You are on page 1of 11

1.

วัตถุประสงค์

1.1 เพื่อให้นักศึกษารู้และเข้าใจในกระบวนการขัน
้ ตอนการเบิก-

จ่ายอุปกรณ์ เครื่องแก้วของโปรแกรมวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการ

อาหาร มหาวิทยาลัยราชภัฎกำแพงเพชร ได้อย่างถูกต้อง

1.2 เพื่อให้การปฏิบัติงานเป็ นมาตรฐานเดียวกัน

2. ขอบเขต

คู่มือปฏิบัติงานเรื่อง การเบิก-จ่ายอุปกรณ์ในห้องปฏิบัติการ จัดทำ

ขึน
้ เพื่อให้นก
ั ศึกษาได้ร้จ
ู ักขัน
้ ตอนในการเบิก-จ่ายอุปกรณ์ เครื่องแก้วใน

ห้องปฏิบัติการ ทราบช่วงเวลาการยืมและคืนอุปกรณ์ เครื่องแก้ว ตลอด

จนการล้างทำความสะอาดเก็บรักษาต่างๆ อุปกรณ์ เครื่องแก้ว เพื่อให้

อุปกรณ์ เครื่องแก้วพร้อมใช้งาน และทำให้ผลการทดลองนัน


้ ถูกต้องและ

แม่นยำ

3. คำจำกัดความ

3.1 อุปกรณ์ เครื่องแก้ว หมายถึง อุปกรณ์ เครื่องแก้วที่ใช้ในห้อง

ปฏิบัติการของห้องเรียนที่

3.2 การเบิก-จ่ายอุปกรณ์ เครื่องแก้ว หมายถึง การแจ้งความ

ต้องการในการใช้อุปกรณ์ เครื่องแก้ว
3.3 ผู้ใช้บริการ หมายถึง ผู้ที่แจ้งความต้องการ

4. หน้าที่และความรับผิดชอบ

4.1 เจ้าหน้าที่ปฏิบัติการ มีหน้าที่เตรียมอุปกรณ์ เครื่องแก้ว และ

เครื่องมือ ตามความต้องการของผู้ใช้บริการ

4.2 ผู้ใช้บริการ มีหน้าที่แจ้งความต้องอุปกรณ์ เครื่องแก้ว และ

เครื่องมือ

5. ตรวจเอกสาร

อุปกรณ์เครื่องแก้ว
ที่ รูป ชื่อ การใช้งาน
1 หลอด ใช้บรรจุ ผสม หรือเพื่อ
ทดสอบ(Te นำไปให้ความร้อนแก่สาร
st tubes) เคมีที่เป็ นของแข็งหรือ
ของเหลว
2 บีกเกอร์ ใช้เป็ นภาชนะในการชั่ง
(Beakers) เตรียมสารละลาย และ
ตวงสารที่มีคุณสมบัติ
กัดกร่อนพลาสติก และ
ไม่ต้องการปริมาตรที่
แน่นอน
3 ขวดรูปชมพู่ ใช้บรรจุสารเพื่อไตเตรท
(Erlenmey การกรอง
er flask)
4 ขวดวัด ใช้ในการเตรียม
ปริมาตร สารละลายที่ต้องการ
(Volumetri ปริมาตร และความเข้ม
c flask) ข้นที่แน่นอน

5 ขวดฉีดน้ำ ใช้ใส่น้ำกลั่นเพื่อใช้ใน
กลั่น (Wash การทดลอง และเตรียม
bottle) สารละลาย
6 กระบอก ใช้สำหรับวัดปริมาตร
ตวง ของเหลว ปริมาณมาก
(Graduate
d
Cylinder)
7 บิวเรต ใช้วัดปริมาตรสารละลาย
(Burette) ในการไตเตรท

8 ปิ เปตต์ ใช้ในการดูดสารละลายที่
หลาย ต้องการปริมาตรที่
ปริมาตร แน่นอน (ปิ เปตต์ได้หลาย
(Graduate ปริมาตร)
pipette)
9 ปิ เปตต์ ใช้ดูดสารละลายที่
ปริมาตร ต้องการปริมาตรแน่นอน
เดียว (ปิ เปตต์ได้เพียงปริมาตร
(Volumetri เดียว)
c pipette)
10 คีมคีบ ใช้สำหรับคีบเครื่องแก้ว
(Tong) ที่มีอุณหภูมิสูง
11 หลอดหยด ใช้ในการหยดสารละลาย
สาร
(Dropper)
12 แท่งแก้วคน ใช้คนสาร ช่วยในการเท
สาร สารละลาย
(Stirring
rod)
13 ที่วางหลอด ใช้วางหลอดทดลอง
ทดลอง
(Test tube
rack)
14 ลูกยางดูด ใช้ดูดสาร ใช้คู่กับปิ เปตต์
(Pipette
bulb)
15 กระจก ใช้ปิดภาชนะ ระเหยสาร
นาฬิกา ปริมาณน้อยๆ
(Watch
glass)
16 ครูวิเบิลกับ ใช้ใส่สารที่ต้องการเผาที่
ฝา อุณหภูมิสูงๆ
(Crucible
and cover)
17 กรวยกรอง ใช้กรองสาร เทสาร
(Glass
funnel)
18 ฐานและที่ ใช้เป็ นฐานเพื่อยึดเครื่อง
ตัง้ (Base แก้ว
and stand)

19 ตัวยึด ใช้ยึดบิวเรตต์เข้ากับฐาน
บิวเรตต์ และที่ตงั ้
(Burette
clamp)
20 ห่วง ใช้ยึดกับฐานที่ตงั ้ เพื่อวาง
วงแหวน ชุดเครื่องมือ
(Ring
clamp)
21 แผ่น ใช้กระจายความร้อน
กระจาย และวางอุปกรณ์ที่ใช้ต้ม
ความร้อน หรือเผาด้วยตะเกียงบุน
(Wire เสน หรือตะเกียง
gauze) แอลกอฮอล์
22 ตะเกียงบุน ใช้ในการจุดแก๊สหุงต้ม
เสน หรือ เพื่อเผาหรือต้มสาร
ตะเกียงแก๊ส
(Bunsen
burner)
6. ผังกระบวนการทำงาน

îĆ
ÖýÖ
ċþćđ×÷
Ċî Ĕï đïÖ
ĉ
Ăč
ðÖøèŤ

øĆ
ï Ĕï đïÖ
ĉĂč
ðÖøèŤ
ĕöŠ
óøšĂö

óÝ
ĉćøèć×î ćéĒúą
ÝĞ
ćî üî

öóø
Ċ šĂö

ÝĆ
éüĆ
ÿéč
Ăč
ðÖøèêŤćöï
Ĕ đïÖ
ĉǰĒÝÖĔĀš
îĆ
ÖýÖ
ċþć

øĆ
ï üĆ
ÿéč
Ăč
ðÖøèÙ
ŤČ
î

óÝćø
ĉ èć×î ćéÝĞćî üî ǰ
ĒúąÙüćöÿąĂćé ×ćéÝĞ
ćî üî ǰ
ĒúąĕöŠ
ÿąĂćé

ëÖ
ĎêšĂÜǰĒúąÿąĂćé ĒÝšÜî Ć
ÖýÖ
ċþćĒÖĕš×

ÝĆ
éđÖïĘđךćêšĎ
7. ขัน
้ ตอนการปฏิบัติงาน

ที่ ขัน
้ ตอน รายละเอียดงาน แบบฟอร์ม
1 นักศึกษา นักศึกษาจะต้องเขียนใบเบิก ใบยืมอุปกรณ์ และ
เขียนใบเบิก อุปกรณ์ก่อน 1 วันที่จะทำการ เครื่องแก้ว
อุปกรณ์ ทดลองโดยจะต้องระบุวันยืม
และวันคืน
2 รับใบเบิก นักวิทยาศาสตร์ตรวจความถูก ใบยืมอุปกรณ์ และ
ต้องชื่ออุปกรณ์ถ้าเขียนชื่อ เครื่องแก้ว
อุปกรณ์ผิดจะแจ้งให้นักศึกษา
เขียนแก้ไขใหม่ให้ถูกต้อง
3 พิจารณา นักวิทยาศาสตร์ตรวจใบเบิก ใบยืมอุปกรณ์ และ
ขนาดและ อุปกรณ์กับจำนวนของที่มีว่า เครื่องแก้ว
จำนวน พอกับความต้องการหรือไม่
4 จัดวัสดุตาม จัดอุปกรณ์ให้ตามใบเบิกกรณี ใบยืมอุปกรณ์ และ
ใบเบิก และ อุปกรณ์มีจำนวนน้อยกว่าที่ เครื่องแก้ว
จัดให้ ต้องการจะแจ้งให้นักศึกษา
นักศึกษา ทราบเพื่อเปลี่ยนขนาดหรือ
ชนิดของอุปกรณ์นน
ั ้ เพื่อหา
อุปกรณ์อ่ น
ื ทดแทน
5 รับวัสดุ รับคืนอุปกรณ์คืนตามวันที่ ใบยืมอุปกรณ์ และ
อุปกรณ์คืน กำหนด เครื่องแก้ว
6 พิจารณา เช็คจำนวนและความสะอาด ใบยืมอุปกรณ์ และ
จำนวน และ ตามใบยืมถ้าจำนวนครบ เครื่องแก้ว
ความสะอาด ความสะอาดผ่านทำการรับคืน
อุปกรณ์จำนวนไม่ครบ ความ
สะอาดไม่ผ่าน แจ้งนักศึกษา
มาแก้ไขแล้วจึงรับคืน
7 จัดเก็บเข้าตู้ จัดเก็บเข้าตูเ้ ก็บเครื่องมือโดย ใบยืมอุปกรณ์ และ
การแยกชนิดและปริมาตรตาม เครื่องแก้ว
ชื่ออุปกรณ์ที่ติดไว้หน้าตู้นน
ั้ ๆ

8. แนวทางในการปฏิบัติงานของบุคลากร

8.1 ให้คำแนะนำเกี่ยวกับการเขียนใบเบิกอุปกรณ์โดยการอ่านจาก

บทปฏิบัติการที่จะทำการทดลอง

8.2 แจ้งกำหนดการและช่วงเวลาการเบิก-จ่ายอุปกรณ์ เครื่องแก้ว

9. มาตรฐานคุณภาพงาน

9.1 การเขียนชื่ออุปกรณ์ต้องถูกต้อง

9.2 เครื่องแก้วที่จะนำมาคืนต้องแห้งและสะอาดไม่มีความความ

สกปรกหรือคราบน้ำเกาะ
10. ระบบติดตามประเมินผล

10.1 เช็ควันที่คืนของจากใบเบิกอุปกรณ์เพื่อติดตามอุปกรณ์ เครื่อง

แก้ว ตามที่ครบกำหนดคืน

10.2 เช็คจำนวนอุปกรณ์ เครื่องแก้ว มีครบตามที่บันทึกลงใบเบิก

อุปกรณ์กรณีไม่ครบให้แจ้งผู้ใช้บริการรับทราบและแก้ไข

11.เอกสารอ้างอิง

11.1 ปฏิบัติการเคมีทั่วไป ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์

มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

12.แบบฟอร์มที่ใช้

12.1 ใบยืมอุปกรณ์

13.ปั ญหา/ความเสี่ยงสำคัญทีพ
่ บในการปฏิบัติงานและแนวทางการแก้ไข

ปั ญหา

13.1 การล้างทำความสะอาดไม่เรียบร้อย

14.บรรณานุกรม

You might also like