You are on page 1of 125

By Angkana Chongjarearn

RN., MNS., EdD., Cert.


Hemodialysis Nurse
การพยาบาลผูปวยทีม่ ีปญ
 หาเกีย่ วกับการติดเชือ้
วัตถุประสงคการเรียนรู เมื่อสิ้นสุดการเรียนการสอนนิสิตสามารถ
• มีความรู ้ ความเข้าใจ แนวคิดและหลักการการพยาบาลโรคติดเชือ้
และโรคอุบตั ิใหม่
• ระบุและวางแผนการพยาบาลโรคติดเชือ้ และโรคอุบตั ิใหม่ได้
• เปรียบเทียบสาเหตุ ชนิด อาการและอาการแสดง การติดต่อ การตรวจ
วินิจฉัย และแนวทางในการรักษาผูป้ ่ วยโรคติดเชือ้ และโรคอุบตั ิใหม่
ได้
• วิเคราะห์กรณีศกึ ษา ผูป้ ่ วยโรคติดเชือ้ และโรคอุบตั ิใหม่ได้
Topic
• หัวขอยอยที่ 6.1 Infection: Hepatitis, Malaria,
Leptospirosis, Melioidosis, Sepsis (Cellulitis,
Herpes zoster, Herpes simplex, Fungal
infection), Multiple organ failure
• หัวขอยอยที่ 6.2 Communicable diseases &
Tropical diseases: TB, typhoid, cholera,
tetanus, emerging infectious diseases (e.g.
avian flu, SARS, MERS, COVID-19)
หัวขอยอยที่ 6.1 Infection:
1. Infection Concept
 Multiple organ failure
2. Infectious disease ;
 Hepatitis, 3. Communicable diseases &
Tropical diseases: 1) TB,
 Malaria,
2)typhoid, 3) cholera, 4)
 Leptospirosis,
tetanus
. Melioidosis, Sepsis;
4. emerging infectious diseases :
 Infectious disease; 1)avian flu, 2) SARS, 3) MERS,
Cellulitis, Herpes zoster, 4) COVID-19
Herpes simplex, Fungal
infection
กลุม โรคติดเชื้อ (Infections)
• 1. โรคติดเชื้อเฉพาะที่ (Localized infection)/ ระบบ ของรางกาย
เชน ติดเชื้อที่ปอด ทางเดินอาหาร UTI ทางกระดูก (ในหัวขอการสอนอื่นๆ)
• 2. โรคติดเชื้อทั่วไป
• 2.1 โรคติดเชื้อในเลือด เชน Malaria, Leptospirosis, Melioidosis, Hepatitis
2.2 โรคติดตอ (Communicable Disease) : โรคติดเชื้อที่สามารถแพรกระจายจากคน
หนึ่งไปยังอีกคนหนึ่งได TB, Typhoid, Cholera, Tetanus
2.3 ตามอุบัติการณ
2.3.1 โรคอุบัติใหม (Emerging Infectious Diseases): โรคติดเชื้อที่ไมเคยปรากฏมา
กอนและเกิดขึ้นใหม Avian flu, SARS, MERS, Zika
2.3.2 โรคอุบัติซํ้า (Re - Emerging Infectious Diseases): โรคติดเชื้อที่เคยปรากฏมากอน
และสามารถควบคุมโรคไดมานาน แตเกิดขึ้นใหมอีกครั้งหรือไมสามารถควบคุมโรคได เชน
……………………………………………………………….???

5
ความหมายของการติดเชือ้ (Infections)
กระบวนการที่เชื้อจุลชีพ(Pathogen)บุกรุกเขาไปอาศัย
(Colonize) อยูในรางกายหรือบนรางกายของสิ่งมีชีวิตอื่น
Host เปนโรคหรือไมเปนก็ได
หากทนตอภูมิตานทานของโฮสได Infectious Disease
ปรากฏอาการของโรค หรือไมปรากฏอาการใหเห็น (พาหะ)

6
What is new about Emerging and Re-Emerging Diseases?

From : The challenge of emerging and re-emerging infectious diseases


7 David M. Morens, Gregory K. Folkers & Anthony S.
FauciNature 430, 242-249(8 July 2004)
ความสําคัญของโรคติดเชื้ออุบัติใหม Emerging infectious disease

ทั่วโลกจะมีเกิดขึ้นใหมทุกป
มากกวา 70% ติดตอมาจากสัตว
แนวโนมเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ
การแพรกระจายเชื้อไมมีพรมแดน
มีผลกระทบรุนแรงหลายดาน
การปองกันควบคุมโรคยุงยากซับซอน
มีผลกระทบตอทั่วโลกและระหวางประเทศ
8
ผลกระทบทางเศรษฐกิจของโรคติดเชื้อ

9
http://ww1.prweb.com/prfiles/2005/03/21/220610/econimpact.gif
กลไกการติดเชือ้
ปจจัย 3 ประการ ที่เกี่ยวของ
• สิ่งที่ทําใหเกิดโรค (Pathogens)
• มนุษย (Human Host)
Host
• สิ่งแวดลอม (Environment

1.ซักประวัติ ?
2.จัดสถานที่ ?
Environment Pathogens 3.กลุมคนไหนนา
เปนหวง ? ? ?
10
ตัวอย่ างหัวข้ อการซักประวัติ
•อาการและอาการแสดงของการติดเชื้อ : ไข้ ปวด บวม แดง ร้อน
•อายุ : วัยสู งอายุ วัยเด็ก
•ภาวะโภชนาการ : ขาดสารอาหาร
•ความเครียด : ระดับฮอร์ โมนคอติโซน (Cortisone) ลดลง ระบบภูมิคุม้ กันไม่สมบูรณ์
•การเปลีย่ นแปลงของระบบป้ องกันของร่ างกาย : บาดแผล ผิวหนังแห้ง ร่ างกายขาดนํ้า
•การใช้ สารเสพติดและพฤติกรรมเสี่ ยง : การสู บบุหรี่ การดื่มสุ รา พฤติกรรมเสี่ ยง
•สิ่ งแวดล้ อม : โรคมาลาเรี ย โรคไข้เลือดออก โรคฉี่ หนู
•การได้ รับวัคซีน : คางทูม หัด
•ประวัตกิ ารเจ็บป่ วยและการรักษา : ผูท้ ี่มีโรคประจําตัว การสัมผัสโรค การได้รับเลือด
•การใช้ ยา : ยากลุ่มสเตียรอยด์ ยาต้านไทรอยด์
ปจจัยที่เกี่ยวของกับคน (Human Host)
ภาวะพรองโภชนาการสงผลตอระบบภูมิคุมกันของรางกาย

ความเครียด ทําใหมีการหลั่งฮอรโมน

การไดรับยาบางชนิด เชน ยากดภูมิคุมกัน ยาเตียรอยด


ยาเคมีบําบัด

ผูปวยโรคเรื้อรัง เชน โรคเบาหวาน โรคตับ หรือผูปวยโรค


ภูมิคุมกันบกพรอง เชน ผูติดเชื้อเอชไอวี
กลุมที่ไวตอการรับเชื้อ: Susceptible Host
ขึ้นอยูกับปจจัยตางๆ เชน
• อายุ เชน เด็ก ผูสูงอายุ
• ความเครียด
• อาชีพ การเดินทาง
• การเปนโรคเรื้อรัง เชน เบาหวาน โรคตับ
• ภาวะภูมิตานทานตํ่า ภาวะทุพโภชนาการ
• ผูที่มีบาดแผล ผูปวยที่มีแผลไหมที่รุนแรง ผูที่ไดรับการผาตัด
• ผูที่ไดรับการใสสายสวนหรืออุปกรณเครื่องมือทางการแพทย
13
เชื้อจุลชีพประจําถิ่น (Normal Flora)
• พบในรางกายของคน และกลายเปนเชื้อฉวยโอกาสได
• ในภาวะปกติจะไมทําใหเกิดโรคติดเชื้อ
• พบที่ >>> ผิวหนัง ทางเดินหายใจสวนบน ชองปาก ลําไส
เล็ก ลําไสใหญ และชองคลอด
•ไมพบ ทางเดินหายใจสวนลาง กลามเนื้อ เลือด นํ้าไขสันหลัง
•เยื่อบุชองทอง เยื่อหุมหัวใจ เยื่อหุมสมอง
•* Normal Flora อยูผิดที่ ก็ อตร. นะจะ *

14
สิ่งที่ทําใหเกิดโรค (Pathogen)
•แบคทีเรีย เชน บาดทะยัก คอตีบ ไทฟอยด วัณโรค
•ไวรัส เชน โปลิโอ หัด คางทูม ไขเลือดออก เริม เอดส
•เชื้อรา เชน ฮองกงฟุต กลาก เกลื้อน
•โปรโตซัว เชน มาลาเรีย
Pathogen ชนิดไหน
กําจัดอยางไร ?
สิ่งแวดลอม (Environment)
กายภาพ: ความชื้น อุณหภูมิ

ชีวภาพ: วงจรชีวิตหรือเปนพาหะมาสูคน

เคมี: ความเปนกรด–ดาง

เศรษฐกิจและสังคม
วงจรการติดเชื้อ (Chain of Infection)
• Chain of infection
เชื้อที่เปนสาเหตุ contains six elements.
(Infectious agent) If broken, infection will
not occur.

คนที่ไวตอการรับเชื้อ รังโรค
(Susceptible Host) (Reservoir)

ทางเขาของเชื้อสูรางกาย ทางออกของเชื้อ
(Portal of entry) (Portal of exit)

วิธีการแพรกระจายเชื้อ
(Mode of transmission)
.15
วิธีการแพรกระจายเชื้อ
• การสัมผัส (Contact): ซิฟลิส หนองใน
• การหายใจ (Inhalation): ไขหวัด วัณโรค หัด
• การรับประทาน (Ingestion): อหิวาตกโรค อาหารเปนพิษ
• การปลูกเชื้อ (Inoculation): บาดทะยัก พิษสุนัขบา
• แมลงนําโรค: ไทฟอยด (แมลงวัน) มาลาเรีย (ยุงกนปลอง)
ไขเลือดออก (ยุงลาย)
18
วิธีการแพรกระจายเชื้อ

19
กลไกปองกันของรางกาย (Body Defenses)
เยื่อบุตางๆ Mucous membranes (traps pathogens)

Cilia (ชวยขับเชื้อโรคออกจาก respiratory tract)

Coughing and sneezing

Hydrochloric acid (กรดในกระเพาะอาหาร)


20
กลไกปองกันของรางกาย (Body Defenses)
Tears in the eyes (contain bacteriocidal
chemicals)

ไข (Fever)

Inflammation (White Blood Cell’s destroy


pathogens)

Immune response (produce antibodies)


21
อาการและอาการแสดง
1. การติดเชื้อเฉพาะที่ (Localized infection)
1.1 ผิวหนัง :ไข้ ปวด บวม แดง ร้อน ผื่นคัน มีตุ่มพุพอง
1.2 ทางเดินหายใจ : ไข้ เยือ่ บุช่องคอแดง บวม คอ ไอ หายใจเร็ ว เหนื่อย เสี ยงผิดปกติปอด
1.3 ทางเดินอาหาร: ไข้ เบื่ออาหาร N/V ท้องอืดเฟ้อ ปวดท้อง แน่นท้อง ท้องเดิน หรื อ ท้องผูก
1.4 ทางเดินปั สสาวะ: ไข้ ปั สสาวะบ่อย แสบขัด ไม่สุด ขุ่น ตะกอน ปวดท้องน้อย
1.5 ระบบประสาท: ไข้ ปวดศีรษะอย่างรุ นแรง อาเจียนพุง่ มีอาการ IICP สับสน ซึ มลง ชัก หมดสติ
1.6 ระบบหัวใจและหลอดเลือด: ไข้ หนาวสั่น อ่อนเพลีย เหนื่อยง่าย เต้นผิดจังหวะ หัวใจล้มเหลว
1.7 กระดูกและข้อ: ไข้ ข้อบวม กดเจ็บ ร้อน แดง การเคลื่อนไหวของข้อลดลง
1.8 การติดเชื้อในกระแสเลือด: ไข้ อ่อนเพลีย ปวดกล้ามเนื้ อ ปวดศีรษะ กล้ามเนื้ อ อ่อนแรง ปวดตามข้อ เบื่อ
อาหาร คลื่นไส้ มีไข้ ความดันเลือดตํ่า WBC ... เพื่มมากขึ้น กระสับกระส่ าย สับสน ซึม เพ้อ ชัก และหมดสติ
2. การติดเชื้อทั้งระบบ (Systemic infection) ไข้ ครั่นเนื้อครั่นตัว ปวดศีรษะ ฯฯฯฯ
ติดเชื้อในกระแสเลือด (Sepsis) Septic Shock MODS (multiple organ
dysfunction syndrome)
แนวทางการรักษาโรคติดเชื้อ
การให้ยาปฏิชีวนะเพือ่ ฆ่าเชือ้ โรคแก่ผู้ป่วย

การรักษาตามอาการ

การดูแลภาวะโภชนาการ

การเสริมสร้างภูมิต้านทาน
23
หลักการ พยาบาลผูปวยโรคติดเชื้อ
• 1. การพยาบาลเพือ่ ปองกันการติดเชือ้ (Standard precautions )
• 2. การพยาบาลเพือ่ ลด/กําจัด การติดเชื้อ
• 3. การใหการพยาบาลเพือ่ ปองกันและควบคุมการแพรกระจายเชือ้ ไปสูบุคคลอื่น
(Transmission – based precautions : Airborne, Droplet, Contact)
• 4. การพยาบาลเพือ่ เสริมสรางภูมิตานทานของรางกาย
• 5. การพยาบาลเพือ่ ใหเกิดความสุขสบายจากภาวะไขความเจ็บปวด
• 6. การพยาบาลเพือ่ เฝาระวังภาวะแทรกซอนจากการติดเชือ้
• 7. การพยาบาลเพือ่ ใหผปู วยและครอบครัวมีความรูเกี่ยวกับการแพรกระจายเชื้อ
.20
24
การแพรกระจายเชือ้

• Direct Mechanism of Disease Transmission


• Indirect Mechanism of Disease Transmission
25
การพยาบาลผูปวยติดเชื้อ
ในเลือด
•1. Hepatitis (virus)
•2. Malaria (protozoa)
•3. Leptospirosis (bacteria)
•4. Melioidosis (bacteria)
1. การพยาบาลผูปวย Hepatitis A,B,C

http://nih.dmsc.moph.go.th/login/filedata/Hepatitis.pdf

9.45
อาการ/อาการแสดง Hepatitis B

incubation period 2-6 wks


นาย A,B,C ควรได้รับคําแนะนําอะไร
1. การพยาบาลผูปวย Hepatitis
ประเด็นเทียบ Hepatitis A Hepatitis B
1. ภาวะ โรคตับอักเสบ โรคตับอักเสบ, fulimnant hepatitis
แทรกซอน cirrhosis, liver failure
2. ทางติดตอ นํ้าปนเปอนเชื้อ (เชื้อตมใหเดือด รับเลือดมีเชื้อ, vertical transmissionถูกเข็มที่
20 นาที ตาย) เปอ นเชื้อ, ทางผิวหนังจากการใชเครื่องมือ,
close contact, รวมเพศ
3. อาการ/ คลายไขหวัด urine คลายไขหวัด Fulminant hepatitis
อาการแสดง สีเหลืองเขม, ตาเหลือง เจ็บ Fetor hepatitis: กลิ่นลมหายใจ
ชายโครงขาง ? Flapping tremor: สับสน งวงซึม มือสั่น

4. ผลเลือด CBC, LFT= Alk (2-4เทา) LFT= Alk , Coagulation = **PT (p100)
Ag,Ab = IgG anti HAV  HBsAg 3 m  ,HBsAg >6 M=carrier 
IgG anti HAV ยาว  Anti-HBs + =,HBeAg=carrier+ติดเชื้อ 

IgM anti HAV2m+เหลือง



1. การพยาบาลผูปวย Hepatitis ตอ
ประเด็นเทียบ Hepatitis A Hepatitis B
5. การรักษา -Passive immunization 6 m
-Active immunization กระตุน้
-Passive immunization 6 m
-Active immunization กระตุน้ สร้างภูมิ
สร้างภูมิ
6.การพยาบาล -พักผ่ อน ออกกําลังกายบ้ าง - absolute bed rest (why?)
-อาหารได้ ทุกชนิด - แคลอรี่ (Carbo.)พอ,

-งดดื่มสุ รา เพราะ? - งดอาหารมัน, ระวังภาวะแทรกซ้ อน


- ป้ องกันการติดต่ อและแพร่ กระจายเชื้อ
- ห้ ามดื่มสุ ราภายใน 6-12 เดือน
- ออกกําลังกาย (ไม่ เหนื่อย)
- ติดตามผลหลังD/C
7.การป้องกัน - ใช้ ช้อนกลาง ล้ างมือ -ใช้ ช้อนกลาง ล้ างมือ
- ระวังการรับเลือดจากผู้อื่น
45
2.การพยาบาลผูปวย Malaria
• เกิดจากเชื้อ Plasmodium
• Plasmodium falciparum (มาลาเรีย
รายแรง)
• Plasmodium vivax จับไขวันเวนวัน
• Plasmodium malariae
• Plasmodium ovale

มียุงกนปลองเพศเมียเปนพาหะ ตามแหลงนํา้ ธรรมชาติ ภูเขาสูง ปาทึบ

9.00
การระบาดในประเทศไทย
Route: การติดตอของไขมาลาเรีย
 ถูกยุงกนปลองกัด พบไดมากที่สุด
 จากมารดาไปสูทารกในครรภทางรก พบนอยมาก
 การไดรับเลือด
 พบในผูบริจาคโลหิตมีความหนาแนนของเชื้อ
มาลาเรียในกระแสโลหิตนอยและไมมีอาการ
↑ŃŚ↨ Θ· ĆΘř ŘŃτŮř ⌂
มีผลกระทบ ต่อ อวัยวะใด ? Ń⌐
Θ→ Ňůφ
Ň
↨Γď ŰΘ↑ĺ ?
อาการไขมาลาเรีย
 P. falciparum จับไขทุก 36-48 ชั่วโมง
อาการไขมาลาเรีย
 P. vivax/ P. ovale จับไขทุก 48 ชั่วโมง/จับวันเวนวัน

เป็ นไปได้ไหม ทีจ่ ะโดนยุงทีม่ ีเชือ้


มาลาเรีย 2 ชนิด กัด พร้อมกัน ?
อาการไขมาลาเรีย
 P. malariae จับไขทุก 72 ชั่วโมง/วันเวนสองวัน
ระยะไข
�มาลาเรีย
 ระยะหนาว (cold stage) 15-60 นาที
 ระยะร
�อน (hot stage) 2 ชั่วโมง
 ระยะเหงื่อออก (sweating stage) 1 ชั่วโมงจะรู
�สึก
�อนเพลี
อ ย และหลับไปกินเวลาประมาณ 1 ชั่วโมง

5
Hemolytic : มีไข้ส่ นั ซีด อ่อนแรง
อากาสั่นเป็ นระยะๆ ใน 48-72 hr
สัมพันธ์กบั ารแตกของเม็ดเลือด
หลังจาก RBC แตก ผู้ป่วยจะมีอาการอะไรบ้าง ?
การวินิจฉัยมาลาเรีย
•ซักประวัติ ตรวจรางกาย
•ผล Thick film , Thin film **
•การตรวจ Antigen , Antibody
• การตรวจผลทางชิ้นสวนพันธุกรรม PCR
การรักษามาลาเรีย
•P. falciparum
• First line drug ใชยา artesunate/ mefloquine + primaquine
• Second line drug ใชยา quinine/ tetracycline + primaquine
• Third line drug ใชยา artesunate or artemether + primaquine
•P. vivax และ P. ovale ใชยา chloroquine + primaquine
•P. malariae ใชยา chloroquine
10
วัตถุประสงค์และกิจกรรมทางการพยาบาลทีส่ าํ คัญ คือ ???????
การพยาบาล
Neurological Complication

1. ติดเชื้อที่สมอง : มาลาเรียขึ้นสมอง สับสน หมดสติ ชัก


ภายหลังการชัก เฝาระวัง การเกิดภาวะ Aspirated pneumonia
2. ภาวะตับวาย : อาการตัวตาเหลือง (Jaundice)
ซึมมากขึ้น เฝาระวังการเกิดอุบัติเหตุ และลดการทํางานของตับ

วัตถุประสงค์และกิจกรรมทางการพยาบาลทีส่ าํ คัญ คือ ???????


การพยาบาล ทั่วไป ผูปวยโรคมาลาเรีย
• การดูแลรักษาตามอาการ
• เมื่อตองเดินทางเขาไปในเขตปาเขา ควรปองกันไมให
ยุงกนปลองกัด โดยนอนกางมุงและใชยากันยุง
• ถามีอาการไขหรือสงสัยเปนมาลาเรีย ใหรีบไปพบแพทยทันที

55
Systemic Inflammatory Response Syndrome (SIRS)
• เปนภาวะที่มกี ารอักเสบแพรกระจายทั่วรางกาย โดยมีสาเหตุจาก
การติดเชื้อ หรือมีตัวกระตุนอื่นๆ (Inflammatory stimuli: ตับออน
อักเสบ บาดเจ็บรุนแรง Burns)
•Sepsis
• เปนสวนหนึ่งของภาวะ SIRS แตจํากัดเฉพาะกลุมที่มีการติดเชื้อ
เปนสาเหตุ
•Septic shock
• เปนภาวะ Sepsis ที่มีความดันโลหิตตํ่า เลือดไปเลี้ยงอวัยวะตางๆ
ลดลง ปสสาวะออกนอย ระดับความรูสึกตัวเปลี่ยนแปลง
Leptospira interrogans
แบคทีเรียรูปเกลียว (Spirochete)

3. การพยาบาลผูปวย
Leptospirosis 9.15
เชื้อเขาสูรางกายคน >>
ไชเขาทางผิวหนังที่มีรอยถลอก/ผิวหนังที่เปยกชุม/ เยื่อเมือก

***เชื้อจะถูกขับออกมากับ�สสาวะ

กลุมเสี่ยงโรค Leptospirosis

57
ติดเชื้อ Leptospirosis มีอาการ?
ระยะฟกตัว: 2 - 20 วัน Subconjunctival hemorrhage

มีไข หนาวสั่น ปวดบริเวณนอง** หลัง และหนาทอง

คลื่นไส อาเจียน
ปวดศีรษะรุนแรง 58
Leptospirosis
่ บ ???
• ภาวะแทรกซ้อนทีพ

• ตรวจวินิจฉัยจาก???

• การรรักษา???
การพยาบาลผูปวย Leptospirosis
• หลีกเลี่ยงการสัมผัสสิ่งแวดลอมที่อาจปนเปอนเชื้อ
• สวมถุงมือ/รองเทาบูทขณะทํางานสัมผัสดินและนํ้า
• กําจัดหนูซึ่งเปนสัตวนําโรค
• ใหสุขศึกษา
• มีวัคซีนในปศุสัตวและสัตวเลี้ยง
• https://www.youtube.com/watch?v=uA7hr1jMiOQ

• www.youtube.com/watch?v=yQEMaZNgiok
60
4. การพยาบาลผูปวย Melioidosis
พบผูปวยมากในฤดูฝน
พบเชื้อปนเปอนในดิน/นํ้าทุกภาคของไทย
 มากที่สุดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

25
Organism: Burkholderia pseudomallei
• Aerobic, gram-negative motile bacillus
• Found in water and moist soil
• Opportunistic pathogen
• Produces exotoxins
• Can survive in phagocytic cells
• Latent infections common
• Incubation period: <1 day to years
อาการและอาการแสดง Melioidosis
•ไขนานไมทราบสาเหตุ
•อาการของการติดเชื้อเฉพาะที่ “pulmonary
melioidosis”
•การติดเชื้อในกระแสโลหิต (Septicemic
melioidosis)
การตรวจวินจิ ฉัย Melioidosis
• Specimen จากแผล ฝที่ผิวหนัง ยอมสี หรือการเก็บเสมหะ
• Enzyme-linked immunosorbent assay (ELISA)
• การใชปฏิกิริยาที่เฉพาะเจาะจงของ Antibody/ Antigen
• ใชเอนไซม Alkaline phosphatase
• Direct ELISA (Sandwich technique) ตรวจหาแอนติเจน
• Indirect ELISA ตรวจหาแอนติบอดี
การพยาบาลผูปวย Melioidosis
Clinical form
** มีอาการไขนาน ไมทราบสาเหตุ
Acute pulmonary infection
>> Most common
Focal infection (การติดเชื้อเฉพาะที)่
Septicemia (โลหิตเปนพิษเฉียบพลัน)
Neurological (rare)
กลับเปนซํ้าไดบอย
แนวทางการรักษาผูปว ย Melioidosis
acute phase
 Ceftazidime/ imipenem/ meropenem IV
(2 weeks)
maintenance phase
 ยารับประทาน มักใหรวมกัน 2-3 ชนิด ไดแก
trimethiprim-salfamethoxazole,
chloramphenicol, amoxicillin-clavulinate
(12-20 สัปดาห เพื่อลดการกลับเปนซํ้า)
การพยาบาลผูปวย Melioidosis
ไมมีวัคซีนปองกัน
การควบคุมปองกันโรคทําไดยาก เนื่องจากผูปวยสวนใหญ
เปนชาวนาที่ตองสัมผัสดินและนํ้า
แนะนําผูที่มีภาวะภูมิตานทานบกพรอง ผูปวยโรคเรื้อรัง
หรือมีบาดแผลที่ผิวหนัง ควรหลีกเลี่ยงการสัมผัสดิน หาก
จําเปนควรสวมรองเทาบูทขณะทํางานลุยนํ้า/ ลุยโคลน
การพยาบาลผู
�ป
�วยติดเชื้อ
ในเลือด
•1. Hepatitis (virus)
•2. Malaria (protozoa)
•3. Leptospirosis (bacteria)
•4. Melioidosis (bacteria)
โรคติดตอ (Communicable disease)/
Thailand“โรคเขตรอน" (Tropical Diseases)
1. TB
2. Typhoid
3. Cholera
4. Tetanus

35
Com.1. การพยาบาลผูปวยติดเชื้อวัณโรค
• สาเหตุ Mycobacterium tuberculosis
• มีออกซิเจนช่วยการเจริญเติบโต,อยู่ใน Droplet 30นาที, ไม่ชอบแสงแดด
TB Multi-system Infection

http://www.skko.moph.go.th/dward/document_file/d_khamtakla/common_form_upload_file/20180
606112612_1120639135.pdf
Clinical of

>3 wks
การพยาบาลผูปวยติดเชื้อวัณโรค
•การติดตอ: ไอจาม สัมผัสกับผูติดเชื้อเปนระยะเวลานาน
ผิวหนังที่มีบาดแผล
ความคงตัวของเชื้อวัณโรคและการทําลายเชื้อ
• ในสภาวะที่ไมเหมาะสม เชื้อสามารถอยูในลักษณะสปอร
• เชื้ออยูในที่ชื้นและมืดไดนาน 6 เดือน
• เชื้อไวตอ Ultraviolet, Alcohol, ความแหงแลง
การตรวจวินิจฉัย/Diagnosis
Bacteriological test
 Zeihl – Neelsen stain
 Fluorescence microscopy
Sputum culture
Radiography >> Chest X – Ray (CXR)
**Nucleic acid amplification >> AFB * 3 Day
Tuberculin skin test (PPD) (ประเทศไทยไม
�นิยม)
การรักษา/การพยาบาล วัณโรค
• สูตรยาระยะสั้น 6 เดือน
•Isoniacid/ Rifampicin/ Pyrazinamide/ Ethambutol
2 เดือนแรก (รวมยา= ?) (ขึ้นกับจํานวนเชื้อทีล่ ดลง)
•Isoniacid/ Rifampicin 4 เดือน
•intensive phase นัด F/U 2 weeks
• Observe ผลขางเคียงของยา/ แพยา
• สูงอายุ ดื่มสุรา เอดส ไวรัสตับอักเสบซี
การพยาบาลผูปวยวัณโรค
• ซักประวัติ อาการและอาการแสดง การสัมผัสโรค
• Standard precautions/ airborne transmission precautions
• การบรรเทาความเจ็บปวย/ความไมสุขสบายของผูปวย
• ไข เช็ดตัวลดไข ใหยาลดไข
• เบื่ออาหาร แนะนําอาหารที่มีประโยชนสูง ไมควรรับประทานอาหารรสจัด
• ไอ หอบเหนื่อย จิบนํ้าบอยๆ จัดทานอนใหเหมาะสม ประเมินการหายใจ ฟงปอด
ใหออกซิเจน และใหยาตามแผนการรักษาที่เหมาะสม
• ความไมสุขสบายจากภาวะแทรกซอนของยา
• ผลขางเคียงของยา/ แพยา Steven-JohnsonSyndrome? how to ?
• การรับประทานยาใหสําเร็จ 6 M
(กลยุทธ:DOTS (Directly Observed Treatment, )
การพยาบาลผูปวยวัณโรค

DOTs (Directly Health


Observed education &
Treatment, Short-
course) การรับการ Counseling
รักษาและรับยา
อยางตอเนื่อง
Self care
การปองกันการแพรกระจายเชื้อทางอากาศ
(Airborne Precautions) ใชผาปดปากจมูกชนิด
N95
การเคลื่อนยายผูปวย (Fit cheek)

Airborne Infectious Isolation Room

ลางมือกอนและหลังดูแลผูป
การปองกันการแพรกระจายเชื้อทางอากาศ
(Airborne Precautions)
 การแยกผูป้ ่ วยในห้องแยกที่มีการจัดการความดันอากาศ แยกผูป้ ่ วยในห้อง
แยกที่มีการจัดการความดันอากาศ และปิ ดประตูหลังเข้า และปิ ดประตูหลัง
เข้า-ออก AIIR (Airborne Infectious Isolation Room) AIIR (Airborne
Infectious Isolation Room) ล้างมือก่อนและหลังดูแลผูป้ ่ วย
 บุคลากรและญาติใช้ผา้ ปิ ดปากจมูกชนิด N95 (Fit check) ส่ วนผูป้ ่ วยใช้ผา้
ปิ ดปากจมูกธรรมดา
 การเคลื่อนย้ายผูป้ ่ วย ควรให้คาํ แนะนําผูป้ ่ วย/ ให้ผูป้ ่ วยสวมหน้ากาก และ
ใช้ยานพาหนะที่เหมาะสม
com 2. การพยาบาลผูติดเชื้อ Typhoid
ไขไทฟอยด/ไขรากสาดนอย/ โรคสครับไทฟส scrub typhus
แบคทีเรีย Salmonella Typhi
พบเชื้อในหอยแถบชายฝงที่มีทอนํ้าเสียระบายลงทะเล
ปนเปอนอาหาร นํ้าดื่ม ผลไม ผักดิบ นมและผลิตภัณฑจากนม
เชื้อติดมาจากมือของผูที่เปนพาหะ/อุจจาระ/ปสสาวะ
แมลงวันอาจเปนตัวแพรเชื้อมาสูอาหาร

10.0
การบริโภคอาหารหรือนํ้าดื่มที่มีเชื้อปนเปอน
การพยาบาลผูติดเชื้อ Typhoid
ระยะฟกตัว ประมาณ 8 – 14 วัน
ระยะติดตอ สามารถติดตอไดตลอดเวลาที่ยังตรวจพบเชื้อ
ในอุจจาระและปสสาวะ
อาการและอาการแสดง Typhoid
มีไขเฉียบพลันและอยูนาน ปวดศีรษะ ออนเพลีย เบื่ออาหาร
มามโต ไอแหงๆ
Relative bradycardia (ชีพจรเตนชา เมื่อเทียบกับ BT
ที่สูงขึ้นจากไข)
เริ่มแรกมีทองผูก แตอุจจาระจะเหลว มีกลิ่นเหม็น **
หากไมไดรับการรักษา จะมีอาการไขที่ไมมีเหงื่อออก ชีพจรชา ซึม
ความไวของประสาทรับเสียงลดลง และอาจมีตอมนํ้าลายหนาหู
อักเสบ อาจมี DIC shock (Disseminated Intravascular
Coagulopathy Shock)
มีแผลที่ตอมนํ้าเหลือง Payer's patches บริเวณลําไสเล็ก
สวน ileum ทําใหมีเลือดออกในลําไสหรือลําไสทะลุได
Typhoid: Rose spots
มีจุดแดง (Rose spots) ตามลําตัว
pink papule 2 – 3 mm on trunk
fade on pressure
disappears in 3 – 4 days
การตรวจวินจิ ฉัย Typhoid
แยกเชื้อเพาะเชื้อจากเลือด อุจจาระ ปสสาวะ
เก็บจากอุจจาระสด (fresh stool)
การตรวจเลือดดวยวิธี Agglutination reaction
(Widal's test) จะได ผลบวก (Positive)
 ตรวจหา Antibody ตอ O antigen (Somatic antigen) และ H antigen
(Flagella antigen) ของเชื้อ Salmonella Group A, B, C, D
 อาศัยปฏิกิริยาการจับกลุม (Agglutination test)
การรักษา Typhoid
การดูแลใหยาปฏิชีวนะอยางเครงครัด
การรักษาตามอาการ
ผูที่ติดเชื้อหรือพาหะ ควรหลีกเลี่ยงจากการประกอบอาหาร
หลังหยุด ATB 48 ชั่วโมง ตรวจไมพบเชื้อจากอุจจาระ/
ปสสาวะ ติดตอกัน 3 ครั้ง หางกัน 1 เดือน
ถามีผลเพาะเชื้อครั้งใดครั้งหนึ่งไดผลบวก
 ติดตามทุก ๆ 1 เดือน (12 เดือน)
 จนกวาใหผลลบติดตอกัน 3 ครั้ง
Immunization
com 3. การพยาบาลผูติดเชื้อ Cholera
เปนโรคติดเชื้อแบคทีเรียในระบบทางเดินอาหารเฉียบพลัน
เกิดจากการติดเชื้อ Vibrio cholerae
ติดตอโดยการกินอาหารหรือนํ้าที่มีเชื้อปนเปอนอยู
ระยะติดตอ: ตลอดเวลาที่ตรวจพบเชื้อในอุจจาระ

10.10
How cholera affects the body??

เชื้อแบคทีเรียแบ
�งตัวอย
�างรวดเร็ว

แบคทีเรียหลั่ง Toxin ทําลาย


เซลล
�ของผนังลํา� ไส
Toxin ยับยั้งการทํา
หน
�าที่ดูดซึมน้ําของ
ลํา�
ไส จึง�ายเหลว

ขาดน้ํา
อาการและอาการแสดง Cholera
ถายอุจจาระเปนนํ้าจํานวนมาก สีขาวขุนเหมือนนํ้าซาวขาว
มีคลื่นไส อาเจียน สวนใหญไมมีไข ไมปวดทอง
มีอาการและอาการแสดงของการขาดนํ้าอยางรุนแรง
ภาวะเปนกรดในเลือด
การไหลเวียนโลหิตลมเหลว Hypovolemic shock
หลักการพยาบาล
• จั ด ให้ มี ก ารสุ ข าภิ บ าลในเรื่ อ งการทํ า ลายอุ จ จาระและการ
ป้ องกันแมลงวัน
• ควบคุมแมลงวันโดยใช้ ม้ ุงลวด พ่ นยาฆ่ าแมลง หรื อใช้ กบั ดัก
• ระมัดระวังเรื่ องความสะอาดของอาหาร
• ผู้ที่ต้องเดินทางไปยังท้ องที่ซึ่งมีความเสี่ ยงในการติดโรคสู ง
อาจกินยาปฏิชีวนะ จะช่ วยป้ องกันโรคได้ สํ าหรับระยะเวลาสั้ นๆ
เช่ น ภายใน 2 สั ปดาห์ แต่ เชื้ออาจดื้อยาได้
com4. การพยาบาลผูติดเชื้อ Tetanus
Clostridium tetani
Anaerobic bacteria
ยอมติดสีแกรมบวก
Spore ทนรอน/ยาฆาเชื้อ
ขับ Exotoxin
 มีพิษตอระบบประสาท
10.20
บาดทะยัก (Tetanus)
เขาสูรางกายทางบาดแผล
 แบงตัวไดดีในแผลลึก ที่อากาศเขาไมไดดี
 แผลตะปูตํา แผลไฟไหมนํ้ารอนลวก ผิวหนังถลอก แผลในปาก
ฟนผุ หรือเขาทางหูที่อักเสบ
บาดทะยัก (Tetanus)
• ขากรรไกรแข็ง
• อ้าปากไม่ได้
ลิน้ แข็ง
• คอแข็ง
• ชักกระตุก

การวินิจฉัย
เพาะเชือ้ จาก
แผล
แนวทางการรักษา Tetanus
ให tetanus antitoxin (TAT)
tetanus immune globulin (TIG) เพื่อทําลาย
tetanus toxin ที่ยังไมจับที่ระบบประสาท
กอนฉีด ตองทํา skin test กอนเสมอ
ให tetanus toxoid ฉีดเขากลามเนื้อ
ใหยาปฏิชีวนะ penicillin ขนาดสูง
 เพื่อทําลายเชื้อ C.tetani ที่บาดแผล
หลักการพยาบาล Tetanus
ใหการพยาบาลตามอาการ
ดูแลใหยาระงับชัก ยาลดเกร็งของกลามเนื้อ ตามแผนการรักษา
งดอาหารและนํ้าทางปาก ในขณะที่มีอาการเกร็งหรือชัก
การดูแลเรื่องการหายใจ
การปองกันที่ดีที่สุด คือ ใหวัคซีนปองกัน DTP ในเด็ก
โรคอุบัติใหม (Emerging infectious disease)
1.Avian flu
2.SARS
3.MERS
4.Zika
……..
……..

10.35
1. เกิดจากเชื้อใหม (New Infectious Diseases)
2. พบในพื้นที่ใหม (New Geographical Areas) เชน โรคไขเวสตไนล (West Nile Virus
Infection) โรคไขเหลือง (Yellow Fever) เปนตน
3. เคยควบคุมไดดวยยาปฏิชีวนะแตเกิดการดื้อยา (Antimicrobial Resistant Organisms)
4. อาวุธชีวภาพ (Deliberate Use of Bio – Weapons) เชน แอนแทรกซ (Anthrax) เปนตน
5. โรคติดเชื้ออุบัติซํ้า (Re – Emerging Infectious Diseases) คือ โรคติดตอที่เคยแพร
ระบาดในอดีต
และสงบไปนานหลายปแลว แตกลับมาระบาดขึ้นอีก เชน วัณโรค (Tuberculosis)
ไขเลือดออก (Dengue Fever) โรคมาลาเรีย (Malaria) และ โรคคอตีบ (Diphtheria)
โรคติดเชื้ออุบัติใหมที่เปนปญหาและตองเฝาระวังในปจจุบัน ไดแก โรคไขหวัดนก (Avain Flu)
โรคทางเดินหายใจเฉียบพลันรุนแรง (Severe Acute Respiratory Syndrome, SARS) โรค
ติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุใหม 2012 (Middle East Respiratory Syndrome, MERS –
CoV) โรคติดเชื้อไวรัสอีโบลา (Ebola virus) โรคคอตีบ และโรคมือเทาปาก (Hand, Foot
and Mouth disease)
ไขหวัดนก: Avian Influenza H5N1
เชื้อกอโรค: Influenza A, H5N1, H7N7, H9N2
การติดเชื้อในสัตว:
• สัตวปก เชน ไก นก เปด หาน ไกงวง นกกระทา
• สัตวเลี้ยงลูกดวยนม เชน คน สุกร แมว สุนัข เสือ ลิง
แมวนํ้า เฟอรเร็ต หนูไมซ
ความรุนแรง: อาการรุนแรง ทําใหเสียชีวิตรอยละ 60
การติดตอระหวางคนสูคน : เปนไปไดยาก
10
5
ไขหวัดนก: Avian Influenza H5N1
การพยาบาลเพื่อควบคุมปองกันโรค:
 มีระบบการเฝาระวัง/ควบคุมโรคในสัตวและในคนที่ชัดเจน
 การทําลายสัตวปกที่ติดเชื้อทันที เมื่อตรวจพบเชื้อ
 สรางความเขมแข็งในการตรวจวินิจฉัยโรคใหไดในระยะแรก
 การรักษาอยางรวดเร็ว อยางมีมาตรฐาน
 การปองกันการแพรกระจายเชื้อจากสัตวปกในคนกลุมเสี่ยง

10
6
โรคซารส (Severe Acute Respiratory Syndrome, SARS)
•Coronavirus
•ระยะฟกตัวของโรค: 3 – 10 วัน

•มีไข 38-40 c ไอแหงๆ หายใจขัด ปอดอักเสบ


โรคซารส (Severe Acute Respiratory Syndrome, SARS)
• วิธีการติดตอ:
• คนสูคน
• ฝอยละอองสิ่งคัดหลั่ง/ไอ/จาม ชวง 3 เมตร
• เชื้อลอยตัวอยูในอากาศนาน 3 - 6 ชั่วโมง + เกาะติดอยู
กับสิ่งของเครื่องใชในบริเวณนั้น
• หากสัมผัสบริเวณที่มีเชื้อในชวงเวลาดังกลาว แลวใช
ปายเขาที่ตา จมูกหรือปาก ก็อาจติดเชื้อได
การพยาบาลเพื่อปองกันโรคซารส (SARS)
• แยกผูปวย : หองความดันลบ และฆาเชื้อ
• สวมอุปกรณปองกันที่มีประสิทธิภาพเมื่อเขาใกลคนปวย เชน
หนากาก (N 95) ปองกันการติดเชื้อ แวนตา ผากันเปอน ผาคลุม
ศีรษะ และถุงมือ
การพยาบาลเพื่อปองกันโรคซารส (SARS)
• หากไมจําเปน ควรงดเดินทางไปประเทศที่อยูในกลุมเสี่ยง
• คนที่เดินทางกลับจากตางประเทศกลุมเสี่ยง
• ควรรีบอาบนํ้า ทําความสะอาดรางกาย
• กักตัวเอง หางจากคนใกลชิดเปนเวลาอยางนอย 7 วัน
• เมื่อพบวามีอาการ ใหรีบไปพบแพทยทันที
• กลุมเสี่ยง: เจาหนาที่โรงพยาบาล โรงแรม พนักงานสายการ
บินระหวางประเทศ ตลอดทั้งแมบานของชาวตางชาติ
E3.โรคติ ดเชืดเชื
โรคติ ้อไวรั สโคโรน
้อไวรั าสายพันธุน�ใหม
สโคโรน
�าสายพั ใธุหม�2012
2012(MERS-CoV)
(MERS-CoV)

ขขอมูล ณ 19 ธันวาคม 2559


�อมู
WHO รายงานพบผู
�ป
�วยปว ย MERS-CoV จํานวน 1,684 ราย เสียชีวิต 659 ราย
อัตราป
ราป่ ววยตาย
ยตาย 34.77%
34.77%
11
1
โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุใหม 2012 (MERS-CoV)
Middle East Respiratory Syndrome Coronavirus
Middle East Respiratory Syndrome Coronavirus (MERS - CoV)
• อาการของโรค: มีไข หายใจลําบากเหนื่อยงาย หายใจไมทัน
ระบบการหายใจลมเหลว ไตวาย
• กลุมเสี่ยง: ผูที่เดินทางไปประเทศในตะวันออกกลาง แถบคาบสมุทร
อาหรับ ไดแก ซาอุดิอาระเบีย สหรัฐอาหรับเอมิเรตส กาตาร โอมาน
จอรแดน คูเวต เยเมน อิหราน และเลบานอน
• การรักษา: ยังไมมยี าฆาเชื้อ รักษาตามอาการและภาวะแทรกซอน

11
3
Middle East Respiratory Syndrome Coronavirus (MERS - CoV)
• เชื้อกอโรค: Coronavirus สายพันธุใหม 2012
• คนพบครั้งแรกในเดือนเมษายน ป พ.ศ. 2555
• เปนเชื้อไวรัสสายพันธุใหม อยูในกลุมเดียวกันกับโรคซารส
• วิธีการติดตอ: ติดตอระหวางคนสูคน ผานฝอยละออง ไอจาม
• แหลงที่มาของเชื้อ: เชื้อติดตอจากสัตว ไดแก อูฐ คางคาว
• ระยะฟกตัวของโรค: 14 วัน

11
4
Middle East Respiratory Syndrome Coronavirus (MERS - CoV)

• การพยาบาลเพื่อปองกัน:
• การใสหนากากอนามัย
• การลางมือบอยๆ
• ไมนั่งประจันหนา คุยกันในระยะหางประมาณ 1 เมตร
(หากจําเปน ควรหันดานขาง)
• หลีกเลี่ยงการเดินทางไปในประเทศที่มีการระบาดของโรค

11
5
โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุใหม 2012 (MERS-CoV)
• เปาหมายการพยาบาลเพื่อควบคุมโรค
• Detect ผูปวยใหไดอยางรวดเร็ว
• จํากัดวงการแพรระบาดใหเกิดขึ้นนอยที่สุด
• ยุติการแพรกระจายโรคใหเร็วที่สุดเพื่อลดผลกระทบตอ
สังคม/เศรษฐกิจ
Visitors:
•Limit visitors
So, What Thailand can do? Wait and See!
• Keep Alert ตระหนัก
• โดยเฉพาะเจาหนาที่กรมควบคุมโรคสวนกลาง/ดานกักกันโรค/การทาอากาศยาน
• Surveillance เฝาติดตาม เฝาระวังอยางใกลชิด
• Preparedness เตรียมความพรอม
• จัดใหมีขอกําหนดในการเฝาระวัง เตรียมหองปฏิบัติการ เตรียมเรื่องการรักษา เครื่องมือเครื่องใช
เวชภัณฑ จัดเตรียมเรื่องการกักกันผูปวย/ผูสัมผัสโรค การประชาสัมพันธปองกันการแตกตื่น
• Immediate Response, Case Finding and Investigation
including International Collaboration
• ตอบโตใหทันเหตุการณ คนหาผูปวย สอบสวนโรค ติดตามการแพรโรค
• ประสานงานกับเครือขายระดับสากลทุกระดับ
การติดเชื้อที่ผิวหนัง (Skin infection)
Cellulitis
Herpes zoster/simplex
Fungal infection
Skin structure Infections by Site
การติดเชื้ออักเสบบริเวณชั้นใตผิวหนัง (Cellulitis)
ลักษณะ
Painful
Swollen
Red
Warm to touch
No areas of pus
Tender
การอักเสบบริเวณชั้นใตผิวหนัง (Cellulitis)

ทั่วไปติดเชือ้ กลุ่ม ? การักษาโดยตรงคือ ? เกณฑ์การประเมินผลคือ ?


งูสวัด (Herpes zoster)

ทั่วไปติดเชือ้ กลุ่ม ? การักษาโดยตรงคือ ? เกณฑ์การประเมินผลคือ ?


เริม (Herpes simplex)
การพยาบาล
1. ยาAcyclovir **ชนิด รับประทาน/ฉีด ยาชวยลดอาการปวด
(ยาบรรเทาอาการไวรัส ไมสามารถฆาเชื้อได)
2. ระวังการติดเชื้อแบคทีเรียใหม ที่ตุมนํ้าเดิม (ควรงดฟอกยา
สมุนไพรเพราะอาจติดเชื้อ)
3. ประเมินปจจัยชักนํา
และปองกันการเกิดซํ้า

You might also like