement-both facts and comments from the author-in order that any interested
person could utilize information contained herein for further development of the law. It is apparent
that most of the practical problems came from lack of fundamental understanding of the
purposes of intellectual property laws; and the current provisions available are insufficient for the
enforcement thereof. Therefore, these flaws should be systematically studied and corrected
in order to improve Thailand’s capability of enforcing those provisions for the highest benefit
of the society before implementing any further obligations toward other nations.

ปัญหาบางประการในการบังคับใช้กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา
606
วารสารราชบัณฑิตยสถาน
ปีที่ ๓๖ ฉบับที่ ๔ ต.ค.-ธ.ค. ๒๕๕๔

สุวิมล ตั้งประเสริฐ*

บทคัดย่อ
การจัดการแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรในจังหวัดนครราชสีมาอย่างยั่งยืนภายใต้หลักปรัชญาเศรษฐกิจ
พอเพียง ใช้กระบวนการแบบมีสว่ นร่วมเพือ่ แสวงหาแนวทาง และกระบวนการด�ำเนินงานของกลุม่ ผูป้ ระกอบอาชีพ
การท่องเที่ยวเชิงเกษตร ซึ่งผลดังกล่าวจะท�ำให้การท่องเที่ยวเชิงเกษตรในจังหวัดนครราชสีมาเป็นแหล่งรองรับ
นักท่องเทีย่ วเชิงเกษตรได้อย่างยัง่ ยืน ผลการวิจยั พบว่า ๑) ได้ระบบฐานข้อมูลการท่องเทีย่ วเชิงเกษตรเพือ่ การพัฒนา
แหล่งท่องเทีย่ วเชิงเกษตรในพืน้ ทีจ่ งั หวัดนครราชสีมา จ�ำนวน ๘ ประเด็นคือ สถานทีต่ งั้ ผูป้ ระกอบการ กิจกรรม
การท่องเทีย่ ว ช่วงเวลาทีเ่ หมาะสมในการท่องเทีย่ ว สินค้าของฝากและของทีร่ ะลึก สถานทีท่ อ่ งเทีย่ วใกล้เคียง แผนที่
การเดินทาง และการวิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรค ๒) การจัดท�ำกลยุทธ์การพัฒนาการท่องเที่ยว
เชิงเกษตร ได้กลยุทธ์การพัฒนาการท่องเทีย่ วเชิงเกษตร ในแต่ละพืน้ ทีค่ รบทัง้ ๕ อ�ำเภอ จ�ำนวน ๔ ด้านคือ ด้านการ
พัฒนาบุคลากร ด้านการเงิน ด้านการผลิต และด้านการตลาด ๓) การสร้างเครือข่ายการท่องเที่ยวเชิงเกษตร
ในจังหวัดนครราชสีมา พบว่าได้เครือข่ายการท่องเที่ยวเชิงเกษตรในจังหวัดนครราชสีมา จ�ำนวน ๑ เครือข่าย
พร้อมทั้งกลยุทธ์ของเครือข่าย จ�ำนวน ๔ ด้านคือ ด้านการพัฒนาบุคลากร ด้านการเงิน ด้านการผลิต และด้าน
การตลาด ๔) การจัดท�ำตัวชี้วัดความส�ำเร็จและความล้มเหลวของการท่องเที่ยวเชิงเกษตรในจังหวัดนครราชสีมา
ตามแนวทางของหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง พบว่ามี ๑๐ ปัจจัยที่ส�ำคัญ ได้แก่ นโยบายของภาครัฐ การ
ประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยวเชิงเกษตร แหล่งท่องเที่ยวใกล้เคียง ระยะทางในการเดินทางหน่วยงานภาครัฐใน
ท้องถิ่น สถาบันการศึกษา ผู้ประกอบการ กิจกรรมของการท่องเที่ยวเชิงเกษตรค่านิยมของนักท่องเที่ยว และค่า
ใช้จ่ายในการท่องเที่ยวเชิงเกษตร

ค�ำส�ำคัญ : การจัดการ, แหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตร, หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

ความส�ำคัญและความเป็นมา ประการแรก คื อ การท่ อ งเที่ ย วเป็ น ท่องเที่ยวเป็นแหล่งที่มาของเงินตราต่าง


ปัจจุบันประเทศต่าง ๆ ได้หันมา สาขาเศรษฐกิ จ ที่ มี ค วามเจริ ญ เติ บ โต ประเทศที่ส�ำคัญ ประการที่ ๔ ความ
ก�ำหนดให้การท่องเที่ยวเป็นเป้าหมาย อย่างรวดเร็ว ประการที่ ๒ รายได้ของ ยืดหยุน่ รายได้จากการท่องเทีย่ วมีคา่ ค่อน
หนึ่ ง ของการพั ฒ นาเศรษฐกิ จ ซึ่ ง ก็ รัฐในรูปภาษีจากการท่องเที่ยวเพิ่มขึ้น ข้างสูง และประการสุดท้ายการท่องเทีย่ ว
สื บ เนื่ อ งมาจากเหตุ ผ ลหลายประการ อย่างรวดเร็วเช่นกัน ประการที่ ๓ การ เป็นอุตสาหกรรม ทีใ่ ช้แรงงานมากจึงเป็น

*
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ประจ�ำคณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา

สุวิมล ตั้งประเสริฐ
607
The Journal of the Royal lnstitute of Thailand

Volume 36 No. 4 Oct-Dec 2011

แหล่งรายได้และการจ้างงานทีส่ �ำคัญของ ทั่วประเทศก�ำลังเผชิญกับปัญหาวิกฤต มาประเทศไทย ๑o.๖ ล้ า นคน ใน


คนในประเทศ (ชัยวุฒิ ชัยพันธ์. ๒๕๔๒ : ในด้านของความยากจนและปัญหาความ จ� ำ นวนนี้ มี นั ก ท่ อ งเที่ ย วที่ ม าเยื อ นภาค
๑๙) เสื่ อ มโทรมของทรั พ ยากรธรรมชาติ ตะวั น ออกเฉี ย งเหนื อ ๖.๘ แสนคน
เนือ่ งจากประเทศไทยเป็นประเทศ การท่องเที่ยวเชิงเกษตรจึงน่าจะเป็นส่วน เมื่ อ พิ จ ารณาเป็ น รายจั ง หวั ด พบว่ า
เกษตรกรรม ประชากรทุกภาคส่วนใหญ่ หนึ่งในการแก้ปัญหาที่ควรได้รับการส่ง จั ง หวั ด ที่ มี นั ก ท่ อ งเที่ ย วนิ ย มเดิ น ทาง
มีอาชีพการเกษตร ซึ่งประเทศไทยเคย เสริมและสนับสนุนเป็นอย่างยิ่ง เข้ า มาท่ อ งเที่ ย วส่ ว นใหญ่ เ ป็ น จั ง หวั ด
ตั้งความหวังไว้ว่าภาคการเกษตรจะเป็น ทั้งนี้ การท่องเที่ยวเชิงเกษตร คือ หลักของภูมิภาค ได้แก่ นครราชสีมา
สาขาเศรษฐกิ จ ที่ ป ระเทศไทยมี ค วาม การเดินทางท่องเที่ยวไปยังพื้นที่ชุมชน ขอนแก่น อุดรธานี อุบลราชธานี และ
ได้ เ ปรี ย บและจะใช้ โ อกาสดั ง กล่ า ว เกษตรกรรม สวนเกษตร วนเกษตร จั ง หวั ด ชายแดนซึ่ ง ได้ แ ก่ หนองคาย
สร้ า งความกิ น ดี อ ยู ่ ดี ใ ห้ กั บ เกษตรกร สวนสมุนไพร ฟาร์มปศุสตั ว์และสัตว์เลีย้ ง นครพนม มุกดาหาร และเลย นักท่อง
แต่ปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นกับตรงกันข้าม แหล่งเพาะเลี้ยงสัตว์น�้ำต่าง ๆ สถานที่ เที่ยวส่วนใหญ่นิยมท่องเที่ยวในจังหวัด
อันเนื่องมาจากการเกิดวิกฤตเศรษฐกิจ ราชการ ตลอดจนสถาบันการศึกษาที่มี นครราชสีมาเป็นอันดับหนึ่ง และรอง
ท� ำ ให้ ก ารประกอบอาชี พ เกษตรกรรม งานวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีการผลิต ลงมาคือจังหวัดขอนแก่น อุดรธานี และ
ของชุมชนและการผลิตอาหาร มีรายได้ ทางการเกษตรที่ ทั น สมั ย เพื่ อ ชื่ น ชม อุบลราชธานีตามล�ำดับ โดยนักท่องเทีย่ ว
ไม่เพียงพอต่อการเลี้ยงครอบครัว ดังนั้น ความสวยงามความส�ำเร็จและเพลิดเพลิน ส่วนใหญ่เป็นนักท่องเที่ยวมาจากทวีป
รัฐบาลจึงได้ประกาศใช้แผนยุทธศาสตร์ ในกิ จ กรรมทางการเกษตรในลั ก ษณะ ยุโรป และเอเชีย ทั้งนี้เนื่องจากจังหวัด
ส่ ง เสริ ม การเกษตรโดยการจั ด ท� ำ ต่าง ๆ ได้ความรูป้ ระสบการณ์ใหม่ ๆ บน นครราชสีมา เป็นศูนย์กลางตลาดการ
โครงการท่ อ งเที่ ย วเชิงเกษตร (Agro- พื้นฐานความรับผิดชอบและมีจิตส�ำนึก ประชุมภูมภิ าค เป็นประตูสภู่ าคตะวันออก
Tourism) เพื่อส่งเสริมอาชีพและสร้าง ต่อการรักษาสภาพแวดล้อมของสถานที่ เฉียงเหนือ
รายได้ ใ ห้ เ กษตรกร และน� ำ ไปสู ่ ก าร นั้นภาคตะวันออกเฉียงเหนือเป็นภูมิภาค
พัฒนาอย่างยัง่ ยืนทัง้ ด้านอาชีพการเกษตร หนึ่ ง ของประเทศที่ มี ป ระชากรยากจน
และการท่ อ งเที่ ย วไปพร้ อ ม ๆ กั น อยู่เป็นจ�ำนวนมาก แต่ก็เป็นภูมิภาคหนึ่ง
นอกจากนี้ ก ารท่ อ งเที่ ย วเชิ ง เกษตรยั ง ทีม่ กี ารท่องเทีย่ วคุณภาพสูง เนือ่ งจากเป็น
ท� ำ ให้ เ กิ ด ขบวนการปรั บ ตั ว ทางสั ง คม พื้นที่ที่มีทรัพยากรที่มีความหลากหลาย
ในระดับชุมชนกับสภาวการณ์ที่เปลี่ยน โดยเน้นศักยภาพทางด้านการท่องเที่ยว
ไปอย่างต่อเนื่อง โดยชุมชนมีส่วนร่วม ธรรมชาติ การผจญภัย หรือแหล่งท่องเทีย่ ว
ในการจัดการท่องเที่ยวมากขึ้น อีกทั้ง เชิงเกษตร ประวัตศิ าสตร์ และวัฒนธรรม
ชุมชนและนักท่องเทีย่ วมีสว่ นร่วมในการ จากจ� ำ นวนตั ว เลขนั ก ท่ อ งเที่ ย วที่ เ ดิ น
เรียนรู้ซึ่งกันและกัน ซึ่งสอดคล้องกับ ทางเข้ามาในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
นโยบายของรัฐบาลที่พยายามพัฒนาการ ในปี ๒๕๕๑ มีนักท่องเที่ยวชาวไทย
ท่องเที่ยว เพื่อกระจายรายได้ไปสู่ชุมชน ที่ ม าเยื อ นภาคตะวั น ออกเฉี ย งเหนื อ
ให้เกิดความยั่งยืน และให้ความส�ำคัญ ประมาณ ๑๔.๑๕ ล้ า นคน มากเป็ น การจัดการท่องเที่ยวเชิงเกษตรอย่างยั่งยืน
แก่ ชุ ม ชนให้ เ ข้ า มามี ส ่ ว นร่ ว มในการ อันดับ ๓ รองจากจ�ำนวนนักท่องเที่ยว ภายใต้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ณ
บุไทรโฮมสเตย์ อ�ำเภอวังน�้ำเขียว จังหวัด
ส่งเสริมการท่องเที่ยวด้วยตนเอง ดังนั้น ชาวไทยทีม่ าเยือนภาคกลาง ๑๖.๒ ล้านคน นครราชสีมา
ในสภาวะที่ ชุ ม ชนชนบทหลายแห่ ง และมี นั ก ท่ อ งเที่ ย วต่ า งชาติ ที่ เ ดิ น ทาง

การจัดการแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรในจังหวัดนครราชสีมา
อย่างยั่งยืนภายใต้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
608
วารสารราชบัณฑิตยสถาน
ปีที่ ๓๖ ฉบับที่ ๔ ต.ค.-ธ.ค. ๒๕๕๔

จังหวัดนครราชสีมา ได้ก�ำหนด ดังนั้นการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงเกษตร ความจ�ำเป็นที่จะต้องมีระบบภูมิคุ้มกัน


วิสัยทัศน์เพื่อพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ให้ ส อดคล้ อ งกั บ วิ ถี ชี วิ ต ของชาวบ้ า น ใ น ตั ว ที่ ดี พ อ ส ม ค ว ร ต ่ อ ก า ร มี ผ ล
คือ “ประตูสู่อีสาน ศูนย์กลางการผลิต ในพื้นที่ รวมทั้งเชื่อมโยงยุทธศาสตร์ กระทบใด ๆ อันเกิดจากการเปลีย่ นแปลง
สิ น ค้ า เกษตร อุ ต สาหกรรม ผ้ า ไหม การพั ฒ นาจั ง หวั ด นครราชสี ม า และ ภายนอกและภายใน ทั้งนี้จะต้องอาศัย
และการท่ อ งเที่ ย ว” ทั้ ง นี้ ใ นส่ ว นของ ยุทธศาสตร์ของประเทศ ตามแนวทาง ความรอบรู้ ความรอบคอบ และความ
การท่องเที่ยวจังหวัดนครราชสีมา ได้ ของหลัก “ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง” ระมัดระวังอย่างยิง่ ในการน�ำวิชาการต่าง ๆ
จั ด ท� ำ แผนยุ ท ธศาสตร์ ก ารพั ฒ นาการ จึงเป็นสิ่งจ�ำเป็นที่ท�ำให้การท่องเที่ยวใน มาใช้ในการวางแผนและการด�ำเนินการ
ท่องเทีย่ วจังหวัดนครราชสีมาโดยก�ำหนด จังหวัดนครราชสีมายั่งยืนต่อไป ทุ ก ขั้ น ตอน และในขณะเดี ย วกั น ต้ อ ง
เป้าประสงค์ของจังหวัดคือ เพื่อเสริม เสริมสร้างพื้นฐานจิตใจของคนในชาติ
สร้ า งศั ก ยภาพของการพั ฒ นาจั ง หวั ด หลักการและแนวคิด โดยเฉพาะเจ้าหน้าทีข่ องภาครัฐ นักทฤษฎี
สู่การเป็นศูนย์กลางการท่องเที่ยวของ เศรษฐกิ จ พอเพี ย งเป็ น ปรั ช ญา และนักธุรกิจในทุกระดับให้มคี วามส�ำนึก
ภาคตะวั น ออกเฉี ย งเหนื อ ซึ่ ง จั ง หวั ด ทีช่ แี้ นวทางในการด�ำรงอยูแ่ ละการปฏิบตั ิ ในคุณธรรม ความซื่อสัตย์ และการให้
นครราชสี ม าได้ ก� ำ หนดกลยุ ท ธ์ ห ลั ก ของประชาชนทุ ก ระดั บ ตั้ ง แต่ ร ะดั บ มี ค วามรอบรู ้ ที่ เ หมาะสม ด�ำ เนิ น ชี วิ ต
ในการพัฒนาการท่องเที่ยวคือ การส่ง ครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ ด้วยความอดทน ความเพียร มีสติปัญญา
เสริมการตลาดการท่องเที่ยว โดยเฉพาะ ทั้งในการพัฒนาและบริหารประเทศ ให้ และความรอบคอบเพื่อให้สมดุล และ
ในการท่องเที่ยวเชิงเกษตรด้วยการส่ง ด�ำเนินไปในทางสายกลาง โดยเฉพาะการ พร้ อ มต่ อ การรองรั บ การเปลี่ ย นแปลง
เสริมให้มีนักข่าวบริษัทน�ำเที่ยวหรือผู้ที่ พัฒนาเศรษฐกิจเพื่อให้ก้าวทันต่อโลก อย่างรวดเร็วและกว้างขวาง ทั้งด้านวัตถุ
มี ชื่ อ เสี ย งน� ำ ไปขยายผลต่ อ เพื่ อ เป็ น ยุคโลกาภิวัตน์ ความพอเพียง หมายถึง สังคม สิง่ แวดล้อม และวัฒนธรรมจากโลก
การส่งเสริมการท่องเที่ยว (Fam Trip) ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึง ภายนอกได้อย่างดี (สุนยั เศรษฐ์บญ ุ สร้าง.
๒๕๔๙ : ๑๐-๑๑)
การพั ฒ นาตามหลั ก เศรษฐกิ จ
พอเพียงคือ การพัฒนาทีต่ งั้ อยูบ่ นพืน้ ฐาน
ของทางสายกลาง และความไม่ประมาท
โดยค� ำ นึ ง ถึ ง ความพอประมาณ ความ
มีเหตุผล การสร้างภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว
ตลอดจนใช้ความรู้ ความรอบคอบ และ
คุ ณ ธรรม ประกอบการวางแผน การ
ตัดสินใจและการกระท� ำ (ส� ำนั ก คณะ
กรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคม
แห่งชาติ. ๒๕๔๙ : ๑๑) ซึ่งได้น�ำมา
ประยุกต์ใช้กับการท่องเที่ยวเชิงเกษตร
ให้เจริญเติบโตอย่างยั่งยืนภายใต้หลัก
ปรั ช ญาเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง แสดงได้
การจัดการท่องเที่ยวเชิงเกษตรอย่างยั่งยืนภายใต้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ณ สวนผัก ดังภาพประกอบ ๑
หวานป่า อ�ำเภอโชคชัย จังหวัดนครราชสีมา

สุวิมล ตั้งประเสริฐ
609
The Journal of the Royal lnstitute of Thailand

Volume 36 No. 4 Oct-Dec 2011

กลยุทธ์การพัฒนา
การท่องเทีย่ วเชิงเกษตร
ระบบฐานข้อมูล ๔ ด้าน คือ การสร้าง ตัวชีว้ ดั ความส�ำเร็จ การจัดการ
การท่องเที่ยว ๑. การพัฒนาบุคลากร เครือข่าย และความล้มเหลว แหล่ ง ท่ อ งเที่ ย ว
เชิงเกษตร ๒. การเงิน การท่องเที่ยว ของการท่องเที่ยว เชิงเกษตร
๓. การผลิต เชิงเกษตร เชิงเกษตร อย่างยั่งยืน
๔. การตลาด

หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

ทางสายกลาง

พอประมาณ

มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกัน

เงื่อนไขความรู้ เงื่อนไขคุณธรรม
รอบรู้ รอบคอบ ระมัดระวัง ซื่อสัตย์ สุจริต ขยัน อดทน แบ่งปัน

น�ำสู่

ชีวิต เศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม

สมดุล/มั่นคง/ยั่งยืน

ภาพประกอบ ๑ การจัดการแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรอย่างยั่งยืนภายใต้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

การจัดการแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรในจังหวัดนครราชสีมา
อย่างยั่งยืนภายใต้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
610
วารสารราชบัณฑิตยสถาน
ปีที่ ๓๖ ฉบับที่ ๔ ต.ค.-ธ.ค. ๒๕๕๔

จากภาพประกอบ ๑ การจัดการ ของการท่องเที่ยวเชิงเกษตรตามแนวทาง เศรษฐกิ จ ทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละ


แหล่ ง ท่ อ งเที่ ย วเชิ ง เกษตรอย่ า งยั่ ง ยื น ของหลั ก ปรั ช ญาเศรษฐกิ จ พอเพี ย งมี สิ่งแวดล้อม และเทคโนโลยี ให้ความ
ภายใต้ ห ลั ก ปรั ช ญาเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง รายละเอียดดังนี้ ส� ำ คั ญ กั บ การมี ผ ลก� ำ ไรในระดั บ ที่
อธิ บ ายได้ ว ่ า การใช้ ก ระบวนการแบบ ส่วนที่ ๑ หลักปรัชญาเศรษฐกิจ เหมาะสมและน�ำผลก�ำไรที่เกิดขึ้นไปใช้
มี ส ่ ว นร่ ว มเพื่ อ แสวงหาแนวทางและ พอเพียง ส�ำนักงานคณะกรรมการพิเศษ ในการพัฒนาด้านอื่น ๆ การเจริญเติบโต
กระบวนการด� ำ เนิ น งานของกลุ ่ ม ผู ้ เพื่อประสานงานโครงการเนื่องมาจาก ขององค์กรเติบโตอย่างเป็นขั้นเป็นตอน
ประกอบอาชีพการท่องเที่ยวเชิงเกษตร พระราชด�ำริ (๒๕๕๐ : ๓) ได้อธิบายถึง โตขึ้นอยู่กับความสามารถภายในองค์กร
โดยน� ำ ระบบฐานข้ อ มู ล การท่ อ งเที่ ย ว การน�ำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไป มี ก ารพิ จ ารณาถึ ง ผลกระทบที่ เ กิ ด ขึ้ น
เชิ ง เกษตรที่ ไ ด้ รั บ ไปใช้ เ พื่ อ ก� ำ หนด ใช้ในการบริหารกิจการ ไว้ว่า ในกระบวนการผลิตที่ไม่ก่อให้เกิดการ
กลยุทธ์การพัฒนาการท่องเทีย่ วเชิงเกษตร ๑. ความประมาณ คือการด�ำเนิน เบียดเบียนทัง้ ต่อผูม้ สี ว่ นได้ เสียในกิจการ
จ�ำนวน ๔ ด้านคือ ๑. การพัฒนาบุคลากร ธุรกิจโดยยึดหลักความพอดี พอประมาณ และผู ้ มี ส ่ ว นได้ ส ่ ว นเสี ย นอกกิ จ การ
๒. การเงิน ๓. การผลิต ๔. การตลาด ไม่ ม ากเกิ น ไป และพอเพี ย ง ไม่ น ้ อ ย ส่วนต่าง ๆ รวมทั้งเรื่องการให้บริการ มี
ในแต่ละพื้นที่และการสร้างเครือข่ายการ เกินไป ไม่เบียดเบียนธุรกิจของตนเอง การวางแผนการบริหารจัดการทรัพยากร
ท่องเที่ยวเชิงเกษตร สุดท้ายคือการจัด และของผู้อื่น โดยมีการกระจายความ มนุษย์ที่เหมาะสม มีการบริหารจัดการ
ท�ำตัวชี้วัดความส�ำเร็จและความล้มเหลว พอดีเป็น ๕ ข้อได้แก่ ด้านจิตใจ สังคม ค่าจ้างและสวัสดิการที่เน้นความสมดุล

การจัดการท่องเที่ยวเชิงเกษตรอย่างยั่งยืนภายใต้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ณ สวนเกษตรผสมผสาน อ�ำเภอขามสะแกแสง จังหวัด


นครราชสีมา

สุวิมล ตั้งประเสริฐ
611
The Journal of the Royal lnstitute of Thailand

Volume 36 No. 4 Oct-Dec 2011

และตอบสนองผลประโยชน์ที่เป็นธรรม เลี่ยงหรือป้องกันบรรเทาไว้แล้วก็ตาม มี และไหลเวียนของความรู้ในองค์กรส่ง


แก่ ผู ้ ถื อ หุ ้ น และพนั ก งานทุ ก คนใช้ การจัดท�ำแผนและแนวทางในการพัฒนา เสริมสังคมแห่งการเรียนรู้ในหน่วยงาน
ทรัพยากรทีม่ อี ยูใ่ นพืน้ ทีใ่ ห้เกิดประโยชน์ พนักงานและครอบครัว โดยมีจุดมุ่งเน้น จัดระบบการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับการ
สูงสุด ทัง้ ในด้านการผลิตหรือการบริโภค ในด้ า นการสร้ า งสุ ข ภาวะที่ ดี ค วาม พัฒนาพนักงานในแต่ละระดับ ส่งเสริม
หรือการใช้ประโยชน์อื่น ๆ ปลอดภัยในการด�ำรงชีวิตและการสร้าง กระบวนการเผยแพร่ปรัชญาเศรษฐกิจ
๒. ความมีเหตุผล คือการด�ำเนิน รายได้เพิ่มขึ้นแก่พนักงานและครอบครัว พอเพียงมาประยุกต์ใช้กบั พนักงานชุมชน
ธุรกิจด้วยสติปัญญา ใช้ความคิดอย่าง มี ก ารจั ด ท� ำ โครงสร้ า งด้ า นสั ง คมและ องค์ ก รธุ ร กิ จ และสั ง คมเปิ ด โอกาสให้
รอบคอบด้ ว ยข้ อ มู ล และเหตุ ผ ลที่ สิ่ ง แวดล้ อ มที่ ชั ด เจนและต่ อ เนื่ อ งและ หน่วยงานภายนอกได้เข้ามาศึกษาและ
เหมาะสม ระมัดระวัง ตระหนักต่อการ มี ค วามรั บ ผิ ด ชอบต่ อ สั ง คม ซึ่ ง แสดง แลกเปลี่ยนประสบการณ์การด�ำเนินงาน
ไม่สามารถควบคุมปัจจัยภายนอกได้มาก ให้เห็นได้อย่างชัดเจน มีการวิเคราะห์ มีโครงการส่งเสริมความรู้แก่พนักงาน
นักและไม่สามารถมีปัจจัยภายในได้มาก ประสบการณ์ทางธุรกิจและสิ่งแวดล้อม ในหน่วยงาน
หรื อ เท่ า ที่ ต ้ อ งการให้ ค วามสนใจหรื อ ต่อเนื่องมีการวางแผนการปรับตัวเพื่อ ๕. มี คุ ณ ธรรม คื อ การด� ำ เนิ น
ใส่ใจกับผู้ส่วนได้ส่วนเสียทุกคน เช่น รองรั บ กระแสการเปลี่ ย นแปลงโลกา- ธุรกิจด้วยคุณธรรมจริยธรรมไม่เบียดเบียน
พนักงาน คู่ค้า ลูกค้า และประชากรใน ภิ วั ต น์ ค วามผั น ผวนทางเศรษฐกิ จ ของ ผู้เกี่ยวข้องกับธุรกิจของตนเอง และไม่
อนาคต เห็นคุณค่าหรือความส�ำคัญของ ประเทศ ส่ ง เสริ ม การมี ส ่ ว นร่ ว มของ เบียดเบียนธุรกิจของผู้อื่น มีการปฏิบัติ
พนั ก งานในองค์ ก ร มี ค วามรอบคอบ พนั ก งานในการด� ำ เนิ น กิ จ การต่ า ง ๆ ต่อผู้เกี่ยวข้อง ซื่อสัตย์และรับผิดชอบ
ในการตัดสินใจโดยค�ำนึงถึงผลกระทบ ทั้ ง ระดั บ ภายในและภายนอกองค์ ก ร ต่อสังคมส่วนรวม ส่งเสริมกระบวนการ
ที่อาจจะเกิดขึ้นอย่างมีเหตุผล สามารถ รวมทัง้ การให้ความร่วมมือในการท�ำงาน พั ฒ นาบุ ค ลากรทั้ ง ด้ า นคุ ณ ภาพและ
บริหารจัดการความสัมพันธ์ของมิติการ เพื่ อ สั ง คมกั บ หน่ ว ยงานภาครั ฐ และ คุณธรรม มีสัมมาอาชีวะ มีความซื่อสัตย์
ท�ำงานด้านต่าง ๆ เพื่อน�ำไปสู่การเจริญ ภาคสังคมอื่น ๆ และมีความขยันหมั่นเพียรในการท�ำงาน
เติบโตทีม่ นั่ คง (Growth) ของกิจการผลิต ๔. มี ค วามรู ้ คื อ ความสามารถ มี ห ลั ก การและจริ ย ธรรมที่ ดี ท างธุ ร กิ จ
สินค้าและบริการที่มีคุณภาพ สามารถ คาดการณ์ สามารถตรวจสอบและ ส่งเสริมคุณธรรมและศาสนาแก่พนักงาน
ใช้ เ ทคโนโลยี ที่ เ หมาะสมในการสนั บ ประเมิ น สถานการณ์ เพื่ อ เตรี ย มรั บ มีวิสัยทัศน์ในการมองมนุษย์ในฐานะที่
สนุนการท�ำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ประโยชน์จากโอกาส และโทษจากความ เป็นมนุษย์มใิ ช่เครือ่ งจักรในระบบโรงงาน
บริหารจัดการใช้ประโยชน์จากพลังงาน เสี่ยงต่าง ๆ ในการด�ำเนินธุรกิจ เน้นการ ที่ขาด ซึ่งคุณภาพชีวิต (อภิชัย พันธเสน,
ต่าง ๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุดมี พัฒนาศักยภาพภายในองค์กรโดยเฉพาะ สรวิชญ์ เปรมชื่น, และพิเชษฐ์ เกียรติ
การวางแผนการลงทุน อย่างยิ่งการส่งเสริมความรู้และทักษะ ปัญญา. ๒๕๔๖ : ๒๕๙) ได้อธิบายว่า
๓. การมี ภู มิ คุ ้ ม กั น คื อ ความ ของพนักงานน�ำความรู้และวิชาการ ที่ การประยุ ก ต์ เ ศรษฐกิ จ พอเพี ย งเข้ า กั บ
สามารถหลีกเลีย่ งความเสีย่ งโดยไม่สร้าง เป็นประโยชน์มาใช้ในการวางแผนและ ธุรกิจหรืออุตสาหกรรมต้องประกอบด้วย
เหตุให้เกิดความเสี่ยง ในการบริหารและ บริหารจัดการองค์กร ทั้งนี้เพื่อให้เกิด หลัก ๙ ประการต่อไปนี้
ด�ำเนินธุรกิจ สามารถบรรเทาปัญหาหรือ ความสมดุล ความยั่งยืน และการพร้อม ๑. ใช้เทคโนโลยีตามหลักวิชาการ
ผลร้ า ยที่ อ าจเกิ ด แก่ ธุ ร กิ จ โดยสามารถ รั บ ต่ อ การเปลี่ ย นแปลงขององค์ ก รมี แต่มีราคาถูก
เตรียมพร้อมต่อโอกาสและความเสี่ยง การทบทวนความรู้และถ่ายทอดความรู้ ๒. ใช้ ท รั พ ยากรทุ ก ชนิ ด อย่ า ง
ต่าง ๆ สามารถปรับตัวอยู่รอดได้เมื่อ ทั้งในระดับหน่วยงานและภายนอกอย่าง ประหยัด และมีประสิทธิภาพสูงสุด
มี ผ ลภั ย เกิ ด ต่ อ ธุ ร กิ จ แม้พยายามหลีก ต่อเนื่อง เพื่อให้เกิดระบบการกระจาย ๓. เน้นการจ้างงานเป็นหลัก โดย

การจัดการแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรในจังหวัดนครราชสีมา
อย่างยั่งยืนภายใต้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
612
วารสารราชบัณฑิตยสถาน
ปีที่ ๓๖ ฉบับที่ ๔ ต.ค.-ธ.ค. ๒๕๕๔

ไม่ น� ำ เทคโนโลยี ม าทดแทนแรงงาน หลีกเลี่ยงการให้พนักงานออกแม้ในยาม ตรวจสอบทุนทรัพย์ ทุนวัตถุดิบ และทุน


ยกเว้นในกรณีที่ก่อให้เกิดความเสียหาย ทุกข์ยากทางเศรษฐกิจ เพราะพนักงาน บุคลากร พร้อมด�ำเนินการในขอบเขตที่
ต่อผลิตภัณฑ์ คือสินทรัพย์ที่พัฒนาได้ขององค์กร สามารถควบคุมได้อย่างมีประสิทธิภาพ
๔. มีขนาดการผลิตที่สอดคล้อง ๓. จริงใจและหวังดีต่อผู้มีส่วน เท่ า นั้ น ผลที่ ไ ด้ คื อ หลั ง จากบริ ษั ท ปรั บ
กับความสามารถในการบริหารจัดการ ได้ส่วนเสียของธุรกิจทั้งหมด รวมถึง องค์กรให้มีขนาดเหมาะสม พอประมาณ
๕. ไม่โลภจนเกินไป และไม่เน้น ประชากรและสังคมในอนาคต ตามปรั ช ญาเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง กลั บ
ก�ำไรระยะสั้นเป็นหลัก ๔. ให้ความส�ำคัญต่อการพัฒนา สามารถท�ำก�ำไรได้สูงสุดกว่าในขณะที่
๖. ซื่อสัตย์สุจริตในการประกอบ นวัตกรรมทั่วทั้งองค์กร ไม่ใช่เฉพาะใน มีองค์กรขนาดใหญ่แต่ควบคุมได้ไม่เต็ม
การไม่ เ อารั ด เอาเปรี ย บผู ้ บ ริ โ ภคและ ผลิตภัณฑ์หรือการให้บริการอย่างเดียว ศักยภาพ จะเห็นว่าองค์กรธุรกิจจ�ำเป็น
ไม่เอารัดเอาเปรียบแรงงาน หรือลูกค้า ๕. ใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิ ต้ อ งเติ บ โตและท� ำ ก� ำ ไร แต่ ค วรต้ อ ง
ตลอดจนไม่เอารัดเอาเปรียบผู้จ�ำหน่าย ภาพและประสิทธิผล ด�ำเนินการบนพื้นฐานของเหตุผล มีการ
วัตถุดิบ ๖. ใช้และพัฒนาเทคโนโลยีที่มี วิเคราะห์สภาพแวดล้อมอย่า งละเอี ย ด
๗. เน้นการกระจายความเสีย่ งจาก ประสิทธิภาพแต่ราคาไม่สูง โดยเฉพาะ ถี่ถ้วนก่อน โดยไม่มุ่งหวังแต่ก�ำไรสูงสุด
การมีผลิตภัณฑ์หลากหลายและ/หรือมี เทคโนโลยีแบบไทย ๆ หรือพื้นบ้าน หรือฉกฉวยโอกาสอย่างไม่ระมัดระวัง
ความสามารถในการปรับเปลี่ยนผลผลิต ๗. ขยายธุ ร กิ จ แบบค่ อ ยเป็ น ขาดความรอบคอบ และไม่ใช่หลักเหตุผล
ได้ง่าย ค่อยไปเมื่อพร้อมทุกด้านเท่านั้น เพราะอาจเสี่ ย งต่ อ ความล้ ม เหลวใน
๘. เน้นการบริหารความเสี่ยงต�่ำ ๘. ล ด ค ว า ม เ สี่ ย ง โ ด ย ก า ร มี อนาคต อีกทั้งผลก�ำไรขององค์กรไม่ใช่
โดยเฉพาะอย่างยิ่งไม่ก่อหนี้จนเกินขีด ผลิตภัณฑ์ที่หลากหลาย ตลาดที่หลาก จุดมุ่งหมายปลายทางสูงสุด แต่เป็นทาง
ความสามารถในการบริหารจัดการ หลาย และการลงทุนที่หลากหลาย ผ่านไปสู่ความสุขที่มีร่วมกันของทุกฝ่าย
๙. เน้ น การตอบสนองตลาด ๙. แบ่งปัน รวมถึงการแบ่งปัน ในสังคม (เครือซีเมนต์ไทย. ๒๕๕๒ :
ภายในท้ อ งถิ่ น ภู มิ ภาค ตลาดภายใน องค์ความรูท้ มี่ เี พือ่ พัฒนาตลาดอันจะเป็น ๙๔)
ประเทศและตลาดต่างประเทศ ตามล�ำดับ ผลประโยชน์ที่ดีแก่ผู้บริโภคและสังคม องค์ ก รธุ ร กิ จ ถื อ ได้ ว ่ า เป็ น ส่ ว น
เป็นหลัก ๑๐. ยึดถือจริยธรรม มีความอดทน ส� ำ คั ญ ในการก่ อ ให้ เ กิ ด ความยั่ ง ยื น
สุขสรรค์ กันทะบุตร (๒๕๕๓ : ๓) และขยันหมั่นเพียร ทางเศรษฐกิจ ถ้าธุรกิจของไทย ไม่ว่า
ได้ ก� ำ หนดแนวทางในการปฏิ บั ติ ข อง จากที่ ก ล่ า วในข้ า งต้ น มี อ งค์ ก ร ขนาดใด ได้ มี ก ารน� ำ หลั ก ปรั ช ญา
องค์กรธุรกิจตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจ ธุรกิจทีป่ ระสบความส�ำเร็จในการน�ำหลัก เศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในการวางแผน
พอเพียงได้ ๑๐ แนวทาง อันเป็นแนวทาง ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช้ กลยุทธ์และก�ำหนดนโยบาย ก็จะส่งผล
ในการปฏิบัติต่อธุรกิจใดที่ต้องการสร้าง ในการด�ำเนินธุรกิจคือ บริษทั ปูนซีเมนต์ ให้ธุรกิจต่าง ๆ เหล่านั้นสามารถที่จะ
ความส�ำเร็จอย่างยั่งยืนดังต่อไปนี้ ไทย จ�ำกัด (มหาชน) ทางบริษทั ได้เรียนรู้ ยั่งยืนอยู่ได้ท่ามกลางการเปลี่ยนแปลง
๑. มองการณ์ไกลในการบริหาร ว่าขนาดของธุรกิจ ไม่ว่าจะใหญ่หรือเล็ก ของสิ่ ง แวดล้ อ ม ทางธุ ร กิ จ ที่ นั บ วั น มี
จัดการและตัดสินใจในเชิงนโยบาย ไม่ ไม่ใช่หัวใจส�ำคัญของการด�ำเนินธุรกิจ แต่จะเพิ่มขึ้น ซึ่งผลลัพธ์ของการด�ำเนิน
มุ่งหวังก�ำไรเพียงในระยะสั้น แต่คิดถึง ประเด็นอยู่ที่การด�ำเนินการที่สอดคล้อง งานตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ผลกระทบในระยะยาว กั บ ศั ก ยภาพขององค์ ก ร ดั ง นั้ น การ ดังกล่าวนั้น จะส่งผลให้ระบบเศรษฐกิจ
๒. ให้ คุ ณ ค่ า แก่ พ นั ก งานอย่ า ง ประเมิ น เพื่ อ หาความพอประมาณของ และสั ง คมที่ เ ราอาศั ย อยู ่ มี ก ารพั ฒ นา
จริงใจและพัฒนาพนักงานอย่างต่อเนื่อง ตนเองจึงเป็นเรื่องส�ำคัญอย่างยิ่ง ต้อง อย่างมั่นคงต่อไปในอนาคต

สุวิมล ตั้งประเสริฐ
613
The Journal of the Royal lnstitute of Thailand

Volume 36 No. 4 Oct-Dec 2011

ส่วนที่ ๒ แนวคิดเกี่ยวกับการ ๒. กลยุทธ์การพัฒนาด้านการเงิน โดยมีการบริการจัดไว้ให้รองรับ เพือ่ ตอบ


จัดการ หมายถึง วิธีการในการด�ำเนินงานของ สนองตามมาตรฐานความต้องการของ
การสร้างฐานรากที่แข็งแรงให้แก่ ผู้น�ำและสมาชิกกลุ่มร่วมกันควบคุมการ นักท่องเที่ยวให้ได้รับความรู้และความ
ชุมชนในการด�ำเนินธุรกิจจ�ำเป็นอย่างยิ่ง เงินด้วยความโปร่งใส รวมทั้งการระดม เพลิดเพลิน
ที่ธุรกิจชุมชนจะต้องมีการบริหารจัดการ ทุนจากภายนอกและภายในชุมชน เพื่อ โฮลินฮอยซ์ (Holinhoij. 1996 :
ที่ เ ข้ ม แข็ ง ตั้ ง แต่ ก ระบวนการคิ ด การ ให้ธรุ กิจชุมชนมีความเข้มแข็ง และบรรลุ 42-43) ให้ความเห็นว่า การท่องเที่ยว
จั ด การผลผลิ ต และการใช้ ท รั พ ยากร ความส�ำเร็จตามเป้าหมายที่ตั้งไว้ เชิงเกษตรเป็นการท่องเที่ยวในรูปแบบ
ทุกขั้นตอนโดยใช้ภูมิปัญญาของชุมชน ๓. กลยุ ท ธ์ ก ารพั ฒ นาด้ า นการ ใหม่ที่น่าสนใจ ซึ่งเกี่ยวข้องกับสภาพ
เอง จะเห็นว่า การสร้างความเข้มแข็งของ ผลิต หมายถึง วิธีการในการด�ำเนินงาน แวดล้อมทางสังคม วัฒนธรรม วิถีชีวิต
ธุรกิจชุมชนมีความส�ำคัญต่อความอยูร่ อด ของผู้น�ำและสมาชิกกลุ่มร่วมกันในการ ของประชาชนในชนบท เป็นจุดดึงดูด
และการเจริญเติบโตของชุมชน ดังนั้น พั ฒ นาคุ ณ ภาพของผลผลิ ต ให้ มี ค วาม ให้นักท่องเที่ยวมีโอกาสสัมผัส และมี
จึงต้องใช้กลยุทธ์การพัฒนาที่จะน�ำไปสู่ แตกต่างของสินค้า การผลิตโดยใช้วตั ถุดบิ ประสบการณ์ในการใช้ชีวิต กับผู้คนใน
ความส�ำเร็จได้ ซึ่งกลยุทธ์การพัฒนาใน ท้องถิ่น และการลดต้นทุนวัตถุดิบใน ชนบทในฐานะแขกหรือผูม้ าเยือนในช่วง
ที่นี้จะหมายถึงวิธีการที่ผู้น�ำและสมาชิก ราคาที่เป็นธรรมแก่สมาชิก เพื่อให้การ นัน้ ๆ และการท่องเทีย่ วเชิงเกษตร ไม่ใช่
กลุ ่ ม ร่ ว มกั น ในการด� ำ เนิ น งานพั ฒ นา พัฒนาธุรกิจชุมชนมีความเข้มแข็ง และ การท่องเทีย่ วทีเ่ กีย่ วข้องกับการท่องเทีย่ ว
ธุรกิจชุมชนให้เกิดความเข้มแข็งเพื่อให้ บรรลุความส�ำเร็จตามเป้าหมายที่ตั้งไว้ ทางทะเล แหล่งประวัติศาสตร์ ศาสนา
สภาพทางเศรษฐกิจและสังคมของชุมชน ๔. กลยุ ท ธ์ ก ารพั ฒ นาด้ า นการ การประกอบธุรกิจ และการเยี่ยมญาติ
ดีขึ้น โดยมีการด�ำเนินงานพัฒนา ๔ ด้าน ตลาด หมายถึง วิธีการในการด�ำเนินงาน จากแนวคิดดังกล่าว สรุปได้ว่า
๑) กลยุ ท ธ์ ก ารพั ฒ นาด้ า นการพั ฒ นา ของผู้น�ำและสมาชิกกลุ่มร่วมกันในการ การท่องเที่ยวเชิงเกษตรหมายถึงการเดิน
บุ ค ลากร ๒) กลยุ ท ธ์ ก ารพั ฒ นาด้ า น สร้างจุดขายจากความแตกต่างของสินค้า ทางท่ อ งเที่ ย วไปยั ง พื้ น ที่ เ กษตรกรรม
การเงิน ๓) กลยุทธ์การพัฒนาด้านการ การสร้างช่องทางการตลาด โดยอาศัย สวนเกษตร สวนสมุนไพร ฟาร์มปศุสตั ว์
ผลิต ๔) กลยุทธ์การพัฒนาด้านการตลาด เครื อ ข่ า ยของกลุ ่ ม และการใช้ ข ้ อ มู ล และเลี้ยงสัตว์ โดยมีการด�ำเนินกิจการ
ดังมีรายละเอียดดังนี้ (นันทิยา หุตานุวตั ร ทางการตลาดที่เป็นปัจจัยในการเจรจา ให้บริการด้านความรู้ ประสบการณ์ใน
และณรงค์ หุตาวัตร. ๒๕๔๙ : ๑๐๖-๑๑๗) ต่อรองทางธุรกิจให้เป็นตลาดทีม่ คี ณ ุ ภาพ การร่วมกิจกรรมการเกษตร ประเพณี
ประกอบด้วย กลยุทธ์ ๔ ด้าน คือ เพื่อให้ธุรกิจชุมชนมีความเข้มแข็งและ วัฒนธรรม วิถีชีวิต และการให้บริการ
๑. กลยุ ท ธ์ ก ารพั ฒ นาด้ า นการ บรรลุความส�ำเร็จตามเป้าหมายที่ตั้งไว้ สถานที่พักแก่นักท่องเที่ยว บนพื้นฐาน
พัฒนาบุคลากร หมายถึง วิธีการในการ ส่วนที่ ๓ แนวคิดเกี่ยวกับการ ความรับผิดชอบ มีจิตส�ำนึกต่อการรักษา
ด� ำ เนิ น งานของผู ้ น� ำ และสมาชิ ก กลุ ่ ม ท่องเที่ยวเชิงเกษตร สภาพแวดล้อมของสถานที่ท่องเที่ยว
ร่วมกัน โดยส่งเสริมบุคลากรทีป่ ฏิบตั งิ าน สถาบั น วิ จั ย วิ ท ยาศาสตร์ แ ละ สถาบั น วิ จั ย วิ ท ยาศาสตร์ แ ละ
อยู่แล้ว ให้มีความรู้ ความช�ำนาญ ความ เทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (๒๕๔๓ : เทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (๒๕๔๒ :
สามารถประสบการณ์ และมี ทั ศ นคติ ๕-๖) ได้ ใ ห้ นิ ย ามโดยใช้ ห ลั ก องค์ ๓-๑๓) ได้แบ่งองค์ประกอบของการท่อง
ในทางที่ดี เพื่อให้การปฏิบัติงานเป็นไป ประกอบของการท่องเที่ยวไว้ว่า การ เที่ยวเชิงเกษตรที่ส�ำคัญไว้ ๓ ส่วน คือ
อย่างมีประสิทธิภาพจนก่อให้เกิดความ ท่องเที่ยวเชิงเกษตรคือการท่องเที่ยวที่มี ๑. ทรั พ ยากรการท่ อ งเที่ ย วเชิ ง
ส�ำเร็จแก่องค์กร กิจกรรมหลักด้านการเกษตรที่สามารถ เกษตรคื อ ทรั พ ยากรที่ ใ ช้ ผ ลิ ต ผลิ ต ผล
ดึงดูดและเป็นที่สนใจของนักท่องเที่ยว ทางการเกษตรไม่ว่าจะเป็นสิ่งที่เกิดขึ้น

การจัดการแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรในจังหวัดนครราชสีมา
อย่างยั่งยืนภายใต้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
614
วารสารราชบัณฑิตยสถาน
ปีที่ ๓๖ ฉบับที่ ๔ ต.ค.-ธ.ค. ๒๕๕๔

เองตามธรรมชาติ เช่น แสงแดด ดิน น�้ำ การท่ อ งเที่ ย วเพื่ อ ไปเยี่ ย มชมกิ จ กรรม เลี้ยงไหม การท�ำฟาร์มผึ้ง การท�ำฟาร์ม
พันธุ์พืช พันธุ์สัตว์ หรือการจัดการโดย การเกษตรกรรมไทย ซึ่งได้แบ่งรูปแบบ วัว การท�ำฟาร์มปลา ทัง้ ปลาสวยงาม ปลา
มนุ ษ ย์ เช่ น เครื่ อ งมื อ ทางการเกษตร การท่องเทีย่ วตามความสนใจของนักท่อง น�้ำจืด ปลาน�้ำกร่อย การท�ำฟาร์มมุก การ
ต่าง ๆ เทคโนโลยีการเกษตร ก่อให้เกิด เที่ยวได้ ๗ กิจกรรม คือ เลี้ยงหอยแมลงภู่ หอยแครง หอยนางรม
ผลผลิตทางการเกษตรเพือ่ อุปโภคบริโภค ๑. การท�ำนา (Rice Cultivation) หอยตะโกรม ฟาร์มจระเข้ ฟาร์มจิ้งหรีด
ซึ่ ง ในที่ นี้ อ าจเรี ย กทรั พ ยากรการท่ อ ง การท�ำนา การท�ำนาปรัง การท�ำนาหว่าน บางแห่งเพาะขายพันธุ์สัตว์ป่าที่หายาก
เทีย่ วเกษตรนีโ้ ดยให้ความหมายคือแหล่ง นาตม การท�ำนาขัน้ บันได พิพธิ ภัณฑ์ขา้ ว เช่น ฟาร์มกวาง ฟาร์มไก่ฟ้า ฟาร์มนกยูง
เกษตรกรรม และปัจจัยที่เกี่ยวข้องต่อ ความรู้เรื่องข้าวสายพันธุ์ต่าง ๆ ประเพณี ฟาร์มนกกระจอกเทศ
แหล่งท่องเที่ยว โดยครอบคลุมบทบาท พิธีกรรมเกี่ยวกับข้าวและวัฒนธรรมการ ๗. งานเทศกาลผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ
ของพื้นที่ กระบวนการ และกิจกรรม กินข้าวไทย เป็นต้น (Agro-Festival) การจัดงานเพื่อส่งเสริม
การเกษตร ซึ่งสามารถคัดเลือกน�ำมาใช้ ๒. การท�ำสวนไม้ตดั ดอก (Cutting การขายผลผลิตทางการเกษตร เมื่อถึงฤดู
เป็นทรัพยากรการท่องเที่ยวได้ Flowers) การท�ำสวนไม้ดอกนานาชนิด ที่พืชผลเหล่านั้นออกชุก เช่น มหกรรม
๒. ตลาดการท่องเที่ยว เนื่องจาก เพื่ อ ตั ด ดอกขาย เช่ น สวนกุ ห ลาบ ไม้ดอกไม้ประดับ งานเทศกาลลิ้นจี่ งาน
ตลาดการท่องเที่ยวเชิงเกษตรเป็นตลาด ฟาร์มกล้วยไม้ สวนเบญจมาศ สวนไม้ เทศกาลล�ำไย งานเทศกาลกินปลา
การท่องเที่ยวเฉพาะ (Niche market) จึง ดอกไม้ประดับนานาชาติ ไม้กระถาง
ท�ำให้การจัดการด้านการตลาดมีลักษณะ ทุกประเภท รวมถึงไร่ทานตะวัน ซึ่งเป็น กรณี ศึ ก ษาการจั ด แหล่ ง ท่ อ งเที่ ย วเชิ ง
ที่เจาะจงเฉพาะกลุ่ม โดยต้องเป็นกลุ่ม พืชเศรษฐกิจด้วย เกษตรในจังหวัดนครราชสีมาอย่างยัง่ ยืน
นักท่องเที่ยวที่มีความสนใจกิจกรรมทาง ๓. การท�ำสวนผลไม้ (Horticul- ภายใต้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การเกษตร ต้องการที่จะเรียนรู้ประเพณี ture) การท�ำสวนผลไม้ทกุ ประเภท รวมถึง การศึ ก ษาครั้ ง นี้ มี วั ต ถุ ป ระสงค์
และวัฒนธรรมท้องถิ่น นักการตลาดจึง การท�ำสวนเกษตร การท�ำเกษตรแผนใหม่ ๑) เพื่อจัดท�ำระบบฐานข้อมูลการท่อง
จัดกิจกรรมต่าง ๆ ทีต่ รงกับความต้องการ การท�ำสวนผสม รวมถึงการท�ำสวนยาง เที่ยวเชิงเกษตรเพื่อการพัฒนาในพื้นที่
ของนักท่องเที่ยวกลุ่มนี้และท�ำการตลาด พารา สวนไผ่ สวนปาล์มน�้ำมันเป็นต้น จังหวัดนครราชสีมา โดยบูรณาการกับ
เจาะจงเฉพาะนักท่องเทีย่ วทีม่ คี วามสนใจ ๔. การท� ำ สวนครั ว สวนผั ก กลไกการเรียนการสอนในมหาวิทยาลัย
ด้านนี้ ไร่ถั่ว ไร่ข้าวโพดข้าวฟ่าง ไร่พริกไทย ราชภั ฏ นครราชสี ม า ๒) เพื่ อ จั ด ท� ำ
๓. บริการการท่องเทีย่ ว ในด้านนี้ ไร่สับปะรด บางครั้งรวมถึงพืชไร่ เช่น กลยุ ท ธ์ ก ารพั ฒ นาการท่ อ งเที่ ย วเชิ ง
เกี่ ย วข้ อ งกั บ การท่ อ งเที่ ย วเชิ ง เกษตร อ้อย มันส�ำปะหลัง เกษตรในระดับอ�ำเภอตามแนวทางของ
เช่น ที่พัก (ซึ่งอาจเป็นที่พักค้างคืนกับ ๕. การท�ำสวนสมุนไพร (Herbs) หลั ก ปรั ช ญาเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง ด้ ว ย
ชาวบ้าน หรือที่พักตามเรือกสวนนาไร่) การปลูกพืชสมุนไพรนานาชนิดเพื่อใช้ กระบวนการแบบมีส่วนร่วมกับภาคีใน
ร้านอาหาร การบริการน�ำเที่ยวให้ความรู้ เป็นอาหารเสริม พืชผักสวนครัวข้างบ้าน พื้นที่ ๓) เพื่อสร้างเครือข่ายการท่อง
ต่าง ๆ เพื่อใช้เป็นเครื่องมือ เป็นอาหารเสริม เที่ยวเชิงเกษตรในจังหวัดนครราชสีมา
ส� ำ หรั บ รู ป แบบของกิ จ กรรม เป็นเครือ่ งส�ำอาง และเพือ่ ใช้ในการแพทย์ ตามแนวทางของหลักปรัชญาเศรษฐกิจ
การท่ อ งเที่ ย วเชิ ง เกษตร ร� ำ ไพพรรณ แผนไทย พอเพี ย งอั น น� ำ ไปสู ่ ก ารจั ด การแหล่ ง
แก้วสุรยิ ะ (๒๕๔๗ : ๑-๒) กล่าวถึงรูปแบบ ๖. การท�ำฟาร์มปศุสัตว์ (Animal ท่องเที่ยวเชิงเกษตรอย่างยั่งยืน และ ๔)
ของการท่องเที่ยวเชิงเกษตรว่ากิจกรรม Farming) การเลี้ยงสัตว์และการขยาย เพื่อจัดท�ำตัวชี้วัดความส�ำเร็จและความ
หนึ่งในเก้าของอะเมซิ่งไทยแลนด์ ก็คือ พันธุ์สัตว์เศรษฐกิจนานาชนิด เช่น การ ล้มเหลวของการท่องเที่ยวเชิงเกษตรใน

สุวิมล ตั้งประเสริฐ
615
The Journal of the Royal lnstitute of Thailand

Volume 36 No. 4 Oct-Dec 2011

จังหวัดนครราชสีมา ตามแนวทางของ อ� ำ เภอโชคชั ย จั ง หวั ด นครราชสี ม า และสมาชิกภายในครอบครัวช่วยกันเรียน


หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ในพื้นที่ และ ๕) สวนเกษตรผสมผสาน อ�ำเภอ รูว้ ธิ ปี ลูกองุน่ น้อยหน่า แก้วมังกร โดยใช้
แหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตร จ� ำนวน ๕ ขามสะแกแสง จั ง หวั ด นครราชสี ม า ปุ๋ยอินทรีย์ไม่ใช่ปุ๋ยเคมี เวลาเกิดผลผลิต
อ�ำเภอ คือ ปากช่อง เมืองนครราชสีมา โดยระบบฐานข้ อ มู ล การท่ อ งเที่ ย ว ออกมาจะได้รับความนิยมและมีชื่อเสียง
วังน�้ำเขียว โชคชัย และขามสะแกแสง เชิงเกษตร ประกอบด้วยฐานข้อมูลการ ควรมี ภู มิ คุ ้ ม กั น ในการพั ฒ นาบุ ค ลากร
ด้วยการใช้การส�ำรวจภาคสนาม สัมภาษณ์ ท่องเทีย่ ว จ�ำนวน ๘ ประเด็น คือ สถานทีต่ งั้ โดยให้เจ้าของไร่และสมาชิกไร่องุ่นได้
เชิ ง ลึ ก และการจั ด เวที ป ระชุ ม เป็ น ผู้ประกอบการ กิจกรรมการท่องเที่ยว รับการฝึกอบรม ประชุม และสัมมนา
เครื่องมือส�ำหรับการวิจัย โดยขั้นตอน ช่ ว งเวลาที่ เ หมาะสมในการท่ อ งเที่ ย ว อย่ า งสม�่ำ เสมอ นอกจากนี้ ใ ห้ ส มาชิ ก
แรกเป็ น การเก็ บ รวบรวมข้ อ มู ล เพื่ อ สินค้าของฝากและของที่ระลึก สถานที่ ทุกคนช่วยกันดูแล ปรับปรุงภูมิทัศน์ไร่
จัดท�ำระบบข้อมูลของแหล่งท่องเที่ยว ท่องเที่ยวใกล้เคียง แผนที่การเดินทาง องุ่นให้สวยงาม สะอาดร่มรื่นอยู่เสมอ
เชิงเกษตรในพื้นที่ ๕ อ� ำเภอดังกล่าว และการวิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส ควรเพิ่มองค์ความรู้ให้แก่สมาชิกทุกคน
จากนั้นจึงน�ำระบบข้อมูลการท่องเที่ยว และอุปสรรค โดยให้ ห น่ ว ยงานราชการในท้ อ งถิ่ น
เชิ ง เกษตรที่ ไ ด้ รั บ ไปใช้ เพื่ อ ก� ำ หนด ส่วนที่ ๒ ผลการศึกษาการจัด มาแนะน�ำให้ความรู้ทั้งภาคทฤษฎีและ
กลยุ ท ธ์ เ พื่ อ พั ฒ นาแหล่ ง ท่ อ งเที่ ย วเชิ ง ท�ำกลยุทธ์การพัฒนาการท่องเที่ยวเชิง ภาคปฏิบัติแก่เจ้าของและสมาชิกไร่องุ่น
เกษตรในลักษณะของแต่ละอ�ำเภอ และ เกษตรในระดับอ�ำเภอตามแนวทางของ และควรรักษาคุณธรรมด้านการพัฒนา
เครือข่าย ๕ อ�ำเภอ สุดท้ายคือการจัดท�ำ หลั ก ปรั ช ญาเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง ด้ ว ย บุคลากรไว้อย่างต่อเนื่อง โดยการสร้าง
ตั ว ชี้ วั ด ความส�ำ เร็ จ และความล้ ม เหลว กระบวนการแบบมีส่วนร่วมกับภาคีใน จิตส�ำนึกทีด่ ใี นการปลูกผลไม้ ผลไม้ตอ้ ง
ของการท่องเที่ยวเชิงเกษตรในจังหวัด พื้นที่ มีคุณภาพ ปลอดสารพิษ ราคายุติธรรม
นครราชสี ม า ตามแนวทางของหลั ก ผู ้ วิ จั ย สามารถสรุ ป กลยุ ท ธ์ ก าร และสมาชิ ก ทุ ก คนต้ อ งมี ค วามซื่ อ สั ต ย์
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผู้วิจัยสามารถ พัฒนาการท่องเที่ยวเชิงเกษตรในแต่ละ ต่อลูกค้า
สรุปผลของการวิจัย ได้ดังนี้ แห่งได้ดังต่อไปนี้ ๑.๒ ด้านการเงิน คือการรักษา
ส่ ว นที่ ๑ ผลการศึ ก ษาการจั ด ๑. ไร่องุ่นครูเสน่ห์ อ�ำเภอปากช่อง ความพอประมาณด้านการเงินด้วยการ
ท� ำ ระบบฐานข้ อ มู ล การท่ อ งเที่ ย วเชิ ง จังหวัดนครราชสีมา ก�ำหนดการใช้จ่ายอย่างรอบคอบ และ
เกษตรเพื่ อ การพั ฒ นาในพื้ น ที่ จั ง หวั ด ไร่องุ่นครูเสน่ห์อยู่ที่หมู่ ๗ ไม่ ก ่ อ หนี้ สิ น ควรมี เ หตุ ผ ลในด้ า น
นครราชสีมา โดยบูรณาการกับกลไกการ ต�ำบลกลางดง อ�ำเภอปากช่อง จังหวัด การเงินด้วยการจัดท�ำระบบบัญชีอย่าง
เรี ย นการสอนในมหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ นครราชสี ม า โดยผู ้ ป ระกอบการชื่ อ เป็ น รู ป ธรรม ควรมี ภู มิ คุ ้ ม กั น ในด้ า น
นครราชสีมา นายชาญ กิจเพิ่มพูน อายุ ๗o ปี และ การเงินด้วยการเดินบัญชีที่ธนาคารอย่าง
การจั ด ท� ำ ระบบฐานข้ อ มู ล การ นางมาลัย กิจเพิ่มพูน อายุ ๖๘ ปี ซึ่งไร่ สม�่ำเสมอแทนที่จะถือเงินสดไว้ในมือ
ท่องเที่ยวเชิงเกษตร มีจ�ำนวน ๕ แห่ง ครูเสน่หไ์ ด้มกี ารจัดท�ำกลยุทธ์การพัฒนา ควรมีองค์ความรู้ด้านการเงิน โดยเฉพาะ
ประกอบด้ ว ย ๑) ไร่ อ งุ ่ น ครู เ สน่ ห ์ ต่าง ๆ ดังนี้ ด้านการน� ำเงินที่เหลืออยู่ไปใช้ในการ
อ� ำ เภอปากช่ อ ง จั ง หวั ด นครราชสี ม า ๑.๑ ด้านการพัฒนาบุคลากร คือ ลงทุนเพื่อเพิ่มมูลค่าให้กับตนเอง และ
๒) สวนเขาดินเฉลิมพระเกียรติ อ�ำเภอ ควรยึ ด หลั ก ความพอประมาณในการ ควรรักษาคุณธรรมด้านการเงินไว้เหมือน
เมืองนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา พัฒนาบุคลากรด้วยการใช้แรงงานภายใน เดิม ด้วยการใช้จ่ายเงินอย่างประหยัด
๓) บุไทรโฮมสเตย์ อ� ำเภอวังน�้ำเขียว ครอบครั ว เป็ น หลั ก การสร้ า งความมี และคุ้มค่า
จังหวัดนครราชสีมา ๔) สวนผักหวานป่า เหตุผลในไร่องุ่นครูเสน่ห์โดยเจ้าของไร่ ๑.๓ ด้านการผลิต คือควรยึดหลัก

การจัดการแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรในจังหวัดนครราชสีมา
อย่างยั่งยืนภายใต้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
616
วารสารราชบัณฑิตยสถาน
ปีที่ ๓๖ ฉบับที่ ๔ ต.ค.-ธ.ค. ๒๕๕๔

ความพอประมาณในการผลิตด้วยการ ๒. สวนเขาดินเฉลิมพระเกียรติ ท่ อ งเที่ ย วเชิ ง เกษตรอื่ น ๆ ที่ ป ระสบ


ผลิตสินค้าหลักจ�ำนวน ๓ ชนิด คือ องุ่น อ� ำ เภอเมื อ งนครราชสี ม า จั ง หวั ด ผลส� ำ เร็ จ และควรยึ ด หลั ก คุ ณ ธรรม
น้อยหน่า และแก้วมังกร การสร้างความ นครราชสีมา ในการพัฒนาบุคลากรอย่างมั่นคงและ
มีเหตุผลในการผลิตสินค้าหลักให้มคี วาม สวนเขาดินเฉลิมพระเกียรติ ต่อเนือ่ ง โดยการสร้างผูน้ ำ� และสมาชิกให้
เหมาะสมกับปริมาณการบริโภค โดยมี ตั้งอยู่ที่บ้านหนองรังกา หมู่ที่ ๑๒ ต�ำบล มีจติ ใจเข้มแข็ง รอบคอบ สุขมุ ขยัน และ
การวางแผนการผลิตที่ส่งจ�ำหน่ายในไร่ โคกกรวด อ� ำ เภอเมื อ งนครราชสี ม า ซื่อสัตย์ต่อลูกค้า เพื่อให้เกิดการพัฒนา
องุ่นและห้างสรรพสินค้าในจังหวัด ควร จั ง หวั ด นครราชสี ม า สวนเขาดิ น อย่างยั่งยืนตลอดไป
ใช้ ค วามมี ภู มิ คุ ้ ม กั น ในการผลิ ต สิ น ค้ า เฉลิมพระเกียรติเป็นพื้นที่สาธารณะอยู่ ๒.๒ ด้านการเงิน ส�ำหรับสวน
ด้ ว ยการผลิ ต สิ น ค้ า ให้ ค รอบคลุ ม ทั้ ง ปี ในการปกครองขององค์การบริหารส่วน เขาดิ น เฉลิ ม พระเกี ย รติ ค วรมี ค วามพอ
ควรเพิม่ เติมองค์ความรูใ้ นการผลิตสินค้า ต�ำบลโคกกรวด โดยมีนางสาวรุ่งเรือง ประมาณในด้านการเงิน ด้วยการบริหาร
โดยเฉพาะการผลิ ต สิ น ค้ า นอกฤดู ก าล กาญจนวั ฒ นา นายกองค์ ก ารบริ ห าร เงิ น ที่ มี อ ยู ่ อ ย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ และ
และควรรั ก ษาความมี คุ ณ ธรรมในการ ส่วนต�ำบลโคกกรวด เป็นผูร้ บั ผิดชอบ ซึง่ จั ด ตั้ ง กองทุ น เพื่ อ น� ำ มาพั ฒ นาพื้ น ที่
ท่องเที่ยวเชิงเกษตรเช่นเดิม สวนเขาดินเฉลิมพระเกียรติได้มกี ารจัดท�ำ เพิ่ ม เติ ม ควรมี ค วามมี เ หตุ ผ ลในด้ า น
๑.๔ ด้ า นการตลาด คื อ การ กลยุทธ์การพัฒนาด้านต่าง ๆ ดังนี้ การเงิ น ด้ ว ยการจั ด ท� ำ บั ญ ชี อ ย่ า งเป็ น
รักษาความพอประมาณด้านการตลาดไว้ ๒.๑ ด้านการพัฒนาบุคลากร คือ ระบบ ควรมี ภู มิ คุ ้ ม กั น ด้ ว ยการเขี ย น
เช่ น เดิ ม ด้ ว ยการรั ก ษาตลาดที่ มี อ ยู ่ เ ดิ ม ควรมี ค วามพอประมาณในการพั ฒ นา ข้อเสนอโครงการหรือของบประมาณ
ไว้ให้มั่นคง รักษาความมีเหตุผลในด้าน บุ ค ลากร โดยการน� ำ ของผู ้ ใ หญ่ บ ้ า น สนับสนุนจากหน่วยงานภาครัฐในพื้นที่
การตลาดด้วยการผลิตสินค้าให้เพียงพอ และสมาชิกทุกคนในหมูบ่ า้ นหนองรังกา ควรเพิ่มเติมองค์ความรู้ให้กับผู้ท�ำหน้าที่
กับความต้องการของผู้บริโภค และไม่ ให้ใช้สติปัญญา ความคิด และแรงงาน รับผิดชอบสวนเขาดินเฉลิมพระเกียรติ
ควรขยายตลาดมากเกินไปหากก�ำลังการ จากผู้น�ำและสมาชิกทุกคนแทนการจ้าง และทีมงานให้ได้รับการฝึกอบรมด้าน
ผลิตไม่เพียงพอ ควรเพิม่ ความมีภมู คิ มุ้ กัน งานจากภายนอก โดยการสร้ า งความ การเงิน และควรมีคณ ุ ธรรมในการบริหาร
ด้ า นการตลาดด้ ว ยการติ ด ต่ อ ตลาดรั บ มีเหตุผลในการวางแผนพัฒนาร่วมกัน ด้านการเงินด้วยความโปร่งใส
ซื้อซึ่งอาจจะเป็นตลาดเดิมก่อนล่วงหน้า อย่างเป็นระบบว่าในอนาคตจะพัฒนา ๒.๓ ด ้ า น ก า ร ผ ลิ ต คื อ ค ว ร
เพื่อที่จะท�ำให้สินค้าที่ผลิตได้สามารถ สวนเขาดินเฉลิมพระเกียรติเป็นรูปแบบ มี ค วามพอประมาณในด้ า นการผลิ ต
ออกสู่ตลาดได้อย่างเหมาะสม ควรเพิ่ม โฮมสเตย์ และเชิญหน่วยงานราชการ เนื่ อ งจากสวนเขาดิ น เฉลิ ม พระเกี ย รติ
องค์ความรู้ด้านการตลาดด้วยการศึกษา และสมาชิ ก ทุ ก คนร่ ว มมื อ พั ฒ นาและ มีพื้นที่มากถึง ๖๐ ไร่ ดังนั้นการจัดสรร
ข้อมูลด้านการก�ำหนดเป้าหมายของตลาด ปรับปรุงสิ่งอ�ำนวยความสะดวกให้แก่ พื้นที่ควรค�ำนึงถึงความพอประมาณและ
การก�ำหนดราคาขาย และการพัฒนาองค์ นักท่องเทีย่ ว ควรสร้างภูมคิ มุ้ กันด้วยการ ความเหมาะสม ควรมี ค วามมี เ หตุ ผ ล
ความรู้ด้านการท่องเที่ยวเพิ่มเติม และ ให้ผู้น�ำและสมาชิกทุกคนมีความพร้อม ในด้ า นการผลิ ต ด้ ว ยการส่ ง เสริ ม จั ด
การรักษาความมีคุณธรรมด้านการตลาด ต่อการเปลี่ยนแปลงที่จะท�ำให้สวนเขา ท�ำเป็นสวนเกษตรไม้ดอก ไม้ประดับ
ด้วยการจ�ำหน่ายสินค้าให้ได้มาตรฐาน ดินเฉลิมพระเกียรติมีความอุดมสมบูรณ์ ให้เพียงพอสวยงามและร่มรื่น เพื่อให้
และราคาเท่าเทียมกันเหมือนเดิมไม่ว่า ตามธรรมชาติ เ ป็ น สวนเกษตรไม้ ด อก นักท่องเที่ยวเกิดความประทับใจ ควร
จะขายให้กบั พ่อค้าคนกลาง พ่อค้าส่งหรือ ไม้ประดับ ควรเพิ่มองค์ความรู้โดยให้ มี ภู มิ คุ ้ ม กั น ด้ ว ยการก� ำ หนดมาตรการ
นักท่องเที่ยว ผู้น�ำและสมาชิกทุกคนเข้ารับการอบรม ในการลงโทษส� ำ หรั บ ผู ้ ที่ ฝ ่ า ฝื น หรื อ
ความรู้ และการศึกษาดูงานจากแหล่ง กระท�ำผิดกฎระเบียบการใช้พื้นที่สวน

สุวิมล ตั้งประเสริฐ
617
The Journal of the Royal lnstitute of Thailand

Volume 36 No. 4 Oct-Dec 2011

เขาดินเฉลิมพระเกียรติ ควรเพิ่มเติมองค์ โฮมสเตย์ ได้ มี ก ารจั ด ท� ำ กลยุ ท ธ์ ก าร ของกลุ่มให้สอดคล้องกับค่าใช้จ่ายส่วน


ความรู ้ ใ ห้ กั บ ผู ้ ที่ ท� ำ หน้ า ที่ รั บ ผิ ด ชอบ พัฒนาด้านต่าง ๆ ดังนี้ กลางของกลุม่ โดยไม่ควรมีเงินกองกลาง
สวนเขาดินเฉลิมพระเกียรติและทีมงาน ๓.๑ ด้านการพัฒนาบุคลากร คือ ไว้เกินความจ�ำเป็น ควรสร้างภูมิคุ้มกัน
รวมทั้งการประชาสัมพันธ์ให้ความรู้กับ ควรมีความพอประมาณในด้านการพัฒนา ด้านการเงินด้วยการเสนอของบประมาณ
นักท่องเที่ยวที่เข้ามาใช้บริการด้านการ บุคลากร โดยการพัฒนาด้านความรูใ้ ห้แก่ สนับสนุนจากหน่วยงานราชการในพืน้ ที่
ท่ อ งเที่ ย ว และควรมี คุ ณ ธรรมในการ ผูน้ ำ� และสมาชิกทุกคนในการจัดกิจกรรม ควรได้รับองค์ความรู้ด้านการให้บริการ
บริ ห ารงานเพราะพื้ น ที่ ส วนเขาดิ น การท่องเที่ยวเชิงเกษตรแบบโฮมสเตย์ นักท่องเที่ยวเชิงเกษตรเพิ่มเติม และควร
เฉลิมพระเกียรติเป็นพื้นที่สาธารณะ สร้ า งความมี เ หตุ ผ ล โดยให้ ผู ้ น� ำ และ มีคุณธรรมในด้านการเงินด้วยการเปิด
๒.๔ ด้ า นการตลาด คื อ มี ค วาม สมาชิกบ้านบุไทรด�ำเนินการจัดกิจกรรม เผยข้อมูลด้านการเงินให้สมาชิกของกลุม่
พอประมาณด้วยการก�ำหนดกลุม่ เป้าหมาย การท่องเที่ยวเชิงเกษตรแบบโฮมสเตย์ ทุกคนได้รับทราบ และระดมความคิด
ในการใช้บริการด้านการท่องเที่ยวให้ เพื่อให้นักท่องเที่ยวใช้ชีวิตกับครอบครัว เห็นในการจัดการด้านการเงินของกลุ่ม
ชั ด เจน ควรมี ค วามมี เ หตุ ผ ลด้ ว ยการ บุไทรเรียนรูภ้ มู ปิ ญ
ั ญาท้องถิน่ วัฒนธรรม ให้ใช้เงินกองกลางของกลุ่มอย่างคุ้มค่า
ท� ำ การผลิ ต ไม้ ด อกไม้ ป ระดั บ ให้ ส อด ท้องถิ่น และได้รับประสบการณ์ในชีวิต ที่สุด
คล้องกับด้านการตลาด ควรมีภูมิคุ้มกัน เพิ่มขึ้น ควรมีภูมิคุ้มกันในการพัฒนา ๓.๓ ด้านการผลิต คือการรักษา
ด้ ว ยการก� ำ หนดสถานที่ท่อ งเที่ย วใกล้ บุ ค ลากรเพื่ อ เป็ น การรั ก ษามาตรฐาน ความพอประมาณในด้านการผลิตด้วย
เคียง ร้านอาหาร และสถานที่พักไว้ใน ของโฮมสเตย์ โดยการพัฒนาผู้น�ำและ การก�ำหนดกิจกรรมและสถานที่พักใน
จุดบริการ ควรได้รับองค์ความรู้ด้านการ สมาชิกทุกคนอย่างสม�่ำเสมอ ได้รับการ รู ป แบบโฮมสเตย์ เ พื่ อ รองรั บ การท่ อ ง
ท่องเที่ยวเชิงเกษตรเพิ่มเติม ด้วยการฝึก สนั บ สนุ น จากหน่ ว ยงานราชการและ เที่ยวเชิงเกษตรให้มีอย่างเพียงพอ ควร
อบรมและศึกษาดูงานด้านการท่องเที่ยว เอกชนอย่างต่อเนื่อง ควรเพิ่มองค์ความรู้ รักษาความมีเหตุผลในด้านการผลิตด้วย
เชิงเกษตร และผู้ที่รับผิดชอบในสวนเขา ในการพัฒนาบุคลากร โดยมีรูปแบบการ การรั ก ษามาตรฐานของโฮมสเตย์ จ าก
ดินเฉลิมพระเกียรติจะต้องมีคุณธรรมใน พัฒนาบุคลากรเป็นกลุ่มและรายบุคคล ส�ำนักงานพัฒนาการท่องเทีย่ ว กระทรวง
ด้านการตลาด ด้วยการเปิดเผยข้อมูลทาง เพื่อให้สมาชิกมีองค์ความรู้อย่างต่อเนื่อง การท่องเที่ยวและกีฬา ควรรักษาความมี
บัญชีดา้ นการตลาดให้กบั ผูท้ เี่ กีย่ วข้องใน ทั้ ง ภาคทฤษฎี แ ละภาคปฏิ บั ติ ใ นการ ภูมิคุ้มกันด้วยการประเมินมาตรฐานของ
พื้นที่ได้รับทราบกันโดยทั่วไป ด�ำเนินกิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงเกษตร โฮมสเตย์ภายในกลุ่มของตนเองอย่างต่อ
๓. บุไทรโฮมสเตย์ อ�ำเภอวังน�้ำ แบบโฮมสเตย์ และควรรักษาคุณธรรม เนื่อง ควรเพิ่มเติมองค์ความรู้ในด้านการ
เขียว จังหวัดนครราชสีมา โดยให้สมาชิกบ้านบุไทรทุกคนช่วยกัน ผลิ ต ให้ ม ากขึ้ น โดยเฉพาะสมาชิ ก ของ
บุไทรโฮมสเตย์ ด�ำเนินการ สร้ า งความเข้ ม แข็ ง ให้ ค รอบครั ว และ กลุ่มที่ต้องพัฒนาตนเองให้มากขึ้นกว่า
โดยกลุม่ เกษตรกรบ้านสุขสมบูรณ์ อ�ำเภอ ชุมชน เกื้อกูลกัน รู้รักสามัคคี ช่วยกัน เดิม และควรรักษาคุณธรรมในการผลิต
วังน�้ำเขียว จังหวัดนครราชสีมา ภายใต้ อนุรักษ์ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่าง ต่อไป
ชื่อกลุ่มอนุรักษ์ต้นน�้ำมูลบ้านบุไทร ได้ ยั่งยืน ๓.๔ ด้ า นการตลาด คื อ ควร
ด�ำเนินกิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงเกษตร ๓.๒ ด้านการเงิน คือควรรักษา มี ค วามพอประมาณในด้ า นการตลาด
ในลักษณะของโฮมสเตย์ โดยมีนายอินทร์ ความพอประมาณในด้านการเงินด้วยการ ด้วยการก�ำหนดตลาดให้พอดีกับความ
มูลพิมาย เป็นประธานกลุ่มโฮมสเตย์ ใช้เงินกองกลางของกลุ่มที่มีอยู่อย่างมี สามารถในการผลิต เพือ่ ทีจ่ ะได้ให้บริการ
อนุรกั ษ์ตน้ น�ำ้ มูลบ้านบุไทร และประกอบ ประสิทธิภาพ ควรรักษาความมีเหตุผลใน กั บ นั ก ท่ อ งเที่ ย วเชิ ง เกษตรได้ อ ย่ า งมี
ด้วยสมาชิก จ�ำนวน ๒๐ ราย ซึ่งบุไทร ด้านการเงินด้วยการค�ำนวณเงินกองกลาง คุณภาพ ควรมีความมีเหตุผลด้ ว ยการ

การจัดการแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรในจังหวัดนครราชสีมา
อย่างยั่งยืนภายใต้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
618
วารสารราชบัณฑิตยสถาน
ปีที่ ๓๖ ฉบับที่ ๔ ต.ค.-ธ.ค. ๒๕๕๔

ศึกษาข้อมูลการตลาดอย่างละเอียด และ เหมาะสม ร่วมอนุรกั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติ บริการด้านการท่องเที่ยวเชิงเกษตรมาก


ก�ำหนดช่วงเวลาหรือจ�ำนวนนักท่องเทีย่ ว และสิ่ ง แวดล้ อ ม ควรเพิ่ ม องค์ ค วามรู ้ หรือน้อยเพียงใด ควรสร้างภูมิคุ้มกัน
ให้ ส อดคล้ อ งกั บ ความสามารถในการ ในการพั ฒ นาบุ ค ลากร โดยให้ ห น่ ว ย ในด้านการผลิตด้วยการจัดท� ำแผนการ
รองรั บ นั ก ท่ อ งเที่ ย วของสมาชิ ก กลุ ่ ม ราชการในท้องถิ่นมาแนะน�ำให้ความรู้ ปรับปรุงด้านการผลิต ควรเพิ่มเติมองค์
ตนเอง ควรได้รับองค์ความรู้ด้านการ ทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติแก่เจ้าของ ความรู้ด้านการผลิตด้วยการศึกษาข้อมูล
ตลาดเพิ่มเติมเพื่อที่จะได้น�ำองค์ความรู้ สวนผั ก หวานป่ า และสมาชิ ก ทุ ก คน ด้ า นการผลิ ต เพื่ อ รองรั บ การท่ อ งเที่ ย ว
ที่ ไ ด้ รั บ มาพั ฒ นาด้ า นการตลาดและ และควรรักษาความมีคุณธรรมด้วยการ เชิงเกษตร และควรรักษาคุณธรรมในด้าน
ควรรั ก ษาคุ ณ ธรรมด้ า นการตลาดไว้ สร้ า งจิ ต ส� ำ นึ ก ที่ ดี ใ นการผลิ ต อาหาร การผลิตด้วยการให้บริการที่มีคุณธรรม
อย่างต่อเนื่องด้วยการก�ำหนดราคาการ เป็นผักหวานปลอดสารพิษที่มีคุณภาพ เช่นเดิม
เข้าพักในโฮมสเตย์ ค่าอาหาร และค่าชม ราคายุติธรรม และค�ำนึงถึงผลประโยชน์ ๔.๔ ด้ า นการตลาด คื อ ควรมี
การแสดงอย่างเท่าเทียมกันในทุกกลุ่ม ส่วนรวมเป็นหลัก ความพอประมาณด้วยการท�ำการตลาด
กิจกรรม ไม่ฉวยโอกาสในการขึ้นราคา ๔.๒ ด้านการเงิน คือควรมีความ อย่างค่อยเป็นค่อยไป ควรมีความมีเหตุผล
ในช่วงที่เป็นช่วงฤดูกาลท่องเที่ยวของ พอประมาณในการด�ำเนินการท่องเที่ยว ด้ ว ยการศึ ก ษาข้ อ มู ล ด้ า นการตลาดให้
อ�ำเภอวังน�้ำเขียว เชิงเกษตรด้วยก�ำลังทรัพย์และก�ำลังคน ชั ด เจนว่ า กลุ ่ ม เป้ า หมายหรื อ กลุ ่ ม นั ก
๔. สวนผักหวานป่า อ�ำเภอโชคชัย ที่มีอยู่ ควรมีเหตุผลในด้านการเงิน ด้วย ท่องเที่ยวเชิงเกษตรที่เป็นกลุ่มเป้าหมาย
จังหวัดนครราชสีมา การค�ำนวณโครงสร้างรายได้และรายจ่าย หลักคือใคร เพื่อที่จะได้ประชาสัมพันธ์
สวนผักหวานป่า ตั้งอยู่หมู่ที่ ที่เกิดขึ้น ควรมีภูมิคุ้มกันด้านการเงิน ด้านการตลาดให้ถูกกลุ่ม และจัดเตรียม
๑๒ บ้านกุดสวาย ต�ำบลพลับพลา อ�ำเภอ ด้วยการติดต่อกับหน่วยงานราชการใน สถานที่ได้ลงตัวกับกลุ่มลูกค้าเป้าหมาย
โชคชั ย จั ง หวั ด นครราชสี ม า โดยมี พื้นที่ เพื่อที่จะได้ขอให้หน่วยงานทาง ควรมี ภู มิ คุ ้ ม กั น ในด้ า นการตลาดด้ ว ย
ผูป้ ระกอบการชือ่ นายบุญชู กริดกระโทก ราชการในพื้ น ที่ เ ข้ า มาช่ ว ยสนั บ สนุ น การจัดท�ำแผนส�ำรองด้านการตลาดเพื่อ
อายุ ๔๓ ปี นางอันชัน กริดกระโทก อายุ ด้านงบประมาณควรเพิ่มเติมความรู้ด้วย รองรับการท่องเที่ยวเชิงเกษตร ควรเพิ่ม
๔๓ ปี ซึง่ สวนผักหวานป่าได้มกี ารจัดท�ำ การศึกษาการจัดท�ำระบบบัญชีอย่างเป็น เติมองค์ความรู้ด้านการตลาด ด้วยการ
กลยุทธ์การพัฒนาด้านต่าง ๆ ดังนี้ ระบบ และควรมีคุณธรรมด้านการเงิน ค้นคว้าเอกสารต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับด้าน
๔.๑ ด้านการพัฒนาบุคลากร คือ ด้วยการไม่ถือโอกาสขึ้นราคา หรือลด การท่องเที่ยวเชิงเกษตร และควรรักษา
ควรยึ ด หลั ก ความพอประมาณในการ ปริ ม าณการจ� ำ หน่ า ยสิ น ค้ า กั บ กลุ ่ ม นั ก คุณธรรมด้านการตลาดเพื่อสร้างความ
พัฒนาบุคลากรด้วยการใช้แรงงานภายใน ท่องเที่ยวเชิงเกษตร เพื่อที่จะได้สร้าง น่าเชื่อถือ และสร้างชื่อเสียงให้กับการ
ครอบครั ว แทนการจ้ า งงานภายนอก ภาพลั ก ษณ์ ใ นการประกอบธุ ร กิ จ การ ท่องเที่ยวเชิงเกษตรต่อไป
สร้างความมีเหตุผลโดยเจ้าของสวนผัก ท่องเที่ยวเชิงเกษตรที่ดี ๕. สวนเกษตรผสมผสาน อ�ำเภอ
หวานป่าและสมาชิกภายในครอบครัว ๔.๓ ด้านการผลิต คือการรักษา ขามสะแกแสง จังหวัดนครราชสีมา
ต้องเรียนรู้วิธีปลูกผักหวานป่าโดยใช้ปุ๋ย ความพอประมาณด้วยการให้บริการด้าน สวนเกษตรผสมผสานตั้งอยู่
อินทรีย์ไม่ใช้ปุ๋ยเคมี เพื่อจะได้ผักหวาน การท่ อ งเที่ ย วเชิ ง เกษตรแบบค่ อ ยเป็ น ที่หมู่ที่ ๔ ต�ำบลขามสะแกแสง อ�ำเภอ
ป่ า ปลอดสารพิ ษ ซึ่ ง จะเป็ น ประโยชน์ ค่อยไปจะท�ำให้การท่องเที่ยวเชิงเกษตร ขามสะแกแสง จังหวัดนครราชสีมา สวน
ด้านสุขภาพแก่นักท่องเที่ยว ควรสร้าง ที่สวนผักหวานป่าเกิดความยั่งยืน ควร เกษตรผสมผสานเกิ ด จากการรวมตั ว
ภูมิคุ้มกันโดยเจ้าของสวนผักหวานป่า มีเหตุผลด้วยการส�ำรวจความพร้อมของ ของชาวบ้านในพืน้ ทีห่ มูท่ ี่ ๔ (บ้านหนุก)
ควรปรั บ ปรุ ง ภู มิ ทั ศ น์ ใ ห้ มี สั ด ส่ ว นที่ ตนเองว่ า มี ค วามพร้ อ มในด้ า นการให้ มาจัดตัง้ กลุม่ ร่วมกันภายใต้ชอื่ กลุม่ อาชีพ

สุวิมล ตั้งประเสริฐ
619
The Journal of the Royal lnstitute of Thailand

Volume 36 No. 4 Oct-Dec 2011

การเกษตรผสมผสานบ้ า นหนุ ก และ ๕.๒ ด้านการเงิน คือควรมีความ ๕.๔ ด้ า นการตลาด คื อ ควรมี


ใช้พื้นที่ไร่นาสวนผสมของ นายสลิด พอประมาณด้วยการใช้เงินกองกลางของ ความพอประมาณด้ ว ยการด� ำ เนิ น การ
มุ ่ ง แฝงกลาง เป็ น เจ้ า ของสวนเกษตร กลุ่มที่มีอยู่อย่างจ�ำกัดให้เกิดประโยชน์ ตลาดให้สอดคล้องกับความสามารถใน
ผสมผสาน และเป็นประธานกลุ่มอาชีพ สู ง สุ ด ควรมี เ หตุ ผ ลในด้ า นการเงิ น การผลิตของตนเอง เพราะในปัจจุบัน
การเกษตรผสมผสาน ซึง่ สวนเกษตรผสม ด้วยการจัดท�ำบัญชีของกลุ่มอย่างเป็น ความสามารถในด้ า นการผลิ ต มี ค วาม
ผสานได้มีการจัดท�ำกลยุทธ์การพัฒนา ระบบ ควรมีภูมิคุ้มกันด้วยการประกาศ หลากหลาย ควรมีความมีเหตุผลด้วยการ
ด้านต่าง ๆ ดังนี้ หลั ก เกณฑ์ ใ นการเพิ่ ม การขายหุ ้ น ให้ ด�ำเนินการตลาดอย่างมีเหตุผล โดยการ
๕.๑ ด้ า นการพั ฒ นาบุ ค ลากร กับสมาชิกของกลุ่ม ควรเพิ่มเติมความรู้ ประชาสัมพันธ์ตลาดในกลุ่มเป้าหมาย
คื อ ควรรั ก ษาความพอประมาณในการ ด้านการเงินให้กับสมาชิกของกลุ่มโดย หลักคือหน่วยงานราชการและนักเรียน/
พั ฒ นาบุ ค ลากร โดยพั ฒ นาศั ก ยภาพ เฉพาะองค์ความรู้ในด้านของการจัดท�ำ นักศึกษาที่ต้องการมาศึกษาดู ง านด้ า น
ของสมาชิ ก กลุ ่ ม เกษตรหมู ่ บ ้ า นหนุ ก ระบบบัญชี และควรมีคุณธรรมในด้าน การท่องเที่ยวเชิงเกษตร ควรมีภูมิคุ้มกัน
อ�ำเภอขามสะแกแสง ให้รู้จักผลิตสินค้า การเงิน ด้วยการเปิดเผยข้อมูลทางการ ในด้านการตลาดด้วยการประชาสัมพันธ์
ทางเกษตรที่ ท� ำ ขึ้ น เองเพื่ อ จั ด จ� ำ หน่ า ย เงินของกลุ่มให้สมาชิกของกลุ่มทุกคน แหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรผ่านหน่วยงาน
ท�ำให้สมาชิกกลุ่มเกษตรกรสามารถใช้ ได้ รั บ ทราบข้ อ มู ล อย่ า งเปิ ด เผย และ ต่าง ๆ อย่างต่อเนื่อง ควรเพิ่มเติมองค์
ชีวิตอย่างพอเพียงและภูมิใจในผลผลิต สมาชิกทุกคนในกลุ่มสามารถตรวจสอบ ความรู้ด้วยการค้นคว้าข้อมูลจากเอกสาร
การสร้างความมีเหตุผล โดยให้สมาชิก ข้อมูลทางการเงินของกลุ่มได้ ต่าง ๆ การเข้ารับการฝึกอบรมหรือการ
กลุ่มเกษตรใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการ ๕.๓ ด้านการผลิต คือควรด�ำเนิน ศึกษาดูงาน เพื่อที่จะได้น�ำองค์ความรู้
ผลิตสินค้าต่าง ๆ ที่ท�ำมาจากสมุนไพร การจัดการท่องเที่ยวเชิงเกษตรแบบพอ เหล่านั้นมาใช้เพื่อพัฒนาการท่องเที่ยว
และควรวางแผนผลิตก�ำลังคนรุน่ ใหม่ให้ ประมาณ ด้วยการใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ เชิงเกษตรต่อไป และควรรักษาคุณธรรม
สามารถด�ำเนินกิจกรรมการท่องเที่ยวเชิง อย่างเต็มที่ และประยุกต์การใช้ทรัพยากร ด้านการตลาดด้วยการด�ำเนินการตลาด
เกษตรผสมผสานได้อย่างสร้างสรรค์ ควร ที่ มี อ ยู ่ ใ ห้ ส อดคล้ อ งกั บ การท่ อ งเที่ ย ว อย่างซื่อสัตย์ ไม่เอารัดเอาเปรียบหรือ
เพิม่ การมีภมู คิ มุ้ กันในการพัฒนาบุคลากร เชิงเกษตร ควรด� ำเนินการจัดการท่อง ค้าก�ำไรเกินควร
โดยพั ฒ นาสมาชิ ก กลุ ่ ม เกษตรกรให้ เที่ ย วเชิ ง เกษตรแบบมี เ หตุ ผ ลด้ ว ยการ ส่วนที่ ๓ ผลการศึกษาการสร้าง
ด�ำเนินกิจกรรมการท่องเที่ยวผสมผสาน จัดประชุมสมาชิกของกลุ่มเกษตรผสม เครื อ ข่ า ยการท่ อ งเที่ ย วเชิ ง เกษตรใน
ด้วยการให้นกั ท่องเทีย่ วอนุรกั ษ์ธรรมชาติ ผสานอย่างสม�่ำเสมอ และร่วมกันเสนอ จังหวัดนครราชสีมา ตามแนวทางของ
และรั ก ษาสิ่ ง แวดล้ อ มให้ ค งสภาพ แผนในการพัฒนาด้านการผลิตอย่างเป็น หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง อันน�ำไป
สมบูรณ์ควรเพิม่ องค์ความรูใ้ ห้แก่สมาชิก รูปธรรม ควรมีภูมิคุ้มกันด้านการท่อง สู่การจัดการแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตร
กลุ่มเกษตรกรโดยให้หน่วยงานราชการ เที่ยวเชิงเกษตรด้วยการให้สมาชิกแต่ละ อย่างยั่งยืน
ในท้องถิน่ ให้ความรูแ้ ละทักษะการปฏิบตั ิ คนได้มีส่วนร่วมในการด�ำเนินงาน ควร ผู้วิจัยได้ด�ำเนินการจัดเวทีประชุม
อย่างต่อเนือ่ ง และควรรักษาคุณธรรมโดย เพิ่มเติมองค์ความรู้ด้านการผลิตด้วยการ เพื่ อ สร้ า งเครื อ ข่ า ยการท่ อ งเที่ ย วเชิ ง
ให้สมาชิกกลุ่มเกษตรกรยึดมั่นในหลัก ให้ สมาชิ ก แต่ล ะรายค้น คว้า หาความรู ้ เกษตรระหว่างกัน เพือ่ น�ำไปสูก่ ารจัดการ
ค�ำสอนของพระพุทธศาสนา การเสียสละ ด้านการให้บริการการท่องเทีย่ วเชิงเกษตร แหล่ ง ท่ อ งเที่ ย วเชิ ง เกษตรในจั ง หวั ด
เพื่อส่วนรวม และการจ�ำหน่ายผลผลิต เพิ่มเติม และควรรักษาคุณธรรมในด้าน นครราชสีมาอย่างยั่งยืน โดยมีกลยุทธ์
ภายใต้ ห ลั ก คุ ณ ธรรมเพื่ อ ส่ ง เสริ ม การ การผลิ ต ด้ ว ยการด� ำ เนิ น การผลิ ต ที่ มี ส�ำหรับการสร้างเครือข่ายการท่องเที่ยว
ท่องเที่ยวเชิงเกษตรอย่างยั่งยืนตลอดไป คุณธรรมเหมือนเดิม เชิงเกษตรในจังหวัดนครราชสีมา ตาม

การจัดการแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรในจังหวัดนครราชสีมา
อย่างยั่งยืนภายใต้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
620
วารสารราชบัณฑิตยสถาน
ปีที่ ๓๖ ฉบับที่ ๔ ต.ค.-ธ.ค. ๒๕๕๔

แนวทางของหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอ ข่ายการท่องเที่ยวเชิงเกษตรในจังหวัด การให้บริการการท่องเที่ยวเชิงเกษตร


เพียง ส�ำหรับกลยุทธ์การสร้างเครือข่าย นครราชสีมามีความเข้มแข็งและความ ในแต่ละแห่ง และไม่ด�ำเนินธุรกิจการ
การท่ อ งเที่ ย วเชิ ง เกษตรในจั ง หวั ด ยั่งยืนตลอดไป ท่องเที่ยวเชิงเกษตรในรูปแบบเดียวกัน
นครราชสีมา มีดังต่อไปนี้ ๒. ด้านการเงิน คือควรมีความ เพือ่ สร้างความแตกต่างของการท่องเทีย่ ว
๑. ด้านการพัฒนาบุคลากร คือ พอประมาณในด้านการเงินด้วยการระดม เชิงเกษตรระหว่างกลุม่ เพือ่ ให้แต่ละกลุม่
เครื อ ข่ า ยการท่ อ งเที่ ย วเชิ ง เกษตรใน เงิ น เพื่ อ เป็ น เงิ น กองทุ น ในการด�ำ เนิ น สามารถด�ำเนินธุรกิจของตนเองต่อไปได้
จั ง หวั ด นครราชสี ม า ควรมี ค วามพอ กิจกรรมต่าง ๆ ร่วมกัน แต่การระดม ควรมีความมีเหตุผลด้วยการรวมกลุ่มกัน
ประมาณในการพั ฒ นาบุ ค ลากร ด้ ว ย ทุ น นั้ น ควรด� ำ เนิ น การอย่ า งค่ อ ยเป็ น แล้วน�ำการให้บริการการท่องเที่ยวเชิง
วิ ธี ก ารรวมตั ว ของกลุ ่ ม เป็ น เครื อ ข่ า ย ค่ อ ยไปโดยใช้ ค วามพอประมาณเป็ น เกษตรที่มีลักษณะเด่นของแต่ละแห่งมา
ท�ำให้สมาชิกของกลุ่มในเครือข่ายรู้จัก ที่ตั้ง ควรมีเหตุผลในด้านการเงินด้วย เป็นจุดขาย ควรมีภูมิคุ้มกันด้วยการจัด
ใช้ทรัพยากรในการท�ำการเกษตรเพือ่ การ การใช้ จ ่ า ยเงิ น ของกองทุ น เครื อ ข่ า ยฯ ประชุมเครือข่ายร่วมกันอย่างสม�่ำเสมอ
ท่องเที่ยวเชิงเกษตรอย่างมีประสิทธิภาพ ให้คุ้มค่ามากที่สุด ควรมีภูมิคุ้มกันที่ดี เพื่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่าง
การสร้ า งความมี เ หตุ ผ ลโดยสมาชิ ก ในด้านการเงินด้วยการเสนอโครงการ กั น ซึ่ ง จะมี ผ ลให้ เ กิ ด ความช่ ว ยเหลื อ
กลุ ่ ม เกษตรกรรวมตั วเป็นเครือข่ายท� ำ เพื่อของบประมาณสนับสนุนจากหน่วย ซึ่งกันและกัน และเอื้ออาทรต่อกันใน
กิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงเกษตร เพื่อ งานภาครั ฐ เพื่ อ ร่ ว มกั น ส่ ง เสริ ม และ ระยะยาว ควรได้รับองค์ความรู้เพิ่มเติม
เป็นศูนย์ประสานงานทีม่ เี ป้าหมายชัดเจน สนั บ สนุ น เส้ น ทางการท่ อ งเที่ ย วเชิ ง โดยเฉพาะในเรือ่ งของการด�ำเนินกิจกรรม
ซึ่ ง จะท� ำ ให้ เ ครื อ ข่ า ยมี ค วามเข้ ม แข็ ง เกษตรในจั ง หวั ด นครราชสี ม าร่ ว มกั น ระหว่ า งเครื อ ข่ า ยร่ ว มกั น และควรมี
มากขึ้น ควรมีภูมิคุ้มกันในการพัฒนา ควรเพิ่มเติมองค์ความรู้ในด้านการเงิน คุณธรรม โดยกลุ่มแต่ละกลุ่มที่เข้าร่วม
บุคลากร การเป็นเครือข่ายการท่องเที่ยว ระหว่ า งสมาชิ ก ของเครื อ ข่ า ย เพื่ อ ที่ เครือข่ายระหว่างกันจะต้องด�ำเนินการ
เชิงเกษตรส่งผลให้เกิดการแลกเปลี่ยน เครือข่ายจะได้มีองค์ความรู้ด้านการเงิน เปิดเผยข้อมูลให้กับสมาชิกในเครือข่าย
ความรู้ เทคโนโลยี การบริหารจัดการ มากขึ้น และควรมีคุณธรรมในด้านการ ได้ รั บ ทราบข้ อ มู ล อย่ า งตรงไปตรงมา
และเป็นการเสริมสร้างความสามัคคีร่วม เงิ น ด้ ว ยการเปิ ด เผยข้ อ มู ล ทางการเงิ น เพื่อที่จะได้ท�ำให้แต่ละกลุ่มในเครือข่าย
แรงร่วมใจ ท�ำให้เป็นภูมิคุ้มกันในการ ของเครือข่ายให้กับสมาชิกทุกกลุ่มของ เกิ ด ความไว้ ว างใจซึ่ ง กั น และกั น ผล
พัฒนาการท่องเทีย่ วเชิงเกษตรอย่างยัง่ ยืน เครือข่ายได้รับทราบ รวมทั้งควรตั้งคณะ ดังกล่าวจะท�ำให้เครือข่ายการท่องเที่ยว
ควรเพิ่ ม องค์ ค วามรู ้ ด้านการท่องเที่ยว กรรมการเพื่อด�ำเนินการตรวจสอบการ เชิ ง เกษตรในจั ง หวั ด นครราชสี ม าเกิ ด
เชิ ง เกษตรด้ ว ยการสร้ า งกระบวนการ ใช้ เ งิ น ของเครื อ ข่ า ยด้ ว ย เพราะการ ความรัก ความเข้าใจ ความสมัครสมาน
เรียนรู้ โดยเครือข่ายควรวางแผนพัฒนา ด�ำเนินการดังกล่าวจะท�ำให้การด�ำเนิน และสามัคคีซึ่งกันและกัน
ผู้น�ำรุ่นใหม่ด้วยการฝึกอบรมและศึกษา กิ จ กรรมของเครื อ ข่ า ยเป็ น ไปอย่ า ง ๔. ด้ า นการตลาด คื อ ควรมี
ดูงานจากหน่วยงานต่าง ๆ ที่เป็นตัวอย่าง โปร่งใส และสามารถตรวจสอบได้ ใน ความพอประมาณในด้านการตลาดด้วย
ทีด่ ี และควรรักษาคุณธรรมในการด�ำเนิน ที่สุดจะท�ำให้เครือข่ายการท่องเที่ยวเชิง การจัดการผลิตหรือการให้บริการด้าน
กิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงเกษตรระหว่าง เกษตรในจังหวัดนครราชสีมาเกิดความ การท่ อ งเที่ ย วเชิ ง เกษตรให้ ส อดคล้ อ ง
กัน โดยแต่ละกลุ่มที่เข้าร่วมเครือข่าย ยั่งยืนในการด�ำเนินงานในรูปแบบของ กั บ ความต้ อ งการของตลาด ควรมี
ระหว่างกันตัง้ อยูบ่ นพืน้ ฐานด้วยความรัก เครือข่าย เหตุ ผ ลด้ ว ยการระบบนั ก ท่ อ งเที่ ย ว
เมตตา เอื้ออาทร และสร้างสัมพันธภาพ ๓. ด้านการผลิต คือควรมีความ กลุม่ เป้าหมายของแต่ละกลุม่ อย่างชัดเจน
ที่ดีของสมาชิกในเครือข่าย เพื่อให้เครือ พอประมาณด้ ว ยการศึ ก ษาข้ อ มู ล ด้ า น เพื่อจะได้ไม่แย่งลูกค้ากัน หรือจะได้คอย

สุวิมล ตั้งประเสริฐ
621
The Journal of the Royal lnstitute of Thailand

Volume 36 No. 4 Oct-Dec 2011

ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ควรมีภูมิคุ้มกัน ประชาสั ม พั น ธ์ แ หล่ ง ท่ อ งเที่ ย วที่ อ ยู ่ เกษตรในจังหวัดนครราชสีมาเกิดความ


ในด้านการตลาด ด้วยการประชาสัมพันธ์ ภายใต้เครือข่ายเดียวกันอย่างไม่ปกปิด ยั่งยืนในการด�ำเนินงานในรูปแบบของ
การท่องเทีย่ วเชิงเกษตรในพืน้ ทีอ่ นื่ ๆ ซึง่ ข้อมูล และส่งเสริม/สนับสนุนให้นัก เครือข่ายที่มีความมั่นคงตลอดไป
อยู่ในเครือข่ายเดียวกันด้วย เพื่อที่จะได้ ท่องเที่ยวมีการเพิ่มเติมเป้าหมายในการ ส่วนที่ ๔ ผลการศึกษาการจัด
ท�ำให้นกั ท่องเทีย่ วเชิงเกษตรสามารถท่อง ท่ อ งเที่ ย วเชิ ง เกษตรเพิ่ ม ขึ้ น ดั ง นั้ น จะ ท�ำตัวชี้วัดความส�ำเร็จและความล้มเหลว
เที่ยวเชิงเกษตรในสถานที่ต่าง ๆ ที่มีรูป เห็นว่ากลยุทธ์ส�ำหรับการสร้างเครือข่าย ของการท่องเที่ยวเชิงเกษตรในจังหวัด
แบบทีแ่ ตกต่างกัน ควรเพิม่ เติมองค์ความ การท่ อ งเที่ ย วเชิ ง เกษตรในจั ง หวั ด นครราชสี ม า ตามแนวทางของหลั ก
รู ้ ด ้ า นการท่ อ งเที่ ย วเชิ ง เกษตรร่ ว มกั น นครราชสี ม าตามแนวทางของหลั ก ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
เพื่อให้เครือข่ายสามารถด�ำเนินกิจกรรม ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงทั้ง ๔ ด้าน การจัดท�ำตัวชี้วัดความส�ำเร็จและ
ร่วมกันได้ และควรมีคุณธรรมในการ คือ ด้านการพัฒนาบุคลากร ด้านการเงิน ความล้มเหลวของการท่องเทีย่ วเชิงเกษตร
ด�ำเนินกิจกรรมการท่องเที่ยวระหว่างกัน ด้านการผลิต และด้านการตลาด ซึ่งใน ในจังหวัดนครราชสีมาตามแนวทางของ
ด้วยการช่วยเหลือซึ่งกันและกันในการ ที่สุดจะท�ำให้เครือข่ายการท่องเที่ยวเชิง หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผูว้ จิ ยั สรุป
ได้ ๑๐ ประการ ดังแสดงในตารางที่ ๑

ตารางที่ ๑ การเปรียบเทียบตัวชี้วัดความส�ำเร็จและความล้มเหลวของการท่องเที่ยวเชิงเกษตร
ในจังหวัดนครราชสีมาตามแนวของหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ตัวชี้วัด ความส�ำเร็จของ ความล้มเหลวของ
การท่องเที่ยวเชิงเกษตร การท่องเที่ยวเชิงเกษตร การท่องเที่ยวเชิงเกษตร
๑. นโยบายของภาครัฐ ๑.๑ มีนโยบายชัดเจน ๑.๑ มีนโยบายไม่ชัดเจน
๑.๒ ภาครัฐมีการสนับสนุนการ ๑.๒ ภาครัฐขาดการสนับสนุนอย่างเป็น
ท่องเที่ยวเชิงเกษตรอย่างจริงจัง รูปธรรม
๒. การประชาสัมพันธ์ ๒.๑ การประชาสัมพันธ์ครอบคลุมสื่อ ๒.๑ การประชาสัมพันธ์ไม่ครอบคลุม
การท่องเที่ยวเชิงเกษตร ทุกประเภทและทุกกลุ่มเป้าหมาย ทุกกลุ่มเป้าหมาย
๒.๒ มีการประชาสัมพันธ์เชิงรุก ๒.๒ ขาดการประชาสัมพันธ์อย่างต่อเนื่อง
๓. แหล่งท่องเที่ยวใกล้เคียง ๓.๑ มีความคิดโดดเด่นและมีคุณค่าของ ๓.๑ ขาดการสร้างเครือข่ายกับแหล่ง
แหล่งท่องเที่ยว ท่องเที่ยวใกล้เคียง
๓.๒ มีการเชื่อมโยงองค์ความรู้เรื่องราว ๓.๒ ขาดการดูแลและบูรณะแหล่ง
เหตุการณ์ของแหล่งท่องเที่ยวใกล้เคียง ท่องเที่ยวให้พร้อมรับต่อการเยี่ยมชม
๔. ระยะทางในการเดินทางมา ๔.๑ การคมนาคมสะดวกและมีความ ๔.๑ เส้นทางการคมนาคมไม่สะดวกและ
ท่องเที่ยว ปลอดภัยในการเดินทาง ไม่ปลอดภัยในการเดินทาง
๔.๒ ระยะทางอยูใ่ กล้ตวั เมือง (ไม่ไกลเกินไป) ๔.๒ ระยะทางไกลเกินไป

การจัดการแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรในจังหวัดนครราชสีมา
อย่างยั่งยืนภายใต้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
622
วารสารราชบัณฑิตยสถาน
ปีที่ ๓๖ ฉบับที่ ๔ ต.ค.-ธ.ค. ๒๕๕๔

ตัวชี้วัด ความส�ำเร็จของ ความล้มเหลวของ


การท่องเที่ยวเชิงเกษตร การท่องเที่ยวเชิงเกษตร การท่องเที่ยวเชิงเกษตร
๕. หน่วยงานภาครัฐ ๕.๑ มีการติดต่อประสานความร่วมมือ ๕.๑ ขาดการประสานความร่วมมือกับ
ในท้องถิ่น กับหน่วยงานภาครัฐในท้องถิ่น หน่วยงานภาครัฐในท้องถิ่น
๕.๒ หน่วยงานภาครัฐในท้องถิ่นให้การ ๕.๒ หน่วยงานภาครัฐในท้องถิ่นขาดการ
สนับสนุนดูแลแหล่งท่องเที่ยวเชิง ส่งเสริมและสนับสนุนอย่างเป็น
เกษตรอย่างเป็นรูปธรรมและต่อเนื่อง รูปธรรมและต่อเนื่อง
๖. สถาบันการศึกษา ๖.๑ มีการถ่ายทอดองค์ความรู้ ที่มีคุณค่า ๖.๑ การสนับสนุนและช่วยเหลือในการ
สู่แนวทางการพัฒนาอย่างแท้จริง ถ่ายทอดองค์ความรู้ขาดความต่อเนื่อง
๖.๒ มีการสื่อสารและการประสานความ ๖.๒ องค์ความรู้ที่ถ่ายทอดไม่สอดคล้อง
ร่วมมืออย่างต่อเนื่อง กับวัตถุประสงค์ของผู้ประกอบการ
ท่องเที่ยวเชิงเกษตร
๗. ผู้ประกอบการ ๗.๑ มีคุณธรรม จริยธรรมในการด�ำเนิน ๗.๑ ผู้ประกอบการขาดคุณธรรมจริยธรรม
กิจการการท่องเที่ยวเชิงเกษตร ในการด�ำเนินกิจการการท่องเที่ยว
๗.๒ ผู้ประกอบการมีวิสัยทัศน์กว้างไกล เชิงเกษตร
ในการบริหารจัดการ ๗.๒ ผู้ประกอบการขาดวิสัยทัศน์ในการ
๗.๓ มีจิตบริการ (Service Mind) ที่ดี บริหารการจัดการ
๗.๓ ผู้ประกอบการขาดจิตบริการที่ดี
๘. กิจกรรมของการท่องเที่ยว ๘.๑ มีกิจกรรมที่หลากหลายและน่าสนใจ ๘.๑ กิจกรรมไม่หลากหลายและไม่น่าสนใจ
เชิงเกษตร ๘.๒ กิจกรรมมีคุณค่าต่อการอนุรักษ์ ๘.๒ กิจกรรมไม่มีคุณค่าต่อการอนุรักษ์
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
๘.๓ กิจกรรมสามารถให้ความรู้ความ ๘.๓ กิจกรรมไม่สามารถให้ความรู้และ
เพลิดเพลินแก่นักท่องเที่ยวได้ ความเพลิดเพลินแก่นักท่องเที่ยวได้
๘.๔ กิจกรรมสามารถถ่ายทอดเป็นท้องถิ่น ๘.๔ กิจกรรมไม่สามารถถ่ายทอดความเป็น
และวัฒนธรรมของตนเองได้ ท้องถิ่นและวัฒนธรรมของตนเองได้
๙. ค่านิยมของนักท่องเที่ยว ๙.๑ สร้างค่านิยมร่วมส�ำหรับท้องถิ่น ๙.๑ ไม่สามารถก�ำหนดค่านิยมส�ำหรับ
เชิงเกษตร และแหล่งท่องเที่ยวนั้น ๆ ท้องถิ่นและแหล่งท่องเที่ยวนั้น ๆ
๙.๒ ส่งเสริมค่านิยมให้นักท่องเที่ยวเกิด ๙.๒ นักท่องเที่ยวไม่รับรู้ถึงค่านิยม
การรับรู้ต่อค่านิยมนั้น ร่วมนั้น
๑o.๑ ค่าใช้จ่ายไม่สูงเกินไปส�ำหรับการ ๑o.๑ ค่าใช้จา่ ยสูงเกินไปส�ำหรับการท่องเทีย่ ว
๑o. ค่าใช้จ่ายในการ ท่องเที่ยวเชิงเกษตร เชิงเกษตร
๑o.๒ ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่าในการท่องเที่ยว ๑o.๒ ค่าใช้จ่ายไม่คุ้มค่าต่อการท่องเที่ยว
เชิงเกษตร เชิงเกษตร

สุวิมล ตั้งประเสริฐ
623
The Journal of the Royal lnstitute of Thailand

Volume 36 No. 4 Oct-Dec 2011

สรุป เที่ยวเชิงเกษตรในจังหวัดนครราชสีมา จ�ำนวน ๘ ประเด็น คือ ๑) สถานทีต่ งั้ ๒)


จากการศึ ก ษาการจั ด การแหล่ ง ทั้ง ๕ แห่ง ได้จัดท�ำระบบฐานข้อมูล ผูป้ ระกอบการ ๓) กิจกรรมการท่องเทีย่ ว
ท่องเที่ยวเชิงเกษตรจังหวัดนครราชสีมา การท่ อ งเที่ ย วเชิ ง เกษตรเพื่ อ พั ฒ นาใน ๔) ช่วงเวลาที่เหมาะสมในการท่องเที่ยว
อย่างยั่งยืนภายใต้หลักปรัชญาเศรษฐกิจ พื้นที่จังหวัดนครราชสีมา โดยบูรณาการ ๕) สินค้าของฝากและของที่ระลึก ๖)
พอเพียงดังกล่าวข้างต้นได้ขอ้ สรุปถึงการ กั บ กลไกการเรี ย นการสอนในมหา สถานทีท่ อ่ งเทีย่ วใกล้เคียง ๗) แผนทีก่ าร
จัดการแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรอย่าง วิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ นครราชสี ม า ซึ่ ง ผล เดินทาง ๘) การวิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน
ยั่งยืนภายใต้หลักเศรษฐกิจพอเพียง ดังนี้ การวิ จั ย ดั ง กล่ า วท� ำ ให้ ท ราบถึ ง ระบบ โอกาส และอุปสรรค ของแหล่งท่องเทีย่ ว
๑. การจั ด ท� ำ ระบบฐานข้ อ มู ล ฐานข้ อ มู ล การท่ อ งเที่ ย วเชิ ง เกษตร เชิ ง เกษตรในจั ง หวั ด นครราชสี ม า ดั ง
การท่ อ งเที่ ย วเชิ ง เกษตร แหล่ ง ท่ อ ง อันประกอบด้วยฐานข้อมูลการท่องเที่ยว แสดงในตารางที่ ๒

ตารางที่ ๒ การวิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรค


ของแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรในจังหวัดนครราชสีมา

จุดแข็ง (Strengths) = S จุดอ่อน (Weaknesses) = W


๑. ผู้ประกอบการมีวิสัยทัศน์กว้างไกลมีจิตบริการที่ดี และ ๑. ขาดการประชาสัมพันธ์แหล่งท่องเที่ยวอย่างต่อเนื่องและ
มีคุณธรรม ไม่ครอบคลุมทุกกลุ่มเป้าหมาย
๒. มีกจิ กรรมท่องเทีย่ วเชิงเกษตรทีห่ ลากหลาย น่าสนใจ และ ๒. สมาชิกกลุ่มมีจ�ำนวนน้อยขาดองค์ความรู้ ต้องพึ่งพาผู้น�ำ
ช่วยอนุรักษ์ธรรมชาติสิ่งแวดล้อม ๓. ภูมทิ ศั น์โดยรอบของแหล่งท่องเทีย่ วยังไม่ได้รบั การพัฒนา
๓. แหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรมีสิ่งอ�ำนวยความสะดวกหลาย ๔. แหล่งท่องเที่ยว ยังมีจุดบริการน้อย เช่น ร้านอาหาร ที่พัก
ประการ สะอาด ปลอดภัย และค่าใช้จ่ายไม่สูงนัก จุดชมวิว
๔. สมาชิกกลุ่มให้ความส�ำคัญกับนักท่องเที่ยวโดยให้การ
ต้อนรับและบริการด้วยความอบอุ่น

โอกาส (Opportunities) = O ข้อจ�ำกัด (Threats) = T


๑. ภาครัฐมีนโยบายสนับสนุนอย่างเป็นรูปธรรมและชัดเจน ๑. ขาดการสนับสนุนด้านงบประมาณจากหน่วยงานภาครัฐ
๒. สถาบันการศึกษามีการสือ่ สาร และประสานความร่วมมือ อย่างต่อเนื่อง
กับแหล่งท่องเที่ยวท�ำให้เกิดการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ๒. นโยบายของรัฐขาดความชัดเจน
๓. การคมนาคมในการเดินทางมาท่องเที่ยวมีความสะดวก ๓. ช่วงเวลาที่เหมาะสมในการท่องเที่ยวมีจ�ำกัด เนื่องจาก
และปลอดภัย ฤดูฝนท�ำให้ท่องเที่ยวไม่ได้
๔. จุดท่องเที่ยวชมทิวทัศน์ของสถานที่ท่องเที่ยวใกล้เคียง
ยังมีน้อย และเส้นทางคมนาคมของแหล่งท่องเที่ยว
เชิงเกษตร ต้องมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง

การจัดการแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรในจังหวัดนครราชสีมา
อย่างยั่งยืนภายใต้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
624
วารสารราชบัณฑิตยสถาน
ปีที่ ๓๖ ฉบับที่ ๔ ต.ค.-ธ.ค. ๒๕๕๔

๒. การจัดท�ำกลยุทธ์การพัฒนา ถือโอกาสขึ้นราคาสินค้าหรือลดปริมาณ ของแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรในจังหวัด


การท่องเทีย่ วเชิงเกษตร ซึง่ ประกอบด้วย การจ�ำหน่ายสินค้ากับกลุ่มนักท่องเที่ยว นครราชสีมาภายใต้หลักปรัชญาเศรษฐกิจ
๒.๑ กลยุทธ์การพัฒนาด้าน เชิงเกษตร เพื่อจะได้สร้างภาพลักษณ์ พอเพียงทัง้ ๕ แห่ง คือ ๑) ไร่องุน่ ครูเสน่ห์
บุ ค ลากร ผู ้ ป ระกอบการและสมาชิ ก ในการประกอบธุรกิจการท่องเที่ยวเชิง อ�ำเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา ๒)
ทุ ก คนในกลุ ่ ม ร่ ว มกั น วางแผนพั ฒ นา เกษตรที่ดีภายใต้หลักปรัชญาเศรษฐกิจ สวนเขาดินเฉลิมพระเกียรติ อ�ำเภอเมือง
กิจกรรมของกลุ่มอย่างเป็นระบบ เพื่อ พอเพียง นครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา ๓)
ให้ด�ำเนินการจัดกิจกรรมการท่องเที่ยว ๒.๓ กลยุทธ์การพัฒนาด้าน บุไทรโฮมสเตย์ อ�ำเภอวังน�ำ้ เขียว จังหวัด
เชิงเกษตรภายใต้หลักปรัชญาเศรษฐกิจ การผลิ ต ผู ้ ป ระกอบการควรบริ ห าร นครราชสีมา ๔) สวนผักหวานป่า อ�ำเภอ
พอเพี ย งเป็ น ไปอย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ จั ด การการท่ อ งเที่ ย วเชิ ง เกษตรภายใต้ โชคชัย จังหวัดนครราชสีมา ๕) สวนเกษตร
มีการเพิม่ องค์ความรูใ้ ห้แก่ผปู้ ระกอบการ หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงด้วยการ ผสมผสาน อ�ำเภอขามสะแกแสง จังหวัด
และสมาชิ ก ทุ ก คน โดยให้ ห น่ ว ยงาน ใช้ ท รั พ ยากรที่ อ ยู ่ อ ย่ า งเต็ ม ที่ โดยวิ ธี นครราชสีมา ซึง่ จากผลของการวิจยั ก่อให้
ราชการในท้ อ งถิ่ น มาแนะน� ำ ให้ ค วาม ด�ำเนินงานของผู้น�ำและสมาชิกกลุ่มร่วม เกิดประโยชน์อย่างมากในเชิงสาธารณะ
รู ้ ทั้ ง ภาคทฤษฎี แ ละภาคปฏิบัติท� ำให้ผู้ กันในการพัฒนาคุณภาพของผลผลิตให้ เพราะก่ อ ให้ เ กิ ด ความร่ ว มมื อ กั น ของ
ประกอบการและสมาชิกสามารถผลิต มีความแตกต่างของสินค้า การผลิตโดย พื้นที่ในระดับอ�ำเภออย่างเป็นรูปธรรม
สินค้าทางการเกษตร และด�ำเนินการจัด ใช้วัตถุดิบของท้องถิ่นและการลดต้นทุน มีการแลกเปลีย่ นเรียนรูร้ ะหว่างกัน อันจะ
รูปแบบกิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงเกษตร วัตถุดิบในราคาที่เป็นธรรมแก่สมาชิก มีผลให้เกิดความช่วยเหลือซึ่งกันและกัน
ได้มาตรฐาน ซึง่ จะเป็นการสร้างจิตส�ำนึก เพื่อให้การพัฒนาธุรกิจมีความเข้มแข็ง และมีความเอื้ออาทรต่อกันในระยะยาว
ที่ดีให้แก่ผู้ประกอบการและสมาชิกใน ตลอดไป ท�ำให้แหล่งท่องเทีย่ วเชิงเกษตรในจังหวัด
การผลิตสินค้าทางการเกษตรและการจัด ๒.๔ กลยุทธ์การพัฒนาด้าน นครราชสีมาทั้ง ๕ แห่งได้มีการสร้าง
รูปแบบกิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงเกษตร การตลาด ผู ้ ป ระกอบการควรบริ ห าร เครือข่ายการท่องเที่ยวเชิงเกษตรภายใต้
ที่มีคุณภาพ ราคายุติธรรม ค�ำนึงถึงผล จัดการด้วยการสร้างจุดขายจากความแตก หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง อันน�ำไป
ประโยชน์ส่วนรวมเป็นหลักในการช่วย ต่างของสินค้า การสร้างช่องทางการตลาด สู่การจัดการแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตร
กั น อนุ รั ก ษ์ ธ รรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล้ อ ม โดยสมาชิกกลุม่ ต้องเพิม่ กลยุทธ์การสร้าง อย่างยั่งยืนได้ กลยุทธ์การสร้างเครือข่าย
อย่างยั่งยืน ยีห่ อ้ และตราสินค้าให้เกิดความน่าเชือ่ ถือ การท่ อ งเที่ ย วเชิ ง เกษตรในจั ง หวั ด
๒.๒ กลยุทธ์การพัฒนาด้าน ในตัวสินค้า และสร้างเครือข่ายความ นครราชสีมา ๔ ด้านคือ ๑) ด้านการ
การเงิน ผูป้ ระกอบการควรบริหารการเงิน สัมพันธ์กับหน่วยงานอื่น ๆ โดยผ่าน พั ฒ นาบุ ค ลากร ๒) ด้ า นการเงิ น ๓)
ที่มีอยู่อย่างมีประสิทธิภาพ โดยการน�ำ การประชาสัมพันธ์ นอกจากนี้การใช้ ด้านการผลิต และ ๔) ด้านการตลาด ผล
เงินที่เหลืออยู่ไปใช้ในการลงทุนเพื่อเพิ่ม ข้อมูลทางการตลาดที่เป็นปัจจุบันจะเป็น ดังกล่าวจะท�ำให้เครือข่ายการท่องเที่ยว
มูลค่าให้กับตนเอง ไม่ควรกู้ยืมเงินจาก ประโยชน์ต่อการเจรจาต่อรองทางธุรกิจ เชิ ง เกษตรในจั ง หวั ด นครราชสี ม าเกิ ด
แหล่งต่าง ๆ ที่ขาดความน่าเชื่อถือ และ ให้ เ ป็ น ตลาดที่ มี คุ ณ ภาพ ซึ่ ง จะท� ำ ให้ ความรัก ความเข้าใจ ความสามัคคีซึ่งกัน
ที่ส�ำคัญคือไม่ควรก่อหนี้สิน ผู้ประกอบ เกิดความน่าเชื่อถือและสร้างชื่อเสียงให้ และกัน และสามารถอยู่ร่วมกันได้อย่าง
การควรมีการจัดท�ำระบบบัญชีอย่างเป็น กับการท่องเที่ยวเชิงเกษตรภายใต้หลัก ยั่งยืน ซึ่งในที่สุดเครือข่ายการท่องเที่ยว
รูปธรรม มีการเดินบัญชีที่ธนาคารอย่าง ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงต่อไป เชิงเกษตรในจังหวัดนครราชสีมาจะเกิด
สม�่ำเสมอแทนที่จะถือเงินสดไว้ในมือ ๓. การสร้างเครือข่ายการท่องเทีย่ ว ความยั่งยืนในการด�ำเนินงานในรูปแบบ
ประการส�ำคัญคือ ผู้ประกอบการไม่ควร เชิงเกษตร ส�ำหรับการสร้างเครือข่าย เครือข่าย

สุวิมล ตั้งประเสริฐ
625
The Journal of the Royal lnstitute of Thailand

Volume 36 No. 4 Oct-Dec 2011

๔. การจัดท�ำตัวชี้วัดความส�ำเร็จ นครราชสีมาหรือใกล้กบั กรุงเทพมหานคร ๔.๑๐ ค่ า ใช้ จ ่ า ยในการท่ อ ง


และความล้ ม เหลว ส� ำ หรั บ การจั ด ท� ำ ๔.๕ หน่ ว ยงานภาครั ฐ ใน เที่ยวเชิงเกษตร จะมีผลต่อการตัดสิน
ตั ว ชี้ วั ด ความส�ำ เร็ จ และความล้ ม เหลว ท้องถิ่น มีส่วนส�ำคัญในการสนับสนุน ใจของนั ก ท่ อ งเที่ ย วเชิ ง เกษตร ดั ง นั้ น
ของการท่องเที่ยวเชิงเกษตรในจังหวัด และส่ ง เสริ ม การพั ฒ นาการท่ อ งเที่ ย ว ผูป้ ระกอบการควรด�ำเนินการโดยใช้หลัก
นครราชสี ม าตามแนวทางของหลั ก เชิงเกษตรในพื้นที่จังหวัดนครราชสีมา ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง คือมีความพอ
ปรั ช ญาเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง ซึ่ ง ผลของ ซึ่งจะท�ำให้แหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรมี ประมาณ มีเหตุผล สร้างภูมคิ มุ้ กัน และมี
การวิ จั ย ท� ำ ให้ เ กิ ด ประโยชน์ ใ นเชิ ง โอกาสที่จะประสบความส�ำเร็จได้ คุณธรรมต่อนักท่องเที่ยวเชิงเกษตร
สาธารณะ เพราะจะท�ำให้ทราบถึงปัจจัย ๔.๖ สถาบันการศึกษา โดย
ทีก่ อ่ ให้เกิดความส�ำเร็จและความล้มเหลว สถาบันการศึกษามีส่วนร่วมในการสร้าง ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย
ของการท่องเที่ยวเชิงเกษตรในจังหวัด องค์ความรู้ให้ผู้ประกอบการท่องเที่ยว ส�ำหรับข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย
นครราชสีมา จ�ำนวน ๑๐ ปัจจัย ดังนี้ เชิ ง เกษตร เพื่ อ น� ำ ไปพั ฒ นาพื้ น ที่ ข อง ผู้วิจัยสรุปได้ ๕ ประการ ดังนี้
๔.๑ นโยบายของภาครั ฐ ตนเองจนกลายเป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิง ๑. นโยบายของภาครัฐ ภาครัฐ
ส�ำหรับนโยบายของภาครัฐมีส่วนส�ำคัญ เกษตรที่น่าสนใจ มีส่วนส�ำคัญในการกระตุ้นให้เกิดการ
ในการกระตุ้นให้เกิดการท่องเที่ยวเชิง ๔.๗ ผู ้ ป ระกอบการการ ท่ อ งเที่ ย วเชิ ง เกษตรในพื้ น ที่ จั ง หวั ด
เกษตรในจังหวัดนครราชสีมาภายใต้หลัก ท่องเที่ยวเชิงเกษตร ต้องมีบุคลิกภาพที่ดี นครราชสีมา ท�ำให้ผู้ประกอบการหรือ
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ในการต้อนรับนักท่องเที่ยว รวมทั้งต้อง เกษตรกรมี ร ายได้ เ พิ่ ม ขึ้ น ซึ่ ง การใช้
๔.๒ การประชาสัมพันธ์การ มีคุณธรรม จริยธรรม และอัธยาศัยที่ดี นโยบายของภาครัฐจะช่วยกระตุ้นความ
ท่ อ งเที่ ย วเชิ ง เกษตร ด้ ว ยการผ่ า นสื่ อ ต่อการให้บริการนักท่องเที่ยวเชิงเกษตร เจริ ญ เติ บ โตในกิ จ กรรมการท่ อ งเที่ ย ว
ต่าง ๆ ซึ่งเป็นสื่อหลักของประเทศ เช่น ๔.๘ กิ จ ก ร ร ม ข อ ง ก า ร เชิ ง เกษตร จะท� ำ ให้ ก ารท่ อ งเที่ ย วเชิ ง
วิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ หนังสือ ท่องเที่ยวเชิงเกษตร ผู้ประกอบการและ เกษตรมี ค วามเข้ ม แข็ ง และความยั่ ง ยื น
พิมพ์ จดหมายข่าว อินเทอร์เน็ต และ สมาชิ ก ในกลุ ่ ม ต้ อ งมี รู ป แบบการจั ด ตลอดไป
เว็บไซต์ต่าง ๆ จะท�ำให้การท่องเที่ยว กิจกรรมทีห่ ลากหลาย เช่น การแสดงหรือ ๒. หน่วยงานภาครัฐในท้องถิ่น
เชิงเกษตรในจังหวัดนครราชสีมาขยายตัว สาธิตการเกษตร กิจกรรมทีจ่ ดั ให้นกั ท่อง หน่วยงานในพืน้ ทีข่ องภาครัฐ เช่น องค์การ
ได้อย่างกว้างขวาง เที่ยวร่วมท�ำกิจกรรมระยะสั้น การให้นัก บริหารส่วนต�ำบล ส�ำนักงานเกษตรอ�ำเภอ
๔.๓ แหล่ ง ท่ อ งเที่ ย วใกล้ ท่องเทีย่ วพักแรมในหมูบ่ า้ น การจ�ำหน่าย ทีท่ ำ� การผูใ้ หญ่บา้ น ทีว่ า่ การอ�ำเภอ มีสว่ น
เคียงกัน โดยนักท่องเทีย่ วสามารถเดินทาง สินค้าและผลิตภัณฑ์เกษตร ซึ่งจะท�ำให้ ส� ำ คัญ ในการสนับ สนุ นส่งเสริ ม และมี
ไปท่องเที่ยวในพื้นที่อื่น ๆ ได้ง่าย เพราะ นักท่องเที่ยวเชิงเกษตรมีความสุขและ บทบาทต่อการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิง
มี ส ถานที่ ท ่ อ งเที่ ย วอยู ่ ใ กล้ เ คี ย งกั น จะ ตื่ น เต้ น แปลกใหม่ กั บ กิ จ กรรมการ เกษตรในพื้นที่จังหวัดนครราชสีมาเป็น
ส่งผลให้การท่องเที่ยวในพื้นที่ประสบ ท่องเที่ยวเชิงเกษตรที่ผู้ประกอบการจัด อย่างยิ่ง
ผลส�ำเร็จได้ บริการให้แก่นักท่องเที่ยว ๓. รู ป แบบของกิ จ กรรมการ
๔.๔ ร ะ ย ะ ท า ง ใ น ก า ร ๔.๙ การสร้างค่านิยมให้กับ ท่องเที่ยวเชิงเกษตร ผู้ประกอบการและ
ท่องเที่ยว มีส่วนส�ำคัญถึงเหตุผลในการ นักท่องเที่ยวเชิงเกษตร ด้วยการให้องค์ เกษตรกรควรมี รู ป แบบของกิ จ กรรม
ตัดสินใจในด้านการท่องเที่ยวเชิงเกษตร ความรู้และทัศนคติที่ดีถึงประโยชน์หรือ การเกษตรกรรมที่ ห ลากหลาย ขึ้ น อยู ่
โดยเฉพาะถ้าแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตร ข้อดีที่ได้รับจากการท่องเที่ยวเชิงเกษตร กับวิถีการประกอบอาชีพของเกษตรกร
อยู ่ ใ กล้ กั บ พื้ น ที่ เ ขตตั ว เมื อ งจั ง หวั ด ภายใต้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และวัฒนธรรมท้องถิ่น ซึ่งผู้ประกอบ

การจัดการแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรในจังหวัดนครราชสีมา
อย่างยั่งยืนภายใต้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
626
วารสารราชบัณฑิตยสถาน
ปีที่ ๓๖ ฉบับที่ ๔ ต.ค.-ธ.ค. ๒๕๕๔

การและหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน อย่างมีเหตุผล มีความเข้มแข็ง มีความ เอกสารอ้างอิง


ควรส่ ง เสริ ม รู ป แบบของกิ จ กรรมการ ยั่ ง ยื น โดยค� ำ นึ ง ถึ ง ความพอประมาณ เครือซีเมนต์ไทย. เครือซีเมนต์ไทย (SCG)
ท่องเที่ยวเชิงเกษตร เช่น รูปแบบเกษตร ไม่เบียดเบียนทั้งตนเองและผู้อื่น ขณะ กั บ การด� ำ เนิ น ธุ ร กิ จ ตามปรั ช ญา
เศรษฐกิจพอเพียง. กรุงเทพมหานคร :
ผสมผสาน การท�ำนา สวนผลไม้ ไม้ดอก เดียวกันต้องมีเหตุผลในการกระท�ำและ
บริษทั ปูนซีเมนต์ไทย จ�ำกัด (มหาชน) ;
ไม้ประดับ สวนเกษตรโครงการหลวง มีการสร้างภูมิคุ้มกันที่ดีเพื่อเตรียมพร้อม ๒๕๕๒.
โฮมสเตย์ โดยสร้างความร่วมมือระหว่าง รั บ ผลกระทบจากความเปลี่ ย นแปลง ชัยวุฒิ ชัยพันธ์. การจัดการเกษตรทรัพยากร
นักท่องเที่ยวเชิงเกษตร ผู้ประกอบการ ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น โดยอาศัยความรู้และ ธรรมชาติและการท่องเทีย่ ว. กรุงเทพ-
และหน่วยงานช่วยกันอนุรักษ์ทรัพยากร คุณธรรม เช่น ความซื่อสัตย์สุจริต ความ มหานคร : คณะเศรษฐศาสตร์
ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมให้เกิดความ อดทน ความเพี ย ร สติ ป ั ญ ญา ความ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย; ๒๕๔๒.
นันทิยา หุตานุวัตร และณรงค์ หุตานุวัตร.
ยั่งยืนตลอดไป รอบคอบ มาประกอบการวางแผน ตัดสิน
การพัฒนาองค์กรชุมชน. กรุงเทพ-
๔. การประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยว ใจ และการกระท�ำต่าง ๆ ในการท�ำธุรกิจ มหานคร : ธรรกมลการพิมพ์; ๒๕๔๙.
เชิ ง เกษตร การประชาสั ม พั น ธ์ ข อง การท่ อ งเที่ ย วเชิ ง เกษตรให้ เ กิ ด ความ ร�ำไพพรรณ แก้วสุริยะ. “การบริหารจัดการ
หน่วยงานทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และ มั่นคงและยั่งยืน แหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตร” เอกสาร
ผู้ประกอบการ ด้วยการผ่านสื่อต่าง ๆ ประกอบการบรรยายในการฝึกอบรม
ซึ่ ง เป็ น สื่ อ หลั ก ของประเทศ เช่ น กิตติกรรมประกาศ หลั ก สู ต รการพั ฒ นาและส่ ง เสริ ม
วิ ท ยุ ก ระจายเสี ย ง วิ ท ยุ โ ทรทั ศ น์ บทความนีป้ รับปรุงมาจากรายงาน การท่องเที่ยวเชิงเกษตรปี ๒๕๔๗
๒๕ พฤษภาคม ๒๕๔๗, ณ โรงแรม
หนังสือพิมพ์ อินเทอร์เน็ต เว็บไซต์ตา่ ง ๆ วิจัยเรื่องการจัดการแหล่งท่องเที่ยวเชิง สองพันบุรี อ�ำเภอเมืองฯ จังหวัด
จะมี ส ่ ว นส� ำ คั ญ ที่ ท� ำ ให้ ก ารท่ อ งเที่ ย ว เกษตรในจังหวัดนครราชสีมาอย่างยั่งยืน สุพรรณบุรี; ๒๕๔๗.
เชิงเกษตรในจังหวัดนครราชสีมาขยายตัว ภายใต้ ห ลั ก ปรั ช ญาเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่ง
ได้ และท�ำให้นักท่องเที่ยวเชิงเกษตรเข้า ซึง่ ได้รบั ทุนสนับสนุนการวิจยั จากส�ำนัก ประเทศไทย. รายงานเบื้องต้นการ
ถึงข้อมูลต่าง ๆ ได้อย่างทัว่ ถึงและรวดเร็ว บริ ห ารโครงการส่ ง เสริ ม การวิ จั ย ใน ศึกษาเพื่อก�ำหนดแนวทางการพัฒนา
จึ ง เป็ น โอกาสดี ที่ จ ะท� ำ ให้ ผู ้ ป ระกอบ อุดมศึกษาและพัฒนามหาวิทยาลัยวิจัย และจัดการการท่องเที่ยวเชิงเกษตร
เสนอต่อการท่องเที่ยวแห่งประเทศ
การสามารถสร้ า งสื่ อต่าง ๆ ช่วยการ แห่งชาติ ส�ำนักงานคณะกรรมการการ ไทย. กรุงเทพมหานคร : สถาบันวิจัย
ประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยวเชิงเกษตร อุดมศึกษา ประจ�ำปีงบประมาณ ๒๕๕๔ วิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี แ ห่ ง
ในรูปแบบกิจกรรมต่าง ๆ อันจะส่งผล ในการนี้ ผู ้ วิ จั ย ขอขอบพระคุ ณ รอง ประเทศไทย; ๒๕๔๒.
ส�ำเร็จต่อการท่องเที่ยวเชิงเกษตร ศาสตราจารย์ ดร.วรวุฒิ หิรัญรักษ์ ที่ . รายงานขั้นสุดท้ายการศึกษา
๕. การน� ำ ปรั ช ญาเศรษฐกิ จ ได้ให้ค�ำแนะน�ำที่เป็นประโยชน์ในการ เพื่ อ ก� ำ หนดแนวทางการจั ด การ
พอเพียงไปประยุกต์ใช้กับการท่องเที่ยว เขี ย นบทความในครั้ ง นี้ และขอขอบ ท่องเที่ยวเชิงเกษตร (Agrotourism).
กรุ ง เทพมหานคร : สถาบั น วิ จั ย
เชิงเกษตรในจังหวัดนครราชสีมา โดย พระคุณผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เศาวนิต วิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี แ ห่ ง
ให้ผู้ประกอบการน� ำปรัชญาเศรษฐกิจ เศาณานนท์ อธิ ก ารบดี ม หาวิ ท ยาลั ย ประเทศไทย; ๒๕๔๓.
พอเพียงไปใช้ในการปฏิบตั ติ นและธุรกิจ ราชภัฏนครราชสีมา และผูบ้ ริหารทุกท่าน สุขสรรค์ กันตะบุตร. การพัฒนาแนวทาง
การท่องเที่ยวตั้งอยู่บนพื้นฐานบนความ ที่ได้สนับสนุนการวิจัยครั้งนี้จนส� ำเร็จ ปฏิบัติในการด�ำเนินธุรกิจอย่างยั่งยืน
พอดี ตัง้ อยูใ่ นทางสายกลาง มีการตัดสินใจ ลุล่วงด้วยดี ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง.
กรุงเทพมหานคร : ส�ำนักงานกองทุน
สนับสนุนการวิจัย; ๒๕๕๓.

สุวิมล ตั้งประเสริฐ
627
The Journal of the Royal lnstitute of Thailand

Volume 36 No. 4 Oct-Dec 2011

สุนัย เศรษฐ์บุญสร้าง. แนวทางปฏิบัติ ๗ ขั้น ส�ำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสาน อภิชัย พันธเสน, สรวิชญ์ เปรมชื่น และ
สู ่ วิ ถี เ ศรษฐกิ จ พอเพี ย ง. กรุ ง เทพ งานโครงการอันเนือ่ งมาจากพระราช- พิเชษฐ์ เกียรติเดชปัญญา. การประยุกต์
มหานคร : ซีเอ็ดยูเคชั่น; ๒๕๔๙. ด� ำ ริ . ทฤษฎี ใ หม่ ชี วิ ต ที่ พ อเพี ย ง. พระราชด� ำ ริ เ ศรษฐกิ จ พอเพี ย งกั บ
ส�ำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและ กรุงเทพมหานคร : ส�ำนักงานคณะ อุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาด
สังคมแห่งชาติ. เศรษฐกิจพอเพียง กรรมการพิ เ ศษเพื่ อ ประสานงาน ย่อม กรุงเทพมหานคร : ส�ำนักงาน
คืออะไร. กรุงเทพมหานคร : คณะ โครงการอันเนือ่ งมาจากพระราชด�ำริ. กองทุนสนับสนุนการวิจัย; ๒๕๔๖.
อนุ ก รรมการขั บ เคลื่ อ นเศรษฐกิ จ อัดส�ำเนา; ๒๕๕๐. Holinhoij, Jurgen H. A New Concept of Tourism
พอเพียง; ๒๕๔๙. Insight. Germany: Institute for
Scientific Cooperation; 1996.

Abstract The Agro Tourism Sustainable Management at Nakhon Ratchasima Province Based on Sufficiency
Economy Philosophy
Suwimon Tungprasert
Assistant Professor in the Faculty of Management Science, Nakhon Ratchasima Rajabhat University

The agro tourism sustainable management at Nakhon Ratchasima Province based on the sufficiency
economy philosophy employed the participatory procedures to find the guideline and the operational
procedures for the agro tourism entrepreneurs. These results assisted the agro tourism in Nakhon Ratchasima
to be sustainable agro tourism attractions. The results were as follows. 1) There was a database of the agro
tourism to develop attractions in Nakhon Ratchasima in eight aspects: location, entrepreneur, tourism
activity, appropriate visiting time, souvenirs, nearby attractions, travelling plan and strength, weakness,
opportunity and threat (SWOT). 2) The agro tourism development strategies covering five districts comprised
of four aspects: human resource development, finance, production and marketing. 3) The creation of the
agro tourism network in Nakhon Ratchasima Province revealed one agro tourism network with strategies in
four aspects: human resource development, finance, production and marketing. 4) The arrangement of the
success and failure index of agro tourism in Nakhon Ratchasima Province based on the sufficiency economy
philosophy revealed ten essential factors, including government policy, agro tourism public relation, nearby
attractions, distance of the destinations, government organization in the community level, educational
institutions, entrepreneur, agro tourism activity, tourists’ value and agro tourism cost.

Key Words : Management, the Agro Tourism Attractions, Sufficiency Economy Philosophy

การจัดการแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรในจังหวัดนครราชสีมา
อย่างยั่งยืนภายใต้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
628
วารสารราชบัณฑิตยสถาน
ปีที่ ๓๖ ฉบับที่ ๔ ต.ค.-ธ.ค. ๒๕๕๔

ลอย ชุนพงษ์ทอง*

เป็นทีท่ ราบโดยทัว่ กันว่า วันเฉลิม ๒) วันที่ ๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๔ ๕) วันที่ ๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๔
พระชนมพรรษาของพระบาทสมเด็ จ ตรงกับวันจันทร์ ดังเช่น วันเสด็จพระราช- ตรงกั บ ขึ้ น ๑๐ ค�่ ำ ทั้ ง ในปฏิ ทิ น ไทย
พระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ที่เวียนมา สมภพใน พ.ศ. ๒๔๗๐ ปฏิทินปักขคณนา และ ปฏิทินฮิจเราะห์
บรรจบในวันที่ ๕ ธันวาคม ของทุกปี ๓) พ.ศ. ๒๕๕๔ เป็นการครบ ๖) เป็นวันมงคลส�ำคัญอันเก่าแก่
แต่ใน พ.ศ. ๒๕๕๔ นี้ ผู้เขียนค�ำนวณ ๗ รอบนักษัตร ตรงกับปีนกั ษัตรมะโรง ของชาวมุสลิมและชาวยิว คือ การเฉลิม
พบว่ า มี ค วามมหั ศ จรรย์ ท างตั ว เลข (แบบไทยใหม่) หรือปีเถาะแบบไทยเดิม ฉลองวั น อาชู ร อ หรื อ เทศกาลขนม
ทางธรรมชาติ ๗ ประการ ดังต่อไปนี้ หรือจีน และตรงกับปีสี (จื่อเหม้า) ตาม บูโบซูรอ
๑) วันที่ ๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๔ ปฏิทินล้านนา ดังเช่น วันเสด็จพระราช- ๗) ปฏิทินฮิจเราะห์ ตรงกับวัน
เป็ น วั น ที่ ด วงอาทิ ต ย์ โ คจรกลั บ มายั ง สมภพ พ.ศ. ๒๔๗๐ ขึ้น ๑๐ ค�่ำเดือน ๑ เช่นเดียวกับปฏิทิน
ต�ำแหน่งดาวฤกษ์ดวงเดิม (เสวยฤกษ์เดิม) ๔) ดวงจั นทร์ โ คจรกลั บ มายั ง หลวงของไทย วันขึ้น ๑ ค�่ำ เดือน ๑
ดังเช่นในวันเสด็จพระราชสมภพ พ.ศ. (เสวยฤกษ์) ราศีเดิม และมีปรากฏเป็น
๒๔๗๐ เสี้ ย วเหมื อ นดั ง เช่ น วั น เสด็ จ พระราช-
สมภพใน พ.ศ. ๒๔๗๐ ทุกประการ

*
ที่ปรึกษาการค�ำนวณปฏิทินหลวง ส�ำนักพระราชวัง, ผู้เชี่ยวชาญพิเศษ สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ

ลอย ชุนพงษ์ทอง
629
ผลการค�ำนวณหนังสือปฏิทินไทย ๕,๐๐๐ ปี
ที่ผู้เขียน เขียนขึ้น และจัดพิมพ์โดยสถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ
Volume 36 No. 4 Oct-Dec 2011

วันที่ ๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๔๗๐


The Journal of the Royal lnstitute of Thailand

630
วันที่ ๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๔

ในวันเฉลิมพระชนมพรรษาครบ ๗ รอบ
ความมหัศจรรย์ทางตัวเลข ๗ ประการ

You might also like