You are on page 1of 36

รายงาน กระบี่กระบอง

จัดทำโดย
นาย ธนภัทร เกษนอก
รหัสนักศึกษา 6540189209 ค.6515
เสนอ
ผูช้ ่วยศาตราจารย์ วิชยั เพียรกสิ กรรม

รายงานนี้เป็ นส่ วนหนึ่งของการเรี ยนวิชากระบี่กระบอง


ภาคเรี ยนที่ 1 ปี การศึกษา 2565
มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย
คำนำ
รายงานเล่นนี้จดั ทำขึ้นเพื่อเป็ นส่ วนหนี่งของวิชา กระบี่
กระบอง เพื่อให้ได้ศึกษาหาความรู้ และได้ศึกษาอย่างเข้าใจ
เพื่อเป็ นประโยชน์กบั การเรี ยน
ผูจ้ ดั ทำหวังว่า รายงานเล่มนี้จะเป็ นประโยชน์กบั ผูอ้ ่าน หรื อ
นักเรี ยน นักศึกษา ที่ก ำลังหาข้อมูลเรื่ องนี้ อยู่ หากมีขอ้ แนะนำ
หรื อผิดพลาดประการใด ผูท้ ำขอน้อมรับไว้และขออภัยมา ณ
ที่น้ ีดว้ ย

ผู้จัดทำ
นาย ธนภัทร เกษนอก

สารบัญ
เรื่ อง หน้า
ประวัติ
กติกาการเล่นกระบี่กระบองและ
รู ปแบบการเล่นกระบี่กระบอง
เครื่ องกระบี่กระบอง
เครื่ องแต่งกาย
กำหนดเวลาการแข่งขันกระบี่กระบอง
กรรมการผูต้ ดั สิ นกีฬากระบี่กระบอง
คะแนนรวมของทีม

ประวัติ
การเล่นกระบี่กระบองเป็ นพื้นฐานเบื้องต้นส่ วนหนึ่งของศิลปะการต่อสู้ของไทย ที่
เรี ยกว่า กระบี่กระบอง การเล่นกระบี่กระบองเป็ นกีฬาที่บรรพบุรุษไทยนำเอาศิลปการ
ต่อสู้ป้องกันตัว ด้วยอาวุธที่ใช้สู้รบกันในสมัยโบราณ มาฝึ กซ้อมและเล่นในยามสงบ
โดยนำหวายมาทำเป็ นกระบี่ ดาบ ง้าว ฯลฯ เอาหนังมาทำโล่ เขน ดั้ง ฯลฯ แล้วจัดมาตี
ต่อสู้กนั เล่นหรื อแข่งขันกันเป็ นคู่ๆ ดุจสู้กนั ในสนามรบเป็ นการฝึ กหัดรุ กและรับไปใน
ตัว
            การ เล่นกระบี่กระบองเริ่ มในสมัยใด ใครเป็ นผูค้ ิดขึ้นไม่สามารถหาหลักฐาน
ได้ เนื่องจากได้มีการบันทึกไว้เป็ นหลักฐาน แต่เนื่องด้วยไทยเราเป็ นชาตินกั รบมาแต่
โบราณ กระบี่กระบองซึ่งเป็ นกีฬาของนักรบจึงน่าจะได้มีการเล่นกันมาเป็ นเวลาช้า
นาน ควบคู่กบั ชนชาติไทย ในสมัยรัตนโกสิ นทร์มีหลักฐานที่พออ้างอิงได้คือ วรรณคดี
ซึ่งในสมัยรัชกาลที่ 2 ในพระราชนิพนธ์เรื่ องอิเหนา กล่าวถึงอิเหนาชำนาญในการ
กระบี่ ในรัชกาลที่ 3 สุ นทรภู่แต่งเรื่ องพระอภัยมณี กล่าวถึงศรี สุวรรณเล่าเรื่ องกระบี่
กระบองกับอาจารย์ทิศาปาโมกข์
              ใน รัชกาลที่ 4 ทรงโปรดปรานกระบี่กระบองมาก ทรงโปรดให้พระเจ้าลูกยา
เธอหลายพระองค์ทรงหัดกระบี่กระบองจนครบวงจร และโปรดให้เล่นกระบี่กระบอง
เป็ นการสมโภชที่หน้าพระอุโบสถวัดพระศรี รัตนศาสดา ราม เนื่องในการทรงผนวช
เป็ นสามเณรของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั เมื่อใน พ.ศ. 2409
            ในรัชกาลที่ 5 ทรงโปรดให้มีการเล่นกระบี่กระบอง และชกมวยไทยหน้า
พระที่นงั่ ในงานสมโภชอยูเ่ นืองๆ กระบี่กระบองมีกนั ดาษดื่นและมากคณะ
           ในรัชกาลที่ 6 ความครึ กครื้ นในการเล่นกระบี่กระบองลดน้อยลง เพราะไม่ทรง
โปรดเท่ารัชกาลที่ 5

           ใน รัชกาลที่ 7 กระบี่กระบองค่อยๆ หมดไปจนเกือบหาดูไม่ได้ เนื่องจากการ


เปลี่ยนแปลงประเทศให้ทนั กับความเจริ ญก้าวหน้าของโลกอุตสาหกรรม ทำให้
ประชาชนทัว่ ไปมุ่งในเรื่ องเศรษฐกิจ สังคมมากขึ้น
            ต่อมา อาจารย์นาค เทพหัสดิน ณ อยุธยา ได้เป็ นผูน้ ำวิชากระบี่กระบองบรรจุ
ไว้ในหลักสูตรประโยค ผูส้ อนพลศึกษา ในปี พ.ศ.2479 และเป็ นผูท้ ี่สมควรได้รับการ
ยกย่องในฐานะผูอ้ นุรักษ์ฟ้ื นฟูและถ่ายทอด ศิลปะการต่อสู้ประเภทนี้ ในปี พ.ศ.2518
ได้มีการจัดให้วิชากระบี่กระบองเป็ นวิชาบังคับในชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายและใน ปี
พ.ศ.2521 เป็ นวิชาบังคับในชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น จึงยังคงมีการเรี ยนการสอนอยูท่ ุก
วันนี้
กติกาการเล่ นกระบีก่ ระบองและรู ปแบบการเล่นกระบีก่ ระบอง
1. การถวายบังคม
        ในสมัยโบราณการแสดงการต่อสู้มกั กระทำต่อหน้าที่ประทับ ผูแ้ สดงจึงต้องมีการ
ถวายบังคมซึ่งเป็ นการแสดงความเคารพต่อพระเจ้าแผ่นดินด้วย  และต่อมาได้เป็ นการ
ปฏิบตั ิเพื่อแสดงความจงรักภักดีต่อพระมหากษัตริ ยแ์ ละผูม้ ีพระคุณ การถวายบังคมนี้
จะกระทำ 3 ครั้ง แต่ละครั้งมีความหมายดังนี้
         ครั้งที่ 1 หมายถึง การแสดงความเคารพต่อหลักธรรมคำสัง่ สอนขององค์พระ
ศาสดา
         ครั้งที่ 2 หมายถึง การแสดงความเคารพต่อองค์พระประมุขของชาติ
         ครั้งที่ 3 หมายถึง การแสดงความเคารพต่อบิดา มารดา ผูป้ ระสิ ทธิ์ ประสาท
วิชาการและผูม้ ีพระคุณ
2. การขึ้นพรหม ประกอบด้วย การขึ้นพรหมนัง่ และการขึ้นพรหมยืน
         2.1 การขึ้นพรหมนัง่ ได้แก่ การนัง่ ร่ ายรำแต่ละทิศจนครบ 4 ทิศ แล้วจึงกลับหลัง
หันลุกขึ้นยืน
         2.2 การขึ้นพรหมยืน เป็ นการยืนรำแต่ละทิศจนครบทั้ง 4 ทิศ และจบลงด้วย
การเตรี ยมพร้อมจะปฏิบตั ิในขั้นตอนต่อไป
         การขึ้นพรหมนี้ ถ้าฝ่ ายหนึ่งขึ้นพรหมนัง่ อีกฝ่ ายจะขึ้นพรหมยืน นอกจากเป็ นการ
สร้างกำลังใจและคุม้ ครองในการต่อสู้แล้ว การขึ้นพรหมนี้ นาค เทพหัสดิน ณ อยุธยา
ได้บนั ทึกไว้วา่   เป็ นการสอนให้ผเู้ รี ยนระลึกถึงธรรมของการอยูร่ ่ วมกันในสังคม
ได้แก่ พรหมวิหารสี่
3. การรำเพลงอาวุธ
         ผูแ้ สดงที่เล่นอาวุธใดจะเลือกรำเพลงตามอาวุธที่ตนใช้  โดยเลือกท่ารำจากท่ารำ
ทั้งหมดในอาวุธนั้นตามความเหมาะสมหรื อความชำนาญของผูเ้ ล่นประมาณ 1 ท่า การ
รำเพลงอาวุธนี้ มีมานานแต่สมัยโบราณ และมีประโยชน์ต่อผูเ้ ล่น
4. การเดินแปลง
         เป็ นลักษณะของการเดินที่พร้อมจะเข้าสู่ ท่าต่อสู้ การเดินจะเดินไปจนสุ ดสนาม
แล้วกลับมาที่เดิมขณะที่อยูใ่ นระยะใกล้ที่จะสวนกันให้ต่างหลีกไปทางซ้ายเพียงเล็ก
น้อย โดยอาวุธอาจจะถูกหรื อระกันเล็กน้อยได้  การเดินแปลงเป็ นการที่ท้ งั สองฝ่ ายต่าง
จ้องดูเล่ห์เหลี่ยมของกันและกัน เป็ นการอ่านใจกันและคุมเชิงกันในทีก่อนจะเข้าต่อสู้
5. การต่อสู้
         จะเป็ นการใช้ท่าทางการต่อสู้ที่ได้ฝึกมาทั้งหมดในสถานการณ์จริ ง การต่อสู้น้ ีจะ
ใช้อาวุธของการต่อสู้ที่เรี ยกว่า "เครื่ องไม้ตี" มีลกั ษณะเช่นเดียวกับเครื่ องไม้รำแต่ไม่ได้
ตกแต่งให้สวยงาม
6. การขอขมา
         เป็ นการไหว้กนั และกันระหว่างผูเ้ ล่นทั้งสองฝ่ ายหลังจบการแสดงแต่ละอาวุธ
เป็ นการขอโทษต่อการแสดงที่ผดิ พลั้งต่อกัน เป็ นระเบียบที่ก ำหนดขึ้นในภายหลังจาก
สมัยท่านอาจารย์นาค เทพหัสดิน ณ อยุธยา
เครื่องกระบี่กระบอง
เครื่ องกระบี่กระบอง มีอยู่ 2 ชนิด คือ เครื่ องไม้รำ กับเครื่ องไม้ตี โดยทั้ง 2 ชนิดนี้เป็ น
อาวุธจำลอง ส่ วนมากทำมาจากหวาย มีความเหนียวและเบามือ  เครื่ องไม้รำนั้นลงรัก
ปิ ดทองประดับกระจกอย่างสวยงาม ส่ วนเครื่ องไม้ตีไม่ได้ตกแต่งอะไร

         - กระบี่ เครื่ องไม้รำทำด้วยหวายหรื อเอ็นสัตว์ถกั เป็ นปลอก สวมแกนโลหะที่ยาว


ตลอดลงไปถึงด้ามด้วย ตอนปลายเป็ นหวายหรื อเอ็นถึกคล้ายหางกระเบน  มักจะลงรัก
ให้แข็ง บางทีทาสี แดงตลอด ด้ามมีโกร่ งกันมือ  ส่ วนเครื่ องไม้ตีน้ นั ทำอย่างเดียวกันแต่
ไม่ตกแต่งอะไร

         - กระบองหรื อพลอง เครื่ องไม้รำทำด้วยหวายหรื อไม้จริ งลงรักปิ ดทอง เขียนลาย


รดน้ำหรื อทาสี แดงตลอด ไม่มีโลหะประกอบอยูด่ ว้ ยเลย บางทีกป็ ระดับกระจกอย่าง
กระบองของเจ้าเงาะในละครรำ ส่ วนเครื่ องไม้ตีท ำด้วยไม้รากไทรหรื อหวายขนาด
ใหญ่ ลงรักดำหรื อทาสี แดงตลอด ตอนปลายทั้งสองข้างใช้เชือกขนาดเล็กพันไว้

         - ดาบ  เช่นเดียวกับกระบี่ แต่ไม่มีโกร่ งกันมือ เครื่ องไม้รำทำสวยงามมากดูคล้าย


มีฝักอยูด่ ว้ ย ส่วนเครื่ องไม้ตีท ำด้วยหวายเพื่อให้สามารถตีได้ไม่หกั การใช้ดาบนั้น มี
ทั้งดาบเดี่ยว ดาบคู่ ดาบกับดั้ง ดาบกับเขน ดาบกับโล่ แล้วแต่จะกำหนด

         - ง้าว  เครื่ องไม้รำประดิษฐ์ตกแต่งสวยงามมาก ทำด้วยไม้จริ ง มีลกั ษณะใกล้เคียง


กับง้าวของจริ งมาก ส่ วนเครื่ องไม้ตีท ำด้วยหวาย ไม่มีการตกแต่งอย่างใด

         - ดั้ง เป็ นเครื่ องป้ องกันอาวุธชนิดหนึ่ง นิยมเล่นคู่กบั ดาบ ซึ่งใช้สำหรับป้ องกัน


อาวุธของศัตรู เป็ นรู ปสี่ เหลี่ยมยาว ๆ โค้ง ๆ คล้ายกาบกล้วย กว้างประมาณ 15
เซนติเมตร ยาวประมาณ 100 เซนติเมตร ทำด้วยหนังหรื อหวายหรื อไม้ปะปนกัน

         - โล่ เป็ นเครื่ องป้ องกันอาวุธเช่นเดียวกับดั้งหรื อเขนนิยมนำมาเล่นคู่กบั ดาบ แตก


ต่างกันที่รูปร่ างเท่านั้น คือ เป็ นรู ปวงกลม นูนตรงกลางทำด้วยหนังดิบ หวายสาน หรื อ
โลหะ

         - ไม้ศอกหรื อไม่ส้ นั  นับว่าเป็ นเครื่ องกระบี่กระบองชนิดหนึ่ง มีรูปร่ างลักษณะ


คล้ายกระดูกท่อนแขน เป็ นท้อนไม้รูปสี่ เหลี่ยมยาวประมาณ 45 เซนติเมตร กว้างและ
สูงประมาณ 7 เซนติเมตร
เครื่องแต่ งกาย
  เครื่ องแต่งกายนั้นขึ้นอยูก่ บั ความนิยม สมัยโบราณแต่งกายอย่างทหาร หรื อนุ่งโจง
กระเบนแบบหยักรั้ง คาดผ้าประเจียด ตะกรุ ด หรื อนุ่งกางเกงขาสั้น แต่ที่สำคัญคือ นัก
กระบี่กระบองจะต้องสวมมงคลที่ท ำด้วยด้ายดิบพันเป็ นเกลียว มีขนาดใหญ่เท่าเชือก
มนิลา ใช้ผา้ เย็บหุม้ อีกชั้นหนึ่ง ปล่อยปลายทั้งสองยืน่ ออก

การคิดคะแนน แบ่ งเป็ น 4 ประเภท ดังนีค้ อื


1. ประเภทเครื่ องแต่งกาย (4 คะแนน)
         - แต่งแบบนักรบไทโบราณสมัยต่าง ๆ
         - แต่งแบบชาวบ้าน ทั้งโบราณและปัจจุบนั เช่น นุ่งกางเกงส่ วนนุ่งผ้าโจงกระเบน
ด้วยผ้าพื้นหรื อผ้าลาย ใส่ เสื้ อคอกลม แขนสั้น หรื อแขนทรงกระบอก คาดผ้าตะเบ
งมาน ใส่ ชุดม่อฮ่อม หรื อกางเกงยาว เสื้ อคอกลมแขนสั้น ผ้าขาวม้าคาดเอว
         - แต่งแบบกีฬานิยม เช่น นุ่งกางเกงขาสั้น หรื อขายาว ใส่ เสื้ อทีมหรื อเสื้ อธรรมดา
แขนสั้นหรื อยาว มีผา้ คาดเอวหรื อไม่มีกไ็ ด้ รองเท้าผ้าใบ และใส่ ถุงเท้า
         การแต่งกายทั้ง 3 ข้อ ข้างต้นต้องแต่งให้เหมือนกันทั้งคู่ นอกจากเรื่ องสี แล้ว ต้อง
ดูเรื่ องความสะอาด เรี ยบร้อย รวมทั้งต้องสวมมงคล ทุกครั้งที่ออกแสดง
2. ประเภทรำ (10 คะแนน)
         - การถวายบังคม
         - การรำพรหมนัง่ หรื อ พรหมยืน
         - ลีลาการรำ กำหนดให้ผเู้ ข้าแข่งขัน รำเพียงเที่ยวเดียว ไม่ต ่ำกว่า 2 ท่า และมีลีลา
การรำที่เข้ากับจังหวะดนตรี และสวมบทบาทของการรำ เช่น ท่านาง ท่าลิง ซึ่งมีท่ารำ
อื่น ๆ อีก 12 ท่า คือ ท่าลอยชาย ท่าทัดหูหรื อควงทัดหู ท่าเหน็บข้าง ท่าตั้งศอก ท่าจ้วง
หน้าจ้างหลัง ท่าควงป้ องหน้า ท่ายักษ์ ท่าสอยดาว ท่าควงแตะ ท่าแหวกม่าน ท่าลดล่อ
และท่าเชิงเทียน

3. ประเภท การเดินแปลง (6 คะแนน)


         เมื่อรำจบแล้วนัง่ ลง ก่อนออกเดินแปลง ผูเ้ ข้าแข่งขันไม่ตอ้ งถวายบังคม เพียงแต่
แต่ไหว้นอ้ มรำลึกถึงครู อาจารย์ครั้งเดียว แล้วเริ่ มรำพรหม หรื อจะไม่รำก็ได้แล้วออก
เดินแปลงเพียงเที่ยวเดียว
4. ประเภท การต่อสู้ (20 คะแนน)
         การต่อสู้ของแต่ละคู่ จะต้องมีเหตุผลสมจริ ง และถูกต้องตามหลักวิชาการต่อสู้
ป้ องกันตัว และไม่เป็ นการอนาจาร
กำหนดเวลาการแข่งขันกีฬากระบี่กระบอง
         การแข่งขันตั้งแต่ประเภท 2, 3 และ 4 กำหนดให้ใช้เวลาในการแข่งขันคู่
ละ 7 นาที เมื่อนักกีฬาแสดงครบเวลา 6 นาที กรรมการจะกดกริ่ งเตือน 1 ครั้ง เมื่อ
นักกีฬาแสดงต่อไปต่อไปจนครบเวลา 7 นาที กรรมการจะประกาศให้ทราบว่าหมด
เวลาแล้ว แต่ถา้ นักกีฬาแสดงเกินกำหนดเวลา 7 นาที กรรมการจะตัดคะแนนคู่
นั้น 2 คะแนน จากคะแนนรวมในการตัดสิ น
กรรมการผู้ตดั สิ นกีฬากระบี่กระบอง
         ให้ใช้กรรมการผูต้ ดั สิ น โดยผูท้ รงคุณวุฒิคราวละ 5 ท่าน จากสมาคมกีฬาไทยใน
พระบรมราชูปถัมภ์ โดยมีคะแนนตัดสิ นท่านละ 40 คะแนน
การให้คะแนน แบ่งออกเป็ น 4 ประเภท คือ
         - การแต่งกาย 4 คะแนน
         - การรำ 10 คะแนน
         - การเดินแปลง 6 คะแนน
         - การต่อสู้ 20 คะแนน
         รวม 40 คะแนน
         ให้น ำคะแนนจากกรรมการผูต้ ดั สิ นทั้ง 5 ท่าน มาตัดสิ นคะแนนที่ให้สูงที่สุด และ
ตัดคะแนนต่ำที่สุดออก รวมคะแนนที่เหลือแล้วหารด้วย 3 ผลลัพธ์ที่ได้เป็ นคะแนน
ของนักกีฬาคู่น้ นั เมื่อเรี ยงลำดับแล้ว คู่ใดมีคะแนนมากที่สุดเป็ นผูช้ นะ และรองลงมา
ตามลำดับคะแนน ในกรณี ที่มีคะแนนเท่ากัน ให้พิจารณาดังนี้
         1. ให้ดูเฉพาะคะแนนการต่อสู้ ถ้าฝ่ ายใดมีคะแนนสูงกว่าให้เป็ นผูช้ นะ
         2. ถ้าคะแนนการต่อสู้ยงั เท่ากันอยู่ ให้ดูคะแนนการรำถ้าฝ่ ายใดมีคะแนนสูงกว่า
ให้เป็ นผูช้ นะ
         3. ถ้าคะแนนการรำยังเท่ากันอยูใ่ ห้ดูเฉพาะคะแนนการเดินแปลง ถ้าฝ่ ายใดมี
คะแนนสูงกว่าให้เป็ นผูช้ นะ
         4. ถ้าคะแนนยังเท่ากันอีก ให้ครองตำแหน่งร่ วมกัน และให้เลื่อนคะแนนรองขึ้น
มาเรี ยงลำดับ 1 หรื อ 2 หรื อ 3 ต่อไป
คะแนนรวมของทีม
         ให้น ำผลการแข่งขันของนักกีฬาภายในทีมที่ชนะ ที่ 1-2-3 ในแต่ละชนิดอาวุธมา
รวมกัน โดยคิดคะแนนดังนี้      
         - ชนะเลิศ ได้ 5 คะแนน
         - รองชนะเลิศอันดับ 1 ได้ 3 คะแนน
         - รองชนะเลิศอันดับ 2 ได้ 1 คะแนน
         ทีมใดมีคะแนนรวมมากที่สุด เป็ นทีมที่ชนะ
ลูกไม้ 6 ลูกไม้
      ไม้ตีที่ 1
ท่าคุมตีลูกไม้                      

ท่าคุมตีลูกไม้เป็ นท่ายืนเตรี ยมพร้อมก่อนที่จะฝึ กหัดตีลูกไม้


โดยยืน เท้าชิด หันหน้าเข้าหากัน มือจับกระบี่อยูท่ างขวา ปลายกระบี่พิงอยู่
ที่ไหล่ขวา แขนเหยียดตึง โกร่ งกระบี่อยูข่ า้ งหน้า แขนซ้ายอยูข่ า้ ง
ลำตัว

จากท่าคุมตีลูกไม้ จังหวะที่ 1          


ฝ่ ายรับฝ่ ายรุ ก     
ฝ่ ายรุ กก้าวเท้าขวาไปข้างหน้า พร้อมกับยกกระบี่ข้ ึนตีลงทางไหล่ซา้ ย
ของฝ่ ายรับ มือซ้ายยกขึ้นป้ องระดับหู มือกำหลวม ๆ
ฝ่ ายรับถอยเท้าซ้าย พร้อมกับยกกระบี่ข้ ึนรับทางไหล่ซา้ ย ให้ปลาย
กระบี่เฉียงเข้าหาลำตัว มือซ้ายกำหลวม ๆ ยกขึ้นข้างหลังทางซ้าย

จังหวะที่ 2                           
ฝ่ ายรุ ก ก้าวเท้าซ้ายเข้าหาคู่ต่อสู้ พร้อมกับตวัดกระบี่ไปตีลงทางด้าน
ไหล่ขวาของคู่ต่อสู้ มือซ้ายลดลงป้ องอยูข่ า้ งหน้าลำตัว
ฝ่ ายรับ ถอยเท้าขวาไปข้างหลัง พลิกกระบี่หมุนกลับไปทางขวาเพื่อรับ
การตีของฝ่ ายรุ ก ให้ปลายกระบี่เฉียงเข้าหาตัวพร้อมกับลดแขนซ้ายลงป้ องกันอยูข่ า้ ง
หน้า
       ไม้ตีที่ 2
จากท่าคุมตีลูกไม้ จังหวะที่ 1 

ฝ่ ายรุ กก้าวเท้าขวาไปข้างหน้า พร้อมกับยกกระบี่ข้ ึนตีลงทางไหล่ซา้ ย


ของฝ่ ายรับ มือซ้ายยกขึ้นป้ องระดับหู มือกำหลวม ๆ
ฝ่ ายรับถอยเท้าซ้าย พร้อมกับยกกระบี่ข้ ึนรับทางไหล่ซา้ ยให้ปลายกระบี่
เฉียงเข้าหาลำตัว มือซ้ายกำหลวม ๆ ยกขึ้นข้างหลังทางซ้าย

จังหวะที่ 2                           
ฝ่ ายรุ ก ก้าวเท้าซ้ายเข้าหาคู่ต่อสู้ พร้อมกับตวัดกระบี่ไปตี ลงทางด้านไหล่ขวาของคู่
ต่อสู้ มือซ้ายลดลงป้ องอยูข่ า้ งหน้าลำตัว
ฝ่ ายรับ ถอยเท้าขวาไปข้างหลัง พลิกกระบี่หมุนกลับไปทางขวา เพื่อรับการตีของฝ่ าย
รุ กให้ปลายกระบี่เฉียงเข้าหาตัวพร้อมกับ
ลดแขนซ้ายลงป้ องกันอยูข่ า้ งหน้า

จังหวะที่ 3                          
ฝ่ ายรุ ก ก้าวเท้าขวาเข้าหาฝ่ ายรับ พร้อมกับตวัดกระบี่ไปตีลงทางด้าน
ขาซ้ายของฝ่ ายรับ มือซ้ายยกขึ้น
ฝ่ ายรับ ถอยเท้าซ้ายไปข้างหลัง พร้อมกับลดปลายกระบี่ลงไปรับการตี
ของฝ่ ายรุ กทางซ้าย มือซ้ายยกขึ้น

จังหวะที่ 4                           
ฝ่ ายรุ กก้าวเท้าซ้ายเข้าหาฝ่ ายรับ พร้อมกับยกกระบี่ตวัดไปตีลง ทาง ขาขวาของฝ่ ายรับ
มือซ้ายลดลง
ฝ่ ายรับถอยเท้าขวาไปข้างหลัง พร้อมกับพลิกกระบี่กลับไปรับทางขวา
มือซ้ายลดลง
       ไม้ตีที่ 3          
จากท่าคุมตีลูกไม้ จังหวะที่ 1          
ฝ่ ายรุ ก  
ฝ่ ายรุ กก้าวเท้าขวาไปข้างหน้า พร้อมกับยกกระบี่ข้ ึนตีลงทางไหล่
ซ้ายของฝ่ ายรับ มือซ้ายยกขึ้นป้ องระดับหู มือกำหลวม ๆ
ฝ่ ายรับถอยเท้าซ้าย พร้อมกับยกกระบี่ข้ ึนรับทางไหล่ซา้ ย ให้ปลาย
กระบี่เฉียงเข้าหาลำตัว มือซ้ายกำหลวม ๆ ยกขึ้นข้างหลังทางซ้าย

จังหวะที่ 2                           
ฝ่ ายรุ ก ก้าวเท้าซ้ายเข้าหาคู่ต่อสู้ พร้อมกับตวัดกระบี่ไปตีลงทางด้าน
ไหล่ขวาของคู่ต่อสู้ มือซ้ายลดลงป้ องอยูข่ า้ งหน้าลำตัว
ฝ่ ายรับ ถอยเท้าขวาไปข้างหลัง พลิกกระบี่หมุนกลับไปทางขวาเพื่อรับ
การตีของฝ่ ายรุ ก ให้ปลายกระบี่เฉียงเข้าหาตัวพร้อมกับลดแขนซ้ายลงป้ องกันอยูข่ า้ ง
หน้า
ฝ่ ายรุ ก
จังหวะที่ 3           

ฝ่ ายรุ ก  
ฝ่ ายรุ ก ก้าวเท้าขวาเข้าหาฝ่ ายรับ พร้อมกับตวัดกระบี่ไปตีลงทางด้าน
ขาซ้ายของฝ่ ายรับ มือซ้ายยกขึ้น
ฝ่ ายรับ ถอยเท้าซ้ายไปข้างหลัง พร้อมกับลดปลายกระบี่ลงไปรับการตี
ของฝ่ ายรุ กทางซ้าย มือซ้ายยกขึ้น

จังหวะที่ 4                           
ฝ่ ายรุ ก ยกเท้าขวาเหวี่ยงขึ้นไปทางซ้าย หมุนตัวไปทางซ้าย พร้อมกับยกกระบี่ตวัดไปตี
ลงทางขวาของคู่ต่อสู้ มือซ้ายลดลง
ฝ่ ายรับ ยกเท้าขวาเหวี่ยงขึ้นไปทางซ้าย หมุนตัวไปทางซ้าย พร้อมกับพลิกกระบี่ไปรับ
การตีของฝ่ ายรุ ก มือซ้ายลดลง
    

ไม้ตีที่ 4
จากท่าคุมตีลูกไม้ จังหวะที่ 1          
ฝ่ ายรุ ก  
ฝ่ ายรุ กก้าวเท้าขวาไปข้างหน้า พร้อมกับยกกระบี่ข้ ึนตีลงทางไหล่
ซ้ายของฝ่ ายรับ มือซ้ายยกขึ้นป้ องระดับหู มือกำหลวม ๆ
ฝ่ ายรับถอยเท้าซ้าย พร้อมกับยกกระบี่ข้ ึนรับทางไหล่ซา้ ย ให้ปลาย
กระบี่เฉียงเข้าหาลำตัว มือซ้ายกำหลวม ๆ ยกขึ้นข้างหลังทางซ้าย

จังหวะที่ 2                           
ฝ่ ายรุ ก ก้าวเท้าซ้ายเข้าหาคู่ต่อสู้ พร้อมกับตวัดกระบี่ไปตีลงทางด้าน
ไหล่ขวาของคู่ต่อสู้ มือซ้ายลดลงป้ องอยูข่ า้ งหน้าลำตัว
ฝ่ ายรับ ถอยเท้าขวาไปข้างหลัง พลิกกระบี่หมุนกลับไปทางขวา เพื่อ
รับการตีของฝ่ ายรุ ก ให้ปลายกระบี่เฉียงเข้าหาตัวพร้อมกับลดแขน
ซ้ายลงป้ องกันอยูข่ า้ งหน้า
จังหวะที่ 3                                          
ฝ่ ายรุ ก ก้าวเท้าขวาไปข้างหน้า พร้อมกับตวัดกระบี่กลับไปตีตดั ลำตัว
ทางซ้ายของคู่ต่อสู้ มือซ้ายกำหลวม ๆยกขึ้นข้างหลัง
ฝ่ ายรับ ลดกระบี่ลงมารับทางซ้ายของลำตัว มือซ้ายจับส่ วนปลายของ
กระบี่ หันฝ่ ามือออกข้างนอก กระบี่ต้ งั ตรงและถอยเท้าซ้ายไปข้างหลัง

จังหวะที่ 4                           
ฝ่ ายรุ กก้าวเท้าซ้ายไปข้างหน้า พร้อมกับตวัดกระบี่กลับไปตีตดั ลำตัว ทางขวาของคู่
ต่อสู้
ฝ่ ายรับพลิกกระบี่ ไปรับทางขวา มือขวาอยูบ่ น พร้อมกับถอยเท้าขวา
ไปข้างหลัง
       ไม้ตีที่ 5

จากท่าคุมตีลูกไม้ จังหวะที่ 1          


ฝ่ ายรุ ก  
ฝ่ ายรุ กก้าวเท้าขวาไปข้างหน้า พร้อมกับยกกระบี่ข้ ึนตีลงทางไหล่
ซ้ายของฝ่ ายรับ มือซ้ายยกขึ้นป้ องระดับหู มือกำหลวม ๆ
ฝ่ ายรับถอยเท้าซ้าย พร้อมกับยกกระบี่ข้ ึนรับทางไหล่ซา้ ย ให้ปลาย
กระบี่เฉียงเข้าหาลำตัว มือซ้ายกำหลวม ๆ ยกขึ้นข้างหลังทางซ้าย

จังหวะที่ 2                           
ฝ่ ายรุ ก ก้าวเท้าซ้ายเข้าหาคู่ต่อสู้ พร้อมกับตวัดกระบี่ไปตีลงทางด้าน
ไหล่ขวาของคู่ต่อสู้ มือซ้ายลดลงป้ องอยูข่ า้ งหน้าลำตัว
ฝ่ ายรับ ถอยเท้าขวาไปข้างหลัง พลิกกระบี่หมุนกลับไปทางขวา เพื่อ
รับการตีของฝ่ ายรุ ก ให้ปลายกระบี่เฉียงเข้าหาตัวพร้อมกับลดแขนซ้ายลงป้ องกันอยู่
ข้างหน้าฝ่ ายรุ ก

จังหวะที่ 3           
ฝ่ ายรุ ก  
ฝ่ ายรุ ก ก้าวเท้าขวาไปข้างหน้า พร้อมกับตวัดกระบี่กลับไปตีตดั ลำตัว
ทางซ้ายของคู่ต่อสู้ มือซ้ายกำหลวม ๆ ยกขึ้นข้างหลัง
ฝ่ ายรับ ลดกระบี่ลงมารับทางซ้ายของลำตัว มือซ้ายจับส่ วนปลายของ
กระบี่ หันฝ่ ามือออกข้างนอก กระบี่ต้ งั ตรงและถอยเท้าซ้ายไปข้างหลัง

จังหวะที่ 4                           
ฝ่ ายรุ กก้าวเท้าซ้ายไปข้างหน้า พร้อมกับตวัดกระบี่กลับไปตีตดั ลำตัว
ทางขวาของคู่ต่อสู้
ฝ่ ายรับพลิกกระบี่ ไปรับทางขวา มือขวาอยูบ่ น พร้อมกับถอยเท้าขวา
ไปข้างหลัง
ฝ่ ายรุ ก

จังหวะที่ 5           

ฝ่ ายรุ ก  
ฝ่ ายรุ ก ก้าวเท้าขวาไปข้างหน้า พร้อมกับยกกระบี่ตีลงตรงศีรษะของ
ฝ่ ายรับ มือซ้ายยกขึ้นด้านหลัง
ฝ่ ายรับ ถอยเท้าซ้ายไปข้างหลัง พร้อมกับยกกระบี่ข้ ึนรับเหนือศีรษะ
มือซ้ายจับด้านปลายกระบี่ ให้กระบี่ขนานพื้น

       ไม้ตีที่ 6
จากท่าคุมตีลูกไม้ จังหวะที่ 1          
ฝ่ ายรุ ก  
ฝ่ ายรุ กก้าวเท้าขวาไปข้างหน้า พร้อมกับยกกระบี่ข้ ึนตีลงทางไหล่ซา้ ย
ของฝ่ ายรับ มือซ้ายยกขึ้นป้ องระดับหู มือกำหลวม ๆ
ฝ่ ายรับถอยเท้าซ้าย พร้อมกับยกกระบี่ข้ ึนรับทางไหล่ซา้ ยให้ปลายกระบี่
เฉียงเข้าหาลำตัว มือซ้ายกำหลวม ๆ ยกขึ้นข้างหลังทางซ้าย

จังหวะที่ 2                           
ฝ่ ายรุ ก ก้าวเท้าซ้ายเข้าหาคู่ต่อสู้ พร้อมกับตวัดกระบี่ไปตีลงทางด้าน
ไหล่ขวาของคู่ต่อสู้ มือซ้ายลดลงป้ องอยูข่ า้ งหน้าลำตัว
ฝ่ ายรับ ถอยเท้าขวาไปข้างหลัง พลิกกระบี่หมุนกลับไปทางขวาเพื่อรับ
การตีของฝ่ ายรุ ก ให้ปลายกระบี่เฉียงเข้าหาตัวพร้อมกับลดแขนซ้ายลง
ป้ องกันอยูข่ า้ งหน้าฝ่ ายรุ ก
จังหวะที่ 3           
ฝ่ ายรุ ก  
ฝ่ ายรุ ก ก้าวเท้าขวาไปข้างหน้า พร้อมกับตวัดกระบี่กลับไปตีตดั ลำตัว
ทางซ้ายของคู่ต่อสู้ มือซ้ายกำหลวม ๆ ยกขึ้นข้างหลัง
ฝ่ ายรับ ลดกระบี่ลงมารับทางซ้ายของลำตัว มือซ้ายจับส่ วนปลายของ
กระบี่ หันฝ่ ามือออกข้างนอก กระบี่ต้ งั ตรงและถอยเท้าซ้ายไปข้างหลัง

จังหวะที่ 4                           
ฝ่ ายรุ กก้าวเท้าซ้ายไปข้างหน้า พร้อมกับตวัดกระบี่กลับไปตีตดั ลำตัว
ทางขวาของคู่ต่อสู้
ฝ่ ายรับพลิกกระบี่ ไปรับทางขวา มือขวาอยูบ่ นพร้อมกับถอยเท้าขวา
ไปข้างหลัง
ฝ่ ายรุ ก
จังหวะที่ 5           
ฝ่ ายรุ ก  
ฝ่ ายรุ ก ก้าวเท้าขวาไปข้างหน้า พร้อมกับยกกระบี่ตีลงตรงศีรษะของฝ่ ายรับ มือซ้ายยก
ขึ้นข้างหลัง
ฝ่ ายรับ ถอยเท้าซ้ายไปข้างหลัง พร้อมกับยกกระบี่ข้ ึนรับเหนือศีรษะ มือซ้ายจับด้าน
ปลายกระบี่ ให้กระบี่ขนานพื้น

จังหวะที่ 6                           
ฝ่ ายรุ ก ก้าวเท้าซ้ายไปข้างหน้า พร้อมกับยกโกร่ งกระบี่ข้ ึน ให้ปลาย
กระบี่ช้ ีไปข้างหลัง ใช้โคนกระบี่กระแทกลงไปที่หน้าของฝ่ ายรับมือ
ซ้ายลดลง
ฝ่ ายรับ ถอยเท้าขวาไปข้างหลัง ยกกระบี่ข้ึนเหมือนจังหวะที่ 5 ใช้ตวั
กระบี่รับโคนกระบี่ของฝ่ ายรุ ก แล้วดันขึ้น
เขียนโดย Unknown ที่ 04:35 ไม่มีความคิดเห็น: 
ส่ งอีเมลข้อมูลนี้ BlogThis!แชร์ไปที่ Twitter แชร์ไปที่ Facebook แชร์ใน Pinterest
วันอังคารที่ 27 มกราคม พ.ศ. 2558
ไม้รำ 12 ไม้รำ
       ไม้รำที่ 1 ลอยชาย (เดินสลับฟันปลา)

• มือซ้ายจีบที่หน้าอก ก้าวเท้าขวาเฉียงไปทางขวา โล้ตวั ไปข้างหน้าเข่าขวางอ เข่าซ้าย


ตึง กระบี่อยูท่ างขวา ขนานพื้น หงายมือ โกร่ งกระบี่อยูด่ า้ นนอกแขนท่อนบนอยูช่ ิดลำ
ตัว ข้อศอกงอเป็ นมุมฉาก

• ก้าวเท้าซ้ายเฉียงไปทางขวา โล้ตวั ไปข้างหน้า เข่าซ้ายงอ เข่าขวาตึง

• ลากเท้าขวาชิดเท้าซ้าย ยกเท้าซ้ายขึ้น เข่าซ้ายงอเป็ นมุมฉาก ขาท่อนบนขนานพื้น เข่า


ขวาตึง

• มือซ้ายรำหน้า แล้วจีบไว้ที่หน้าอก 
• หมุนตัวต่อไปทางซ้าย 1 มุมฉาก วางเท้าซ้ายลงวาดกระบี่ขนานพื้นไปทางซ้ายไว้ขา้ ง
เอว โกร่ งกระบี่อยูด่ า้ นนอก ก้าวเท้าขวาไปอีก 1 ก้าว โล้ตวั ไปข้างหน้า

• ลากเท้าซ้ายชิดเท้าขวา ยกเท้าขวาขึ้น 

• มือซ้ายรำข้าง แล้วกลับมาจีบไว้ที่หน้าอก
• หมุนตัวไปทางขวา 1 มุมฉากวาดกระบี่ขนานพื้นไปทางขวา วางเท้า ขวาลง พลิกข้อ
มือหงาย อยูใ่ นท่าคุมรำ

       ไม้รำที่ 1 ลอยชาย (เดินสลับฟันปลา)

ไม้รำที่ 2 ควงทัดหู ( เดินสลับฟันปลา )
• จากท่าคุมรำ
• ก้าวเท้าซ้ายเฉียงไปข้างขวา 1 ก้าว ควงกระบี่ไปข้างหน้าสองรอบ พร้อมกับยกกระบี่
ขึ้นทัดหู
• ลากเท้าขวาชิดเท้าซ้าย ยกเท้าซ้ายขึ้น
• หมุนตัวไปทางซ้าย 1 มุมฉากพร้อมกับจ้วงกระบี่ลงทางซ้าย วางเท้าซ้ายลงแล้วก้าว
เท้าขวาไปอีก 1 ก้าว พลิกกระบี่ไปอยูข่ า้ งหน้าลำตัว กระบี่เฉียงออก 45 องศา โกร่ ง
กระบี่หนั เข้าหาลำตัว

• ลากเท้าซ้ายชิดเท้าขวาแล้วยกเท้าขวาขึ้น
• มือซ้ายรำข้าง
• หมุนตัวกลับไปทางขวา 1 มุมฉาก มือซ้ายจีบไว้ที่อก วางเท้าขวาลง กลับมาอยูใ่ นท่า
คุมรำ

       ไม้รำที่ 3 เหน็บข้าง ( เดินตรง )

• ก้าวเท้าซ้ายตรงไปข้างหน้า 1 ก้าว โล้ตวั ไปข้างหน้า


• ลากเท้าขวาชิดเท้าซ้าย ยกเท้าซ้ายขึ้น
• มือซ้ายรำหน้า
• วางเท้าซ้ายลง มือซ้ายมาจีบไว้ที่อก หมุนตัวกลับหลังทางขวา
• หมุนข้อมือ บิดไปทางขวา ให้โกร่ งกระบี่อยูน่ อกกระบี่เฉียงลง 45 องศา แขนขวาชิด
ข้างหู งอแขนเล็กน้อย หน้าก้ม โล้ตวั ไปข้างหน้า
• ลากเท้าซ้ายชิดเท้าขวา ยกเท้าขวาขึ้น

• หมุนตัวกลับหลังหันทางขวา ขณะที่ยกเท้าขวาอยูโ่ ดยใช้เท้าซ้ายเป็ นหลัก วางเท้าขวา


ลง
• ลดกระบี่ลงอยูข่ า้ งเอวทางซ้าย ฝ่ ามือซ้ายทาบกระบี่ โกร่ งกระบี่หนั ลงสู่ พ้ืน ปลาย
กระบี่ช้ ีลง โล้ตวั ไปข้างหน้า
• ลากเท้าซ้ายชิดเท้าขวา ยกเท้าขวาขึ้น
• วางเท้าขวาลง วาดกระบี่ขนานพื้นไปทางขวา มือซ้ายจีบไว้ที่อก อยูใ่ นท่าคุมรำ
       ไม้รำที่ 4 ตั้งศอก ( เดินสลับฟันปลา )
• ท่าคุมรำ
• ก้าวเท้าซ้ายเฉียงไปทางขวา 45 องศา พร้อมกับยกกระบี่ข้ ึนทัดหู โกร่ งกระบี่อยูข่ า้ ง
บน โล้ตวั ไปข้างหน้า

• ลากเท้าขวาชิดเท้าซ้าย ยกเท้าซ้ายขึ้น
• ยกมือซ้ายมาตั้งศอกที่เข่าซ้าย ปลายนิ้วแตะกระบี่หนั ฝ่ ามือไปทางขวา

• หมุนตัวไปทางซ้าย วางเท้าซ้ายลง มือซ้ายจีบที่หน้าอก และลดกระบี่มาอยูข่ า้ งหน้า


เฉียงขึ้น 45 องศา พลิกข้อมือ หันโกร่ งกระบี่เข้าหาตัวก้าวเท้าขวาไปข้าหน้าเฉียงไป
ทางซ้ายอีก 1 ก้าวโล้ตวั ไปข้างหน้า
• ลากเท้าซ้ายชิดเท้าขวา ยกเท้าขวาขึ้น รำข้าง
• หมุนตัวไปทางขวา วางเท้าขวาลง มือซ้ายจีบอก กลับสู่ ท่าคุมรำ
       ไม้รำที่ 5 จ้วงหน้าจ้วงหลัง ( เดินตรง )
• ท่าคุมรำ
• ควงกระบี่ไปข้างหน้าสองรอบพร้อมกับก้าวเท้าซ้ายเดินตรงไปข้างหน้า ยกกระบี่ข้ึน
ทัดหู โกร่ งกระบี่อยูข่ า้ งบน โล้ตวั ไปข้างหน้า

• ลากเท้าขวาชิดเท้าซ้าย ยกเท้าซ้ายขึ้น
• จ้วงกระบี่ลงทางซ้าย วางเท้าซ้ายลง
• ก้าวเท้าขวาไปข้างหน้าอีก 1 ก้าว พลิกข้อมือให้กระบี่เฉียงอยูข่ า้ งหน้า 45 องศา หัน
โกร่ งกระบี่เข้าหาตัวไปข้างหน้า
• ลากเท้าซ้ายชิดเท้าขวา ยกเท้าขวาขึ้น
• มือซ้ายรำข้าง แล้วจีบไว้ที่อก

• วางเท้าขวาลงข้างหน้า หมุนตัวกลับหลังหันทางซ้าย ยกกระบี่ข้ึ นทัดหูโล้ตวั ไปข้าง


หน้า
• ลากเท้าขวาชิดเท้าซ้าย ยกเท้าซ้ายขึ้น
• จ้วงกระบี่ลงทางซ้าย ถอยเท้าซ้ายวางไว้หลังเท้าขวา
• พลิกข้อมือให้กระบี่อยูข่ า้ งหน้าเฉียง 45 องศา หันโกร่ งกระบี่เข้าหา ลำตัว โล้หน้า
• ลากเท้าซ้ายชิดเท้าขวา ยกเท้าขวาขึ้น

• มือซ้ายรำข้าง แล้วกลับมาจีบไว้ที่หน้าอก
• วางเท้าขวาลงข้างหน้า
• หมุนตัวกลับหลังหันทางซ้าย ยกกระบี่ข้ึนทัดหูโล้ตวั ไปข้างหน้า
• ก้าวเท้าขวาเฉียงไปข้างหน้า 1 ก้าว กลับมาสู่ ท่า คุมรำ

       ไม้รำที่ 6 ปกหน้าปกหลัง หรื อควงป้ องหน้า ( เดินตรง )

• ท่าคุมรำ
• ควงกระบี่สองรอบพร้อมกับก้าวเท้าซ้ายเดินตรงไปข้างหน้า 1 ก้าว พลิกข้อมือขวาให้
ปลายกระบี่ช้ ีเฉียงลงไปข้างหน้าประมาณ 45 องศา โกร่ งกระบี่หนั ออก แขนขวาชิดหู
โล้ตวั ไปข้างหน้า
• มือซ้ายรำออกไปข้างหน้า แขนงอเล็กน้อย หน้าก้มให้มือซ้ายรำอยู่ ใต้โกร่ งกระบี่
• ลาดเท้าขวาชิดเท้าซ้าย ยกเท้าซ้ายขึ้น
• วางเท้าซ้ายลง มือซ้ายจีบไว้ที่อก หมุนตัวกลับหลังหันทางขวา พร้อม กับควงกระบี่
สองรอบ
• พลิกข้อมือขวาให้ปลายกระบี่ช้ ี เฉียงลงไปข้างหน้าประมาณ 45 องศา โกร่ งกระบี่หนั
ออก แขนขวาชิดหู โล้ตวั ไปข้างหน้า

• มือซ้ายรำออกไปข้างหน้า ให้มือซ้ายรำอยูใ่ ต้โกร่ งกระบี่ แขนงอเล็กน้อย หน้าก้ม


• ลากเท้าซ้ายชิดเท้าขวา ยกเท้าขวาขึ้น
• หมุนตัวกลับหลังหันทางขวา ยกกระบี่ไปข้างหน้าทางขวา มือซ้าย จีบไว้ที่หน้าอก
• วางเท้าขวาลง
       ไม้รำที่ 7 ท่ายักษ์ ทิศทางการเดิน เดินตรงไปข้างหน้า เริ่ มจากท่าคุมรำ

จังหวะที่ 1 ก้าวเท้าซ้ายตรงไปข้างหน้าวางเท้าซ้ายโดยหันลำตัวทางขวา คล้ายทำขวา


หัน ยืนในท่ายักษ์ คือการย่อเข่าทั้งสอง น้ำหนักตัวลงตรงกลาง ลำตัวตรง หน้าตรง ตัว
กระบี่ข้ ึนตรงวางไว้หน้าขาขวา ปลายกระบี่พาดช่วงไหล่ขวา
จังหวะที่ 2 เมื่อลำตัวนิ่งในท่ายักษ์แล้ว ให้สลัดหน้าไปทางซ้าย แล้วสลัดหน้าไปทาง
ขวา
จังหวะที่ 3 สลัดหน้าตรงพร้อมกับยกกระบี่ข้ ึนฟังให้ตรงข้างหน้าทางขวา 1 ครั้งทาง
ซ้าย 1 ครั้ง โดยฟันเป็ นลักษณะกากบาท
จังหวะที่ 4 เมื่อยก กระบี่ข้ ึนฟันข้างหน้า ขวา – ซ้าย แล้วให้กลับอยูใ่ นท่ายักษ์
จังหวะที่ 5 ยกเข่าขวาตั้งฉากใช้เท้าซ้ายเป็ นจุดหมุนพลิกตัวกลับหลังหัน เมื่อกลับหลัง
หันแล้วให้วางเท้าขวาลงหน้าเท้าซ้ายตัวตรง หน้ามองตรงพร้อมกับยกเท้าซ้ายหมุนตัว
กลับหลังหันอีกครั้งหนึ่ง โดยใช้เท้าขวาเป็ นจุดหมุน จะกลับมาอยูค่ ล้ายจังหวะที่ 4
ลักษณะท่ายักษ์ เมื่อตัวนิ่งแล้ว ให้สลัดหน้าทางซ้าย 1 ครั้ง ทางขวา 1 ครั้ง และกลับมา
สู่ ท่ายักษ์
   
       ไม้รำที่ 8 สอยดาว ทิศทางการเดิน เดินตรงไปข้างหน้า เริ่ มจากท่าคุมรำ
จังหวะที่ 1 ก้าวเท้าซ้ายตรงไปข้างหน้า เปลี่ยนวิธีจบั กระบี่ใหม่ โดยใช้นิ้วชี้สอดขึ้นบน
กระบี่ จับกระบี่ดว้ ยนิ้วกลาง นิ้วนาง และนิ้วก้อย พร้อมกับปล่อยปลายกระบี่หมุนลง
ล่าง โดยใช้นิ้วชี้กบั นิ้วกลางคีบกระบี่ ขณะที่ปล่อยปลายกระบี่หมุนลงล่าง จับกระบี่
โดยหงายมือขึ้น โกร่ งกระบี่หนั ออก วางเท้าซ้ายลงพื้นทำขวาหัน ลดมือซ้ายใช้ฝ่ามือ
แตะที่ตวั กระบี่ ปลายกระบี่ช้ ี ลงพื้นเล็กน้อย
จังหวะที่ 2 ก้าวเท้าขวาชิดเท้าซ้าย ฝ่ ามือซ้ายแตะที่กระบี่
จังหวะที่ 3 ยกเข่าซ้ายตั้งฉาก ยกกระบี่ข้ ึนเล็กน้อย ฝ่ ามือซ้ายแตะกระบี่
จังหวะที่ 4 ก้าวซ้ายตรงไปข้างหน้า พร้อมกับจ้วงกระบี่และสอดกระบี่ข้ ึนข้างบน เรี ยก
ว่า “สอยดาว” พร้อมกับก้าวเท้าขวาเดินอีก 1 ก้าว ทำกลับหลังหัน
จังหวะที่ 5 พลิกข้อมือกระบี่ต้ งั ขึ้นหันโกร่ งกระบี่ออก งอเข่าทั้งสองข้างลำตัวตั้งตรง
มือซ้ายจิ้มเข้ากลางหน้าอก
จังหวะที่ 6 ก้าวเท้าซ้ายชิดเท้าหลัง
จังหวะที่ 7 ยกเข่าขวาตั้งฉาก เมื่อตัวนิ่งแล้วมือซ้ายเหยียดออกรำหน้า
จังหวะที่ 8 วางเท้าขวาลงพื้น พลิกข้อมือที่จบั กระบี่หงายมือขึ้นแบฝ่ ามือซ้ายหันฝ่ ามือ
ลง แตะปลายกระบี่ ถ่ายน้ำหนักตัวไปเข่าขวา ยกเข่าซ้ายตั้งฉากเพือ่ เดินตรงไปข้างหน้า
จังหวะที่ 9 พลิกข้อมือหันโกร่ งกระบี่ออกนอกลำตัว ปลายกระบี่ช้ ีข้ ึนข้างบนประมาณ
45 องศา มือซ้ายจีบเข้ากลางหน้าอก ย่อเข่าทั้งสองเล็กน้อย
จังหวะที่ 10 ยกเข่าขวาตั้งฉากให้ตวั นิ่งแล้วมือซ้ายรำหน้า

       ไม้รำที่ 9 ควงแตะ ทิศทางการเดินตรงไปข้างหน้า เริ่ มจากท่าคุมรำ


จังหวะที่ 1 ก้าวเท้าซ้ายไปข้างหน้า วางเท้าซ้ายลงพร้อมกับทำขวาหัน ควงกระบี่ 2 รอบ
เหยียดมือซ้ายรองรับปลายกระบี่ ที่ขนานกับพื้น หันโกร่ งกระบี่ออกเรี ยกว่าควงแตะ
งอเข่าทั้ง 2 เล็กน้อย ลำตัวตรง
จังหวะที่ 2 ยกเข่าขวาขึ้นตั้งฉาก ใช้เท้าเป็ นจุดหมุนกลับหลังหัน พร้อมกับควงกระบี่ 2
รอบ วางเท้าขวา ลงพื้นในทิศทางตรงไปข้างหน้า เช่นเดียวกับจังหวะที่ 1 แต่หนั หน้า
ตรงข้ามกัน
จังหวะที่ 3 ย่อเข่าทั้งสองเล็กน้อยลำตัวตั้งตรงกระบี่ขนานพื้น หน้ามองตรง
จังหวะที่ 4 ก้าวเท้าซ้ายชิดเท้าขวา ทำช้า ๆ ให้ล ำตัวนิ่ง
จังหวะที่ 5 ยกเข่าขวาตั้งฉาก
       ไม้รำที่ 10 หนุมานแหวกฟองน้ำ ทิศทางเดิน เดินตรงไปข้างหน้า, กลับหลัง
หัน, ขวาหัน เริ่ มจากท่าคุมรำ 
จังหวะที่ 1 ก้าวเท้าซ้ายไปข้างหน้า 1 ก้าว พร้อมกับควงกระบี่ 2 รอบ ยกขึ้นปก (แขน
ขวาแนบที่หูขวาคว่ำปลายกระบี่ช้ ีลงพื้น 45 องศา โกร่ งกระบี่หนั ออก โล้ตวั ไปหน้าให้
น้ำหนักตัวลงที่เท้าซ้าย ก้มหน้าเล็กน้อย มือซ้ายเหยียดออกคล้ายรำหน้า นิ้วชิดติดกัน
หันฝ่ ามือออกให้โคนกระบี่วางที่กลางนิ้วก้อย)
จังหวะที่ 2 ก้าวเท้าขวาชิดเท้าซ้าย พยายามย่อเข่าทั้ง 2 ลงเล็กน้อย เพื่อความสวยงาม
จังหวะที่ 3 ยกเข่าซ้ายขึ้นตั้งฉาก ให้ตวั นิ่งไว้ระยะหนึ่ง
จังหวะที่ 4 วางเท้าซ้ายลงพื้นข้างหน้าค่อย ๆ ยกปลายกระบี่ช้ ีข้ ึน มือทั้งสองทำท่า
แหวก หรื อท่าว่ายน้ำ ท่ากบ ซึ่งเรี ยกว่า แหวกฟองน้ำ ให้แขนทั้งสองเสมอไหล่ และ
ขนานกับพื้น หันโกร่ งกระบี่ออก ย่อเข่าซ้าย น้ำหนักตัวโล้ไปเท้าซ้าย
จังหวะที่ 5 วางเท้าซ้ายลงพื้นข้างหน้าพลิกตัวกลับหลังหันโดยหมุนตัวทางขวา รวมทั้ง
แขนทั้งสองมาป้ องข้างหน้า โดยแบมือซ้ายหันฝ่ ามือลงพื้นให้กระบี่ต้ งั ขึ้นอยูใ่ นง่ามนิ้ว
หัวแม่มือกับนิ้วชี้งอข้อศอกทั้งสองยกขึ้นขนานกับพื้นอยูเ่ หนือสายตา
จังหวะที่ 6 ยกเข่าขวาขึ้นตั้งฉาก
จังหวะที่ 7 ใช้เท้าซ้ายเป็ นหลัก หมุนตัวไปทางขวา (ทำขวาหัน) พร้อมกับวางเท้าขวา
ลงข้างหน้า ก้าวเท้าซ้ายชิดเท้าขวา ยกเท้าขวาขึ้นตั้งฉาก

       ไม้รำที่ 11 ลดล่อ ทิศทางเดิน เดินตรงไปข้างหน้าโดยการพลิกตัวขวา – ซ้าย เริ่ ม


จากท่าคุมรำ
จังหวะที่ 1 จากท่าคุมรำลดกระบี่ลง แขนงอเล็กน้อย กระบี่ขนานพื้น มือซ้ายกำหลวม
ๆ ยกแขนขึ้นระดับหน้าผาก หันหน้ามองลอดแขนไปทางปลายกระบี่ ย่อตัวให้น ้ำหนัก
ตัวลงที่เท้าขวา ลักษณะนี้ เรี ยกวา “ลด” 
จังหวะที่ 2 ก้าวเท้าซ้ายตรงไปข้างหน้า 1 ก้าว ยกเท้าขวาหมุนตัวกลับหลังหัน โดย
หมุนตัวทางขวามือ วางเท้าขวาหน้าเท้าซ้าย มือซ้ายกำหลวม ๆ ลดลงระหว่าหน้าขา
ซ้ายงอข้อศอกเล็กน้อยยกกระบี่ข้ ึนแขนงระดับหน้าผาก ก้มหน้า หันหน้ามองปลาย
กระบี่เสมอ โล้ตวั ไปข้างหน้า น้ำหนักตัวอยูท่ ี่เท้าขวา ลักษณะนี้เรี ยกว่า “ล่อ” 

       ไม้รำที่ 12 เชิญเทียน ทิศทางเดิน เดินสลับฟันปลาเฉียงขวา เฉียงซ้าย เริ ่ มจากท่า


คุมรำ 
จังหวะที่ 1 ก้าวเท้าซ้ายไปทางขวากึ่งขวาหัน ตั้งกระบี่ข้ ึนเอามือซ้ายไปรองด้ามกระบี่
โดยแบมือขึ้น โล้น ้ำหนักตัวไปข้างหน้า 
จังหวะที่ 2 ก้าวเท้าขวาชิดเท้าซ้ายทำช้า ๆ
จังหวะที่ 3 ยกเท้าซ้ายขึ้นให้เข่าตั้งฉาก ลำตัวตรง
จังหวะที่ 4 ให้เท้าซ้ายเป็ นจุดหมุน หมุนตัวไปเฉียงซ้าย พร้อมกับวางเท้าซ้ายลงกึ่งซ้าย
หันโล้น ้ำหนักตัวไปเท้าหน้า คือเท้าซ้าย ลำตัวตรงนิ่งไว้ระยะหนึ่ง จึงก้าวเท้าขวาเดิน 1
ก้าว วางเท้าขวาลงหน้าเท้าซ้าย ก้าวเท้าซ้ายชิดเท้าขวา
จังหวะที่ 5 ยกเข่าขวาขึ้นตั้งฉาก มือว้ายรำโดยการพลิกให้ฝ่ามือหันออก หลังมืออยู่
หน้าโกร่ งกระบี่

You might also like