You are on page 1of 6

โครงการปลูกพืชจิ๋ว

หลักการและเหตุผล
ในสถานการณ์โลกปัจจุบันนี้การบริโภคพืชผักถือเป็นสิ่งจำเป็นสำหรับการดำรงชีพของมนุษย์ เพราะพืชผักเป็น
แหล่งของวิตามิน เกลือแร่และกากใย อีกทั้งยังมีสารอาหารที่ชว่ ยในการเกิดโรคต่างๆจึงทำให้ความนิยมในการ
บริโภคผักมีมากขึ้น แต่ต้องคำนึงถึงความปลอดภัยเป็นหลัก เพราะพืชผักส่วนใหญ่ทวี่ างขายในท้องตลาดทั่วไป พบ
ว่ามีสารพิษตกค้างที่เป็นอันตรายต่อผู้บริโภค ด้วยเหตุนี้จึงมีการกำหนดมาตรฐานความปลอดภัยด้านอาหารสากล
หรือ codex ซึ่งเป็นที่ยอมรับของนานาประเทศรับรองว่าผักปลอดภัย ประชาชนส่วนใหญ่จึงหันมาสนใจดูแล
สุขภาพของตนเองมากข้น เพื่อหลีกเลี่ยงการตายผ่อนส่งจากอาหารที่ปนเปื้อนสารพิษจากการใช้สารเคมีกำจัดศัตรู
พืช รวมทั้งเชื้อโรคต่างๆที่ปนเปื้อนกับการปลูกพืชบนดินโดยบริโภคผักปลอดสารพิษ ซึ่งในปัจจุบันการผลิตผัก
ปลอดสารพิษมีอยู่หลายรูปแบบ เช่น การปลูกผักแบบเกษตรอินทรีย์การปลูกผักในโรงเรือน การปลูกผักไร้ดิน
( Hydroponics)ฯลฯ แต่ การปลูกพืชบนดินมักมีปัญหาเกี่ยวกับโรคและแมลงในดิน เพราะมีการเจริญเติบโตช้า
และอ่อนแอ การนิยมทานจำพวกผักสลัด และมีวิธีการปลูกอีก 1 วิธีคือปลูกในพีทมอส โดยการปลูกผักสลัดมันต้อง
ใช้ ระยะเวลาในการปลูก ซึ่งจะใช้เวลา 2-3 วัน เพื่อให้เมล็ดงอก รออีก 45 วันก็จะได้ผักสลัดมารับประทาน ซึ่งก็ใช้
เวลานานพอสมควร ทางเราได้เล็งเห็นว่าการที่เราจะปลูกผักสลัดให้มรี ะยะเวลาสั้นลง ต้องนำเทคโนโลยีเข้ามา
เกี่ยวข้อง ซึ่งการปลูกพืชระยะเวลาสั้นจะทำให้พืชมีขนาดเล็กลงแต่ยังเพิ่มสารอาหารและวิตามิน โดยปกติพืชทีจ่ ะ
งอกและเจริญเติบโตนั้นจะต้องได้รับแสงอาทิตย์เป็นองค์ประกอบสำคัญ แต่การได้รับแสงอาทิตย์ของพืชจะได้รับ
เฉพาะช่วงเวลากลางวันเท่านั้นระยะเวลาการเจริญเติบโตจึงยาวเพื่อลดระยะเวลาการเจริญเติบโตให้สั้นลงได้ ทาง
เราจึงจะทำให้พืชได้รับแสงทั้งกลางวันและกลางคืน เป็นเวลา 14 ชั่วโมง/วัน โดยการนำหลอดแอลอีดีมาติดตั้งให้
ปริมาณแสงกับพืช แต่การใช้แสงจากหลอดแอลอีดจี ะทำให้สิ้นเปลืองพลังงานไฟฟ้า เราคำนึงถึงการลดโลกร้อน
เราจึงต้องการลดพลังงานไฟฟ้าในครัวเรือน โดยใช้แผงโซลาร์เซลล์ในการเก็บกักพลังงานในการจำหน่ายกระแส
ไฟฟ้า และอีกทั้งทางโรงเรียนได้จดั ทำหลักสูตร EEC ในรายวิชาการงานอาชีพ วิชาการปลูกพืชไมโครกรีน ในระดับ
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 1 ดังนั้น ทางเราได้เล็งเห็นประโยชน์ที่ได้รับจากการปลูกผักสลัดในโครงการนี้ นอกจากจะได้
รับประทานผักที่ปลอดสารพิษ ได้ลดระยะเวลาในปลูกผักสลัดให้สั้นลง เจริญเติบโตเต็มที่ ประมาณ 2 week หรือ
ประมาณ 14 วันนั่นเอง และยังช่วยลดพลังงานไฟฟ้า เพื่อเป็นประโยชน์ต่อสิงแวดล้อมด้วย
วัตถุประสงค์โครงการ
1. เพื่อใช้แสงจากหลอดแอลอีดีในการลดระยะเวลาการเจริญเติบโตของการปลูกผักสลัดด้วยพีทมอส
2. ใช้แผงโซล่าเซลล์เป็นตัวเก็บกักพลังงานเพื่อเป็นการลดพลังงานไฟฟ้าในบ้านช่วยลดโลกร้อน
3.ใช้ขวดพลาสติกแทนกระถางพลาสติกกเพื่อลดโลกร้อน

เป้าหมายโครงการ
1. เชิงปริมาณ นักเรียนโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาเปร็งวิสุทธาธิบดีชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่อยู่ในชมรมพืชจิ๋ว
จำนวน 26 คนเกิดนวัตกรรมในการปลูกผักสลัดด้วยพีทมอสโดยใช้แสงจากหลอดแอลอีดี ควบคุมโดยแผงโซล่า
เซลล์ และสามารถเป็นแกนนำให้กับน้องม.1 ได้ ร้อยละ 50
2. เชิงคุณภาพ 1. รู้หลักวิธีการใช้แสงจากหลอดแอลอีดีเพื่อลดระยะเวลาการปลูกผักสลัดด้วยพีทมอส
2. รู้หลักการทำงานของแผงโซล่าเซลล์ในการลดพลังงานไฟฟ้าในบ้าน
3. รู้หลักการในการปลูกพืชไมโครกรีน

แผนงานและแนวทางการดำเนินโครงการ
รายละเอียด ระยะเวลา ผู้รับผิดชอบ
- ประชุมครั้งที่ 1 คิดรูปแบบการทำ 23 เมษายน 2565 คณะผู้จัดทำโครงการ
โครงการ
- ร่างเสนออาจารย์ที่ปรึกษาโครงการ
- ประชุมวางแผนวางรูปแบบงาน และ
การจัดสรรงบประมาณ

- นำเสนอตัวอย่างโครงการให้กับคณะ 24 เมษายน 2565 คณะผู้จัดทำโครงการ


กรรมการ
-ศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับไมโครกรีนเพิ่มเติม 25 เมษายน 2565 คณะผู้จัดทำโครงการ
และได้ปรึกษาครูประจำวิชาการงาน
โดยนางสาว ลำแพน คำเฉียง
-จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์สำหรับการทดลอง
ปลูก

-มอบหมายหน้าที่การรับผิดชอบหน้าที่ 26 เมษายน 2565 คณะผู้จัดทำโครงการ


การทดลองปลูก
โดย 1 นาย ธีรชัย มัดยูโก๊ป ได้รับหน้าที่
ปลูกไมโครกรีนกับดินธรรมดาด้วยแสง
ธรรมชาติ
2 นางสาว ณัชชานันท์ เกตุแก้ว ได้รับ
หน้าที่ ปลูกไมโครกรีนกับดินพีทมอ
สด้วยแสงธรรมชาติ
3 นางสาว วนิดา ภิรมย์ศรี ได้รับหน้าที่
ปลูกไมโครกรีนกับดินพีทมอสด้วยแสง
ไฟแอลอีดี
-ศึกษาการสร้างโปรแกรมเพื่อกำหนดระ
ยะเวลารให้ไฟสำหรับการปลูกไมโครกรี
นด้วยแสงไฟแอลอีดี โดย นาย โชติวตั ร
ศิริโวหาร
ประชุมครั้งที่ 2 27 เมษายน 2565
ระยะเวลาในการสร้างนวัตกรรมและ 27 เมษายน 2565 – 10 มิถุนายน 2565 คณะผู้จัดทำโครงการ
ทำการทดลองก่อนลงในสถานที่จริง
ปรึกษาและขอคำแนะนำ โดยนางสาว 28 เมษายน 2565 คณะผู้จัดทำโครงการ
ลำแพน คำเฉียง และนาง กรรณิการ์ นา
ถ้ำพลอย

- ดูสถานที่จริง 29 เมษายน 2665 คณะผู้จัดทำโครงการ


ประชาสัมพันธ์เชิญชวนนักเรียนชั้น 1 พฤษภาคม 2565 คณะผู้จัดทำโครงการ
ม.5 เข้าร่วมชมรม
ได้งบประมาณ 3000 มอบหมายให้ 2 พฤษภาคม 2565 คณะผู้จัดทำโครงการ
นาง วลัยลักษณ์ มัดทะปะนัง จัดสรร
ไปซื้ออุปกรณ์การทำไมโครกรีน 3 พฤษภาคม 2565 คณะผู้จัดทำโครงการ ครูที่ปรึกษา และ
ดิน สมาชิกในชมรม
ป้อกกี้
คัตเตอร์
กรรไกร
อบรมเรื่องไฟฟ้าและแสงสีที่จะใช้กับ 4 พฤษภาคม 2565 คณะผู้จัดทำโครงการและครูที่ปรึกษา
ไมโครกรีน โดย คุณครูอดิศักดิ์ ยงยุทธ
ครูโรงเรียนหนองจอก
-ให้ความรู้เกี่ยวกับโครงการให้ในสมาชิก 7-9 พฤษภาคม 2565 คณะผู้จัดทำโครงการ
ในชมรม
ความรู้เบื้องต้นของไมโครกรีน
วิธีการปลูกแบบต่างๆ
วิธีการปลูกแบบใช้แสง
สอนวิธีการเขียนโปรแกรมกำหนดการ
ให้แสงด้วยโปรแกรม kidbright
- จัดเตรียมสถานที่ 10-13 พฤษภาคม 2565 คณะผู้จัดทำโครงการและสมาชิกใน
ตัดหญ้า ชมรม
วัดพื้นที่
- จัดเตรียมอุปกรณ์
หาขวดในโรงเรียน
ทำความสะอาดขวดแล้วตากแห้ง
ตัดและเจาะรูขวด
จัดสั่งซื้อเมล็ดพันธุ์จากบ้านไร่ นายหัว 13 พฤษภาคม 2565 คณะผู้จัดทำโครงการ
ออร์แกนิคฟาร์ม จำหน่าย
ประชุมปรึกษารอบที่ 3 14 พฤษภาคม 2565 คณะผู้จัดทำโครงการและครูที่ปรึกษา
สั่งทำไฟ โดย คุณครูอดิศักดิ์ ยงยุทธ ครู 15 -19 พฤษภาคม 2565 คณะผู้จัดทำโครงการ
โรงเรียนหนองจอก
เปลี่ยนสถานที่ครั้งที่ 1 18-19 พฤษภาคม 2565 คณะผู้จัดทำโครงการและสมาชิกใน
ทำความสะอาดสถานที่ ชมรม
จัดของ แบ่งสัดส่วน
ประชุมปรึกษารอบที่ 4 20 พฤษภาคม 2565 คณะผู้จัดทำโครงการและครูที่ปรึกษา
โครงการ
สั่งทำโต๊ะ โดยนาย ตัณติวัฒน์ ตี๊กิ๊ม 20-23 พฤษภาคม 2565 คณะผู้จัดทำ
ได้โต๊ะและเริ่มลงมือปลูกพืชไมโครกรีน 24 พฤษภาคม 2565 คณะผู้จัดทำและสมาชิกในชมรม
ด้วยระบบรดน้ำปกติและแช่น้ำ
-พบว่าระหว่างกระถางแช่น้ำและไม่ได้ 25-30 พฤษภาคม 2565 คณะผู้จัดทำ
แช่น้ำไม่ได้แสงและน้ำตามที่ต้องการ
ทำให้ตน้ ไม้ยืนตายจำนวนมาก แต่
กระถางที่แช่น้ำไว้กลับยังมีชีวิตอยู่ ทำให้
ทางคณะผู้จัดทำมีแนวคิดการลดน้ำโดย
การใช้กระถางที่แช่น้ำไว้ โดยเราไม่
จำเป็นต้องเข้าไปรดน้ำทุกวันแต่อาจจะ
ต้องรดวันเว้นวัน เพื่อดูสภาพดินต่อไป

-ติดตั้งไฟที่โต๊ะโดยนาย ตัณติวัฒน์ ติ๊กิ๊ม 30 พฤษภาคม 2565 นายตัณติวัฒน์ ติ๊กิ๊ม


และนายโชติวัตร ศิริโวหาร และนำถุงดำ นายโชติวตร ศิริโวหาร
มาคลุม และคณะผู้จัดทำ
เตรียมอุปกรณ์สำหรับการปลูกเพิ่ม 1-5 มิถุนายน 2565 คณะผู้จัดทำและสมาชิกในชมรม
หาขวด
ล้างขวด
ตัดขวด
หาหิน

สั่งซื้อดิน 6-8 มิถุนายน 2565 คณะผู้จัดทำ


ประชุมครั้งที่ 9-25 มิถุนายน 2565 คณะผู้จัดทำและครูที่ปรึกษาโครงการ
มอบหมายหน้าที่ให้
นายธีระชัย มัดยูโก๊ป ทำสไลด์พาว
เวอร์พ้อยสำหรับการนำเสนอ
นางสาว ณัชชานันท์ เกตุแก้ว ทำไว
นิลนิทรรศการ
นางสาว วนิดา ภิรมย์ศรี ทำตัว
เปเปอร์ของการเสนอโครงการ

เริ่มปลูกไมโครกรีนใหม่อีกครั้ง 15 มิถุนายน 2565 คณะผู้จัดทำและสมาชิกในชุมนุม


ตัวเครื่องมีปัญหา 16 มิถุนายน 2565 คณะผู้จัดทำ
ประกอบโรงเรือนและเคลียร์สถานที่ 17 มิถุนายน 2565 คณะผู้จัดทำและสมาชิกในชุมนุม
ติดตั้งแผงโซล่าเซลล์ 18 มิถุนายน 2565 คณะผู้จัดทำ
เปลี่ยนสถานที่ครั้งที่ 2 19 มิถุนายน 2565 คณะผู้จัดทำและสมาชิกในชุมนุม
ย้ายชั้นโต๊ะ ต้นไมโครกรีน และอุปกรณ์
ต่างๆเข้าในโรงเรือน
พรีเซนต์ให้น้องชั้น ม.1 ฟัง 20-23 มิถุนายน 2565 คณะผู้จัดทำและตัวแทนสมาชิกใน
ชุมนุม
พรีเซนต์ให้ผู้อำนวยการโรงเรียนและ 24 มิถุนายน 2565 คณะผู้จัดทำ
คณะครูฟัง
เตรียมตัวสำหรับการประเมิน 25-26 มิถุนายน 2565 คณะผู้จัดทำ
ได้รับการประเมิน 27 มิถุนายน 2565 คณะผู้จัดทำ
5 ผลที่คาดว่าจะได้รับ เช่นความเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นแบบวัดผลและตรวจวัดได้ จำนวนผู้มีส่วนร่วมส่วนเสีย
อันเกิดจากการดำเนินโครงการ
1. นักเรียนได้เรียนรู้ถึงขบวนการปลูกผักสลัดด้วยพืทมอส

2. นักเรียนได้เรียนรู้ถึงขบวนการการท างานของแผงโซล่าเซลล์

3. นักเรียนมีนวัตกรรมในการปลูกผักสลัดโดยใช้แสงจากหลอดแอลอีดีสีน้ำเงินเพื่อลดระยะเวลาการเจริญเติบโตของผักสลัด

6 ความยั่งยืนที่จะเกิดขึ้นหลังจากการดำเนินโครงการ
เป็นสื่อใช้ประกอบการเรียนการสอนให้กับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ในวิชาการงานอาชีพ และรุ่นน้อง ต่อๆไป

7 งบประมาณทีใ่ ช้ในการดำเนินงาน และใช้งบประมาณเพื่ออะไร


จำนวนเงิน 3,000 บาท ซื้อเมล็ดพันธ์ 500 บาท ป๊อกกี้ 100 บาท ซื้อกรรไกรและคัตเตอร์ 100 บาท ซื้อดิน บาท

8 ผูร้ ับผิดชอบโครงการ
1. นายธีระชัย มัยูโก๊ป นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
2. นางสาววนิดา ภิรมย์ศรี นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
3. นางสาวณัชชานันท์ เกตุแก้ว นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
4. นางวลัยลักษณ์ มัดทะปะนัง ที่ปรึกษาโครงการ

You might also like