You are on page 1of 78

1

คู่มือการปฏิบัตกิ ารข่ าวสาร


INFORMATION OPERATIONS (IO) HANDBOOK

กรมยุทธศึกษาทหารบก
จัดทาโดย
โรงเรียนเสนาธิการทหารบก
(ร่ าง V.๒.๑) ๑ ก.ย. ๒๕๕๗
2

คานา
คู่มือการปฏิ บตั ิการข่าวสารฉบับนี้ จัดทาขึ้ นตามนโยบายของทบ.
ที่ ไ ด้ สั่ ง การให้ ยศ.ทบ. จั ด ท าขึ้ น โดยมี รร.สธ.ทบ.เป็ นหน่ ว ย
ผูร้ ั บ ผิด ชอบในการด าเนิ น การหลัก เอกสารฉบับ นี้ เป็ น ฉบับ ร่ า งใน
ขั้นต้น (Version ๒.๑) ที่ จดั ท าขึ้ นจาก การศึ ก ษาแนวความคิ ด ด้า น
การปฏิบตั ิการ(ข้อมูล)ข่าวสาร(IO) ของต่างชาติ และนามาผสมผสานกับ
ประสบการณ์ในการฝึ กร่ วม/ผสม และบทเรี ยนที่ได้จากการปฏิ บตั ิงาน
ด้าน IO ของคณาจารย์ และผูท้ ี่เกี่ ยวข้อง เพื่อให้ได้เป็ นแนวความคิดใน
การดาเนินการด้าน IO ที่เหมาะสมกับบริ บทของกองทัพบก
คู่ มื อ เล่ ม นี้ มิ ไ ด้ เ ป็ นหลั ก นิ ยมที่ เ ป็ นทางการหรื อตายตั ว
เพี ย งมุ่ ง หมายให้ส ามารถนาไปใช้เป็ นแนวทางในการปฏิ บ ัติงาน IO
ของหน่ ว ยต่ า งๆได้ ใ นขั้ นต้ น หรื อจนกว่ า ทบ.จะได้ จ ั ด ท า รส.
ด้านการปฏิ บตั ิ การข่าวสาร เสร็ จสิ้ น ดังนั้น เมื่อนาไปใช้ หน่ วยจะต้อง
น าไปดัด แปลงการปฏิ บ ัติ ใ ห้ เ หมาะสมกับ สภาวการณ์ และบริ บท
ของภารกิจที่ได้รับมอบต่อไป
“IO เป็ นเพียงเครื่ องมือหนึ่งเท่ านั้น ... ความสาเร็ จของภารกิจ
อยู่ ที่ ศิ ล ปะในการน า IO ไปใช้ อย่ า งสอดคล้ องและเหมาะสมกั บ
การปฏิบัติการอื่นๆ จึงจะนาไปสู่ ความสาเร็ จ และบรรลุเป้ าหมายทีต่ ้ องการ...”
คณะผูจ้ ดั ทาฯ รร.สธ.ทบ.
5

สภาวะแวดล้อมในการปฏิบัติการทางทหาร
บทบาทและหน้า ที่ ข องทหารนั้นถู กบัญญัติไ ว้ใ นรั ฐธรรมนู ญ
แห่ ง ราชอาณาจัก รไทย มาตราที่ ๗๗ ว่า “รั ฐ ต้อ งพิ ท ัก ษ์รั ก ษาไว้ซ่ ึ ง
สถาบัน พระมหากษัต ริ ย ์เ อกราช อธิ ป ไตย และบู ร ณภาพแห่ ง เขต
อานาจรัฐ และต้องจัดให้มีกาลังทหารอาวุธยุทโธปกรณ์ และเทคโนโลยี
ที่ท นั สมัย จาเป็ น และเพีย งพอ เพื ่อ พิท กั ษ์รัก ษา เอกราช อธิ ป ไตย
ความมัน่ คงของรั ฐ สถาบัน พระมหากษัต ริ ย ์ ผลประโยชน์แ ห่ ง ชาติ
และการปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริ ยท์ รงเป็ นประมุข
และเพื่อการพัฒนาประเทศ”
ด้วยกรอบความมัน่ คงในปั จจุบนั นั้น มิได้มีความหมายเพียงแค่
การป้ องกันรักษา เอกราช อธิ ปไตยและบูรณภาพแห่ งดินแดน ให้รอดพ้น
จากการรุ กรานของศัตรู จากภายนอกเท่านั้น มิ ติความมัน่ คงในปั จจุบนั
นั้นได้ขยายขอบเขต ที่มีละเมิดความทับซ้อนและเกี่ยวเนื่ องกันในหลายๆมิติ
ซึ่ งผลกระทบในมิติต่างๆเหล่านี้ลว้ นก่อให้เกิดผลกระทบจากทั้งภายนอก
และภายในประเทศต่อความไม่มนั่ คงของชาติท้ งั สิ้ น
ดังนั้น การปฏิบตั ิภารกิจของ ทบ.จึงมีบทบาทใน ๒ ลักษณะคือ
ในกรอบของ ทบ. กับในกรอบของ กอ.รมน.ทบ.จึงมีขอบเขตในการ
ปฏิบตั ิการทางทหารใน ๓ สภาวการณ์ดว้ ยกันคือ
๑.ยามปกติ (PEACE)
๒.เมื่อเกิดวิกฤติการณ์ (CRISIS)
๓.ยามสงคราม (WAR)
4

IO ในการต่ อสู้ กบั การก่ อความไม่ สงบ 45


กระบวนการแสวงข้อตกลงใจกับ IO ในการ ปปส. 47
กระบวนการสร้างทัศนคติของมนุษย์ 50
กระบวนการรับรู ้ของมนุษย์ 50
การวิเคราะห์ฝ่ายตรงข้าม 51
เป้าประเด็นหลักของงาน IOในการปปส. 53
ข้อพึงระลึกของ IO ในการ ปปส. 57
การประเมินผล IO 60
การสื่ อสารทางยุทธศาสตร์ (SC) กับ IO 62
ภาคผนวก 65
ผนวก ก ประมาณการ IO 65
ผนวก ข ตัวอย่างตารางประสานสอดคล้อง 66
ผนวก ค ผนวก IO 67
ผนวก ง แนวคิด IO ของสหรัฐฯล่าสุ ด 71
คาศัพท์ 74
รายชื่ อคณะผู้จัดทา 76

...............................................................

หมายเหตุ ข้อแตกต่างระหว่าง V.๒ และ V๒.๑ คือ การจัดหน้าและ


รู ปแบบเอกสารใหม่เท่านั้น ส่ วนเนื้อหาคงเดิม
3

สารบัญ
กล่าวทัว่ ไป หน้า
สภาวะแวดล้อมในการปฏิบตั ิการทางทหาร 5
ความหมายของการปฏิบตั ิการข่าวสาร (IO) 6
ความเหนื อกว่าด้านข้อมูลข่าวสาร 9
สภาพแวดล้อมด้านข้อมูลข่าวสาร (IE) 11
องค์ ประกอบของขีดความสามารถในการปฏิบัติการข่ าวสาร 13
ขีดความสามารถในการปฏิบตั ิการข่าวสาร 13
ข้อเสนอแนะให้เหมาะสมกับบริ บทของไทย 21
แนวคิด IO ของสหรัฐฯล่าสุ ด (ผนวก ง) 22
การวางแผน IO 23
เชิงรุ ก,เชิงรับ 23
การรบด้วยวิธีรุก 27
การรบด้วยวิธีรับ 28
ข้อพิจารณาและกระบวนการในการวางแผน 29
แนวทางในการกาหนดเป้ าหมาย IO 32
เจ้ าหน้ าที่และองค์ กรด้ าน IO 35
IO กับการแสวงข้ อตกลงใจทางทหาร 38
กระบวนการแสวงข้อตกลงใจของ IO 39
วงรอบการทางาน IO 42
6

การดาเนินการเพื่อให้บรรลุวตั ถุประสงค์ดา้ นความมัน่ คงดังกล่าวนั้น


ทบ.จึง ต้อ งใช้ขีด ความสามารถในการดาเนิ น การทั้ง ในรู ป แบบของ
การปฏิ บตั ิ การ(OPERATIONS) และ การปฏิ บตั ิ ก ารข้อมู ลข่ าวสาร(IO)
ควบคู่กนั ไป

สภาวะ การปฏิบัติการทางทหาร

ความหมายของการปฏิบัติการข่ าวสาร (IO)


การปฏิบตั ิการข่าวสาร (INFORMATION OPERATIONS: IO)
นั้นถือเป็ นกลไกอันสาคัญอันหนึ่งในการปฏิบตั ิการทางทหารในปั จจุบนั
ทั้งการรบตามแบบและการปฏิบตั ิการในรู ปแบบอื่นๆ เช่ น การป้ องกัน
และปราบปรามการก่ อความไม่ ส งบ(ปปส.) และการปฏิ บตั ิ ก ารทาง
ทหารอื่นๆนอกเหนือจากการสงคราม IO นั้นได้ถูกใช้กนั ทัว่ ไปในการ
ปฏิ บ ัติ ก ารทางทหารมาตั้ง แต่ อ ดี ต แต่ เ ป็ นการปฏิ บ ัติ ใ นลัก ษณะ
ของแต่ละกิจกรรมย่อยๆ ที่ไม่ได้มีการประสานสอดคล้องกันในภาพรวม
8

๓. พฤติกรรม
เพื่อให้ฝ่ายเรา : ปฏิบตั ิได้อย่าง เหมาะสม, ริ เริ่ ม, เกื้อกูล
เพื่อให้กลุ่มเป้ าหมาย/ฝ่ ายตรงข้าม : ไม่กระทา, ทาผิด, ไม่เหมาะสม,
ตามที่เราต้องการ

ความเหนือกว่ าด้ านข้ อมูลข่ าวสาร


(INFORMATION SUPERIORITY)
9

ในการปฏิ บ ตั ิ ก ารทางทหารนั้น จะมุ่ง เน้นที่ ความได้เ ปรี ย บ


ต่ อฝ่ ายตรงข้า มทางด้า นข้อมู ล ข่ า วสาร ซึ่ ง จะนาไปสู่ ค วามเหนื อ กว่า
ในการตกลงใจ เพื่อเกื้อกูลต่อการบรรลุภารกิ จของฝ่ ายเรา ซึ่ งจะต้องใช้
IO เป็ นกลไกหลักเพื่อให้เกิด ความเหนือกว่าด้ านข้ อมูลข่ าวสารนัน่ คือ
“ความสามารถ ในการที่จะรวบรวม, ดาเนิ นกรรมวิธี, ใช้และ
กระจาย ข้อมูลข่าวสารและให้ขอ้ มูลข่าวสารเหล่านั้นสามารถไหลไปได้
อย่า งต่ อ เนื่ อ งไม่ ติ ด ขัด และในขณะเดี ย วกัน ก็ ส ามารถช่ ว งชิ ง ความ
ได้เ ปรี ย บและปิ ดกั้น ไม่ ใ ห้ ฝ่ ายตรงข้า มมี ขี ด ความสามารถดัง กล่ า ว
ทัดเทียมกับฝ่ ายเราได้”

ความเหนื อ กว่ า ด้ า นข้ อ มู ล ข่ า วสารนี้ มี ค วามส าคัญ ในทุ ก


สภาวการณ์ แต่ จ ะมี ค วามส าคัญ ในลัก ษณะเป้ า ประสงค์ สู ง สุ ด ใน
7

ทาให้บางครั้ งไม่เสริ มกันหรื อขัดแย้งกันเอง ทาให้ขาดประสิ ทธิ ภาพ


หรื ออาจส่ งผลกระทบรุ นแรงซึ่ งอาจนาไปสู่ ความล้มเหลวของภารกิจ จึง
เกิดแนวความคิดในการนาเอากิจกรรมต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการใช้ขอ้ มูล
ข่ า วสารมารวมเข้า ไว้ด้ว ยกัน เพื่ อ ให้ ส ามารถก าหนดแนวทางและ
ดาเนิ นการได้อย่า งประสานสอดคล้องกันมากขึ้ น แล้วเรี ย กกิ จกรรม
เหล่ านี้ ว่า IOในการใช้ IO กับ การปฏิ บ ตั ิ ก ารทางทหารนั้นอาจมี ค วาม
แตกต่างกันบ้างในเรื่ องเทคนิ คการปฏิบตั ิ ในการรบตามแบบ, การรบไม่ตามแบบ,
การปฏิบตั ิการอื่นๆ แต่จะมีหวั ใจในการปฏิบตั ิที่ไม่แตกต่างกัน
หัวใจของการทา IO นั้นประกอบด้วย องค์ประกอบหลัก ๓ ส่ วน
ด้วยกันคือ
๑. ข้อมูลข่าวสาร
เพื่อให้ฝ่ายเรา : ได้รับข้อมูลข่าวสารที่ ถูกต้อง,ทันเวลา,สมบูรณ์ไม่ติดขัด
เพื่อให้กลุ่มเป้ าหมาย/ฝ่ ายตรงข้าม : ไม่ได้รับข้อมูล, รับข้อมูลที่ผดิ ,
ข้อมูลข่าวสารไม่ไหลเวียน, ติดขัด, ไม่ทนั เวลา
๒. การตกลงใจ
เพื่อให้ฝ่ายเรา : ตกลงใจได้ ถูกต้อง, เหมาะสม, ทันเวลา
เพื่อให้กลุ่มเป้ าหมาย/ฝ่ ายตรงข้าม : สับสน, ไม่ตดั สิ นใจ, ตกลงใจไม่เหมาะสม,
ไม่ทนั เวลา, ตัดสิ นใจผิด/ในทิศทางที่เราต้องการ
10

การปฏิบตั ิการรบตามแบบเพราะเป็ นการมุ่งเน้นในการเอาชนะฝ่ ายตรง


ข้ามให้ได้เป็ นเป้าหมายหลัก
ความเหนื อ กว่ า ด้ า นข้ อ มู ล ข่ า วสารนั้ น จะเกิ ด ขึ้ นได้ จ าก
องค์ประกอบ ๓ ประการคือการบริ หารจัดการข้อมูลข่าวสาร (IM), IO,
การข่าวกรอง/การเฝ้ าตรวจ/การลาดตระเวน (ISR) ความเหนื อกว่าด้าน
ข้อมูลข่าวสารนั้น จะเกิดขึ้นได้ก็ต่อเมื่อจะต้องมีความเข้าใจใน สภาวะแวดล้อม
ด้านข้อมูลข่าวสาร (INFORMATION ENVIRONMENT: IE) เสี ยก่อน
เพราะทั้งฝ่ ายเราและฝ่ ายตรงข้ามล้วนปฏิบตั ิการอยูใ่ น IE เดียวกัน

การบริ หารจัดการข้อมูลข่าวสาร
(INFORMATION MANAGEMENT: IM)
คือการจัดการให้การส่ งข้อมูลข่าวสารที่มีความสาคัญยิ่งต่อการ
ที่ จะเข้า ใจในสถานการณ์ ซ่ ึ ง จะนาไปสู่ การตกลงใจ สามารถไปถึ ง ยัง
บุคคลที่ตอ้ งการได้อย่างทันเวลา

การข่าวกรอง/การเฝ้าตรวจ/การลาดระเวน
(INTELLIGENCE, SURVILLANCE, RECONNAISSANCE: ISR)
ช่ วยในการสนธิ การประสานสอดคล้องของ ระบบปฏิ บตั ิ การ
ในสนามรบทุกระบบในการรวบรวมข่าวสารต่างๆและผลิ ตข่าวกรองที่
เกี่ยวข้องเพื่อสนับสนุ นการตกลงใจของ ผบ.และการค้นหาและกาหนด
เป้าหมาย จึงต้องอาศัยการประสานงานกับ สธ.และหน่วยร่ วมด้วย
12

นอกจากนี้ IE ยังสามารถแบ่งออกได้เป็ น ๒ ลักษณะคือ


๑.ลักษณะที่เป็ นทางกายภาพ/สามารถจับต้องได้ (PHYSICAL
ASSETS) ซึ่ งก็คือ ระบบของข้อมูลข่าวสาร (INFORMATION
SYSTEM: INFOSYS) นัน่ เอง
๒.ลักษณะที่เป็ นแนวคิดและจับต้องไม่ได้ (NON PHYSICAL
CONCEPTS) คื อ ข่ า วสาร, กระบวนการบนพื้ น ฐานของการข่ า ว,
กระบวนการตัดสิ นใจของมนุษย์
หากเปรี ยบเที ยบง่ ายๆก็คือตัวของ INFOSYS เปรี ยบเหมือน
HARDWARE ของคอมพิ ว เตอร์ และส่ วนของ CONCEPTS ก็ เ ปรี ย บ
เหมื อ น SOFTWARE นั่น เองจะเห็ น ได้ว่า การปฏิ บ ัติ ก ารข่ า วสารนั้น
จะต้องอาศัยข่าวกรองที่ดี จึงจะก่อให้เกิดความเข้าใจต่อ สภาวะแวดล้อม
ด้านข้อมูลข่าวสาร (IE) และสภาวะแวดล้อมทางยุทธการ (OE) ในเรื่ อง
องค์ป ระกอบต่ า งๆด้า นข้อมู ล ข่ า วสาร เช่ น ขี ดความสามารถด้า น IO
ของฝ่ ายตรงข้าม, ช่องทางการรับรู ้ของกลุ่มเป้ าหมาย , ระบบการส่ งผ่าน/
กระจายข้อมูลข่าวสาร เป็ นต้น ความเข้าใจอย่างถ่องแท้น้ ี เองจะส่ งผลให้
เกิดความได้เปรี ยบต่อฝ่ ายตรงข้าม และสามารถใช้ขีดความสามารถและ
เครื่ องมือต่างๆของ IO ได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ

สรุ ป
การปฏิบตั ิการ IO ในปั จจุบนั นั้น มีเป้ าประสงค์ที่แตกต่างไป
จากอดี ตคือ ในอดี ตจะมุ่งเน้นที่สภาวะสงคราม คือต้องการความเหนื อกว่า
ด้านข้อมู ล ข่าวสารเป็ นหลักแต่ในปั จจุ บ นั จะมุ่งเน้นการปฏิ บตั ิ ก ารใน
13

สภาวะปกติ และวิก ฤติ ก ารณ์ จึ ง มุ่ง เน้น IO เพื่อการเสริ มความมัน่ คง


มากกว่า แต่ท้ งั นี้ กาลังพลจะต้องมีความรู ้ ความสามารถพร้ อมที่จะเข้า
ปฏิบตั ิได้ในทุกสภาวการณ์

องค์ ประกอบของขีดความสามารถในการปฏิบัติการข่ าวสาร


ขีดความสามารถในการ IO นั้น แท้จริ งแล้วคือ เครื่ องมือย่อยๆที่
เกี่ ยวข้องกับการ IO เพื่อนาไปใช้ตามคุ ณลักษณะเฉพาะของแต่ละชนิ ด
ด้วยการประสานสอดคล้องกัน ตามแนวทางและห้วงเวลาที่ ก าหนด
เพื่ อให้ส ามารถสร้ า งผลกระทบ (EFFECTS) อันจะนาไปสู่ ก ารบรรลุ
ภารกิจของฝ่ ายเรา
การกาหนดขีดความสามารถเหล่ านี้ มีการปรั บเปลี่ ยนอยู่เสมอ
ตามขอบเขตระดับของหน่วยที่ปฏิบตั ิและ เทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงไป
ในขั้นต้ นจะเสนอตามหลักนิยมของสหรัฐฯ (เดิม) แล้ วจึงเสนอ
การดัดแปลงให้ เหมาะกับบริ บทของไทย และแนวคิดของสหรั ฐฯล่ าสุ ด
11

สภาวะแวดล้ อมด้ านข้ อมูลข่ าวสาร


(INFORMATION ENVIRONMENT: IE)
สภาวะแวดล้อมด้านข้อมูลข่าวสารคือ “การผสมผสานกันของ
บุคลากร, องค์กร, หรื อ ระบบ ที่ดาเนิ นกิจกรรมการรวบรวม, ดาเนิ น
กรรมวิธี หรื อ ใช้และกระจายข้อมูลข่าวสาร ทั้งนี้ รวมไปถึ ง ตัวข้อมู ล
ข่าวสารเองด้วย”ซึ่ ง IE นี้ ก็คือองค์ประกอบหนึ่ งของ สภาวะแวดล้อม
ในการปฏิบตั ิการ (OPERATIONAL ENVIRONMENT) นัน่ เองแต่จะ
มุ่งเน้นเฉพาะด้านที่เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสารเป็ นหลัก
IE นั้นจะประกอบด้วย ๓ มิติคือ
๑.ด้านกายภาพ (PHYSICAL DIMENSION)
๒.ด้านข้อมูลข่าวสาร (INFORMATIONAL DIMENSION)
๓.ด้านการรับรู ้ (COGNITIVE DIMENSION)
14

ทั้งนี้ เพื่อให้ผูใ้ ช้คู่มือเล่ มนี้ เห็ นถึ งแนวคิดหลัก และการพัฒนา


ที่เกิดขึ้น และสามารถประยุกต์องค์ความรู ้ ให้เหมาะสมกับแต่ละหน่ วย
ตามสถานการณ์ที่เผชิญ ได้เหมาะสมยิง่ ขึ้น
ตามแนวคิด IO เดิมนั้น จะแบ่งขีดความสามารถ IO ที่สอดคล้อง
กับขอบเขต และขี ดความสามารถของเครื่ องมื อที่ มีอยู่ ตามระดับของ
หน่ วยคือ ระดับกองทัพบก และ ระดับการปฏิบตั ิ การร่ วม (JOINT) ซึ่ ง
ของไทยเทียบได้กบั กองบัญชาการกองทัพไทย
แต่ ท้ ัง ๒ ระดั บ นี้ มี ก ารแบ่ ง เครื่ องมื อ IO ออกเป็ นกลุ่ ม ขี ด
ความสามารถ ๓ กลุ่มหลักๆเหมือนกันคือ
๑.ขีดความสามารถหลัก (CORE CAPABILITIES)
๒.ขีดความสามารถสนับสนุน (SUPPORT CAPABILITIES)
๓. กิจกรรมที่เกี่ยวเนื่ อง (RELATED ACTIVITIES)
โดยมีรายละเอียดดังนี้
16

อาวุ ธ ต่ อต้า นการแพร่ ก ระจายคลื่ น เพื่ อโจมตี ต่ อ บุ ค คล, อุ ปกรณ์ ,


สิ่ งอานวยความสะดวก เพื่อ ลิ ดรอน, ลดขีดความสามารถ, ทาลายขีด
ความสามารถในการรบของฝ่ ายตรงข้าม
๑.๑.๒ การป้ องกันทางอิเลคทรอนิ กส์ (ELECTRONIC
PROTECTION: EP) คือ กิ จกรรมทั้งในเชิ งรั บและเชิ งรุ กเพื่อป้ องกัน
บุคคล, อุปกรณ์, สิ่ งอานวยความสะดวก จากผลกระทบต่างๆ ทั้งจากฝ่ าย
เดี ยวกันและฝ่ ายตรงข้ามที่จะใช้ EW เพื่อลิดรอน, ลดขีดความสามารถ,
ทาลายขีดความสามารถในการรบของฝ่ ายเรา
๑.๑.๓ การสนับสนุนทางอิเลคทรอนิกส์
(ELECTRONIC WARFARE SUPPORT: EWS/ES) คือ กิจกรรมซึ่ ง
กาหนดขึ้นโดย ผบ.หน่วยทางยุทธการเพื่อ ค้นหา, สกัดกั้น, กาหนด,
ระบุที่ต้ งั ของแหล่งแพร่ กระจายคลื่นต่างๆ ทั้งที่ต้ งั ใจและไม่ต้ งั ใจเพื่อ
ตรวจจับกิจกรรมของฝ่ ายตรงข้าม, การกาหนดเป้ าหมาย และเพื่อการ
วางแผนการปฏิบตั ิในอนาคต
๑.๒ การปฏิ บ ัติ ก ารเครื อข่ า ยคอมพิ ว เตอร์ (COMPUTER
NETWORK OPERATIONS: CNO) คือ การปฏิบตั ิการทั้งปวงบนระบบ
เครื อข่ายคอมพิวเตอร์ มี ๓ กิจกรรมย่อยคือ
๑.๒.๑ การโจมตี เครื อข่ายคอมพิวเตอร์ (COMPUTER
NETWORK ATTACK: CNA) คือ กิ จกรรมต่างๆที่ ขัดขวาง, ปฏิเสธ,
ลดขีดความสามารถ, ทาลาย ข้อมูลข่าวสารต่างๆที่อยูใ่ น คอมพิวเตอร์ /
เครื อข่าย ตลอดจน เครื่ องคอมพิวเตอร์ และตัวเครื อข่ายเอง
17

๑ . ๒ . ๒ ก า ร ป้ อ ง กั น เ ค รื อ ข่ า ย ค อ ม พิ ว เ ต อ ร์
(COMPUTER NETWORK DEFENSE: CND) คือ มาตรการต่างๆที่ใช้
เพื่อป้ องกันข้อมูล, คอมพิวเตอร์ , การเชื่ อมโยงเครื อข่ายต่างๆ ไม่ให้ถูก
ขัดขวาง, ปฏิเสธ, ถูกลดขีดความสามารถ/ทาลาย
๑ . ๒ . ๓ ก า ร ข ย า ย ผ ล เ ค รื อ ข่ า ย ค อ ม พิ ว เ ต อ ร์
(COMPUTER NETWORK EXPLOITATION: CNE) คือ การใช้ระบบ
คอมพิ ว เตอร์ เ พื่ อ สนับ สนุ น การปฏิ บ ัติ ก าร และการรวบรวมข้อ มู ล
ข่าวสารจากเป้ าหมาย หรื อ ระบบเครื อข่ายข้อมูลอัตโนมัติของฝ่ ายตรงข้าม
๑.๓ การรั ก ษาความปลอดภัย ทางการยุท ธ์ (OPSEC) คื อ
มาตรการ/กระบวนการ/วิธี การต่า งๆ ที่ ผบ.และ ฝสธ. ก าหนดขึ้ นเพื่ อ
รั ก ษาความลับ ข้อมู ล ที่ ส าคัญยิ่ ง ของฝ่ ายเราด้วยการระบุ ข ้อมู ล ส าคัญ
เหล่านั้น (ESSENTIAL ELEMENT OF FRIENDLY INFORMATION:
EEFI) และป้ องกันมิ ให้ฝ่ายตรงข้ามเข้าถึ งหรื อได้ไปซึ่ งข้อมูลดังกล่ าว
มิ ฉะนั้น ฝ่ ายตรงข้ามจะทราบถึ งเจตนารมณ์ กิ จกรรม ความล่ อแหลม
ของฝ่ ายเรา
๑.๔ การลวงทางทหาร (MIITARY DECEPTION) คื อ
กิ จกรรม/ชุ ดของกิ จกรรม ที่ กระทาเพื่ อให้ผูต้ ดั สิ นใจของฝ่ ายตรงข้า ม
หลงเชื่ อ/เข้าใจผิด เกี่ยวกับ ขีดความสามารถ, เจตนา, การปฏิบตั ิของฝ่ ายเรา
และส่ งผลให้ฝ่ายตรงข้าม กระทา/ละเว้นการกระทา ซึ่ งจะส่ งผลที่เกื้อกูล
ต่อการสาเร็ จภารกิจของฝ่ ายเราเช่น การเข้าตีลวง การแสดงลวง เป็ นต้น
15

แปลเป็ นไทยได้ดงั นี้

การปฏิบัตกิ ารเครื อข่ ายคอมพิวเตอร์ การปฏิบตั ิการเครือข่ายคอมพิวเตอร์

๑.ขีดความสามารถหลัก(CORE CAPABILITIES) ได้แก่


การปจว. (PSYOP/MISO), การลวงทางทหาร (MIL DEC),
การรปภ.ทางการยุ ท ธ์ (OPSEC), สงครามอิ เ ล็ ค ทรอนิ ก ส์ (EW),
การปฏิบตั ิการเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ (CNO)
๑.๑ สงครามอิ เ ลคทรอนิ ค ส์ (ELECTRONIC WARFARE)
กิจกรรมทางทหารที่เกี่ยวข้องกับการใช้คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าและพลังงาน
โดยตรง เพื่อควบคุม/โจมตี การใช้คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ามี ๓ กิจกรรมย่อยคือ
๑.๑.๑ การโจมตีทางอิเลคทรอนิ กส์ (ELECTRONIC
ATTACK: EA) คือ การใช้คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า/พลังงานโดยตรง หรื อใช้
18

๑.๕ การปฏิบตั ิการจิตวิทยา (PSYOP/MISO) คือ กระบวนการ


ในการส่ งผ่าน ข้อมูล/สิ่ งบอกเหตุ ที่กาหนด ไปยังเป้ าหมาย เพื่อให้เกิ ด
อิทธิ พลต่อ อารมณ์, แรงจูงใจ, กระบวนการคิดตามเหตุผล อันจะทาให้
กลุ่มเป้ าหมายเหล่านั้นมีพฤติกรรมที่จะ กระทา/ละเว้นการกระทา ซึ่ งจะ
ส่ งผลสุ ดท้ายที่เกื้อกูลต่อการสาเร็ จภารกิจของฝ่ ายเรา
๒.ขีดความสามารถสนับสนุน (SUPPORT CAPABILITIES)
ได้แก่ การทาลายทางกายภาพ(PHY DES), ห ลั ก ป ร ะ กั น ด้ า น
ข้อมูลข่าวสาร (IA), การ รปภ.ทางกายภาพ (PHY SEC), การต่อต้านข่าว
กรอง(C-INTEL), การต่อต้านการลวง(C-DEC), การต่อต้านการโฆษณา
ชวนเชื่อ(C-PRO)
๒.๑ การทาลายทางกายภาพ (PHYSICAL DESTRUCTION)
คือ การใช้อานาจกาลังรบทั้ง การยิงเล็งตรง, เล็งจาลอง, หน่วย รพศ. เพื่อ
ทาลาย, ลดประสิ ทธิ ภาพ ของกาลังรบ, แหล่งข้อมูล, ระบบควบคุมบังคับ
บัญชา และที่ต้ งั ของฝ่ ายตรงข้าม
๒.๒ หลั ก ประกั น ด้ า นข้ อ มู ล ข่ า วสาร (INFORMATION
ASSUARANCE) คือ กิ จกรรมที่คุม้ ครอง-ป้ องกัน ข้อมู ลข่าวสารและ
ระบบข้อมูลข่าวสาร เพื่อประกันความมัน่ ใจในระบบข้อมูลข่าวสารที่มี
เพียงพอ, มีเสถียรภาพ, ความเป็ นปึ กแผ่นของระบบ, การเท่าเทียมในการ
เข้าถึงชั้นข้อมูล, การป้ องกันการรั่วไหลของข่าวสาร, ความมัน่ ใจในการ
รับส่ งข่าวสาร
20

๓.๑ การประชาสัมพันธ์ (PUBLIC AFFAIRS: PA/PAO) คือ


การส่ งผ่านข้อมูลที่ ถูกต้อง, ทันเวลา, เป็ นกลาง ด้วยกระบวนการส่ งผ่าน
ทั้ง ภายในและภายนอก เพื่ อ ให้ เ กิ ด ความเชื่ อ มั่น และ ให้ ไ ด้รั บ การ
สนับสนุนในการปฏิบตั ิภารกิจ
๓.๒ การกิ จการพลเรื อน (CIVIL AFFAIRS: CA/CMO) คือ
กิจกรรมที่ ผบ.หน่วย จัดตั้งขึ้น, ดารงไว้, เข้าไปมีอิทธิ พล, หรื อขยายผล
จากความสัมพันธ์ กบั หน่ วยงาน/องค์กร ต่างๆที่ไม่ใช่ ทหาร, ปชช. ใน
พื้นที่ปฏิบตั ิการทั้งกลุ่มที่สนับสนุน, เป็ นกลาง, ไม่ให้การสนับสนุ นการ
ปฏิ บตั ิการของฝ่ ายเรา ทั้งนี้ เพื่อให้เกิ ดผลที่ เกื้ อกูลต่อการสาเร็ จภารกิ จ
ของฝ่ ายเรา
21

ข้ อเสนอแนะให้ เหมาะสมกับบริบทของไทย
จากประสบการณ์ ใ นการปฏิ บ ตั ิ ก ารของทบ.ในสภาวการณ์ ที่
ผ่า นมา ทั้ง ๓ สภาวการณ์ จะเห็ น ได้ว่า มี ขี ด ความสามารถอื่ น ที่ ค วร
เพิ่ ม เติ ม เข้า มาอย่ า งน้ อ ย ๒ ขี ด ความสามารถ คื อ ภาพถ่ า ยการรบ
(COMCAM) และ การปฏิ สั ม พัน ธ์ ก ับ ผูน้ าหลัก (KEY LEADER
ENGAGEMENT: KLE)
19

๒.๓ การ รปภ.ทางกายภาพ (PHYSICAL SECURITY) คือ การ


รปภ. บุคคล, เอกสาร, สถานที่, ยุทโธปกรณ์ จากการ ลอบสังหาร, การ
ก่อให้เกิดความเสี ยหาย, จารกรรม ตลอดจนการก่อวินาศกรรม
๒.๔ การต่อต้านข่าวกรอง (COUNTER INTELLIGENCE) คือ
การรวบรวมข่ า วสารและการดาเนิ น กิ จ กรรม เพื ่ อ ป้ อ งกัน ฝ่ ายเรา
จากการก่อวินาศกรรม, กิจกรรมด้านการข่าวอื่นๆ, การจารกรรม, การลอบ
สังหาร ซึ่งกระทาโดยฝ่ ายตรงข้ามหรื อบุคคลอื่น
๒.๕ การต่อต้านการลวง (COUNTER DECEPTION) คือ การปฏิบตั ิ
การต่างๆเพื่อ ลิ ดรอน, ทาลาย, เพิกเฉย ต่อผลกระทบที่ เกิ ดจากการ
ปฏิ บ ัติก ารลวงของฝ่ ายตรงข้า ม หรื อแสวงประโยชน์จ ากผลกระทบ
เหล่านั้นเพื่อให้เกิดความได้เปรี ยบของฝ่ ายเรา ทั้งนี้ ยงั รวมไปถึงพันธกิ จ
ต่างๆที่จะระบุถึงการดาเนิ นกิจกรรมด้วยการปฏิบตั ิการลวงของฝ่ ายตรง
ข้ามอีกด้วย
๒.๖ การต่อต้านการโฆษณาชวนเชื่อ
(COUNTER PROPAGANDA) คือ กิจกรรมที่มุ่งตอบโต้ต่อการ โฆษณา
ชวนเชื่ อ ของฝ่ ายตรงข้า มด้ว ยการ ชี้ ให้ เ ห็ น ถึ ง เป้ า ประสงค์ ใ นการ
โฆษณาชวนเชื่ อ ของฝ่ ายตรงข้าม และชี้ แจงข้อเท็จจริ งต่อฝ่ ายเรา เพื่อ
สร้างความเข้าใจและลดผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการ ปจว.ของฝ่ ายตรงข้าม
๓.กิจกรรมที่เกี่ยวเนื่อง (RELATED ACTIVITIES) ได้แก่
การประชาสัม พันธ์ (PA), กิ จการพลเรื อ นปฏิ บตั ิ ก ารร่ วมพล
เรื อน-ทหาร (CA/CMO)
22

๑.ภาพถ่ า ยการรบ (COMBAT CAMERA: COMCAM) ใน


หลายสถานการณ์ ที่ผ่านมาจะเห็ นได้ว่า COMCAM มีบทบาทสาคัญใน
หลายๆประการ เช่ น การใช้ภาพถ่ายดาวเที ยม หรื อภาพจาก UAV เพื่อ
สนับ สนุ น การรบตามแบบ/การบรรเทาภัย พิ บตั ิ , การบันทึ ก ภาพเพื่ อ
นาไปใช้ใ นสื่ อโฆษณาประชาสัมพันธ์/สื่ อออนไลน์ของกองทัพ หรื อ
การใช้ภาพนิ่ งเพื่อเป็ นพยานหลักฐานในการประกอบสานวนคดีในการ
ก่อความไม่สงบในเมือง-จชต.-เหตุชุมนุ มทางการเมืองสิ่ งเหล่านี้ จะช่วย
เสริ มขีดวามสามารถในการปฏิบตั ิการและปกป้ องกองทัพได้เป็ นอย่างดี
จึงควรระบุ COMCAM ไว้เป็ นขีดความสามารถหนึ่งของ IO ทบ.ด้วย
๒.การปฏิสัมพันธ์กบั ผูน้ าหลัก
(KEY LEADER ENGAGEMENT: KLE) กิ จกรรมนี้ ดูเหมือนเป็ นสิ่ ง
ใหม่ แต่ที่จริ งแล้วได้มีการดาเนิ นการมาโดยตลอด KLE คือ การใช้ IO
ต่อผูน้ าหลักที่สาคัญ (ทางทหาร/การเมือง, สังคม, จิตวิญญาณ ฯลฯ.) ใน
รู ปแบบของ การกระทา และ/หรื อ ข้อมูลข่าวสาร เพื่อสร้างอิทธิ พลด้วย
การ บี บบังคับ/โน้มน้าว ให้เป้ าหมายนั้นๆ มี ท่าที /พฤติ กรรมตามที่ เรา
ต้องการ

แนวคิด IO ของสหรัฐฯล่ าสุ ด (ผนวก ง)


เป็ นการนาเสนอเพื่อให้สามารถนาไปใช้ในการฝึ กปฏิบตั ิ การ
ร่ วม/ผสม หรื อนามาดัดแปลงใช้ได้ในอนาคต
24

DENY (ปฏิ เ สธ): การป้ อ งกั น /รั ก ษาข้ อ มู ล เรื่ อง ขี ด


ความสามารถและเจตนาของฝ่ ายเรา ที่ ฝ่ายตรงข้ามต้องการ เพื่อไม่ให้
ฝ่ ายตรงข้ามตกลงใจได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพและทันเวลา
DECEIVE/ MISLEADED (ลวง/ทาให้ เข้ าใจผิด): การที่ทาให้
บุคคลใดๆหลงเชื่อในเรื่ องที่ไม่เป็ นความจริ ง
EXPLOIT (ขยายผล): การส่ งเสริ มให้ฝ่ายตรงข้ามได้รับข้อมูล
ผิดๆ อันจะนาไปสู่ การเข้าใจผิด
INFLUENCE (มีอิทธิพล): การกระทาที่ส่งผลให้ฝ่ายตรงข้าม
หรื อผูท้ ี่เราต้องการ มีพฤติกรรมที่เอื้อประโยชน์ต่อฝ่ ายเรา
๒. IO เชิงรับ
คือการประสานงานและการสนธิ นโยบายและกระบวนการ,
การปฏิบตั ิการ, บุคลากร และเทคโนโลยี เพื่อปกป้ อง, ป้ องกันข้อมู ล
ข่าวสารและระบบข้อมูลข่าวสารของฝ่ ายเรา ให้สามารถปฏิบตั ิได้อย่าง
มัน่ ใจ, ถูกต้อง, ทันเวลา และป้ องกันไม่ให้ฝ่ายตรงข้ามนาไปขยายผลเพื่อ
ความสาเร็ จของฝ่ ายตนIO เชิ งรับนั้น จะมุ่งเน้นที่การลดความล่อแหลม
ของระบบ C2 ของฝ่ ายเรา จากการปฏิ บ ัติ ก ารของฝ่ ายตรงข้า ม และ
ป้ อ งกั น มิ ใ ห้ ฝ่ ายตรงข้ า มเข้ า มาแทรกแซงต่ อ ข้ อ มู ล ข่ า วสารและ
INFOSYS ของฝ่ ายเรา ซึ่ งกระทาได้โดยก่อให้เกิดผลกระทบดังต่อไปนี้
PROTECTION (การป้ องกัน): การกระทาทั้งปวงที่กระทาเพื่อ
ปกป้ อง ข้อมูลข่าวสารและ ยุทโธปกรณ์ สาคัญ จากการก่ อวินาศกรรม
ของฝ่ ายตรงข้าม
25

DETECTION (การตรวจจับ): คือการค้นหา/ค้นพบ, เฝ้าตรวจ


การปรากฏของกิจกรรม, ข้อมูลที่บ่งชี้ถึง การบุกรุ กเข้ามาใน INFOSYS
RESPONSE (การตอบสนอง): คือการตอบสนองอย่างรวดเร็ ว
ต่อการบุกรุ กหรื อการโจมตีขอ้ มูลข่าวสารจากฝ่ ายตรงข้าม
RESTORATION ( ก า ร ฟื้ น ฟู ) : คื อ ก า ร ท า ใ ห้ INFOSYS
สามารถกลับมาใช้งานได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพเช่นเดิม

กล่ า วโดยสรุ ป คื อ IO เชิ ง รุ ก จะกระท าเพื่ อ สนับ สนุ น การ


ปฏิบตั ิ การแตกหัก (DECISIVE OP) และ IO เชิ งรับจะกระทาเพื่อ
ป้ องกันทรัพยากรที่สาคัญยิง่ และ จุดศูนย์ดุล (COG) ของฝ่ ายเรา

“การสนธิ OFF-IO กับ DEF-IO เข้ าด้ วยกันนั้น ต้ องอาศัยนักวางแผนที่


มองกิจกรรม IO เป็ นเสมือนเนื้อเดียวกัน จึงจะก่ อให้ เกิดและดารงไว้ ซึ่ง
INFORMATION SUPERIORITY”
23

การวางแผน IO
การปฏิบตั ิการ IO นั้น จะเป็ นการในลักษณะของ การปฏิบตั ิการ
บนพื้นฐานของผลกระทบ (EFFECT BASED OPERATIONS) คือการ
นาเอาผลกระทบสุ ดท้ายที่ตอ้ งการมาเป็ นตัวตั้ง แล้วจึงเลือกเครื่ องมือ/ขีด
ความสามารถ ต่างๆมาดาเนินการให้บรรลุผลดังกล่าวด้วยการปฏิบตั ิการ
IO ใน ๒ ลักษณะคือ IOเชิ งรุ ก และ IOเชิงรับ
๑.IOเชิ งรุ ก
จะช่วยสร้างและดารงไว้ซ่ ึ งความริ เริ่ มในการปฏิบตั ิการของฝ่ าย
เราด้วยการก่ อให้เกิ ด ความแตกต่ า งอย่า งเด่ นชัดระหว่า งคุ ณภาพของ
ข้อมูลที่เหนื อกว่าสาหรับฝ่ ายเรา และที่ดอ้ ยกว่าสาหรับฝ่ ายตรงข้าม ซึ่ ง
การได้เปรี ยบของฝ่ ายเราจะเกิดขึ้นได้ดว้ ยการสร้างผลกระทบต่อไปนี้
DESTROY (ทาลาย): การท าลายระบบการรบให้ เ กิ ด การ
สู ญเสี ยอย่างหนักจนไม่สามารถปฏิ บตั ิ หน้าที่ ตามพันธกิ จได้ หรื อต้อง
ได้รับการซ่อมสร้างใหม่ท้ งั หมดจึงจะกลับมาปฏิบตั ิหน้าที่ได้
DISRUPT (ขัดขวาง): การรบกวน, ขัดขวางการไหลผ่านของ
ข้อมูลข่าวสารระหว่างปมการสื่ อสารทาให้ฝ่ายตรงข้ามไม่สามารถปฏิบตั ิ
ภารกิจได้สาเร็ จ
DEGRADE (ลดประสิ ทธิภาพ): การใช้อาวุธไม่ทาลายล้าง หรื อ
เครื่ องมือที่ส่งผลชัว่ คราว เพื่อลดประสิ ทธิ ภาพ, ประสิ ทธิผลในระบบ C2
และระบบการรวบรวมข่าวสาร
26

การวางแผน IO เชิ งรุ กและเชิ งรับ นั้นมีท้ งั สิ้ น ๕ ขั้นตอน ซึ่ งจะแตกต่าง
กันอยูบ่ า้ งในรายละเอียดดังนี้

ขั้น เชิงรุ ก เชิงรับ


๑ กาหนดวัตถุประสงค์ IO กาหนดวัตถุประสงค์ IO
( IO OBJs) เชิงรับ ( DEF-IO OBJs)
๒ สร้าง กิจ/งานด้าน IO ที่ สร้าง กิจ/งานด้าน IO
ตอบสนองต่อวัตถุประสงค์ เชิงรับ
IO
๓ กาหนดเป้ าหมายของ IO กาหนดทรัพยากรที่ตอ้ ง
ได้รับการคุม้ กัน และ
วิเคราะห์เกณฑ์เสี่ ยง
๔ ระบุเครื่ องมือที่จะกระทา เลือกมาตรการคุม้ กัน และ
กิจ/งาน, สร้าง บัญชี ปม. แบ่งมอบกิจ
๕ ทบทวนความเหมาะสม เตรี ยมทาบัญชีการคุม้ กัน
หลักและทบทวน
ความเหมาะสม
28

การวางแผน IO ในการรบด้ วยวิธีรับ


IOจะช่วยเพิ่มขีดความสามารถของผบ.ในการดารงความริ เริ่ มที่
เหนือกว่าขศ.โดย IOช่วยในการทาลาย, ปฏิเสธ, รบกวน, ลวงและ ขยาย
ผลต่อกระบวนการแสวงข้อตกลงใจและ INFOSYS ของ ขศ
โดยมุ่งเน้น
- ท าลายขี ด ความสามารถขศ.ด้า นข่ า วสารด้ว ยการ
ทาลายทางกายภาพ ต่อ เครื่ องมือ/ปมการสื่ อสาร
- ลดประสิ ทธิ ภาพและประสิ ทธิ ผลระบบ C2ขศ.และ
กระบวนการรวบรวมข่าวสาร
- ป้ องกัน, ปฏิเสธ การรวบรวม/กระจายข้อมูลข่าวสาร
ของฝ่ ายเราจากขศ.
- ลวงกาลัง รบของขศ.ด้วยการชักจู ง ให้หลงทาง ผ่า น
2
ระบบ C ขศ.เอง

ข้อพิจารณาด้านข่าวกรองในการวางแผน IO
๑. ผลกระทบของ IE ต่อการสนับสนุนด้านข่าวกรอง
๒. การประสานของการปฏิบตั ิตามแผนIOกับการข่าวกรอง
๓. การวิเคราะห์การรับรู ้ของกลุ่มเป้ าหมาย
๔. ลาดับความเร่ งด่วนของการปฏิบตั ิ
29

ข้ อพิจารณาและกระบวนการในการวางแผน
การวางแผน IO นั้น ผู ว้ างแผนจะต้อ งมี ค วามเข้า ใจในเรื่ อ ง
ต่อไปนี้
- จุดศูนย์ดุล (CENTER OF GRAVITY: COG) การปฏิบตั ิการ
IO ก็เป็ นเช่นเดียวกับการปฏิบตั ิการทางทหารทัว่ ไป คือ จะมุ่งเน้นต่อการ
โจมตี COG ของฝ่ ายตรงข้าม และปกป้ อง COG ของฝ่ ายเรา ผูว้ างแผน
จะต้องเข้าใจว่า IO เป็ นเครื่ องมือ (TOOLS) ที่สามารถใช้ให้สอดคล้อง
กับการปฏิ บตั ิการอื่นๆ ให้เกิดผลกระทบอันจะนาไปสู่ ผลลัพธ์สุดท้ายที่
ต้องการ (END STATE) ดังนั้นผูว้ างแผนจึงต้องเข้าร่ วมในกระบวนการ
วางแผนทางยุทธการตั้งแต่ตน้ เพื่อให้ส ามารถทราบ/เสนอแนะข้อมู ล
COGในการปฏิบตั ิการได้โดยจะต้องวิเคราะห์ถึงองค์ประกอบทั้ง
CC: CRITICAL CAPABILITIES (ขีดความสามารถสาคัญยิง่ )
CR: CRITICAL REQUIREMENT (ความต้องการที่สาคัญ)
CV: CRITICAL VULNERABILITY (ความล่อแหลมที่สาคัญ)
27

การวางแผน IO ในการรบด้ วยวิธีรุก


IO เชิงรุ ก
ใช้ก ารผสมผสานทุ ก องค์ป ระกอบของ IOเพื่ อสร้ างสภาวะที่
เกื้อกูลต่อการขยายผลของฝ่ ายเรา เช่น
- ใช้ OPSEC, MILDEC, PSYOP, EW, และการยิง ใน
การสร้างอิทธิ พลต่อมโนภาพของขศ. เพื่อผลที่เกื้อกูลต่อการปฏิบตั ิแตกหัก
- ใช้ การ ปจว.ต่อหน่วยตั้งรับและ ทก., ใช้ การโจมตี
ทางอิเลคทรอนิกส์ (EA), การยิงสนับสนุนที่ทก. ขณะเดี ยวกันใช้กาลัง
รบ ลวงเมื่อขศ.หลงเชื่อจึงขยายผล
- OPSEC สาคัญต่อการสาเร็ จภารกิจผลโดยรวมจะทาให้
การตัดสิ นใจช้าลงและประสิ ทธิภาพลดลง
- ใช้ก ารยิง ทาลาย/ไม่ ทาลาย เพื่ อลดการตรวจการณ์ ,
การรายงานข่าวสาร, การสั่งการของกองหนุน, การยิงสนับสนุน
IO เชิงรับ
เพื่อรักษาประสิ ทธิ ภาพ C2 จากการโจมตีของ ขศ.จึงต้องมีแผน
IO เชิงรับที่ผสมผสานกับ EEFI ที่มีประสิ ทธิ ภาพ อย่างน้อยต้องกล่าวถึง
- ป้ องกันข้อมูลเรื่ องเวลาที่จะโจมตี
- ป้ องกันแผนดาเนินกลยุทธโดยเฉพาะอย่างยิง่ การ
ปฏิบตั ิแตกหัก
- ป้ องกันแผนการลวง
- ป้ องกันที่ต้ งั และการดารงอยู/่ C2ของกองหนุน
30

หลังจากนั้นจึงนามาออกแบบแนวความคิดในการปฏิบตั ิว่า จะเลื อกใช้


IO ในลักษณะใด ในแต่ละห้วงของการปฏิบตั ิการ
ลักษณะการปฏิบตั ิการทางทหารในปัจจุบนั

ผูว้ างแผน IO จะต้องทราบถึ ง ภารกิจและ END STATE ของ


หน่วยเรา/หน่วยเหนือ แล้วต้องวิเคราะห์ให้ได้วา่ การปฏิบตั ิภารกิจครั้งนี้
IO จะมีส่วนช่วยได้อย่างไร (HOW IO HELP?) ทั้ง ก่อน-ระหว่าง-หลัง
การปฏิบตั ิการ
ผลลัพธ์ที่ได้คือ “แนวความคิดในการสนับสนุ น ด้าน IO (IO
CONCEPT OF SUPPORT)” ตามแนวทางในการปฏิบตั ิที่ได้รับจาก ผบ.
แล้วนาไปสู่ การวิเคราะห์ภารกิจด้าน IO ในรู ปแบบของ
32

แนวทางในการกาหนดเป้ าหมาย IO
จะดาเนินการตามเจตนารมณ์และวิสัยทัศน์ ของ ผบ.หน่วยที่ให้ไว้
เพื่อระบุถึงผลกระทบทางยุทธการ และ IO ที่ตอ้ งการ โดยอาศัยผลที่ได้
จากการวิเคราะห์ IE มาประกอบว่าจะโจมตีต่อ
๑. ผบ.และผูต้ กลงใจหลัก/กลุ่มเป้ าหมาย
๒. ระบบการตกลงใจ และกระบวนการที่เกี่ยวข้อง
๓. ระบบข้อมูลข่าวสาร (INFOSYS) อย่างไร เพื่อให้บรรลุภารกิจ
ชุดกาหนดเป้ าหมาย
นาโดย เสธฯ/รอง ผบ.มีหน้าที่ในการกาหนดว่า
- ปม.ใด จะถูกโจมตี ที่ไหน, เมื่อไร, อย่างไรหลังจากนั้นจึง
- ดาเนิ นการแบ่งมอบ ปม.ให้กบั ระบบที่เห็ นว่า เหมาะสมและ
สามารถท าให้ บ รรลุ ผ ลกระทบที่ ต้อ งการมากที่ สุ ด ขั้น ต่ อ ไปคื อ การ
ออกแบบความประสานสอดคล้องและขั้นการปฏิบตั ิการในภาพรวม ว่า
IO จะสัมพันธ์กบั การปฏิบตั ิการอื่นๆอย่างไร
33

การส่ งผ่านข้อความ (MESSAGE) ไปยังกลุ่มเป้ าหมาย (TA) ก็มี


ความสาคัญ ผูว้ างแผนจึงต้องวางแผนการเผยแพร่ ตามช่ องทางในการ
รับรู ้ของแต่ละ TA ในรู ปแบบและระยะเวลาที่เหมาะสม

สรุ ป
การวางแผน IO ก็เป็ นอีกปั จจัยหนึ่ งที่สาคัญยิ่งต่อความสาเร็ จใน
การปฏิบตั ิการข่าวสาร ในการปฏิบตั ิการข่าวสารนั้นจะใช้การวางแผน
ในลัก ษณะของ การปฏิ บ ัติ ก ารบนพื้ น ฐานของผลกระทบ (EFFECT
BASED OPERATIONS) คือ การมองย้อนกลับว่า สภาวะผลลัพธ์สุดท้าย
ที่เราต้องการ (END STATE) นั้น ต้องการให้เป้ าหมายอยู่ใ นสภาวะ
เช่ นใด แล้วจึ ง นามาวางแผนปฏิ บ ัติ ก ารเพื่ อให้เกิ ดผลกระทบที่ ท าให้
31

กิจเฉพาะ/กิจแฝง/กิจสาคัญยิง่ ด้ าน IO เพื่อให้ได้ ภารกิจด้ าน IO


(IO MISSION) และ วัตถุประสงค์ IO (IO OBJECTIVES) ต่อไป

เมื่อแนวความคิดนี้ ได้รับอนุ มตั ิแล้ว จะนาไปสู่ การพัฒนา “แนว


เนื้ อ หา (THEME)” และ “ข้ อ ความ (MESSAGE) ในรู ป แบบต่ า งๆ”
เพื่ อ ส่ งผ่ า นผลผลิ ต ที่ ไ ด้ รั บ การอนุ ม ั ติ แ ล้ ว ไปยัง “กลุ่ ม เป้ า หมาย
(TARGET AUDIENCES: TA) ต่อไป
34

เป้ าหมายอยู่ในสภาวะที่เราต้องการ ดังนั้นการที่จะกาหนดแผนงาน IO


ออกมาได้ น้ ั น ผู ้ ว างแผนมี ค วามจ าเป็ นอย่ า งยิ่ ง ที่ จ ะต้ อ งเข้ า ใจ
องค์ประกอบ/ปัจจัย/ตัวแสดงต่างๆ ในสภาพแวดล้อมของการปฏิบตั ิการ
เสี ย ก่ อ น จึ ง จะสามารถวิ เ คราะห์ ไ ด้ว่า องค์ป ระกอบต่ า งๆเหล่ า นั้น มี
อิทธิ พล/ส่ งผลกระทบต่อ การสาเร็ จภารกิจของเรามากน้อยเพียงใด แล้ว
จึงจะกาหนดออกมาเป็ น แนวความคิดในการปฏิบตั ิการข่าวสาร เพื่อการ
เลือกใช้เครื่ องมือและกาหนด กิจ/งานให้กบั ผูป้ ฏิบตั ิได้ดงั นั้น อย่างน้อย
ที่สุดผูว้ างแผนจะต้องเข้าใจถึง ผลลัพธ์สุดท้ายที่ตอ้ งการ(END STATE)
ของภารกิจ, เจตนารมณ์ของ ผบ. ข้อห้าม/ข้อบังคับ, เครื่ องมือ IO ที่มี, ขีด
ความสามารถ/ขีดจากัดของแต่ละเครื่ องมือ, ประเด็นที่ตอ้ งเฝ้าระวัง, ฯลฯ
ดังนั้นแหล่งข่าวในทุกระดับจึงมีความสาคัญยิง่
36

ทั้ ง ๓ ระดั บ นี้ ล้ ว นสั ม พั น ธ์ เ กี่ ย วเนื่ องกั น และส่ งผลต่ อ


ความสาเร็ จภารกิจของ IO ทั้งสิ้ น เริ่ มจากระดับผู้มอบนโยบายที่จะต้อง
เป็ นผูก้ าหนด กรอบ/ขอบเขตของการปฏิ บ ัติก าร, END STATE,
เจตนารมณ์, ทิศทางในการดาเนินการ, การกากับดูแล/ประเมิน/ปรับแก้
แล้ ว จึ ง ส่ งข้ อ มู ล เหล่ า นี้ ไปยัง ระดั บ ผู้ วางแผน เพื่ อ ก าหนดเป็ น
แนวความคิดในการปฏิ บตั ิ การด้านข่าวสาร อันจะแปลงไปสู่ กิจ/งาน,
แผนการดาเนิ นการในรายละเอียด, และเฝ้ าติดตาม/ปรับแก้การปฏิ บตั ิ
ของหน่ วยรอง ตลอดจนประเมิ นสภาวะแวดล้อม/วิเคราะห์ แนวโน้ม
ความเป็ นไป และประสานสอดคล้ อ งการปฏิ บ ัติ ใ ห้ เ ป็ นไปตาม
เจตนารมณ์ของผบ.ที่ให้ไว้เพื่อให้บรรลุภารกิจ
37

และในส่ วนสุ ดท้ายคือ ระดับผูป้ ฏิบตั ิการ ที่จะต้องมีความเข้าใจ


อย่างชัดเจนถึ งเจตนารมณ์ และEND STATE ของหน่วยเหนื อ และเมื่อ
ได้รับ มอบงาน/กิ จ ไม่ ว่า จะมาในรู ป แบบของ คาสั่ ง แบบมอบภารกิ จ
(MISSION TYPE ORDER) หรื อ แบบมอบพันธกิจ/ตามประเภทของ
งาน (FUNCTIONAL TYPE ORDER) ก็ตอ้ งสามารถแปลงไปสู่ การ
ปฏิ บ ตั ิ ใ ห้เหมาะสมกับ สภาพแวดล้อมย่อยๆของตนได้ ทั้ง นี้ ย งั ต้องมี
ความสามารถในการริ เริ่ มด้วยตนเอง ภายในกรอบแนวทางที่กาหนดได้
อีกด้วย เพื่อให้บรรลุผลตามประสิ ทธิ ภาพที่หน่วยเหนือต้องการ

สรุ ป
จะเห็ นได้ว่า ความส าเร็ จ ของการปฏิ บ ัติ ก ารข่ า วสารนั้น มิ ไ ด้
ขึ้นอยูก่ บั ระดับใดระดับหนึ่งเท่านั้น แต่ตอ้ งอาศัยองค์ความรู ้ ความเข้าใจ
และขีดความสามารถในการปฏิบตั ิการด้าน IO ของทุกๆระดับที่ไปใน
ทิศทางเดี ยวกัน รวมทั้งขีดความสามารถในการปรับเปลี่ ยนและบริ หาร
จัดการที่มีเสรี ตามสมควร ของหน่วยในแต่ละระดับอีกด้วย
35

เจ้ าหน้ าที่และองค์ กรด้ านIO


ในการปฏิ บ ั ติ ก าร IO นั้ น ฝ่ ายยุ ท ธการ (สธ.๓) จะเป็ น
ผูร้ ับผิดชอบทาง ฝอ.ในการประสานงานด้าน IOทั้งปวง
IO Cell (ส่ วน IO):ตั้งอยูใ่ นทก.หลัก, เป็ นที่รวมของตัวแทนจาก
องค์กรต่างๆที่รับผิดชอบแต่ละองค์ประกอบของ IO
หน้า ที่ ห ลัก .- ประสานสอดคล้องกิ จ กรรม IO ทั้ง ปวง ตลอด
กระบวนการปฏิบตั ิการ รวมทั้งการกาหนด ปม. IO ประสานงานและ
ประกันความสอดคล้องของ IO OBJs และ กิ จระหว่างหน่วยเหนื อและ
หน่วยรอง
IOWG (คณะทางานIO): เป็ นที่รวม จนท. IO และ จนท.IOจาก
หน่วยเหนื อ, หน่วยรอง, หน่วยที่เกี่ยวข้องในภาพรวมแล้ว กระบวนการ
ปฏิ บตั ิ ก ารข่ าวสารนั้น มักจะประกอบไปด้วยผูเ้ กี่ ย วข้องอย่างน้อย ๓
ระดับคือ
๑.ระดับผูม้ อบนโยบาย (ผูบ้ งั คับบัญชา)
๒.ระดับผูว้ างแผน (ฝ่ ายอานวยการ)
๓.ระดับผูป้ ฏิบตั ิการ (หน่วยปฏิบตั ิ)
38

IO กับการแสวงข้ อตกลงใจทางทหาร
การปฏิบตั ิการข่าวสารกับการแสวงข้อตกลงใจทางทหารนั้น
มีขอ้ พึงระลึกดังต่อไปนี้
- วิสัยทัศน์ IO ควรรวมอยูใ่ นแนวทางในการวางแผนขั้นต้น
โดยจะให้เป็ นส่ วนหนึ่งในแนวความคิดโดยรวม หรื อ แยก
ต่างหากก็ได้
- ต้องบรรจุมอบผูว้ างแผน IOเข้าเป็ นส่ วนหนึ่งใน
คณะกรรมการประสานงานบัญชีเป้ าหมายร่ วม (JTCB)
- การวางแผน IO ต้องเริ่ มต้นตั้งแต่ข้ นั แรกสุ ดและเป็ นส่ วนหนึ่ง
ของการวางแผนปฏิบตั ิการโดยรวมเพราะ IO มักจะปฏิบตั ิการ
ก่อนและเห็นผลได้ชา้ และควรนาIOมาใช้ในทุกขั้นการปฏิบตั ิ
- การกาหนดวัตถุประสงค์IOต้องสนธิ เข้าเป็ นส่ วนหนึ่ง/เพื่อ
สนับสนุนต่อวัตถุประสงค์ของภารกิจโดยรวม
- ต้องเตรี ยมการล่วงหน้าแต่เนิ่นและ มีการกาหนดผูม้ ีอานาจใน
การอนุมตั ิ, ผูม้ ีอานาจในการปฏิบตั ิที่ชดั เจน
- ต้องพิจารณาเงื่อนไขทางกฎหมายด้วยเสมอ
- กล่าวถึงว่า IO มีส่วนร่ วมอย่างไรในการที่จะทาให้บรรลุ
ภารกิจในภาพรวม
- แบ่งมอบ กิจ IO ให้กบั หน่วยต่างที่กาหนดเพื่อนาไปปฏิบตั ิ
- ประสานสอดคล้องการปฏิบตั ิกิจ IO ทั้งปวง
- อธิ บายว่า ผบ. จะประเมินผลลัพธ์ IO อย่างไร
40

ขั้นการพัฒนา หป.
- ทบทวน การวิเคราะห์ภารกิจและแนวทาง IO จากหน่วยเหนือ
- ให้หนทางเลือก IO เพื่อตอบคาถามต่อไปนี้
- กิจ IO ใดบ้างที่ตอ้ งบรรลุ
- ใคร(หน่วยใด)ทากิจใด
- เมื่อใดที่กิจ IO จะเกิดขึ้น, เกิดขึ้นที่ไหน
- การปฏิบตั ิของแต่ละหน่วยส่ งผลต่อภาพรวมอย่างไร
- หน่วยจะใช้ขีดความสามารถด้าน IO ให้บรรลุกิจ
ต่างๆได้อย่างไร
- หนทางเลือก IO ควรจะ เป็ นไปได้, ยอมรับได้, แตกต่าง,
สมบูรณ์
- ประสาน กฎการใช้กาลัง (ROE) กับ นธน. และ สธ. 3
- เสนอหนทางเลือก การควบคุมบังคับบัญชา สาหรับ IO
- ร่ วมทา คาสัง่ เตรี ยม(WARNO) หากจาเป็ น

ขั้นการวิเคราะห์/เปรี ยบเทียบ หป.


- การกาหนดปั จจัยเปรี ยบเทียบ
- เจตนารมณ์หน่วยเหนื อ
- เจตนารมณ์ ผบ.
- ปั จจัยสาคัญที่เกี่ยวข้องกับภารกิจ
- ปั จจัยสาคัญของแต่ละสายงาน
41

- หลักการสงคราม
- พิจารณา หป. ที่มีความเป็ นไปได้มากที่สุดในการ
บรรลุภารกิจ
ขั้นการตกลงใจเลือก หป.
- บรรยายสรุ ปในหัวข้อ
- สถานการณ์ ขศ./ ฝ่ ายเรา
- สถานการณ์ ภารกิจ, เจตนารมณ์ ผบ.หน่วยเหนือ/
ผบ.หน่วยเรา
- ข้อมูล สมมุติฐาน, ข้อห้าม, COG ที่เปลี่ยนแปลงไป
- ภาพร่ าง/ข้อความ หป.
- ผลจากการวาดภาพการรบ
- การเปรี ยบเทียบ
- หป. ที่เสนอ และบรรยายให้ ผบ.
- เตรี ยมเอกสารประมาณสถานการณ์ให้ ผบ.
สรุ ป
ฝ่ ายเสนาธิ การที่รับผิดชอบด้าน IO จะเป็ นเสมื อน ฝ่ ายกิ จการ
พิเศษอีกสายงานหนึ่ ง ที่มีความรับผิดชอบในการแสวงข้อตกลงใจใน
สายงานของตน และเป็ นส่ วนหนึ่ งในกระบวนการแสวงข้อตกลงใจโดย
ส่ วนรวมของหน่วยด้วย
39

ในระหว่ า งก ระ บวนก ารแส วงข้ อ ตก ลงใจงาน IO จะ


เปรี ยบเสมือนฝ่ ายกิ จการพิเศษอีกสายงานหนึ่ งด้วยดังนั้น เจ้าหน้าที่ IO
จะต้องมีการทาประมาณการ IO อย่างต่อเนื่อง และเข้าร่ วมในทุกขั้นตอน
ของกระบวนการวางแผน และมีการดาเนิ นงานในส่ วนของ IO ในแต่ละ
กลุ่มงานดังนี้

ขั้นการวิเคราะห์ภารกิจ
- พิจารณาข้อเท็จจริ ง, สถานภาพ, ประเมินขีดความสามารถ IO
- กาหนดสมมุติฐาน
- วิเคราะห์ เจตนารมณ์ , ภารกิจ ด้าน IO ของหน่วยเหนื อ
- วิเคราะห์ ข้อจากัด, ข้อห้าม
- ร่ วมในกระบวนการ IPB วิเคราะห์ COG เรา-ขศ., จุดแตกหัก
ด้าน IO
- ร่ วมวิเคราะห์กิจต่างๆด้าน ISR, ความต้องการโครงสร้าง
หน่วย IO
- พิจารณา IO OBJ., END STATE, RISK
- จัดทารายการทรัพยากรที่สาคัญยิง่
- เสนอข้อพิจารณา IO ในการบรรยายสรุ ปวิเคราะห์ภารกิจ
42

วงรอบการทางาน IO
ในการท าIOนั้น ผบ.หน่ วยทุ ก ระดับ จะเป็ นผูร้ ั บ ผิดชอบ โดย
มีฝสธ.ที่กาหนดขึ้ นเฉพาะเป็ นผูร้ ั บผิดชอบทางฝ่ ายอานวยการ สาหรั บ
หน่ วยของสหรัฐฯจะจัดตั้งสธ.7 (IO) ขึ้นมา หากหน่ วยขนาดเล็กหรื อที่
ไม่ได้จดั สธ.7 จะให้ ฝยก.(สธ.3)รับผิดชอบ เพราะ IO จะสนับสนุนงาน
ยก.จึงต้องอาศัยกรอบแนวคิดเดียวกันจึงจะเสริ มกันได้ โดยมีส่วนIO (IO
CELL)ที่อยู่ในทก.หลัก เป็ นผูก้ าหนดแนวคิด ปม. วัตถุ ประสงค์IO (IO
OBJ) และประสานสอดคล้องการดาเนินการ IO ทั้งปวงกับทุกส่ วน และ
จะมีการประชุมคณะทางาน IO (IO WORKING GROUP: IOWG) โดย
เรี ยกผูแ้ ทนหน่ วยรองและส่ วนต่างๆที่ เกี่ ยวข้องมาร่ วมตามวงรอบหรื อ
กรณี เ ร่ งด่ ว น IOWG มัก จะประกอบด้ ว ย:น.ปจว.,น.ปชส.,น.
กร.,น.ขว.,น.ยก.,ผูแ้ ทน/จนท.อื่นๆ และจะมีหน้าที่ วางแผนการประสาน
สอดคล้อ งงานIOทั้ง ปวง ตามนโยบายผบ. และก าหนด แนวเนื้ อ หา
(THEME) ตามนโยบาย/แนวทางวางแผนของผบ.โดยมี วงรอบการ
ทางานดังนี้

วงรอบการทางาน IO

ฝ่ ายติดตาม ฝ่ ายวิเคราะห์ /วางแผน ฝ่ ายผลิต ฝ่ ายเผยแพร่


ข้ อมูล

เครื่ องมือที่มีอยู่
44

ด่วนต่อฝ่ ายวิเคราะห์เพื่อการตอบสนอง/ขยายผลได้ทนั ท่วงทีไม่ตอ้ งรอ


ฝ่ ายติ ด ตามข้อ มู ล อัต ราการจัด ในฝ่ ายต่ า งๆนั้น จะไม่ แ น่ น อนตายตัว
เพราะเป็ นการแบ่งตามพันธกิจ และบุคคลหรื อหน่วยใดๆก็สามารถเป็ น
เครื่ องมือ (ASSET) หนึ่งของ IOWG ก็ได้ ยกเว้นฝ่ ายวิเคราะห์/วางแผน
ที่ ต้องมี จนท.เฉพาะและอยู่ป ระจา จะเห็ น ได้ว่า IOWGมี ห น้าที่ เป็ นผู ้
กาหนดทิศทาง นโยบาย IOเท่านั้น มิใช่ผปู ้ ฏิบตั ิเอง แต่จะส่ งมอบผลผลิต
ต่างๆเหล่านี้ ไปยังหน่ วยรองทั้งในรู ปแบบของคาสั่ง-นโยบายตามพันธกิ จ
(FUNCTIONAL TYPE ORDER) เช่น ผนวก กรอบการดาเนิ นงานด้าน
ป จ ว . เ ป็ น ต้ น ห รื อ อ า จ ใ ช้ ค า สั่ ง แ บ บ ม อ บ ภ า ร กิ จ ( MISSION
TYPEORDER) คือ 5W ตามปกติก็ได้ โดยอาจเป็ นในรู ปแบบของ กิ จ
เฉพาะหรื อตารางประสานสอดคล้อง (ผนวก ข ตัวอย่ างตารางประสาน
สอดคล้อง)

สรุ ป
ฝ่ ายวิเคราะห์และวางแผนจะเป็ นหัวใจหลักในการดาเนิ นงาน
ด้าน IO เพราะเป็ นส่ วนที่แปลงเจตนารมณ์/แนวทางของ ผบ.และหน่วย
เหนือ ไปสู่ การปฏิบตั ิ และต้องควบคุม กากับดูแล ประเมินผลการปฏิบตั ิ
รวมทั้งปรับแก้ และตอบโต้ต่อสถานการณ์ ได้อย่างทันท่วงที ในหน่ วย
ระดับเล็ก อาจเป็ นแค่ คนๆเดี ยวก็ได้ และการปฏิบตั ิ ในภาพรวม อาจมี
บุคคล/ส่ วนอื่นๆ ที่ไม่ใช่ทหารเข้ามาร่ วมอยูด่ ว้ ยก็ได้
45

IO ในการต่ อสู้ กบั การก่ อความไม่ สงบ


การปฏิ บ ัติ ก ารทางทหารในปั จจุ บ ัน ต้อ งเกี่ ย วข้องกับ การก่ อ
ความไม่สงบอยูเ่ สมอ ไม่ว่าจะเป็ นในพื้นที่ จังหวัดชายแดนภาคใต้ หรื อ
การชุ มนุ มต่าง ในส่ วนต่อไปนี้ จะมุ่งเน้นการปฏิบตั ิงานในพื้นที่ จังหวัด
ชายแดนภาคใต้เป็ นหลัก
การเลือกใช้เครื่ องมือ IOใดนั้นขึ้นอยูก่ บั OE ในขณะนั้นเพราะ
อาจมี ขอ้ จากัดทางกฎหมาย เช่ น ในสภาวะปกติ -ไม่ปกติ -ยามสงคราม
ที่บางขีดความสามารถทาได้ บางขีดความสามารถทาไม่ได้ โดยปกติแล้ว
ในการปปส.เรามักจะใช้ IOในลักษณะของ SOFT POWER คือ
เป็ นการต่อสู ้ดว้ ย ถ้ อยคา, สั ญลักษณ์ , แนวความคิด ซึ่งเป็ น
กระบวนการที่ดาเนินการไปอย่างต่อเนื่ อง และมีการพัฒนาอยูต่ ลอดเวลา
ตามสภาพการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป เช่นเดียวกับการปฏิบตั ิการรบใน
รู ปแบบอื่นๆ
ลักษณะเฉพาะของการปฏิบตั ิการในสถานการณ์การก่อความไม่สงบ (คมส.)
- ความปลอดภัยของประชาชน(ปชช.)สาคัญที่สุด
(ฝ่ ายตรงข้ามใช้ความกลัวเป็ นอาวุธ)
- HUMINT (ข่าวกรองทางบุคคล) ดีที่สุดและข่าวสารต้องทันเวลา
( ฝ่ ายตรงข้าม พยายามปิ ดกั้น)
- เส้นแบ่งระหว่างปชช.กับผูก้ ่อความไม่สงบ(ผกมส.)ไม่ชดั เจน
(ฝ่ ายตรงข้ามแสวงประโยชน์เต็มที่)
- ผกมส.ปฏิบตั ิการแบบเครื อข่ายต้องเอาชนะด้วยการปฏิบตั ิการแบบ
43

- ฝ่ ายติดตามข้ อมูล: คือจนท.รวบรวมข่าวสาร ประเด็นต่างๆในทุกมิ ติ


ของสภาพแวดล้อมในการปฏิบตั ิการ(OE)
- ฝ่ ายวิเคราะห์ /วางแผน: คือหัวใจของIOWG มีหน้าที่ วิเคราะห์OEด้าน
การข่าวอย่างละเอียด เพื่อให้ทราบสถานภาพในปั จจุบนั , ระบุIO OBJ,
ก าหนดIOรุ ก -รั บ ,THEME,ประเด็ น สนทนา(TALKING POINTS),
แนวโน้มในอนาคต,ประเด็นที่ตอ้ งเน้น(THEME TO STRESS), ประเด็น
ที่ควรหลีกเลี่ยง(THEME TO AVOID), ประเด็นอ่อนไหว(SENSITIVE
ISSUES),การตอบโต้สถานการณ์ เร่ งด่ วน,โอกาสขยายผล, จุ ดอ่อน,
ประเด็นที่ ผบ.จะแถลงข่าว, คาถามที่น่าจะถูกถาม, คาตอบ/การหลีกเลี่ยง
,ฯลฯ เมื่อฝ่ ายวิเคราะห์/วางแผนกาหนด OBJ, THEMEออกมาแล้ว จะ
ส่ งให้กบั ฝ่ ายผลิตเพื่อผลิตสื่ อในรู ปแบบต่างๆที่สามารถ เข้าถึงTA และ
เกิ ดผลกระทบที่ ต้องการได้ดี ที่ สุ ด (อาจว่า จ้า งเอกชนก็ ไ ด้) หรื อ อาจ
ดาเนินการผลิตเองหากได้รับการบรรจุมอบเครื่ องมือไว้ในความควบคุม
- ฝ่ ายผลิต: ผลิตสื่ อในรู ปแบบของข้อความ (MESSAGE) ตาม THEME
ที่ ไ ด้รั บ โดยอาศัย ความช านาญทางเทคนิ ค การสื่ อ สารมวลชนและ
การตลาด ทั้ง นี้ ต้อ งอยู่ ใ นกรอบข้ อ ห้ า ม/ข้อ บัง คับ ที่ ร ะบุ ไ ว้ (ถ้ า มี )
- ฝ่ ายเผยแพร่ : เผยแพร่ ผลผลิ ตสื่ อที่ เป็ นข้อความ (MESSAGE) ไปยัง
กลุ่ ม ปม. ทั้ง โดยทางตรงและทางออ้ม เพื่ อให้เข้า ถึ งและได้รั บความ
น่ าเชื่ อถื อของเนื้ อความนั้นๆ ในบางครั้ งฝ่ ายผลิ ตอาจเป็ นฝ่ ายเผยแพร่
ด้วยก็ได้ เมื่ อเผยแพร่ ไปแล้วต้องมี การประเมิ นผลที่ ได้(ผลกระทบต่ อ
TA/ ประสิ ทธิภาพของสื่ อ) อยูต่ ลอดเวลาหากมีกรณี เร่ งด่วน อาจรายงาน
46

เครื อข่าย (ทั้งด้านการปฏิบตั ิการและการข่าว)


- รบไม่เป็ นแนว, ตัวแสดง (ACTOR) หลากหลาย, ระดับอิทธิพลของ
ผลกระทบต่อกลุ่มปม. (TARGET AUDIENCES:TA)ต่างกัน
- ความหลากหลายของปชช.ในพื้นที่ปฏิบตั ิการ (AO) ต่างกัน
(ฝ่ ายตรงข้ามใช้เป็ นเงื่อนไข-ขยายผล)
- ต้องการองค์กรที่เป็ นศูนย์กลางในการตกลงใจ
(ฝ่ ายตรงข้ามขยายผลจากความล่าช้า/ไม่เข้าใจ/ไม่มีเอกภาพ)
- การใช้กาลังในรู ปแบบของกกล.อิสระขนาดเล็กที่คล่องตัว, มีอานาจ
กาลังรบที่เพียงพอ, มีการสนับสนุนซึ่ งกันและกัน
(ฝ่ ายตรงข้ามอาศัยจุดอ่อนที่ฝ่ายรัฐมีเครื่ องมือไม่พอ,ไม่ต่อเนื่อง,
ใช้ยทุ ธวิธี-หลักนิยมแบบเดิมๆ (ตายตัว), ขาดอานาจในการตัดสิ นใจ)

ต้องมีความชัดเจนในเรื่ องต่อไปนี้
1. เป้าประสงค์/ผลลัพธ์สุดท้ายที่ตอ้ งการ (END STATE)
คืออะไร
2. สภาพแวดล้อมในการปฏิบตั ิการ (OE) โดยรวม/ย่อย ทั้งทาง
ยุทธการและทางการข่าว (IE)
3. บทบาท, แนวคิด, ทัศนคติ ของแต่ละ ACTOR ความเชื่อมโยง
, ระดับของอิทธิพล
4. กลุ่มเป้ าหมายที่แตกต่างกัน
48

รวมทั้งต้องเข้าใจถึงปมสาคัญ(NODE) และความเชื่อมโยง (LINK) ใน


ทุกระดับทั้ง ยศ., ยก.,ยว.

และเนื่องจากปั ญหาการก่อความไม่สงบนั้นมีปัจจัยหลักก็คือคน
ดั ง นั้ นการวิ เ คราะห์ ก ลุ่ ม เป้ าหมาย(TARGET AUDIENCES
ANALYSIS) ออกเป็ นกลุ่ มย่อยต่างๆเพื่อให้เข้าใจบริ บทโดยรวมอย่าง
ถ่องแท้จึงมีความสาคัญยิง่
49

กลุ่มเป้ าหมาย
ศาสนา เผ่าพันธุ์
เชื้อชาติ
ความเชื่อ

การศึกษา
กลุ่มเป้ าหมาย ฐานะทางสังคม

สื่ อต่างๆ
รายได้ เป้ าประสงค์

ปั จจัยอื่นๆ ใคร, อะไรบ้ าง ที่ส่งผลต่อ ทัศนคติ, พฤติกรรม

หลังจากนั้นจึงมาจัดเป็ นกลุ่มต่างๆเพื่อให้สะดวกในการดาเนินการ
47

กระบวนการแสวงข้ อตกลงใจกับ IO ในการ ปปส.


ขั้นการวิเคราะห์ ภารกิจ
ผูว้ างแผนจะต้องทราบถึง สภาพแวดล้อมในการปฏิบตั ิ การ(OE)
และด้านข่าวสาร (IE) โดยเฉพาะอย่างยิ่งในด้านภู มิสังคม เพื่อให้เกิ ด
ความเข้า ใจในรากเหง้า และปั จจัย ต่ า งๆที่ ก่อให้เกิ ดปั ญหา เพื่ อนาไป
กาหนดแนวทางแก้ไข

และต้องเข้าใจธรรมชาติที่ แท้จริ ง ในมิ ติต่างๆของปั ญหาและ


พื้นที่ปฏิบตั ิการ
50

หัวใจในการ ปปส.นั้นคือการแย่งชิงมวลชนดังนั้นผูว้ างแผน IO จึงต้องมี


ความเข้าใจในเรื่ อง กระบวนการสร้างทัศนคติของมนุษย์ดว้ ย

กระบวนการสร้ างทัศนคติของมนุษย์

จะเห็ นได้ว่าการสร้ างทัศนคติต่อกลุ่มเป้ าหมายนั้น หากกระทา


ตั้ง แต่ ว ยั เด็ ก จะสามารถกระท าได้ง่ า ยกว่า เพราะ มี ชุ ด ความคิ ด หรื อ
ทัศนคติพ้นื ฐานที่ไม่แข็งแรงนัก สามารถถูกโน้มน้าว/ชักจูงได้ง่ายกว่า

กระบวนการรับรู้ ของมนุษย์
กระบวนการรับรู ้น้ นั สามารถแบ่งได้กว้างๆ ๒ แบบคือ
๑.การรั บ รู้ โดยอั ต โนมั ติ ซึ่ งจะแปลความโดยไม่ ต้ อ งผ่ า น
กระบวนการคิด คือรับรู ้และแปลความในทันที ทาให้ซึมซับข้อมูลโดย
ไม่รู้ตวั ซึ่ งเป็ นแบบที่พึงประสงค์ที่สุด เพราะการทางาน IO นั้นจะต้อง
52
53

เป้าประสงค์หลักของงาน IOในการ ปปส.


- การให้ความร่ วมมือของกลุ่มปม. (ปชช.)ทั้งในระดับ ยว.
และ ยก.
- ให้ ปชช. ไว้ใจ, เชื่อมัน่ (WIN HEART AND MIND) ได้รับการ
ยอมรับ/เคารพ ในบทบาทและหน้าที่
IO จะใช้ขีดความสามารถต่างๆ ช่วยแก้ปัญหาใน ๒ ลักษณะคือ
๑.ช่วยสนับสนุนการ ปฏิบตั ิการอื่นๆ
๒.ให้บรรลุ เป้าหมายของ IO เอง

ขั้นพัฒนา หนทางปฏิบัติ
51

อาศัยความแนบเนี ย นในการดาเนิ นการ เพื่อให้เป้ าหมายโน้มเอีย งไป


ตามที่เราต้องการและลดความรู ้สึกต่อต้าน
๒.การรั บ รู้ ที่ ผ่ า นวิ จ ารณญาณ คื อ เป็ นการรั บ เอาชุ ด ข้อ มู ล
ข่าวสารที่ ได้รับเข้า สู่ ก ระบวนการคิ ด แล้วเที ยบเคี ย งโดยวิจารณญาณ
หรื อชุ ดความคิ ดเดิ ม ที่ มี อยู่ แล้วจึ ง เกิ ดเป็ นการรั บ รู ้ และทัศ นคติ ใ หม่
ดังนั้น ชุดข้อมูล IO จึงต้องการข้อมูลที่มีน้ าหนัก น่าเชื่อถือ จึงจะสามารถ
สร้างผลกระทบตามที่ตอ้ งการได้
การวิเคราะห์ ฝ่ายตรงข้ าม
ในการวิเคราะห์ฝ่ายตรงข้ามกระทาเพื่อให้ทราบถึ ง เป้ าหมาย
หนทาง ขีดความสามารถ และธรรมชาติของฝ่ ายตรงข้าม เช่น
-OBJ, END STATEของฝ่ ายตรงข้ามคืออะไร
- หนทางสู่ ความสาเร็ จ
- ต้องอาศัยปัจจัย/เงื่อนไขใดบ้าง : ตรง, อ้อม
- EFFECT ต่อแต่ละ TA : ฉับพลัน, สั้น, ยาว
- แรงจูงใจ
หากเราใช้มุมมองเชิ งระบบต่อการวิเคราะห์ภารกิจจะได้รายละเอียดตาม
ภาพต่อไปนี้
54

ข้อพิจารณาที่สาคัญในการพัฒนา หป.
- นโยบาย, เจตนารมณ์ ผบ.
- เลือก เส้นปฏิบตั ิการ: จะปฏิบตั ิเส้นใดบ้าง/อย่างไร?
- ปฏิบตั ิเพื่อภารกิจ IO เองสนับสนุนเส้นปฏิบตั ิการอื่น
- จะกระทาต่อ TAใด? เมื่อใด?
- รุ ก: จังหวะเวลา/โอกาส
- รับ: แก้ดว้ ยอะไร?/อย่างไร?
- เลือกใช้เครื่ องมือให้เหมาะสม
- IO ต้องปฏิบตั ิร่วมกับการปบ.อื่นๆ
- ไปในทิศทางเดียวกัน
- อาจเป็ นPACKAGE(ชุดกิจกรรม)ต่อแต่ละ พท.,TA, เวลา/
TIMING, เครื่ องมือ
- การประสานสอดคล้อง/การจัด PRIORITY(ความเร่ งด่วน)
- แปลงIO OBJ.ไปสู่ THEME(ร่ าง),ชุดMESSAGEประกอบ
- สนองOBJ.เราเอง/หน่วยเหนื อ
- เลือก CHANNEL (ช่องทาง) ที่จะใช้: หลัก, รอง, เสริ ม
- ระบุตวั ชี้วดั EFFECT INDICATORS
- กาหนดเครื่ องมือ, มาตรการในการประเมินผล แต่ละTHEME ต่อ
แต่ละ OBJ.
- ชุด TALKING POINTS (ประเด็นสนทนา)ที่เสนอ เพื่อก้าวไป
ข้างหน้า, บริ หารเงื่อนไข: ขจัด, จากัด, ป้ องกัน
56

ขั้นการวิเคราะห์ หป.
ข้อพิจารณาที่สาคัญในการวิเคราะห์ หป.
- วิธีใดเกิดประสิ ทธิ ภาพสู งสุ ด
- PACKAGEใดเกิดประสิ ทธิ ภาพสู งสุ ด
- TIMING?, PRIORITY?
- ผลกระทบระดับต่อๆไป(3rd,4th EFFECTS)
- เทียบกับประสบการณ์ : เรา, หน่วยอื่น, พท.อื่น
- โอกาสใดบ้างที่ จะขัดแย้งกัน/ประเด็นใด
- การขจัดความไม่สอดคล้องกัน
- มาตรการประเมิน/รองรับเกณฑ์เสี่ ยง
- รปจ.ที่รองรับแต่ละกิจกรรม เช่น การปิ ดล้อม/ตรวจค้น

ขั้นการตกลงใจปฏิบัติ
- สั่งการในแบบ FUNCTIONAL TYPE ORDER :CONCEPT
(แนวคิด)
- สั่งการในแบบMISSION TYPE ORDER :TASKs (กิจ/งาน)
- สั่งการโดยใช้ตารางประสานสอดคล้อง( SYNCHRONIZATION
MATRIX)
- การประเมิน : การปฏิบตั ิ TREND, กลุ่มปม.(TA)
57

- UNITY OF EFFORT: เอกภาพในความพยายาม/การปฏิบตั ิ

ข้ อพึงระลึกของ IOในการ ปปส.


- ความสาเร็ จไม่ได้ข้ ึนอยูว่ า่ เราสังหารฝ่ ายตรงข้ามได้เท่าไรแต่
ขึ้นอยูก่ บั ว่าเราสร้างมิตรได้เท่าไรต่างหาก
- ต้องไม่ลืมเป้ าหมายกลุ่มสุ ดท้ายที่สาคัญ : ทหาร, ฝ่ ายเราเอง
เพื่อให้เข้าใจเหตุการณ์ , ไม่สับสน ,
- จนท.รัฐทุกคนคือเครื่ องมือIO เมื่อใช้การพบปะต้องมี ประเด็น
สนทนา(TALKING POINTS) ว่าพูดอะไร,อย่างไร,ตอบคาถาม
อย่างไร และต้องปรับ/กระจายให้ทนั สมัยอยูเ่ สมอ
- ความผิดพลาดของกพ. เพียงคนเดียวอาจทาให้เสี ยผลทาง
ยุทธศาสตร์ นายสิ บ,พลทหารต้องเป็ น STRATEGIC COPORALS
- ต้องเป็ นฝ่ ายรุ กตลอดเวลา ครองความริ เริ่ มด้าน IO มองไป
ข้างหน้า อย่าเอาแต่แก้ปัญหาเฉพาะหน้า
- ต้องการชุดวิเคราะห์(ANALYSTS)ที่เข้าใจกลไกในภาพรวม และ
ผูป้ ฏิบตั ิที่ ริ เริ่ มได้, รู ้เท่า, รู ้ทนั
- ตอบโต้ รวดเร็ ว, ถูกจุด, ทันเวลา ต้องมีแผนเผชิญเหตุ-รปจ. เช่น
การทาใบปลิว-แถลงข่าว ควรเป็ นแค่ เติมคาในช่องว่าง,ใครเป็ น
คนพูด-พูดแค่ไหน
- งานIOเป็ นศิลปะ ต้องไม่เดินตามหลังผกมส. ต้องทาทั้ง ก่อน-
ระหว่าง-หลัง
55

- ดาเนินการหลายๆมิติพร้อมกัน
- แนวเนื้อหาที่ตอ้ งเน้น : THEME TO STRESS
- แนวเนื้อหาที่พึงหลีกเลี่ยง : THEME TO AVOID
- ประเด็นอ่อนไหว : SENSITIVE ISSUES
- ทิศทาง/แนวโน้มของสถานการณ์ : TREND
- แนวทาง/เจตนารมณ์ของผูบ้ งั คับบัญชา
- ประเด็นที่ส่งผลกระทบ
- การตอบข้อซักถาม/การแถลงข่าว

ประสิ ทธิภาพสู งสุ ดของงานIOขึน้ อยู่กบั


- การเลือกใช้เครื่ องมือที่เข้าถึงกลุ่มปม.
- ปม.จะเชื่อในประเด็นที่เราเสนอ ต่อเมื่อมีความเชื่อใจ, เชื่อมัน่
ต่อฝ่ ายเรา อาจต้องอิงกับบุคคลที่ได้รับการยอมรับนับถือใน
ชุมชน
- ประเด็นนั้นสมเหตุสมผล มีความจริ งใจ/ความแนบเนียนใน
การนาเสนอ
- ข้อความที่ส่งออกไปนั้นต้องง่ายและมีจานวนไม่มากนัก
- ความถี่ของการส่ งข้อความนั้นๆ
- ต้องอาศัยความเข้าใจกรอบโครงสร้างแนวคิดที่ตรงกันทั้ง
ระบบ
58

- ผกมส.ไม่ใช่คนโง่ กองทัพต้องการนักรบทางปั ญญา


(INTELLECTUAL WARRIORS)
“เข้ าใจ...เข้ าถึง...พัฒนา”
แนวความคิด IO ในแต่ ละพืน้ ที่

การดาเนินการต่ อประเด็น/เหตุการณ์ ทีเ่ กิดขึน้


60

ผลกระทบในอดีต ที่แบ่งตามระดับ

ผลกระทบโดยตรงในปัจจุบนั

การประเมินผล IO
ใช้เครื่ องมือในรู ปแบบของการวัด ประสิ ทธิ ภาพในการปฏิ บตั ิ
MEASURE OF EFFECTIVENESS (MOE) ซึ่ งเป็ นเครื่ องมือที่ใช้วดั ผล
ที่ได้ในภาพรวมของภารกิจและการปบ.ที่ได้รับมอบหมาย และยังเป็ นตัว
บ่งชี้ถึงประสิ ทธิ ภาพในการปฏิบตั ิอีกด้วยมีรายละเอียดดังนี้
61

๑. การวัดประสิ ทธิ ภาพ MOEคือการวัดความก้าวหน้าของการ


ปฏิบตั ิในรู ปแบบของคะแนนรวม อาจใช้ในรู ปแบบของ % หรื อ สภาวะ
(CONDITION) ก็ ไ ด้ เ มื่ อ เที ย บกับ เกณฑ์ ที่ ไ ด้ ว างไว้ที่ ส าคัญ คื อ ต้อ ง
กาหนดตัวชี้วดั MOE INDICATORS (MOEI) ที่ชดั เจนด้วย เช่น
- ความสามารถในการลดประสิ ทธิ ภาพระบบการติดต่อสื่ อสาร
ของ ขศ.
- จานวนเชลยศึกที่เข้ามอบตัว
- จานวนผูช้ ุมนุมที่เพิ่มขึ้น
- ท่าทีของชาวบ้านที่มีต่อฝ่ ายรัฐ
๒.การวัด ขี ด ความสามารถในการปฏิ บ ัติ MEASURE OF
PERFORMANCE (MOP) ทั้งนี้ เมื่อมอบงาน/กิ จให้หน่ วยใดไปแล้วก็
ต้องมี การชี้ วดั ขี ดความสามารถในการปฏิ บตั ิ (MOP) ของหน่ วยนั้นๆ
ด้วยว่าได้ปฏิบตั ิเต็มขีดความสามารถ ที่จะส่ งผลให้บรรลุMOE มาก/น้อย
เพียงใดและต้องกาหนดเกณฑ์ในการวัดที่เรี ยกว่า MOP INDICATORS
(MOPI) ไว้ดว้ ย

การประเมินนี้ ยังสามารถแยกย่อยออกไปในรายละเอียดได้อีก
หลายลักษณะตามความประสงค์ของความต้องการในการประเมิน เช่น
- การประเมินตามแต่ละวัตถุประสงค์ IO (IO OBJ.)
- การประเมินเป็ นพื้นที่
- การประเมินตามแต่ละกลุ่มเป้ าหมาย
59

ข้ อพึงระวังต่ อระดับของผลกระทบที่เปลีย่ นไป


การเปลี่ ย นแปลงไปสู่ ข ้อมู ล ข่ า วสาร และ ความซับ ซ้อนของ
ปั ญหา ทาให้การดาเนิ นการ ใดๆ ต้องมีความระมัดระวังมากขึ้น เพราะ
เหตุ ก ารณ์ ใ นระดับ ยศ. สามารถส่ ง ผลต่ อ ทาง ยว.ได้โ ดยตรง และ
เหตุการณ์ในระดับ ยว. สามารถส่ งผลต่อทาง ยศ.ได้โดยตรง เช่นกัน
62

- การประเมินตามแต่ละกิจกรรม IO
- การประเมินตามระยะเวลา
- ฯลฯ
ทั้งนี้ จะต้องประเมินควบคู่ไปกับการประเมินการปฏิบตั ิการใน
ลักษณะอื่นๆด้วย เพราะ ทุกๆการกระทา/ละเว้นไม่กระทา(DO/UNDO)
และคาพูด (SAY) ล้วนส่ งข้อความต่อกลุ่มเป้ าหมายทั้งสิ้ น

“EVERY ACTION SEND MESSAGE”

การสื่ อสารทางยุทธศาสตร์ (SC) กับ IO


การสื่ อสารทางยุทธศาสตร์ STRATEGIC COMMUNICATION (SC)
เป็ นการดาเนิ นการต่อเป้ าหมายเพื่อที่จะ สร้ าง/เสริ ม/หรื อดารง
ไว้ ซ่ ึ ง สภาวะที่ เ กื้ อกู ล ต่ อ ความก้ า วหน้ า ของผลประโยชน์ แ ละ
วัตถุ ป ระสงค์ข องชาติ ผ่า นการประสานกัน ของข้อมู ล ข่ า วสาร, แนว
64

ความเชื่ อมโยงระดับปฏิบัติการ (ยศ.,ยก.,ยว.)

ข้อพิจารณาที่สาคัญของ SC
65

- นโยบายที่ต่อเนื่ องของผูน้ า
- ต้องการการประสานงานระหว่างหน่วยงานที่มีประสิ ทธิ ภาพ
- ความร่ วมมือของภาคเอกชน
- CENTRALIZED CONTROL,TOP-DOWN DIRECTION
- NATIONAL INFORMATION STRATEGY/CAMPAIGN
- FULL-TIME STAFF WITH DIRECT ACCESS TO
CRITICAL POLICY DECISION MAKERs
- TARGET AUDIENCES ANALYSIS
(HOSTILE/NEUTRAL/ALLIES)
- ต้องเข้าใจ ค่านิยม, ความเชื่อ, วัฒนธรรม, นโยบาย ของ
ประเทศเป้าหมาย

ผนวก ก ประมาณการ IO
63

เนื้ อหา, แผนงาน, โครงการและกิ จกรรมต่างๆอย่างประสานสอดคล้อง


กับ พลัง อ านาจของชาติ ใ นด้า นอื่ น ๆ โดยขี ด ความสามารถหลัก ที่
นามาใช้สนับสนุ นก็คือ การปชส. การปฏิ บตั ิ การข่าวสาร และการทูต
ภาคประชาชน

องค์ประกอบพลังอานาจของชาติ
D : DIPLOMATIC (การทูต)
I : INFORMATION (ข้อมูลข่าวสาร)
M : MILITARY (การทหาร)
E : ECONOMIC (เศรษฐกิจ)
ความสั มพันธ์ SC กับ IO
66

๑. ภารกิจด้ าน IO
- แนวความคิดในการสนับสนุนด้าน IO
๒. สถานการณ์และข้ อพิจารณา
- ลักษณะของพื้นที่ปฏิบตั ิการ, IE
- สถานการณ์ ขศ., ขีดความสามารถ IO
- สถานการณ์ ฝ่ ายเรา
- สมมุติฐาน
๓. วิเคราะห์ หป.
-IO หป.๑
- แนวความคิดในการสนับสนุนด้าน IO
- IO OBJs
-จุดแข็ง/ความล่อแหลม, ทรัพยากร IOที่ตอ้ งการ
- การวิเคราะห์, เกณฑ์เสี่ ยง
-IO หป.๒
- แนวความคิดในการสนับสนุนด้าน IO
- IO OBJs
-จุดแข็ง/ความล่อแหลม, ทรัพยากร IOที่ตอ้ งการ
- การวิเคราะห์, เกณฑ์เสี่ ยง
๔. เปรียบเทียบ หป.
๕. ข้ อเสนอแนะ, ข้ อสรุ ป
ผนวก ข ตัวอย่างตารางประสานสอดคล้อง(มีได้ หลายแบบ)
68

ผนวก ท (การปฏิบัติการข่ าวสาร) ประกอบ คาสั่ ง ยก.ที่ _____________


๑. สถานการณ์
ก. ข้ าศึก.
(๑) พท.ปฏิบตั ิการที่มีผลกระทบต่อ IO
(๒) ลมฟ้าอากาศ ที่มีผลกระทบต่อ IO
(๓) ขีดความสามารถ IO ขศ
(ก) เครื่ องมือ IO ขศ
(ข) ความล่อแหลมระบบ C2 ขศ
(ค) ขีดความสามารถ ขศ. ที่จะลิดรอนระบบฝ่ ายเราC2
(ง) สถานการณ์ ขศ. การวางกาลัง, เครื่ องมือด้านการ
ข่าว, การปฏิบตั ิที่น่าจะกระทา
(จ) ระบุขอ้ มูลเฉพาะที่ส่งผลต่อการปฏิบตั ิ IO
ข. ฝ่ ายเรา
(๑) ขีดความสามารถIO
(๒) เครื่ องมือ IO ที่ตอ้ งการเพื่อโจมตี ขศ.
(๓) ระบุ ฝ่ ายเราที่จะมีผลกระทบต่อ IOโดยตรง
(๔) ข้อจากัดที่สาคัญในการวางแผน IO
(๕) ระบุขอ้ ปั ญหาในการใช้คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าฝ่ ายเราที่อาจ
เกิดขึ้น
69

ค. ข้ อพิจารณาด้ าน พลเรื อน ประชาชน/กลุ่มคน ที่อาจอยู่


ใน AO
ง. หน่ วยขึน้ สมทบ,หน่ วยแยก
(1) เครื่ องมือ IO ที่ข้ ึนสมทบ/แยกสมทบ
(2) เครื่ องมือ IO ที่ได้รับจากหน่วยเหนือ
๒. ภารกิจ
ภารกิจ IO
๓. การปฏิบัติ
ก. แนวความคิดในการสนับสนุนด้ าน IO
(๑) แนวความคิดในการปฏิบตั ิ
(๒) แนวความคิด Operations Security
(๓) แนวความคิด Psychological Operations
(๔) แนวความคิด Military Deception
(๕) แนวความคิด Electronic Warfare
(๖) แนวความคิด Computer Network Operations
(๗) แนวความคิด Computer Network Attack
(๘) แนวความคิด Computer Network Defense
(๙) แนวความคิด Computer Network Exploitation
(๑๐) แนวความคิด Physical Destruction
(๑๑) แนวความคิด Information Assurance
(๑๒) แนวความคิด Physical Security
67

ผนวก ค (ตัวอย่าง)ผนวก IO
70

(๑๓) แนวความคิด Counter Intelligence


(๑๔) แนวความคิด Counter Deception
(๑๕) แนวความคิด Counter Propaganda
(๑๖) แนวความคิด Civil-Military Operations
(๑๗) แนวความคิด Public Affairs
(๑๘) แนวความคิดด้านอื่นๆ (ถ้ามี)
ข. กิจของหน่ วยรอง ระบุกิจเฉพาะ,กิจแฝง
(๑) กิจ IO ของหน่วยดาเนินกลยุทธ์
(๒) กิจของหน่วย PSYOP
(๓) กิจของหน่วย EW
(๔) กิจของหน่วยต่อต้านข่าวกรอง
ค. IO Cell
(๑) ระบุ จนท. ของ IO Cell
(๒) ระบุกิจอื่นนอกเหนื อจาก รปจ.ที่มอบให้ IO Cell
ง. คาแนะนาในการประสาน
(๑) ระบุเฉพาะคาแนะนาที่เกี่ยวข้อง ๒ หน่วยขึ้นไปที่
ไม่ได้กล่าวไว้ใน แผน/คาสั่ง ยก.
(๒) กาหนด ROE ของแต่ละหน่วย IO
(๓) อ้างถึงรายละเอียดในผนวก IO
(๔) ไม่กล่าวถึงเรื่ องที่ระบุแล้วใน รปจ.
72

ผนวก ง แนวคิด IO ของสหรัฐฯ ล่ าสุ ด


หลักนิยมล่าสุ ดของ สหรัฐฯ คือ JP ๓-๑๓ ๒๗ NOVEMBER ๒๐๑๒
มีขอ้ แตกต่างที่สาคัญคือ
- เรี ยกชื่อเครื่ องมือ IO โดยรวมว่า
“ขีดความสามารถที่เกี่ยวเนื่องกับข้อมูลข่าวสาร”
INFORMATION RELATED CAPABILITIES (IRC) มีท้ งั สิ้ น ๑๔
ประการดังนี้

เมื่อนามาเปรี ยบเทียบกับหลักนิ ยมเดิม พอเปรี ยบเทียบในส่ วนที่


คล้ายกันได้คร่ าวๆดังนี้
73

และได้ปรับเพิ่มเติมรายละเอียดในเรื่ อง มิติของสภาพแวดล้อมด้านข้อมูล
ข่าวสาร (IE) ดังนี้
71

(๕) ระบุขอ้ บังคับที่ไม่อยูใ่ นแนวความคิดในการ


สนับสนุน
๔. การช่ วยรบ
ระบุความต้องการในภาพรวมของ การส่ งกาลัง ขนส่ ง และการ
สนับสนุนจากชาติเจ้าบ้าน(ถ้ามี)
ถ้าเป็ นความต้องการเป็ นบุคคลให้แยกเป็ น อนุผนวก
๕. การบังคับบัญชาและการสื่ อสาร
ปกติการบังคับบัญชาและการสื่ อสารจะกล่าวในตัวคาสั่งยุทธการอยูแ่ ล้ว
ในที่น้ ีจะกล่าวเฉพาะ เพื่อการแลกเปลี่ยนข่าวสาร ระหว่างหน่วยต่างๆ
ของ IO ด้วยกันเอง
อนุผนวก ๑ OPSEC
อนุผนวก ๒ PSYOP
อนุผนวก ๓ Military Deception
อนุผนวก ๔ Electronic Warfare
อนุผนวก ๕ ตารางประสานาอดคล้อง IO
อนุผนวก .....อื่นๆ(ถ้ามี)
74

และกล่าวถึงเป้ าประสงค์ในการใช้ IRC ไว้ดงั นี้

จะมุ่งเน้น การใช้ IRC เพื่อ โน้มน้าว (PERSUADE) และบีบ


บั ง คั บ ( COERCE) เพื่ อ ส่ งผล ต่ อ ก ระบวนก ารตั ด สิ นใ จของ
กลุ่มเป้ าหมาย ให้เกิดผลกระทบ (EFFECTs) ที่ตอ้ งการ เพื่อวัตถุประสงค์
ที่ต้ งั ไว้

สรุ ป
เห็ นได้ชดั เจนว่า สหรัฐฯ ปรับแนวทางในการใช้ IO จากเดิมที่
เน้น ความเหนื อกว่าในด้านข้อมู ลข่าวสาร (ในการสงคราม) มาสู่ การ
เอาชนะแนวคิดและจิตใจของกลุ่มเป้ าหมาย มากขึ้น
76

KLE KEY LEADER ENGAGEMENT การปฏิสัมพันธ์กบั ผูน้ าหลัก


MOE MEASURE OF การวัดประสิ ทธิภาพในการ
EFFECTIVENESS ปฏิบตั ิ
MOEI MEASURE OF ตัวชี้วดั การวัดประสิ ทธิ ภาพใน
EFFECTIVENESS INDICATORS การปฏิบตั ิ
MOP MEASURE OF PERFORMANCE การวัดขีดความสามารถในการ
ปฏิบตั ิ
MOPI MEASURE OF PERFORMANCE ตัวชี้วดั การวัดขีดความสามารถ
INDICATORS ในการปฏิบตั ิ
OE OPERATION ENVIRONMENT สภาพแวดล้อมในการ
ปฏิบตั ิการ
OFF-IO OFFENSIVE INFORMATION การปฏิบตั ิการข่าวสารเชิงรุ ก
OPERATIONS
SC STRATEGIC การสื่ อสารทางยุทธศาสตร์
COMMUNICATION
SYN. SYNCHRONIZATION MATRIX ตารางประสานสอดคล้อง
MATRIX
TA TARGET AUDIENCE กลุ่มเป้ าหมาย
UAV UNMANNED ARIAL VEHICLE อากาศยานไร้นกั บิน

WARNO WARNING ORDER คาสั่งเตือน


77

รายชื่ อคณะผู้จัดทา

พ.อ.พีรพงศ์ ไวกาสี
พ.อ.เกียรติชัย โอภาโส
พ.ท.ธัญญวิทย์ พงษ์ โพธิ์
พ.ท.เจนวิทย์ มะวิญธร

ช่ องทางติดต่ อเสนอข้ อคิดเห็น/ข้ อเสนอแนะ

ส่ วนวิชายุทธวิธี
โรงเรียนเสนาธิการทหารบก
ถนน เทอดดาริ แขวง ถนนนครไชยศรี
เขต ดุสิต กรุ งเทพมหานคร
๑๐๓๐๐
โทร ๐๒ ๒๔๑ ๔๐๔๗
www.cgsc.ac.th
75

คาศัพท์
C2 COMMAND AND CONTROL การบังคับบัญชาและ
การควบคุม
COG CENTER OF GRAVITY จุดศูนย์ดุล
COMCAM COMBAT CAMERA ภาพถ่ายการรบ
DEF-IO DEFENSIVE INFORMATION การปฏิบตั ิการข่าวสารเชิงรับ
OPERATIONS
EEFI ESSENSIAL ELEMENT OF ข้อมูลข่าวสารสาคัญยิง่ ของ
FRIENDLY INFORMATION ฝ่ ายเรา
IE INFORMATION สภาพแวดล้อมด้านข้อมูล
ENVIRONMENT ข่าวสาร
INFOSYS INFORMATION SYSTEM ระบบข้อมูลข่าวสาร
IO INFORMATION OPERATIONS การปฏิบตั ิการ(ข้อมูล)ข่าวสาร
IOWG INFORMATION OPERATIONS คณะทางานการปฏิบตั ิการ
WORKING GROUP ข่าวสาร
IRC INFORMATION RELATED ขีดความสามารถที่เกี่ยวเนื่ อง
CAPABILITIES กับข้อมูลข่าวสาร
ISR INTELLIGENCE, การข่าวกรอง,
SURVAILLANCE, การเฝ้าตรวจ,
RECONNAISSANCE
การลาดตระเวน
JTCB JOINT TARGTING AND คณะกรรมการประสานงาน
COORDINATING BOARD และพิจารณาเป้ าหมายร่ วม

You might also like