You are on page 1of 53

การพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุทม

ี่ ีปัญหา
โรคติดต่อทางผิวหนังและทางเดินอาหาร

รายวิชา 501231 การพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ 1


ภาคการศึกษาปลาย ปีการศึกษา 2563 สาหรับนิสิตชั้นปีที่ 2

Kwankaew Wongchareon, PhD, MSN, RN


Department of Adult and Gerontology Nursing, Naresuan University
kwankaeww@nu.ac.th
โรคติดต่อทางผิวหนังและทางเดินอาหาร

วัตถุประสงค์
่ ้นิ สต
เพือให ิ
่ งผลต่อ
o มีความรู ้และความเข ้าใจโรคติดต่อทางผิวหนังและทางเดินอาหารทีส่
ภาวะสุขภาพของผูร้ ับบริการวัยผูใ้ หญ่และผูส้ งู อายุได ้
o มีความรู ้ ความเข ้าใจในการนากระบวนการพยาบาลไปใช ้ในการดูแล
ี่ โรคติดต่อทางผิวหนังและทางเดินอาหารได ้
ผูร้ ับบริการวัยผูใ้ หญ่และผูส้ งู อายุทมี

รวมทังสามารถน ่ ยวข
าความรู ้ทีเกี ่ ี่ ปัญหาดังกล่าว
้องกับโภชนาการสาหร ับผูท้ มี
ได ้อย่างถูกต ้อง เหมาะสม

2
โรคติดต่อทางผิวหนังและทางเดินอาหาร

หัวข้อการสอน
• กลุม
่ โรคติดต่อโดยการสัมผัส/ผิวหนัง
• เลปโตสไปโรซิส (Leptospirosis)
• พิษสุนัขบ้า (Rabies)
• บาดทะยัก (Tetanus)
• เมลิออยด ์ หรือเมลิออยโดสิส (Melioidosis)
• กลุม
่ โรคติดต่อทางระบบทางเดินอาหาร
• อหิวาตกโรค (Cholera)
• บิด (Dysentery)
• ไทฟอยด ์ (Typhoid)
• โบทูลซิ มึ (Botulism)
่ ปัญหาโรคติดต่อทางผิวหนังและทางเดินอาหาร
• การพยาบาลผูป้ ่ วยทีมี
่ ปัญหาโรคติดต่อทางผิวหนังและทางเดินอาหาร
• โภชนาการสาหร ับผู ้ทีมี
3
โรคติดต่อทางผิวหนังและทางเดินอาหาร

กลุ่มโรคติดต่อโดยการสัมผัส/ผิวหนัง
• เลปโตสไปโรซิส (Leptospirosis)
• พิษสุนัขบ ้า (Rabies)
• บาดทะยัก (Tetanus)
• เมลิออยด ์ หรือเมลิออยโดสิส (Melioidosis)
้ ออั
• เซลล ์เนื อเยื ่ กเสบ (Cellulitis)

4
โรคติดต่อทางผิวหนังและทางเดินอาหาร

เลปโตสไปโรซิส (Leptospirosis)
่ 1886 โดยนักวิทยาศาสตร ์ชาวเยอรมัน (Adolf
เลปโตสไปรซิสถูกค ้นพบเมือปี
Weil) ต่อมาในปี 1920 นักวิทยาศาสตร ์ชาวญีปุ่่ นและเยอรมันได ้ร่วมกันศึกษาโรคนี ้
่ เชือแบคที
จนพบว่าเป็ นโรคซึงมี ้ ่ นสาเหตุคอื เชือกลุ
เรียทีเป็ ้ ่มจีนัส Leptospira (Riggs,
2018)
เนื่ องจากอาการของโรคมีความคล ้ายคลึงกับโรคไข ้หวัดใหญ่และโรคอืนๆ ่

รวมทังในผู ป้ ่ วยบางรายก็อาจไม่มอ ี ารรายงานอัตราความชุกที่
ี าการแสดง ทาให ้ไม่มก
แท ้จริงของโรคนี ้ (WHO, 2012)

5
โรคติดต่อทางผิวหนังและทางเดินอาหาร

เลปโตสไปโรซิส (Leptospirosis): กลไกการติดเชื้อ


แพร่กระจายสุ่ปศุสต
ั ว์
Meningitis

หนู และสัตว ์ป่ า ภาคการเกษตร Pulmonary hemorrhage


เป็ นพาหะนาโรค นาน้าทีปนเปื
่ ้ อน Myocarditis
้ ้
เชือปนเปื ้ อนกับปัสสาวะ
เชือโรคมาใช ้


เชือโรคเข ้าสูร่ า่ งกาย Hepatitis
้ ออ่
ทางเนื อเยื ่ อนต่างๆ Nephritis
ปัสสาวะและสาร แพร่กระจายสู่สต ้
ั ว ์เลียง

คัดหลังของสัตว ์ เช่น ตา จมูก ปาก
่ นแผล
ผิวหนังทีเป็

ติดเชือไหลลงสู ่
หรือจากการดืมกิ ่ น ้
แหล่งน้า ระยะเวลาฟักเชือปกติ
5 -14 วัน แต่บางรายอาจ
นานถึง 4สัปดาห ์

(Centers for Disease Control and Prevention, 2017) 6


โรคติดต่อทางผิวหนังและทางเดินอาหาร

เลปโตสไปโรซิส (Leptospirosis): อาการของโรค


่ เฉพาะเจาะจงต่อโรค
ผูป้ ่ วยมักมีอาการแสดงต่างๆซึงไม่ อาการของ Weil’s syndrome
ได ้แก่ • ตา ตัวเหลือง (Jaundice)
• อาการทางระบบบทางเดินอาหาร • ไตวายเฉี ยบพลัน (Acute renal failure)
• ปวดศีรษะ สัน ่ • เลือดออกในปอด (Pulmonary hemorrhage)
• ไข ้ 38-40 oC ้ วใจอักเสบ (Myocarditis)
• กล ้ามเนื อหั
• ปวดกล ้ามเนื อ้ โดยเฉพาะบริเวณน่ อง และหลัง • ตับอักเสบ (Hepatitis)
ส่วนล่าง ่ ้มสมองอักเสบ (Meningitis)
• เยือหุ
• ปวดเคืองตา (Conjunctivitis)

พยากรณ์โรคขึนอยู ้ ก ้ ติ
่ บั ชนิ ดของเชือที ่ ด
ความรุนแรงหรือปริมาณของเชือที ้ ได
่ ้ร ับ

ความแข็งแรงของผู ้ป่ วย รวมทังระยะเวลา
่ มต
ทีเริ ่ ้นการร ักษา

ผูป้ ่ วย 85-90% สามารถฟื ้นหายได ้เอง (mild self- ้


ช็อกจากการติดเชือในกระแสเลื
อด
limiting disease) แต่มผ ่
ี ูป้ ่ วยประมาณ 3-5 % ทีอาจมี
อาการรุนแรงจนถึงแก่ชวี ต ิ ผูท้ มีี่ อาการรุนแรงมักเรียก Septic shock
กลุม ่ อาการนี ว่้ า Weil’s syndrome

(Thomas and Stephens, 2006) 7


โรคติดต่อทางผิวหนังและทางเดินอาหาร

เลปโตสไปโรซิส (Leptospirosis): การวินิจฉัย การรักษาและป้องกัน


ผู้ป่วยต้องสงสัย (Suspect case) ผู้ป่วยที่น่าจะเป็นโรค (Probable case) ผู้ป่วยที่เป็นโรค (Confirmed case)
• ไข ้เฉี ยบพลัน > 38.5 oC อาจมีอาการ • ปวดกล ้ามเนื อ้ โดยเฉพาะบริเวณน่ อง • มีอาการ Suspect case หรือ
ปวดศีรษะรุนแรงร่วมด ้วยหรือไม่ก็ได ้ และหลังส่วนล่าง Probable case
• ้ วตั
ปวดกล ้ามเนื อทั ่ ว • ไอ และอาจไอมีเลือดออก • ตรวจเลือดพบเชือ้ Leptospira spp.
• ปวดเคืองตา (Conjunctivitis) (Hemoptysis) • PCR Positive
• มีประวัตก ิ ารสัมผัสเชือ้ • ตา ตัวเหลือง (Jaundice) • Seroconversion of MAT 4 folds
• ่ ้มสมองอักเสบ (Meningitis)
เยือหุ • MAT titre 400/single sample
• ปัสสาวะออกน้อย (Anuria) หรือไม่ออก
เลย (Oliguria) และอาจมีโปรตีนปน
ออกมากับปัสสาวะ (Proteinuria)
• หายใจหอบเหนื่ อย การวินิจฉัย
• หัวใจเต ้นผิดจังหวะ
• ่
ผืนแดงบริ เวณผิวหนัง • Dark field microscopy/ Ink stain
• Microscopic Agglutination Test
• ผลการตรวจ Rapid IgM Test เป็ นบวก
(MAT) --- gold standard
หรือผล MAT 200/single sample • Enzyme-linked immunosorbent
assay (ELISA)
• Polymerase chain reaction (PCR)
• Culture EMJH/Fletcher’s Medium

8
(Thomas and Stephens, 2006)
โรคติดต่อทางผิวหนังและทางเดินอาหาร

เลปโตสไปโรซิส (Leptospirosis): การรักษาและป้องกัน


ผู ป
้ ่ วยอาการไม่รุนแรง
• Doxycyline 2*100 mg for 7 days การดู แลตามอาการ
• Amoxicillin/Ampicillin 2 g/day for 7 days • ไต ➔ Dialysis
• ตับ
ผู ป
้ ่ วยอาการรุนแรง • ปอด ➔ Ventilator
• Penicillin G 2 MU IV q 6 hours for 7 days • ภาวะเลือดออก ➔ Blood transfusion
• Ceftriaxon 1 g/ day for 7 days
(Thomas and Stephens, 2006)


หลีกเลียงการลุ ยน้า เกษตรกรควรใช ้ ล ้างมือ ล ้างเท ้าให ้สะอาด ควบคุมกาจัดหนูใน ฉี ดวัคซีนป้ องกันโรคแก่ปศุสต
ั ว ์และ
หรือแช่น้า ถุงมือยางและ หลังลุยน้า หรือสัมผัส ่ ่อาศัย
บริเวณทีอยู ้
สัตว ์เลียง
รองเท ้าบูต
๊ ผลิตภัณฑ ์ทางการเกษตร

(Centers for Disease Control and Prevention, 2017) 9


โรคติดต่อทางผิวหนังและทางเดินอาหาร

พิษสุนัขบ้า (Rabies)
้ั
ถูกค ้นพบครงแรกโดยนั กปราชน์ชาวกรีก อริสโตเติล ทีสั ่ งเกตพบว่ามนุ ษย ์
สามารถติดเชือพิ ้ ษสุนัขบ ้าได ้จากการโดนสุนัขทีติ ่ ดเชือกั
้ ด ในปี 2018 องค ์การ
อนามัยโรค (WHO) รายงานว่ามีผูเ้ สียชีวต ่
ิ จากโรคพิษสุนัขบ ้าทัวโลกประมาณ
55,000 คนต่อปี โดยการเสียชีวต ิ ส่วนใหญ่มก ่ ่ง
ั พบในทวีปแอฟริกาและเอเชีย ครึงหนึ
ี่ ดเชือ้ เป็ นเด็กอายุต่ากว่า 15 ปี ทีเกิ
ของผูท้ ติ ่ ดจากการถูกสุนัขกัด

โรคพิษสุนัขบ ้าเกิดจากการติดเชือไวร ้ ่ ยกว่า Rabies


ัสสายพันธุ ์ทีเรี

lyssavirus เชือไวร ้ ระยะฟักตัวตังแต่
ัสนี มี ้ 10 วันถึงหนึ่ งปี แต่สว่ นใหญ่ผูป้ ่ วยมักเริม่
แสดงอาการเมือได ่ ้ร ับเชือประมาณ
้ 1-3 เดือน

10
โรคติดต่อทางผิวหนังและทางเดินอาหาร

พิษสุนัขบ้า (Rabies): กลไกการติดเชื้อ



ไวร ัสเคลือนที
เข่ ้าสูส
่ มอง ทาให ้
เกิดอาการของโรคสมองอักเสบ

ไวร ัสเคลือนที ่ ้าสูต
เข ่ อ ้
่ มนาลาย

ไวร ัสเคลือนที
ขึ่ นไปตามไขสั
้ นหลัง ิ เชือ้ และแพร่กระจายไป
ของผูต้ ด

ยังอวัยวะอืนๆ


ไวร ัสเคลือนที ่
จากระบบประสาทส่วน
10 อน ่
ั ด ับจ ังหวัดทีพบผู ป
้ ่ วยติด
ปลายเข ้าสูร่ ะบบประสาทส่วนกลางใน ้
เชือไวร ัสพิษสุนข ั บ้าสู งสุด
ระดับไขสันหลัง
1. ร ้อยเอ็ด 63 ราย

ไวร ัสเริมแบ่ งตัวใน เปอร ์เซ็นต ์ของสัตว ์ที่ 2. สุรน
ิ ทร ์ 23 ราย

กล ้ามเนื อใกล ้กับ เป็ นสาเหตุการติดเชือ้
3. ยโสธร 17 ราย
บริเวณทีถู ่ กกัด 4. กาฬสินธุ ์ 14 ราย
5. อานาจเจริญ 11 ราย
6. มหาสารคาม 11 ราย
้ อ่
ไวร ัสเข ้าสูเ่ นื อเยื 7. สงขลา 10 ราย

ผ่านทางนาลายของ 8. ชลบุร ี 8 ราย
สัตว ์ติดเชือ้ 9. ปราจีนบุร ี 8 ราย
10. ศีระเกษ 7 ราย

(Department of Livestock Development, 2017) 11


โรคติดต่อทางผิวหนังและทางเดินอาหาร

พิษสุนัขบ้า (Rabies): อาการของโรค


ระยะแรกหลังได้ร ับเชือ้ *ภายหลังระยะฟักเชือ้ 1-3 เดือน (แต่มรี ายงานว่าผูป้ ่ วยบางรายอาจใช ้เวลาฟักเชือเพี
้ ยง 5-10 วัน) หากผูป้ ่ วยเริมมี
่ อาการแสดง

ของการติดเชือแล ้ว จะไม่มก ่
ี ารร ักษาเฉพาะใดๆทีสามารถหยุ ดความก ้าวหน้าของโรคได ้

่ เฉพาะเจาะจง หรือมีอาการเหมือนเป็ นไข ้หวัด ได ้แก่:


ผู ้ป่ วยมักมีอาการทีไม่
่ กกัด คลืนไส
อ่อนเพลีย ไม่มแี รง มีไข ้ ปวดศีรษะ รู ้สึกเจ็บคันบริเวณแผลทีถู ่ ้ อาเจียน

ผู ้ป่ วยจะมีอาการแสดงรุนแรงมากขึน้ ได ้แก่:


• เห็นภาพหลอน (hallucination) กระสับกระส่าย (agitation) ตืนตั ่ วตลอดเวลาและควบคุม
อาการไม่ได ้ (uncontrolled movement) กล ้ามเนื อหดเกร็้ งอย่างรุนแรง (muscle spasm)
หลังจากนั้นอาจเคลือนไหวไม่
่ ได ้ (paralysis) ช ัก (seizure) และหมดสติ (coma or loss of
consciousness)
• เมือเชื ่ อเข
้ ้าสู่ตอ ้
่ มนาลาย ้
จะมีอาการนาลายฟู มปาก และกลืนลาบาก
• ผู ้ป่ วยอาจมีอาการกลัวน้า (hydrophobia) เนื่ องจากมีการหดเกร็งอย่างรุนแรงของกล ้ามเนื อ้

ทีคอ
่ ้ • ผู ้ป่ วยมักเสียชีวต ้ ช่
ิ จากการอ่อนแรงของกล ้ามเนื อที ่ วยในการหายใจ
ระยะหลังเมือเชื
อเข้าสู ่
สมองและระบบประสาท (Aldridge & Atkins, 2018) 12
โรคติดต่อทางผิวหนังและทางเดินอาหาร

พิษสุนัขบ้า (Rabies): การรักษา


การล้างแผล ล ้างแผลด ้วยน้าแล ้วฟอกด ้วยสบู่หลายๆครงทั
้ั นที ล ้างทุกแผลและให ้ลึกถึงก ้นแผลอย่างน้อย 15 นาที อย่าให ้
แผลชา้ เช็ดแผลด ้วยน้ายาฆ่าเชือ้ เช่น povidone iodine หรือ hibitane in water ถ ้าไม่มใี ห ้ใช ้ 70% alcohol

การให้ยาปฏิชีวนะ โดยให ้ใช ้ amoxicillin ร ับประทาน ถ ้าแพ้ยา penicillin ให ้ doxycycline หรือ พิจารณาใช ้ 2nd
และ 3rd cephalosporins ร ับประทานกรณี ทแพ้ ่ี penicillin ไม่รน ุ แรง
่ ข ้อบ่งชี ้ ดังนี ้
การให ้ยาสามารถให ้ได ้เมือมี
่ องกันการติดเชือประมาณ
• ให ้เพือป้ ้ 3-5 วัน พิจารณาในกรณี บาดแผลขนาดใหญ่ บาดแผลบริเวณนิ วมื ้ อ มือ ใบหน้า
บาดแผลลึกถึงกระดูก ผูป้ ่ วยมีภาวะภูมค ิ ุ ้มกันบกพร่อง ผูป้ ่ วยไตวาย เบาหวานควบคุมไม่ดี ตับแข็ง ผู ป
้ ่ วยตัดมา้ มแล ้ว
่ ักษาการติดเชือ้ อาจทาการเพาะเชือจากหนอง
• ให ้เพือร ้ ้ นแรงควรร ับไว ้ในโรงพยาบาล
ถ ้าการติดเชือรุ

การให้วัคซีนป้องกันโรคบาดทะยัก แบ่งเป็ น 2 กรณี คือ


• เคยได ้วัคซีนป้ องกันโรคบาดทะยักมาแล ้วอย่างน้อย 3 ครง้ั และได ้เข็มสุดท ้ายไม่นานกว่า 5 ปี ➔ ให ้ใช ้ tetanus-diphtheria
toxoid (Td) หรืออาจใช ้ tetanus toxoid (TT) 1 IM
• ไม่เคยได ้หรือเคยได ้วัคซีนป้ องกันโรคบาดทะยักน้อยกว่า 3 ครง้ั ➔ ให ้วัคซีน Td หรือ TT เข ้ากล ้าม 3 ครง้ั คือ วันที่ 0, 1 เดือนและ
6 เดือน สามารถใช ้วัคซีนรวมป้ องกันโรคคอตีบ ไอกรน และบาดทะยัก (Tdap) แทน TT หรือ Td 1 ครงใ ้ั นวัยรุน
่ หรือผูใ้ หญ่
(สถานเสาวภา สภากาชาดไทย, 2559) 13
โรคติดต่อทางผิวหนังและทางเดินอาหาร

พิษสุนัขบ้า (Rabies): การรักษาด้วยวัคซีน


การให ้ pre-exposure rabies prophylaxis และการร ักษา post-exposure prophylaxis แบ่งตามระดับการสัมผัสโรคของ
องค ์การอนามัยโลก (WHO Category)
ระดับการสัมผัส ความหมาย การร ักษา
โรคพิษสุนข
ั บ้า
สัมผัสโรคระดับ 1 สัมผัสสัตว ์โดยผิวหนังปกติ ไม่มบ
ี าดแผล ไม่ต ้องให ้การร ักษา หรืออาจให ้วัคซีนแบบ pre-exposure
(WHO category I) rabies prophylaxis

สัมผัสโรคระดับ 2 สัตว ์กัดหรือข่วนเป็ นรอยชา้ เป็ นแผล ่


เริมการร ักษาแบบ post-exposure prophylaxis คือให ้การ
(WHO category II) ถลอก สัตว ์เลียบาดแผล ร ักษาด ้วย rabies vaccine (ใช ้สูตร ESSEN-IM,TRC-ID)

สัมผัสโรคระดับ 3 สัตว ์กัดหรือข่วน มีเลือดออกช ัดเจน ่


เริมการร ักษาแบบ post-exposure prophylaxis คือให ้

(WHO category III) นาลายสั ่ หรือ บาดแผลเปิ ด
ตว ์ถูก เยือบุ rabies vaccine ทันทีโดยฉี ดบริเวณรอบแผลทีถู ่ กกัด จากนั้น
่ ยว่าเป็ น
บริโภคผลิตภัณฑ ์จากสัตว ์ทีสงสั ภายใน 0-7 วันหลังจากได ้ร ับวัคซีนเข็มแรก ให ้ฉี ด rabies
โรคพิษสุนัขบ ้าโดยไม่ทาให ้สุก รวมทัง้ immunoglobulin(ERIG หรือ HRIG) ทันที
ค ้างคาวกัดหรือข่วน

(สถานเสาวภา สภากาชาดไทย, 2559) 14


โรคติดต่อทางผิวหนังและทางเดินอาหาร

พิษสุนัขบ้า (Rabies): การรักษาด้วยวัคซีน


การให้ pre-exposure rabies prophylaxis สามารถให ้ได ้ 2 วิธคี อื
1. การฉี ดเข ้ากล ้าม (Intramuscular regimen: IM) ใช ้วัคซีนชนิ ด PVRV, CPRV, PCECV,PDEV 1 เข็ม (1 มล.

หรือ 0.5 มล.แล ้วแต่ชนิ ดของวัคซีนใน 1 หลอดเมือละลายแล ้ ้นแขนในวันที่ 0, 7, 21 หรือ 28
้ว) ฉี ดเข ้ากล ้ามเนื อต

2. การฉี ดเข ้าในหนัง(Intradermal regimen: ID) ใช ้วัคซีนชนิ ด PVRV (Verorab®), CPRV,


PCECV 0.1 มล./จุด จานวน 1 จุดฉี ดเข ้าในผิวหนังบริเวณต ้นแขนในวันที่ 0, 7, 21 หรือ 28 หรือ ใช ้วัคซีน PVRV
(Verorab®) 0.1 มล./จุด จานวน 2 จุดฉี ดเข ้าในผิวหนัง บริเวณต ้นแขน 2 ข ้าง ข ้างละ 1 จุด ในวันที่ 0 และ 28

(สถานเสาวภา สภากาชาดไทย, 2559)

15
โรคติดต่อทางผิวหนังและทางเดินอาหาร

พิษสุนัขบ้า (Rabies):การรักษาด้วยวัคซีน
การให้ post-exposure prophylaxis การให ้วัคซีนและอิมมูโนโกลบุลนิ (rabies immunoglobulin: RIG) แก่ผูป้ ่ วย
ภายหลังสัมผัสโรคพิษสุนัขบ ้า สามารถให ้ได ้ 2 วิธค
ี อื
1. การฉี ดเข ้ากล ้าม (Intramuscular regimen: IM) สูตร ESSEN (standard WHO intramuscular regimen)
(1-1-1-1-1-0) วิธก ่
ี าร ฉี ดวัคซีน 1 เข็ม (1 มล. หรือ 0.5 มล.แล ้วแต่ชนิ ดของวัคซีนใน 1 หลอดเมือละลายแล ้ว) เข ้า
้ ้นแขน (deltoid) ในวันที่ 0, 3, 7, 14 และ 28
บริเวณกล ้ามเนื อต
2. สูตรการฉี ดเข ้าในหนัง (Intradermal regimen: ID) สูตร TRC - ID (2-2-2-0-2-0) วิธก ี าร ฉี ดวัคซีนเข ้าใน
หนังบริเวณต ้นแขน 2 ข ้าง ข ้างละ 1 จุด (รวม 2 จุด ) ปริมาณจุดละ 0.1 มล. ในวันที่ 0, 3, 7 และ 28

ี่ ้ร ับวัคซีนเข็มสุดทา้ ยมา <6 เดือน ให ้ฉี ดเข็มกระตุน้


• กรณี ทได
้ ้นแขน (IM) 1 เข็ม หรือฉี ดวัคซีน
โดยฉี ดวัคซีนเข ้ากล ้ามเนื อต
เข ้าในหนังบริเวณต ้นแขน (ID) 0.1 มล. 1 จุด วันที่ 0
ี่ ้ร ับวัคซีนเข็มสุดทา้ ยมา >6 เดือน ให ้เข็มกระตุนโดย
• กรณี ทได ้
้ ้นแขน (IM) 1 เข็ม วันที่ 0 และ 3 หรือ
ฉี ดวัคซีนเข ้ากล ้ามเนื อต
ฉี ดวัคซีนเข ้าในหนังบริเวณต ้นแขน (ID) 0.1 มล. 1 จุด วันที่ 0
และ 3
16
(สถานเสาวภา สภากาชาดไทย, 2559)
โรคติดต่อทางผิวหนังและทางเดินอาหาร

พิษสุนัขบ้า (Rabies):การรักษาด้วยวัคซีน
การให้ ERIG (highly purified equine rabies immunoglobulin) หรือ HRIG (human rabies
immunoglobulin)
่ ดในวันแรกพร ้อมกับการให ้วัคซีน
• ฉี ดเร็วทีสุ
• ในกรณี ทไม่ ี่ สามารถให ้ RIG ในทันที ควรพิจารณาให ้ในวันต่อมา แต่ไม่ควรให ้หลังวันที่ 7 ของการได ้ร ับวัคซีน (เพราะจะมีผลใน
การกดภูมค ิ มกั ่ ดขึนจากการให
ุ ้ นทีเกิ ้ ้วัคซีน)
• ฉี ด RIG บริเวณทีแผลทุ ่ กแผลให ้มากทีสุ่ ดเท่าทีท
่ าได ้ แม้ว่าบาดแผลจะหายแล ้วก็ตาม โดยฉี ดบริเวณในและรอบบาดแผล (ถ ้า
ปริมาณ RIG ไม่เพียงพอ ให ้เจือจางด ้วย normal saline เป็ น 2-3 เท่า) ทีเหลื ่ อให ้ฉี ดเข ้ากล ้ามเนื อที
้ สะโพก
่ ้
หรือกล ้ามเนื อหน้
าขา
• ในกรณี ทมี ี่ การสัมผัสโรคทีเยื่ อบุ
่ ตา อาจล ้างตาโดยใช ้ HRIG 1:10 (dilute ด ้วย normal saline) หรือ ล ้างด ้วย normal saline
หลายๆ ครง้ั
• ก่อนฉี ดทา intradermal skin test โดยเจือจาง ERIG หรือ HRIG เป็ น1:100 ด ้วย normal saline และใช ้ 0.02 มล.อ่านผล 15
นาทีถอื ว่าผลบวกเมือ ่ wheal มากกว่า 10 มม.
• ERIG ให ้ในขนาด 40 IU/กก. และ HRIG ให ้ในขนาด 20 IU/กก.

ี่ มผัสสัตว ์มาแล ้วมากกว่า 14 วันจนถึงวันทีมาพบแพทย


**ในกรณี ทสั ่ ์และสัตว ์ยังปกติด ี ไม่ต ้องให ้การร ักษา (อาจพิจารณาให ้วัคซีนแบบ
pre-exposure prophylaxis)
(สถานเสาวภา สภากาชาดไทย, 2559) 17
โรคติดต่อทางผิวหนังและทางเดินอาหาร

บาดทะยัก (Tetanus)
โรคบาดทะยักเป็ นการติดเชือร้ ้ายแรงทีเกิ
่ ดขึนจากแบคที
้ เรีย Clostridium
tetani ผ่านทางผิวหนังทีมี่ การบาดเจ็บหรือมีแผล หรือผูป้ ่ วยอาจได ้รบั เชือจาก

อุปกรณ์ทางการแพทย ์ทีไม่่ สะอาด เช่น จากการฉี ดยา หรือสักผิวหนัง ทารกแรกเกิด
้ ได
เองก็สามารถร ับเชือนี ้ ้ หากในระหว่างการคลอดไม่ได ้อยูใ่ นสภาวะทีสะอาดเพี
่ ยงพอ
โดยปกติเชือ้ C. tetani สามารถพบได ้ในดินหรืออุจจาระของสัตว ์ต่างๆ หาก

ผูป้ ่ วยได ้ร ับเชือแล ้
้ว จะมีระยะเวลาฟักตัวตังแต่ ่ อาการ
2-21 วัน โดยผูป้ ่ วยมักเริมมี
แสดงให ้เห็นประมาณวันที่ 7-8 หลังได ้ร ับเชือ้

(Cataldo, 2018) 18
โรคติดต่อทางผิวหนังและทางเดินอาหาร

บาดทะยัก (Tetanus): กลไกการติดเชื้อ ในระยะต่อมา ผูป้ ่ วยจะมีอาการเกร็ง ตัวโก่งงอ แขน


้ ้าสูร่ า่ งกายผ่านทางบาดแผล โดยเฉพาะแผล ขาเหยียด (tetanic spasm) ภาวะหายใจล ้มเหลวมัก
เชือ้ C. tetani ปะปนอยูใ่ น เชือเข ้ อยในระยะนี ้
่ เวณก ้นแผลได ้ร ับออกซิเจนน้อย ทา เกิดขึนบ่

สิงแวดล ้อม ถูกตา/แทงทีบริ
ให ้แบคทีเรียเจริญเติบโตมากขึน้ เนื่ องจาก C. tetani
เป็ นแบคทีเรียประเภท anaerobe

้ อยสารพิษแพร่กระจายจากกระแสเลือดและ
เชือปล่
เส ้นประสาทเข ้าสูร่ ะบบประสาทส่วนกลางและสมอง

ในระยะแรกผูป้ ่ วยจะมีอาการกราม
่ ้
ค ้าง ใบหน้าและกล ้ามเนื อคอเกร็ง
เส ้นประสาททีควบคุ มการทางานของกล ้ามเนื อ้
้ นเป็ น ้
(trimus หรือ lock jaw) รวมทังมี
และก ้านสมองไวต่อการกระตุ ้นมากขึนอั
ผลมาจากสารพิษไปทาลายระบบป้ องกันการถูก อาการกลืนลาบาก
กระตุ ้นของเซลล ์สมอง
(Cataldo, 2018) 19
โรคติดต่อทางผิวหนังและทางเดินอาหาร

บาดทะยัก (Tetanus): อาการของโรค


การจาแนกความรุนแรงของบาดทะยักตาม Ablett Classification
เกรด ความรุนแรง อาการแสดงทางคลินิก
I น้อย ้
มีอาการกรามค ้าง ใบหน้าและกล ้ามเนื อคอเกร็ ง (trimus) เล็กน้อย ไม่มช ้ ว ไม่มอ
ี ักเกร็งทังตั ี าการหายใจ
ลาบาก อาจมีหรือไม่มอ ี าการกลืนลาบากเลย
II ปานกลาง ้
มี trimus ปานกลาง มองเห็นกล ้ามเนื อเกร็งช ัดเจนมากขึน้ มีช ักเกร็งทังตั
้ วเล็กน้อยถึงปานกลาง หายใจ
ลาบาก RR>30 bpm กลืนลาบากเล็กน้อย
III รุนแรง ่ วและนานขึน้ หายใจลาบาก RR>40 bpm มีหยุดหายใจเป็ นบางช่วง กลืน
มี trimus รุนแรง เกร็งทัวตั
ลาบากอย่างรุนแรง ชีพจรเต ้นเร็วมากกว่า 120 bpm
IV รุนแรงมาก มีอาการของเกรด III ร่วมกับมีความผิดปกติของระบบหัวใจและหลอดเลือด ได ้แก่ ความดันโลหิตสูง
รุนแรง หัวใจเต ้นเร็วสลับกับมีอาการความดันโลหิตต่าและหัวใจเต ้นช ้า หรืออาจมีอาการไปในมางใดทาง
หนึ่ งก็ได ้ แต่อาการนั้นคงอยู่เป็ นเวลานาน ไม่หายไป

่ งแรงส่วนใหญ่ อาการต่างๆจะค่อยๆดีขนใช
**ในผูป้ ่ วยทีแข็ ึ ้ ้เวลาประมาณ 17 วัน อาการเกร็งอาจคงอยู่นาน 3-4 เดือน และการฟื ้ นหาย
โดยสมบูรณ์จะใช ้เวลาหลายเดือน
(Afshar, Raju, Ansell, & Bleck, 2011) 20
โรคติดต่อทางผิวหนังและทางเดินอาหาร

บาดทะยัก (Tetanus): การรักษา


ควบคุมการเกร็งและอาการของระบบประสาทผิดปกติ โดยใช ้ยานอนหลับและ/หรือยาคลาย
กล ้ามเนื อ้ เช่น Diazepam 0.1-0.2 mg/kg

รักษาและป้องกันการติดเชื้อ โดยให ้ยาปฏิชวี นะทีมี่ ฤทธิเป็์ น broad spectrum เช่น Ceftriazone

จัดสิ่งแวดล้อม ให ้เงียบสงบ มีแสงน้อย เพือลดการกระตุ


่ ้นระบบประสาท

ดูแลให้สารน้า สารอาหาร และอิเลกโตรไลท์ทดแทน เนื่องจากผูป้ ่ วยมีภาวะกลืนลาบาก ไม่สามาถร ับน้า


และอาหารทางปากได ้

ดูแลให้รับออกซิเจน โดยเฉพาะในรายทีมี่ อาการของภาวะหายใจล ้มเหลว ได ้แก่ หายใจหอบเหนื่อย O2 Sat ต่ากว่า 96%


(Afshar, Raju, Ansell, & Bleck, 2011) 21
โรคติดต่อทางผิวหนังและทางเดินอาหาร

บาดทะยัก (Tetanus): การให้วัคซีน


แนวปฏิบัติการให้วัคซีนป้องกันบาดทะยัก
แผลสะอาด มีขนาดเล็ก ่
แผลชนิ ดอืนๆ
ประว ัติการได้ร ับว ัคซีน
Dtap, Tdap หรือ Td TIG Dtap, Tdap หรือ Td TIG

ไม่ทราบประวัต ิ หรือเคยได ้ร ับน้อยกว่า 3 ครง้ั ใช่ ไม่ ใช่ ใช่

เคยได ้ร ับมากกว่า 3 ครง้ั ่ ้ร ับ ไม่


ไม่ (ยกเว ้นในรายทีได ไม่ (ยกเว ้นในรายที่ ไม่
การกระตุนวั
้ คซีนแลว้ ได ้ร ับการกระตุนวั
้ คซีน
นานกว่า 10 ปี ) แล ้วนานกว่า 5 ปี )

Td1 Td2 Td3 Td4 Td5

0 1 mo หลังTd1 6 mo หลังTd2 1 yr หลังTd3 1 yr หลังTd4


(Afshar, Raju, Ansell, & Bleck, 2011) 22
โรคติดต่อทางผิวหนังและทางเดินอาหาร

เมลิออยด์ หรือเมลิออยโดสิส (Melioidosis)


เมลิออยด ์โดสิสเป็ นโรคติดเชือรุ้ นแรงในมนุ ษย ์ทีเกิ
่ ดจากการได ้ร ับเชือแบคที
้ เรียแกรม

ลบทีปนเปื ้อนอยู่ในดินทีเรี
่ ยกว่า Burkholderia pseudomallei ในประเทศไทยพบว่าภาค
ตะวันออกเฉี ยงเหนื อมีอต ้ งทีสุ
ั ราผู ้ป่ วยโรคนี สู ่ ดในประเทศ และผูป้ ่ วยส่วนใหญ่มอ
ี ต
ั ราการ
เสียชีวต
ิ สูงถึง 50%

เชือโรคนี ้
สามารถแพร่ เข ้าสูร่ า่ งกายได ้ผ่านทางทางเปิ ดของผิวหนัง เยือบุ่ ตา่ งๆ หรือ
้ ไม่
แม้แต่การสูดดม เชือนี ้ มรี ะยะฟักตัวทีแน่ ่ นอน บางรายอาจใช ้เวลา 1-21 วัน แต่ก็มรี ายงาน
ี่ ระยะฟักตัวนานถึง 62 ปี ด ้วย โดยเมือเชื
ถึงกรณี ทมี ่ อเข
้ ้าสูร่ า่ งกายแล ้ว สามารถแพร่ไปยัง
่ เช่น กระดูก สมอง ปอด และข ้อต่างๆได ้ แต่สาเหตุการเสียชีวต
อวัยวะอืนๆ ิ ของผูป่้ วยส่วน
ใหญ่ มักเกิดจากการช็อกจากการติดเชือในกระแสเลื้ อด (Septic shock)
(Wuthiekanun & Peacock, 2006) 23
โรคติดต่อทางผิวหนังและทางเดินอาหาร

เมลิออยโดสิส (Melioidosis): กลไกการติดเชื้อ


ปอดอักเสบ (Pneumonia)
เชือ้ B. pseudomallei เข ้าสู่
ร่างกายผ่านทางช่องทางต่างๆ

สูดดมอากาศที่
กินอาหารหรือดืม ่
ปนเปื ้ อนเชือ้
้ ปนเปื
นาที ่ ้ อนเชือ้

เชือแพร่กระจายไปยังอวัยวะต่างๆ เช่น
่ ทางเดินอาหาร ้ ้าสูก
เชือเข ่ ระแสเลือด ม้าม ต่อมลูกหมาก ไต หรือตับ
เกิดแผลในเยือบุ
หรือมีตอ ้
่ มนาเหลืองโต
้ กกระตุ ้นด ้วยปัจจัยต่างๆ เช่น
เชือถู

เกิดการติดเชือในเลื
อดอย่างรุนแรง การมีโรคร่วม ความอ่อนแอของ
ร่างกาย ฯลฯ ทาให ้กลับมามี
(Severe sepsis) หรือ
อาการแสดงเกิดขึน้

เชืออาจแฝงตั
วอยูใ่ นร่างกายแต่ยงั
ไม่แสดงอาการ
่ วหนัง
แผลเปิ ดทีผิ

(Wuthiekanun & Peacock, 2006) 24


โรคติดต่อทางผิวหนังและทางเดินอาหาร

เมลิออยโดสิส (Melioidosis): อาการของโรค


อาการไม่เฉพาะเจาะจง: ไข ้สูง ปวดศีรษะ คลืนไส
่ ้ อาเจียน ปวดท ้อง

อาการทางผิวหนัง: เซลล ์เนือเยื


้ ออั่ กเสบ (Cellulitis)

อาการทางปอด (พบมากถึง 50% ของผู้ป่วย): ไอ หายใจลาบาก ปอดอักเสบ หรือฝี ในปอด

อาการทางระบบเมื่อเชื้อเข้าสู่กระแสเลือดและอวัยวะต่างๆ: ความผิดปกติในการทางานของหัวใจ สมอง


ตับ ไต ข ้อต่างๆ และตา

อาการแสดงในระยะเฉี ยบพลัน ้ ัง
อาการแสดงในระยะเรือร
ไข ้ ปวดศีรษะ ไม่อยากอาหาร ปวดกล ้ามเนื อ้ หรือเป็ นฝี ้
เกิดฝี หลายบริเวณในร่างกาย เช่น ในกล ้ามเนื อแขนขา
ในปอด ม้าม หรือตับ ทาให ้มีอาการปวดท ้อง ถ ้าเป็ นฝี ในสมอง
จะทาให ้ระดับความรู ้สึกตัวลดลง

(Wuthiekanun & Peacock, 2006) 25


โรคติดต่อทางผิวหนังและทางเดินอาหาร

เมลิออยโดสิส (Melioidosis): การวินิจฉัยโรค


้ ้นเหตุของโรค รวมทังข
Samples culture จะช่วยบอกถึงเชือต ้ ้อมูลด ้านความจาเพาะหรือการ
้ อยาปฏิชวี นะของเชือนั
ดือต่ ้ ้น

Routine laboratory test


จะช่วยบอกถึงภาวะต่างๆ เช่น
• ไตวายเฉี ยบพลัน
• การทางานของตับผิดปกติ
• ภาวะซีด
• การติดเชือ้

(Wuthiekanun & Peacock, 2006) Radiographs และ CT scan


จะช่วยบอกลักษณะหรือบริเวณ
่ การติดเชือ้
ของอวัยวะภายในทีมี

26
โรคติดต่อทางผิวหนังและทางเดินอาหาร

เมลิออยโดสิส (Melioidosis): การรักษา (Wuthiekanun & Peacock, 2006)

Intravenous phase Oral phase


10-14 วัน 20 สัปดาห ์
• Ceftazidime 40 mg/kg (ให ้ได ้สูงสุด 2 g) q 8 hr
• Trimethoprim-sulfamethoxazole (TMP-SMX)
หรือ
5/25 mg/kg q 12 hr ร่วมกับ doxycycline 2
• Meropenem 25 mg/kg (ให ้ได ้สูงสุด 1 g) q 8 hr
mg/kg (ให ้ได ้สูงสุด 100 mg) q 12 hr
หรือ
• ให ้ยานานอย่างน้อย 12-20 สัปดาห ์
• Imipenem 20 mg/kg (ให ้ได ้สูงสุด 1 g) q 8 hr
• ให ้ยานานอย่างน้อย 10 วัน หรือจนกว่าอาการแสดง

จะหายไปขึนอยู่กบั ว่าข ้อใดนานกว่ากัน

การดู แลตามอาการ
• Septic shock ➔ NSS + Vasopressor drug
• Respiratory failure หรือ Adult respiratory distress syndrome (ARDS) ➔ Ventilatory support
• Acute renal failure ➔ Fluid and Electrolyte support
• Collections of pus ➔ Drainage + Wound care
27
โรคติดต่อทางผิวหนังและทางเดินอาหาร

กลุ่มโรคติดต่อทางระบบทางเดินอาหาร

• อหิวาตกโรค (Cholera)
• บิด (Dysentery)
• ไทฟอยด ์ (Typhoid)
• โบทูลซ
ิ มึ (Botulism)

28
โรคติดต่อทางผิวหนังและทางเดินอาหาร

อหิวาตกโรค (Cholera)

อหิวาตกโรคเป็ นโรคระบาดประจาถิน ่ พบได ้มากในทวีปแอฟริกา เอเชีย และ


แถบคาริเบียน โดยเชือแบคที้ ่
เรียก่อโรค คือ Vibrio Cholerae ทีปนเปื ้ อนอยูใ่ นอาหาร
และนา้ ผูท้ ติ
ี่ ดเชือนี
้ อาจมี
้ อน
ั ตรายถึงเสียชีวต ิ จากการถ่ายเหลวและอาเจียนในปริมาณ
มาก จนทาให ้ร่างกายมีภาวะช็อกจากการสูญเสียนา้ (hypovolemic shock) และ
เลือดเป็ นกรด โดยอัตราการตายจากโรคขึนอยู ้ ก ั ความรุนแรงของภาวะขาดนา้ และ
่ บ
ความรวดเร็วในการร ักษา

(Melbourne & Melbourne, 2011) 29


โรคติดต่อทางผิวหนังและทางเดินอาหาร

อหิวาตกโรค (Cholera): กลไกการติดเชื้อ


แบคทีเรียเข ้าสูร่ า่ งกายมนุ ษย ์ผ่าน
แบคทีเรียปล่อยสารพิษ (cholera toxin) ทาให ้
ระบบทางเดินอาหารจากการกิน

เชือแทรกซึมเข ้าไปอยูใ่ นผนังของลาไส ้
่ าและอาหารที
หรือดืมน ้ ่
ปนเปื ้ อน

เชือโรค

่ งมานี
สารพิษทีหลั่ ้
ไปเคลื อบผนังลาไส ้ ทาให ้ไม่
สามารถดูดกลับนาที ้ อยู
่ ใ่ นลาไส ้เข ้าสูร่ ะบบ
ไหลเวียนเลือดได ้ ทาให ้เกิดภาวะขาดนา้ และ
hypovolemic shock ในทีสุ ่ ด


เมือแบคที เรียเข ้าสูล
่ าไส ้เล็กจะ

เริมแบ่ งตัวอย่างรวดเร็ว

้ ้าว
อุจจาระสีนาข
ระยะเวลาฟักตัวของเชือ้
(rice-water stool)
กินเวลา 2 ชม. – 5 วัน

(Melbourne & Melbourne, 2011) 30


โรคติดต่อทางผิวหนังและทางเดินอาหาร

บิด (Dysentery)
โรคบิดมีสาเหตุการเกิดโรคคล ้ายอหิวาตกโรค คือการอาศัยอยู่ในทีไม่ ่ ถก ู สุขลักษณะ และกิน
่ ้าและอาหารทีมี
หรือดืมน ่ การปนเปื ้อนของเชือ้ โรคบิดสามารถเกิดได ้จากเชือก่
้ อโรคหลายประเภท

ได ้แก่ แบคทีเรีย ไวร ัส หรือปรสิต แต่สว่ นมากมักมีสาเหตุมาจากเชืออะมี บา Entamoeba
histolytica และแบคทีเรียตระกูล Shigella ดังนั้นแม้จะมีสาเหตุการเกิดโรคจากการบริโภคคล ้ายกัน
แต่ความแตกต่างระหว่างบิดและอหิวาตกโรคและโรคบิดคือเชือก่ ้ อโรค และลักษณะอุจจาระ โดยผูท้ ี่
เป็ นโรคบิดมักมีอจุ จาระเหลวปนเลือดหรือหนอง ในขณะทีอหิ ่ วาตกโรค อุจจาระจะเป็ นสีขาวขุน ่
เหมือนน้าซาวข ้าว
อัตราการตายจากโรคบิดและอหิวาตกโรคขึนอยู ้ ่กบั ความเร็วในการวินิจฉัยและให ้การร ักษา
้ างทันท่วงที อัตราการตายจะเหลือเพียง 1% ในขณะที่
โดยหากผูป้ ่ วยได ้ร ับการร ักษาภาวะขาดนาอย่
หากปล่อยให ้อาการของโรคดาเนิ นต่อไปโดยไม่มก
ี ารร ักษา อัตราการตายอาจสูงถึง 50-60%

(Melbourne & Melbourne, 2011; Stein, 2003) 31


โรคติดต่อทางผิวหนังและทางเดินอาหาร

บิด (Dysentery): กลไกการติดเชื้อ อุจจาระเหลว มีเลือดและหนองปนออกมา

้ ้าสูล
เชือเข ่ ผนังลาไส ้
่ าไส ้ และแบ่งตัวในเยือบุ
่ ทเคลื
เกิดการทาลายเยือบุ ่ี อบผนังลาไส ้
ทาให ้เกิดแผล

ระยะเวลาฟักตัวของเชือ้ กระตุ ้นกระบวนการอักเสบ และทา ่


หลังสารพิ ่ ผลต่อระบบประสาท ทาให ้ผูท้ ติ
ษทีมี ่ี ด
กินเวลา 7–10 วัน ให ้หลอดเลือดในผนังลาไส ้หดตัว ้ อาการไข ้ ท ้องแข็งเกร็ง ปวดท ้อง
เชือมี

(Stein, 2003) 32
โรคติดต่อทางผิวหนังและทางเดินอาหาร

อหิวาตกโรค (Cholera) vs. บิด (Dysentery)


ลักษณะ อหิวาตกโรค บิด
้ อโรค
เชือก่ Vibrio Cholerae Entamoeba histolytica หรือ Shigella
ระยะฟั กต ัว 2 ชม. – 5 วัน 7–10 วัน
ลักษณะอุจจาระ ้ ้าว
อุจจาระเหลว สีนาข อุจจาระเหลว มีเลือดและหนองปนออกมา
อาการ ไข ้ ปวดท ้อง ท ้องเสีย มีอาการของภาวะขาดนา้
การร ักษา • ประเมินภาวะขาดนา้

• ดูแลให ้สารนาทดแทน ประเมินสัญญาณชีพและการตอบสนองต่อการร ักษา
่ ความจาเพาะเจาะจงต่อเชือก่
• ดูแลให ้ได ้ยาปฏิชวี นะทีมี ้ อโรค
• ดูแลให ้ได ้ร ับสารอาหารทดแทน
• ไม่ควรให ้ทานยาระงับอาการท ้องเสีย เพราะจะทาให ้การขับสารพิษทีเกิ ่ ดจากเชือ้

ออกจากร่างกายลดลง ทาให ้ผู ้ป่ วยมีการติดเชือและอาการไข ้นานขึน้

(Melbourne & Melbourne, 2011; Stein, 2003) 33


โรคติดต่อทางผิวหนังและทางเดินอาหาร

อหิวาตกโรค (Cholera) และบิด (Dysentery): การรักษาภาวะขาดน้า


1. การประเมินภาวะขาดน้า

ไม่มภ ี าวะขาดน้ า มีภาวะขาดน้ า มีภาวะขาดน้ ารุนแรง


่ ปากและลินชื
รู ้ตัว รู ้เรือง ้ น้ กระสับกระส่าย ตาลึกโหล ปากลิน้ ซึมหรือหมดสติ ตาลึกโหลมาก ปาก
ดืมน่ ้าได ้ปกติ ไม่มอ ี าการ แห ้ง กระหายน้า ความตึงตัวของ ้
และลินแห ้
้งมาก กระหายนามากหรื อ
่ าไม่
้ ได ้เลย ความตึงตัวของ
กระหายน้า ผิวหนังลดลง ดืมน
ผิวหนังช ้ามาก บางรายอาจคลา
radial pulse ไม่ได ้ ร่วมกับมีความ
ดันโลหิตต่ามาก

กระหายนา้ อ่อนเพลีย เวียนศรีษะ ปวดศีรษะ ปัสสาวะสีเข ้มขึน้ ปากแห ้ง/นาลายเหนี


้ ยว ความตึงตัวของผิวหนังลดลง สับสน
34
(W. H. O. Global Task Force on Cholera Control, 2010)
โรคติดต่อทางผิวหนังและทางเดินอาหาร

อหิวาตกโรค (Cholera) และบิด (Dysentery): การรักษาภาวะขาดน้า


2. การดูแลให้สารน้าทดแทน **อาการแสดงทีบ่ ่ งชีว่้ าผูป้ ่ วย
มีอาการดีขนึ ้ ปกติใช ้เวลา
มีภาวะขาดนา้ ้ นแรง
มีภาวะขาดนารุ ประมาณ 6-8 ชม.หลังได ้ร ับ
การร ักษา
• อาเจียนหรืออุจจาระลดลง
ให ้สารน้าชนิ ด Ringer’s lactate solution (RLS) ทดแทนทันที หากไม่มี
• ปัสสาวะออกมากขึน้ สี
่ ORS ต่อ สามารถให ้ NSS แทนได ้ ในปริมาณ 100 ml/kg IV ภายใน 3 ชม. โดยแบ่งให ้
ดูแลให ้ดืม เหลืองใส
่ ้ ดังนี ้
โดยสามารถดืมได ่ ดภายใน 30 นาทีแรก จากนั้นปร ับเป็ น 70 ml/kg
• ให ้ 30 ml/kg เร็วทีสุ
2200-4000 ml/วัน ่ ่ เหลื
่ อ
ภายใน 2 ชัวโมงครึ งที
• หากผูป้ ่ วยร ับประทานได ้ ให ้ oral rehydration salts (ORS) 5 ml/kg/hr

ดืมควบคู ่ ้ร ับสารน้าทางหลอดเลือดดาด ้วย
ไ่ ประหว่างทีได
ึ้
อาการดีขนแต่
ยงั มี อาการไม่ดข ึ้
ี น
ภาวะขาดน้าอยู่
หลังให ้สารน้า 30 นาที ควรคลา radial pulse ได ้แรงขึนและความดั
้ น
โลหิตควรกลับมาอยู่ในช่วงปกติ หากไม่ดข ึ ้ ให ้สารน้า 30 ml/kg อย่าง
ี น
รวดเร็วไปอีก 30 นาที


ประเมินอาการซาในอี ่
ก 3 ชัวโมง


กระตุ ้นให ้เริมทานอาหาร ึ ้ ไม่มภ
อาการดีขน ี าวะขาดน้า
ทางปากและดืมน ่ ้าทดแทน
35
(W. H. O. Global Task Force on Cholera Control, 2010)
โรคติดต่อทางผิวหนังและทางเดินอาหาร

อหิวาตกโรค (Cholera) และบิด (Dysentery): การรักษา


3. การให้ยาปฏิชีวนะ
ยาปฏิชวี นะ
อหิวาตกโรค • Doxycycline 300 mg orally single dose
• หรือ Ciprofloxacin 1 gm orally single dose
• หรือ Azithromycin 1 gm orally single dose
บิด • Ciprofloxacin 15 mg/kg orally twice daily for 3 days

• หากผลเพาะเชือพบว่ ้ อต่
าเชือดื ้ อยา Ciprofloxacin ให ้
Ceftriaxone 50–100 mg/kg IM for 2–5 days แทน หรือให ้
Azithromycin 6–20 mg/kg, orally once daily for 1–5
days

4. กระตุ้นให้ทานอาหาร โดยผู้ป่วยสามารถทานอาหารปกติได้ทันทีหากอาการคลื่นไส้อาเจียนหมดไป

(W. H. O. Global Task Force on Cholera Control, 2010; Williams & Berkley, 2018) 36
โรคติดต่อทางผิวหนังและทางเดินอาหาร

ไทฟอยด์ (Typhoid)

ไทฟอยด ์เป็ นโรคติดเชือซึ ้ งเกิ


่ ดจากแบคทีเรียกลุม ่ Salmonella enterica

สายพันธุ ์ Typhi เชือโรคนี ้
อาจเป็ นอันตรายถึงแก่ชวี ต
ิ ได ้ การศึกษาปัจจุบน ั พบว่า
่ ชวี ต
มนุ ษย ์เป็ นสิงมี ่ นภาหะนาเชือโรค
ิ ชนิ ดเดียวทีเป็ ้ ้
โดยผูป้ ่ วยมักได ้ร ับเชือจากการ
บริโภคนาดื ้ มที
่ มี ่ การปนเปื ้ อนของเชือ้

(Barnett, 2016) 37
โรคติดต่อทางผิวหนังและทางเดินอาหาร

ไทฟอยด์ (Typhoid): กลไกการติดเชื้อ


เชือ้ S. typhi เข ้าสู่
ร่างกายผ่านการดืม ่
้ ปนเปื
นาที ่ ้ อน ้ งตัวและเพิมจ
เชือแบ่ ่ านวนนมาก
ขึน้ และแพร่กระจายเข ้าสูท
่ อ


ทางเดินนาเหลื องในช่องท ้อง

้ นทางผ่านปาก
เชือเดิ
กระเพาะอาหาร ไปจนถึง

เชือแพร่เข ้าสูก
่ ระแสเลือด ทาให ้
jejunum และ ileum ซึง่
เป็ นส่วนท ้ายของลาไส ้เล็ก อวัยวะต่างๆในช่องท้องและ
้ ้วย
บริเวณใกล ้เคียงได ้ร ับเชือด
้ ม้าม ทรวงอก
เช่น ตับ ถุงนาดี

่ ้ ปวดท ้อง
เกิดอาการไข ้ คลืนไส
้ บกับเซลล ์นาเหลื
เชือจั ้ องที่
และท ้องเสีย
ระยะเวลาฟักตัวของเชือ้ อยูบ ่ ริเวณผนังลาไส ้
กินเวลา 5-14 วัน เรียกว่า Peyer’s patches
(Wain, Hendriksen, Mikoleit, Keddy, & Ochiai, 2015) 38
โรคติดต่อทางผิวหนังและทางเดินอาหาร

ไทฟอยด์ (Typhoid): อาการ


่ นระยะฟักตัวแล ้ว ผู ้ป่ วยมักเกิดอาการแสดงทีสามารถแยกออกได
เมือพ้ ่ ้เป็ น 4 ระยะ โดยแต่ละระยะกินเวลาประมาณ 1 สัปดาห ์ ดังนี ้

่ ไข ้ โดยลักษณะเป็ นไข ้สูงช่วงเย็น และจะมีอณ


ระยะแรก ผูป้ ่ วยเริมมี ุ หภูมล
ิ ดลงในช่วงกลางคืน ปวดท ้อง ท ้องผูก ปวดศีรษะ ไอ
แห ้ง ชีพจรเต ้นช ้า และประมาณ 25% พบว่าผู ้ป่ วยอาจมีเลือดกาเดาไหลบ่อยในระยะนี ้

้ งสุด 39-40 oC อาจมีผนแดงขึ


จะมีไข ้ขึนสู ื่ ้ เวณหน้าอกส่วนล่างหรือท ้องส่วนบน เรียกว่า rose spots ซึงอาจ
นบริ ่
สัปดาห์ที่ 2
ตรวจพบได ้ในช่วง 2-5 วันของระยะนี ้ ตรวจท ้องพบม้ามโต ท ้องอืดแน่ น และอาจพบชีพจรเต ้นไม่สม่าเสมอด ้วย

่ อาการแย่ลงอย่างเห็นได ้ช ัด มีอาการอ่อนเพลีย ไม่อยากอาหาร นาหนั


ผูป้ ่ วยจะเริมมี ้ กลดอย่างรวดเร็ว มีถา่ ยเหลวสี
สัปดาห์ที่ 3 ่
เขียวกลินเหม็ นมาก (pea soup diarrhea) ผูป้ ่ วยอาจมีอาการสับสน กระสับกระส่ายหรือเห็นภาพหลอน

ภาวะแทรกซ ้อนทีอาจเกิ ้
ดขึนในระยะนี ้ ได ้แก่ ลาไส ้ทะลุ เลือดออกในลาไส ้ มีภาวะขาดนารุ
้ นแรง กล ้ามเนื อหั
้ วใจอักเสบ
ปอดอักเสบ

ิ ถึงระยะนี ้ ไข ้จะค่อยๆลดลง อาการทางระบบประสาทกลับมาเป็ นปกติ อาการปวดแน่ นท ้องลดลง


หากผูป้ ่ วยรอดชีวต
สัปดาห์ที่ 4 การฟื ้ นหายโดยสมบูรณ์อาจใช ้เวลานานเป็ นเดือน และเมือหายแล
่ ้วผู ้ป่ วยบางรายอาจกลายเป็ นภาหะของโรคต่อไป

(Wain, Hendriksen, Mikoleit, Keddy, & Ochiai, 2015) 39


โรคติดต่อทางผิวหนังและทางเดินอาหาร

ไทฟอยด์ (Typhoid): การวินิจฉัยและรักษา


่ ้
Stool และ Blood culture เป็ นการตรวจทีให ่ ้ร ักษา ได ้แก่ Ceftriaxone,
• ยาปฏิชวี นะทีใช
ความแม่นยามากถึง 85-90% ในระยะสัปดาห ์ Azithromycin, Ciprofloxacin, Levofloxacin หรือ
แรก แต่ความแม่นยาจะลดลงเหลือ 30% ใน Moxifloxacin การเลือกใช ้ขึนอยู ้ ้ าเชือโรค
่กบั ผลเพาะเชือว่ ้
ระยะท ้ายๆ มีความจาเพาะต่อยาชนิ ดใด
• ดูแลให ้สารนา้ สารอาหารทดแทน
• ดูแลให ้ได ้ร ับยาลดไข ้

(Wain, Hendriksen, Mikoleit, Keddy, & Ochiai, 2015) 40


โรคติดต่อทางผิวหนังและทางเดินอาหาร

โบทูลิซึม (Botulism)
โรคโบทูลซ ่ ดจากสารพิษ botulinum ทีสร
ิ มึ เป็ นโรคทีเกิ ่ ้างมาจากเชือแบคที
้ เรีย
Clostridium botulinum ซึงเป็ ่ นเชือที ้ เจริ่ ญเติบโตได ้ดีในสภาวะออกซิเจนต่า ผูป้ ่ วย
สามารถเป็ นโรคนี ได้ ้โดยติดเชือจากการกิ
้ นอาหารทีมี ่ สารพิษหรือเชือ้ การระบาดส่วน
ใหญ่มส ี าเหตุจากผัก หน่ อไม้ และปลาทีบรรจุ ่ กระป๋ องเองทีบ ่ ้าน ไส ้กรอก นาผึ
้ ง้ หรืออาจ
ติดโรคจากบาดแผลสัมผัสกับดินทีปนเปื ่ ้ อน แต่กรณี นีพบได
้ ้น้อยมากและไม่มรี ายงาน
ระยะฟักตัวของเชือใช ้ ้เวลาประมาณ 18-36 ชัวโมง ่ โดยผูป้ ่ วยจะมีอาการคลืนไส ่ ้ อาเจียน
ปวดท ้อง แล ้วเกิดอัมพาตอย่างรวดเร็วโดยเริมจากที ่ ่ วนหัวและคอไปทีแขนขาหน้
ส่ ่ าอก
ทาให ้หายใจไม่ได ้และอาจเสียชีวต ิ ได ้

(Hoyle, 2018) 41
โรคติดต่อทางผิวหนังและทางเดินอาหาร

โบทูลิซึม (Botulism): กลไกการติดเชื้อ ทาให ้เกิดอาการแสดงต่างๆ


้ ้าสูร่ า่ งกายผ่านทางการสูดดมสปอร ์ของเชือ้
เชือเข
การกินอาหารทีปนเปื่ ้ อนเชือ้


สารพิษจากเชือแทรกซึ
มเข ้าสูผ
่ นังลาไส ้ และแพร่เขา้ สูห
่ ลอดเลือด

สารพิษแพร่เข ้าถึงปลายประสาท
(Hoyle, 2018) 42
โรคติดต่อทางผิวหนังและทางเดินอาหาร

โบทูลิซึม (Botulism): การรักษา


ดูแลให้ได้รับ Botulinum antitoxin

ดูแลให้ได้รับ Mechanical ventilator

ดูแลให้ได้รับ Parenteral nutrition

(Hoyle, 2018) 43
โรคติดต่อทางผิวหนังและทางเดินอาหาร

การพยาบาลผู้ที่มีปัญหาโรคติดต่อทางผิวหนังและทางเดินอาหาร
่ อการเกิดอันตรายจากการติดเชือในกระแสเลื
• เสียงต่ ้ อด
้ อพร่
• มีภาวะเนื อเยื ่ องออกซิเจนเนื่ องจากการทางานของระบบหายใจล ้มเหลว
่ อการเกิดภาวะไตวายเฉี ยบพลันเนื่ องจากการกาซาบทีไตลดลง
• เสียงต่ ่
่ อการเกิดอันตรายจากการเสียสมดุลสารนาและอิ
• เสียงต่ ้ เล็กโตรลัยท ์

44
โรคติดต่อทางผิวหนังและทางเดินอาหาร

เสี่ยงต่อการเกิดอันตรายจากการติดเชื้อในกระแสเลือด
1. ้
ประเมิน ค ้นหาแหล่งติดเชือจากบริ ่ มออกทางบาดแผล
เวณบาดแผล เช่น อาการบวม แดง ร ้อน และการมีสารคัดหลังซึ
้ แลเก็บสิงส่
รวมทังดู ่ งตรวจตามแผนการร ักษา เพือตรวจเพาะเชื
่ ้
อสาเหตุ
ของโรค
2. ้
ตรวจสอบและบันทึกสัญญาณชีพ อาการ และอาการแสดงของการติดเชือในกระแสเลื อดจากกลุ่มอาการตอบสนองต่อการ
่ างกาย (Systemic inflammatory response syndrome หรือ SIRS) ซึงจะมี
อักเสบทัวร่ ่ อาการและอาการแสดงอย่างน้อย

2 อย่างขึนไปได ้แก่
• มีไข ้สูงกว่า 38 องศาเซลเซียส หรือ มีอณ ิ องร่างกายต่ากว่า 36 องศาเซลเซียส
ุ หภูมข
• ้ั อนาที
หัวใจเต ้นเร็วมากกว่า 90 ครงต่
• ั้ อนาที หรือ วัดค่าความดันคาร ์บอนไดออกไซด ์ในเลือดได ้มากกว่า 32 มิลลิเมตรปรอท
หายใจเร็วมากกว่า 20 ครงต่
• การตรวจเลือดพบมีเม็ ดเลือดขาวมากกว่า 12,000 ตัวต่อมิลลิลต
ิ รหรือน้อยกว่า 4,000 ตัวต่อมิลลิลต
ิ ร

3. ่ ดเตรียมอุปกรณ์ในการ รวมทังส่
ประเมินลักษณะบาดแผลเพือจั ้ งเสริมความสุขสบายให ้แก่ผป ู ้ ่ วยโดยดูแลให ้ได ้รบั ยาบรรเทา
อาการปวดตามแผนการรักษา
4. ่
ติดตามผลโลหิตวิทยาโดยดูจากเม็ ดโลหิตขาว (WBC) และค่านิ วโตรฟิ ว (neutrophil) เพือประเมิ นภาวะติดเชือ้
5. ดูแลให ้ผู ้ป่ วยได ้ร ับยาปฏิชวี นะ ตามแผนการร ักษาของแพทย ์
6. ้
ดูแลให ้ผู ้ป่ วยให ้ได ้ร ับสารนาทางหลอดเลื
อดดา ตามแผนการร ักษาของแพทย ์

45
โรคติดต่อทางผิวหนังและทางเดินอาหาร

มีภาวะเนื้อเยื่อพร่องออกซิเจนเนื่องจากการทางานของระบบหายใจล้มเหลว

่ ท่อช่วยหายใจทีต่
1. ให ้การพยาบาลผูป้ ่ วยทีใส่ ่ อเครืองช่
่ วยหายใจ และปร ับการตังค่
้ าการทางานของเครืองช่
่ วยหายใจตาม
แผนการร ักษา มีตรวจสอบทุกเวรให ้ตรงตามแผนการร ักษา


2. ตรวจสอบตาแหน่ งของท่อหลอดลมคอ (Endotracheal tube) ให ้ตรงตามตาแหน่ งทีระบุไว ้ในใบบันทึกทางการพยาบาล

่ั
3. ตรวจสอบและบันทึกสัญญาณชีพอาการ และอาการแสดงทุก 1 ชวโมง ่ั
แล ้วเป็ นทุกๆ 4 ชวโมงเมื ่
ออาการเริ ่
มคงที ่

่ วของออกซิเจนปลายนิ วทุ
4. ติดตามค่าความอิมตั ้ กเวรและหรือบ่อยตามอาการผูป้ ่ วย

5. ให ้ยาบรรเทาอาการปวดตามแผนการร ักษา

46
โรคติดต่อทางผิวหนังและทางเดินอาหาร

เสี่ยงต่อการเกิดภาวะไตวายเฉียบพลันเนื่องจากการกาซาบที่ไตลดลง
่ ้อาเจียน ประเมินทุก 1 ชวโมงในระยะแรก
1. วัดสัญญาณชีพ ประเมินระดับความรู ้สึกตัว อาการกระสับกระส่าย คลืนไส ่ั และทุก 4
่ั
ชวโมงเมื ่ อาการคงที่
อมี


2. ประเมินจังหวะการเต ้นของหัวใจติดตามโดยใช ้เครืองการติ
ดตามการทาางานของหัวใจ สังเกตดูลก
ั ษณะ T – Wave EKG วัด
ความดันหลอดเลือดดาส่วนกลาง ถ ้ามากกว่า 12 cmH2O รายงานแพทย ์

3. บันทึกจานวนน้าเข ้าและออกอย่างถูกต ้องทุก 8 ชวโมง


่ั

4. ควบคุมการให ้สารน้าทีให
่ ้ทางหลอดเลือดดาโดยผ่านเครืองควบคุ
่ มปริมาตรทุกชนิ ด

5. ประเมินชีพจรส่วนปลาย อาการบวมของแขน ขา และ Dependent area ดูลก


ั ษณะ Neck vein สังเกตความตึงตัว ความ
ยืดหยุ่นของผิวหนังอย่างน้อยเวรละครง้ั


6. ฟังเสียงปอดทุกเวรเพือประเมิ ่
นภาวะ Pulmonary edema เพือจะได ้ให ้การดูแลทันท่วงที

7. ติดตามค่าการทางานของไตตามแผนการร ักษา

8. ให ้ยาขับปัสสาวะตามแผนการร ักษาและประเมินภาวะแทรกซ ้อนจากการได ้ยา

47
โรคติดต่อทางผิวหนังและทางเดินอาหาร

เสี่ยงต่อการเกิดอันตรายจากการเสียสมดุลสารน้าและอิเล็กโตรลัยต์
1. ประเมินภาวะไม่สมดุลของอิเล็กโตรลัยต ์ในร่างกายจากอาการแสดง ผลการตรวจทางห ้องปฏิบต
ั ก
ิ าร และรายงานแพทย ์ทราบ
กรณี เกลือแร่ผด
ิ ปกติ

2. ประเมินอาการและอาการแสดงของภาวะ Electrolyte imbalance เช่น มีอาการกล ้ามเนื อ้ อ่อนแรง สับสน เบืออาหาร



่ ้ อาเจียน
คลืนไส

3. บันทึกปริมาณสารน้าเข ้า และออก

่ ประโยชน์ตอ
4. แนะนาการร ับประทานอาหารทีมี ่ อเิ ล็กโตรลัยต ์ทีผู
่ ร่างกาย โดยเน้นประเภทอาหารทีมี ่ ป้ ่ วยพร่องอยู่


5. ดูแลให ้ได ้ร ับยาและสารนาทางหลอดเลื
อดดาตามแผนการร ักษา

6. ประเมินภาวะไม่สมดุลของอิเล็กโตรลัยต ์ในร่างกาย

48
โรคติดต่อทางผิวหนังและทางเดินอาหาร

โภชนาการสาหรับผู้ที่มีปัญหาโรคติดต่อทางผิวหนังและทางเดินอาหาร

49
โรคติดต่อทางผิวหนังและทางเดินอาหาร

โภชนาการสาหรับผู้ที่มีปัญหาโรคติดต่อทางผิวหนัง

50
โรคติดต่อทางผิวหนังและทางเดินอาหาร

โภชนาการสาหรับผู้ที่มีปัญหาโรคติดต่อทางเดินอาหาร

51
โรคติดต่อทางผิวหนังและทางเดินอาหาร

REFERENCES
สถานเสาวภา สภากาชาดไทย. (2559). แนวทางการให้การดูแลรักษาผูป้ ่ วยสัมผัสโรคพิษสุนขั บ้า. กรุงเทพ: สภากาชาดไทย.
Riggs, T. (2018). Leptospirosis. In T. Riggs (Ed.), Infectious Diseases (2nd ed. ed., Vol. 1, pp. 548-551). Farmington Hills, MI: Gale.
World Health Organization. (2012). Leptospirosis. Retrieved from
http://www.wpro.who.int/mediacentre/factsheets/fs_13082012_leptospirosis/en/
Centers for Disease Control and Prevention. (2017). Leptospirosis. Retrieved from https://www.cdc.gov/leptospirosis/index.html
Thomas, J. H., & Stephens, D. P. (2006). Leptospirosis: an unusual presentation. Crit Care Resusc, 8(3), 215-218.
Aldridge, S., & Atkins, W. A. (2018). Rabies. In T. Riggs (Ed.), Infectious Diseases (2nd ed. ed., Vol. 2, pp. 775-780). Farmington
Hills, MI: Gale.
Cataldo, L. J. (2018). Tetanus. In T. Riggs (Ed.), Infectious Diseases (2nd ed. ed., Vol. 2, pp. 952-955). Farmington Hills, MI: Gale.
Afshar, M., Raju, M., Ansell, D., & Bleck, T. P. (2011). Narrative Review: Tetanus—A Health Threat After Natural Disasters in
Developing Countries. Annals of Internal Medicine, 154(5), 329. doi:10.7326/0003-4819-154-5-201103010-00007
Wuthiekanun, V., & Peacock, S. J. (2006). Management of melioidosis. Expert Review of Anti-infective Therapy, 4(3), 445-455.
doi:10.1586/14787210.4.3.445

52
โรคติดต่อทางผิวหนังและทางเดินอาหาร

REFERENCES
Melbourne, E. L., & Melbourne, E. L. (2011). Cholera symptoms, diagnosis, and treatment. New York: New York :
Nova Science Publishers.
Stein, G. (2003). Dysentery. Jama, 289(21), 2767-2767. doi:10.1001/jama.289.21.2767
W. H. O. Global Task Force on Cholera Control. (2010). Acute diarrhoeal diseases in complex emergencies:
critical steps: decision-making for preparedness and response. Geneva: World Health Organization.
Williams, P. C. M., & Berkley, J. A. (2018). Guidelines for the treatment of dysentery (shigellosis): a systematic
review of the evidence (Vol. 38, pp. S50-S65).
Barnett, R. (2016). Typhoid fever. The Lancet, 388(10059), 2467-2467. doi:10.1016/S0140-6736(16)32178-X
Wain, J., Hendriksen, R. S., Mikoleit, M. L., Keddy, K. H., & Ochiai, R. L. (2015). Typhoid fever. The Lancet,
385(9973), 1136-1145. doi:https://doi.org/10.1016/S0140-6736(13)62708-7
Langwith, J., & Langwith, J. (2010). Hepatitis (1st ed. ed.). Farmington Hills, MI: Farmington Hills, MI :
Greenhaven Press.
Hoyle, B. (2018). Botulism. In T. Riggs (Ed.), Infectious Diseases (2nd ed. ed., Vol. 1, pp. 133-135). Farmington
Hills, MI: Gale.

53

You might also like