You are on page 1of 17

หน้า 1 ตัวอย่างการแก้โจทย์ปัญหาเรื่ องการเคลื่อนที่ 1 และ 2 มิติ วิชาฟิ สิ กส์ 1 ว 31201

ตัวอย่าง 1 ชายคนหนึ่งเดินจากจุดอ้างอิง 0 ไปตามลูกศร แล้วหยุดนิ่งที่ต ำแหน่ง 4 เมตร


จงหาขนาดของการกระจัดและระยะทางทั้งหมด

วิธีทำ หา d เมื่อ d เป็ นขนาดของการกระจัด จะได้


d = ระยะ OB = 4 m
นัน่ คือ ขนาดของการกระจัดของการเดินนี้ เท่ากับ 4 เมตร มีทิศพุง่ ไปทางขวามือ (จาก O ไป B)
หา s เมื่อ s เป็ นระยะทางทั้งหมด จะได้
s = ระยะ OA+ระยะ AB
= 6+2 = 8 m
นัน่ คือ ระยะทางทั้งหมดเท่ากับ 8 เมตร
ตัวอย่าง 2 ย้ายวัตถุไปทางทิศตะวันออก 12 เมตร จากนั้นย้ายข้นไปทางทิศเหนือเป็ นระยะทาง 16
เมตร จงคำนวณการกระจัดและระยะทางจากจุดเริ่ มต้นถึงจุดปลาย
วิธีทำ

จากรู ป วัตถุถูกย้ายจาก A ไป B (ไปทางทิศตะวันออก) 12 m และจาก B ไป C (ไปทางทิศเหนือ) 16


m จะได้ เป็ นการกระจัดระหว่างจุดเริ่ มต้นกับจุดปลาย จะได้ขนาดของ เป็ น
d=
= = 20 m
ให้ s เป็ นระยะห่างจากจุดเริ่ มต้นถึงจุดปลาย ดังนั้นได้
s = AB+BC
12 = 12+16 = 28 m
นัน่ คือ การกระจัดมีค่า 20 เมตร แต่ระยะทางมีค่า 28 เมตร
ตัวอย่ าง 3 ชายคนหนึ่งวิ่งจากจุดเริ่ มต้นไปถึงตูไ้ ปรษณี ย ์ A แล้วย้อนกลับไปหยุดที่ใต้ตน้ ไม้ B กินเวลาทั้ง
สิ้ น 10 วินาทีพอดี จงคำนวณความเร็วและอัตราเร็ วเฉลี่ยของชายคนนั้น
หน้า 2 ตัวอย่างการแก้โจทย์ปัญหาเรื่ องการเคลื่อนที่ 1 และ 2 มิติ วิชาฟิ สิ กส์ 1 ว 31201

วิธีทำ การที่ชายคนนั้นวิง่ จากจุดเริ่ มต้นไป A แล้วย้อนกลับไปหยุดที่จุดใต้ตน้ ไม้ B จะได้การ


กระจัดทั้งสิ้ นเท่ากับ s โดยที่
s = -20 m
ตามนิยามของความเร็ วเฉลี่ยจะได้ความเร็ วเฉลี่ย เฉลี่ย เป็ น
เฉลี่ย = m/s

เครื่ องหมายลบของความเร็ วเฉลี่ย หมายถึง ชายคนนั้นกำลังวิ่งไปทางซ้ายของ จุดเริ่ มต้น


นั่นคือ ความเร็ วเฉลี่ยของชายคนนั้นเท่ากับ –2 เมตร/วินาที ตอบ
การวิ่งของชายคนนั้นจากจุดเริ่ มต้นไป A แล้วย้อนกลับไปหยุดที่จุดใต้ตน้ ไม้ B จะได้ระยะทางทั้งสิ้ น
เท่ากับ d โดยที่
d = 40+40 +20 =100 m
ตามนิยามของอัตราเร็ วเฉลี่ยจะได้อตั ราเร็ วเฉลี่ย V เฉลี่ย เป็ น
V เฉลี่ย = = 10 m/s
นั่นคือ อัตราเร็ วเฉลี่ยของชายคนนั้นเท่ากับ 10 เมตร/วินาที ตอบ
ตัวอย่ าง 4 รถเคลื่อนที่ไปทางขวาด้วยความเร็ ว v1 = 10 เมตร/วินาที จากนั้นเปลี่ยนความเร็ วเป็ น v2 = 30
เมตร/วินาที ภายในเวลา 2 วินาที รถคันนี้เคลื่อนที่ดว้ ยความเร่ งเท่าใด
วิธีท ำ ความเร็ ว v1 = 10 เมตร/วินาที, ความเร็ ว v2 = 30 เมตร/วินาที
การเคลื่อนที่ท้ งั หมดใช้เวลา 2 วินาที
ดังนั้น รถเคลื่อนที่ดว้ ยความเร่ ง
เฉลีย่ = เมตร/วินาที มีทิศไปทางขวา

ตัวอย่ าง 5 ชายคนหนึ่งเดินจากจุด A ไปจุด B และจุด C โดยใช้เวลา ดังรู ป

จงคำนวณอัตราเร็ วเฉลี่ยในช่วงเวลา 0-4 วินาที และ 4-7 วินาที


วิธีทำ ช่วง 0-4 S จาก v เฉลี่ย =
กรณี = ระยะ AB = 20 m
= ช่วงเวลา = 4-0 = 4 s
หน้า 3 ตัวอย่างการแก้โจทย์ปัญหาเรื่ องการเคลื่อนที่ 1 และ 2 มิติ วิชาฟิ สิ กส์ 1 ว 31201

v0-4 = = 5 m/s
นั่นคือ อัตราเร็ วเฉลี่ยในช่วงเวลา 0-4 วินาที เท่ากับ 5 เมตร/วินาที
ช่วง 4-7 s กรณี = ระยะ BC
= 7-4 =3 m
= ช่วงเวลา
= 45-20 = 25 m
v4 = = 8.3 m/s
นั่นคือ อัตราเร็วเฉลี่ยในช่วงเวลา 4-7 วินาที เท่ากับ 8.3 เมตร/วินาที
ตัวอย่ าง 6 จากตัวอย่าง 5 ถ้าชายคนนั้นเดินถึงจุด C แล้วเดินย้อนกลับมาที่จุด A ดังเดิม ใช้เวลาทั้งสิ้ น 20
วินาที จงคำนวณอัตราเร็ วเฉลี่ยของการเดินนี้
วิธีทำ กรณี = ระยะเวลาทั้งหมด = 45+45 = 90 m
= เวลาทั้งหมด = 20 s
v เฉลี่ย = = 4.5 m/s
นั่นคือ อัตราเร็ วเฉลี่ยตลอดการเดินนี้ เท่ากับ 4.5 เมตร/วินาที

ตัวอย่ าง 7 รถยนต์คนั หนึ่งวิ่งออกไปในแนวตรง ดังรู ป

จากข้อมูลที่ก ำหนดให้ จงคำนวณอัตราเร็วเฉลี่ยในช่วงเวลา 0-5 วินาที และอัตราเร็ ว ณ วินาทีที่ 2


วิธีทำ หา V0-5 เมื่อ V0-5 = อัตราเร็วเฉลี่ยในช่วงเวลา 0-5 s
จาก V เฉลี่ย =
กรณี = 30-1 = 30 m และ = 5-0 = 5 s
V0-5 = = 6 m/s
นั่นคือ อัตราเร็ วเฉลี่ยในช่วงเวลา 0-5 วินาที มีค่า 6 เมตร/วินาที
หา V2 เมื่อ V2 = อัตราเร็ว ณ วินาทีที่ 2
จาก Vt = น้อย ๆ และ t เป็ นจุดกึ่งกลางของ
กรณี = 16-10 =6 m และ = 3-1 =2 s
V2 = = 3 m/s
นั่นคือ อัตราเร็ ว ณ วินาทีที่ 2 มีคา่ 3 เมตร/วินาที
หน้า 4 ตัวอย่างการแก้โจทย์ปัญหาเรื่ องการเคลื่อนที่ 1 และ 2 มิติ วิชาฟิ สิ กส์ 1 ว 31201

ตัวอย่ าง 8 จากตัวอย่าง 3 ถ้าข้อมูลของระยะทางขณะเวลาต่าง ๆ เป็ นไปตามตารางนี้


ระยะทาง (m) 0 10 20 30 40 50
เวลา (s) 0 1 2 3 4 5
จงคำนวณอัตราเร็วเฉลี่ยในช่วงเวลา 0-5 วินาที และอัตราเร็ ว ณ วินาทีที่ 2
วิธีทำ หา V0-5 จาก V เฉลี่ย =
V0-5 = = 10 m/s
นัน่ คือ อัตราเร็ วเฉลี่ยในช่วงเวลา 0-5 วินาที มีคา่ 10 เมตร/วินาที
หา v2 จาก Vt = น้อย ๆ และ t เป็ นจุดกึ่งกลางของ
V2 = = 10 m/s
นัน่ คือ อัตราเร็ว ณ วินาทีที่ 2 มีค่า 10 เมตร/วินาที
หมายเหตุ จะเห็นว่า กรณี น้ ีอตั ราเร็ วคงตัว เพราะ V0-5 = V2 = 10 m/s และถ้าเราหา V1 , V3 ,
V4 ก็จะได้ V1 = V2 =V3 = V4 = 10 เมตร/วินาที เช่นกัน
ตัวอย่ าง 9 ชายคนหนึ่งเริ่ มวิ่งออกจากจุด A ไปในแนวเส้นตรงด้วยความเร็ ว( ) 1 เมตร/วินาที และด้วย
ความเร่ งคงที่ 10 เมตร/วินาที 2 เมื่อเขาวิ่งมาถึงจุด B เขาใช้เวลาไปทั้งหมด 20 วินาที จงหาการกระจัด
ระหว่าง A กับ B และความเร็ ว( ) ที่จุด B ของชายคนนั้น

วิธีทำ ให้ s เป็ นการกระจัดระหว่าง A กับ B ตามสมการ (3) จะได้


s = ut +
= (1)(20)+ (10)(20)2
= 2,020 m
นั่นคือ การกระจัดระหว่าง A กับ B มีคา่ 2,020 เมตร
ตามสมการ (1) จะสามารถคำนวณความเร็ ว v ได้ดงั นี้
v = u+at
v = 1+(10)(20) = 201 m/s
นั่นคือ ความเร็ วของชายคนนั้นที่จุด B มีค่า 201 เมตร/วินาที
ตัวอย่ าง 10 จากตัวอย่าง 9 ถ้าชายนั้นเริ่ มออกวิ่งด้วยความเร็ ว 100 เมตร/วินาที และวิ่งด้วยความหน่วง 10
เมตร/วินาที ถามว่านานเท่าไรเขาจึงจะหยุดและเมื่อหยุดแล้วการกระจัดเป็ นเท่าใด
วิธีทำ ให้ t เป็ นเวลาที่เขาใช้ท้ งั หมดตั้งแต่เริ่ มวิ่งจนกระทัง่ หยุด ตามสมการ(1) จะได้
v = u+at
= (100)+(-10): (แทน a ด้วยเครื่ องหมายลบ)
t = 10 s
หน้า 5 ตัวอย่างการแก้โจทย์ปัญหาเรื่ องการเคลื่อนที่ 1 และ 2 มิติ วิชาฟิ สิ กส์ 1 ว 31201

นั่นคือ เขาจะต้องใช้เวลาทั้งหมด 10 วินาที จึงจะหยุดวิ่ง


ให้ s เป็ นการกระจัดตั้งแต่เริ่ มวิ่งจนกระทัง่ หยุด ตามสมการ (3) จะได้
s = ut+ at2
= (100)(10)+ (-10)(10); (แทน a ด้วยเครื่ องหมายลบ)
= 500 m
นั่นคือ การกระจัดมีค่า 500 เมตร

ตัวอย่ างที่ 10 รถคันหนึ่งเคลื่อนที่จากจุดหยุดนิ่งด้วยความเร่ ง 2 m/s2 เป็ นเวลา 5 s จงหา


ก. ระยะทางที่รถเคลื่อนที่ได้ ข. ความเร็ วขณะนั้น
ก. วิธีท ำ ข. วิธีท ำ

ตัวอย่ างที่ 11 รถคันหนึ่งเคลื่อนที่ดว้ ย


ความเร็ ว 20 m/s และเกิดความเร่ ง 2
m/s2 เมื่อ เคลื่อนที่ได้ระยะ
ทาง 300 m จงหาเวลาที่ใช้ในการเคลื่อนที่
วิธีทำ

ตอบ เวลาที่ใช้ในการเคลื่อนที่ 10 วินาที


ตัวอย่ างที่ 12 รถคันหนึ่งเคลื่อนที่จากจุดหยุดนิ่งด้วยความเร่ ง 4 m/s2 เป็ นเวลานาน 5 s จึงเคลื่อนที่ต่อด้วย
ความเร็ วคงที่นาน 10 s ต่อจากนั้นจึงเคลื่อนที่ดว้ ยความหน่วง 2 m/s2 แล้วหยุดจงหาระยะทางทั้งหมด
วิธีทำ S1 ระยะทางที่เคลื่อนที่จากจุดหยุดนิ่งด้วยความเร่ ง 4 m/s2 เป็ นเวลานาน 5 s
หน้า 6 ตัวอย่างการแก้โจทย์ปัญหาเรื่ องการเคลื่อนที่ 1 และ 2 มิติ วิชาฟิ สิ กส์ 1 ว 31201

S2 ระยะทางที่เคลื่อนที่ดว้ ยความเร็ วคงที่นาน 10 s

S3 ระยะทางเคลื่อนที่ดว้ ย
ความหน่วง 2 m/s2 แล้วหยุด

ตอบ ระยะทางทั้งหมด เท่ากับ 50+200+100 =


350 เมตร
ตัวอย่ างที่ 13 รถ A เคลื่อนที่ดว้ ยความเร็ว 10 m/s ขับรถผ่านรถ B ที่จอดนิ่งอยู่ ขณะผ่านรถ B ได้ออกตัว
ทันทีดว้ ยความเร่ ง 2 m/s2 จงหา
ก. นานเท่าใดรถ B จะวิ่งตามรถ A ทันพอดี
ข. ขณะตามทันรถ B เคลื่อนที่ได้เท่าใด
1. วิธีท ำ ข. วิธีท ำ

ตอบ ขณะตามทันรถ A รถ B เคลื่อนที่ได้


100 เมตร
เมื่อ จะได้วา่

นัน่ คือ นาน 10 วินาที รถ B จะวิ่งตามรถ A ทันพอดี


หน้า 7 ตัวอย่างการแก้โจทย์ปัญหาเรื่ องการเคลื่อนที่ 1 และ 2 มิติ วิชาฟิ สิ กส์ 1 ว 31201

ตัวอย่ างที่ 14 รถ A และ B จอดอยูท่ ี่เดียวกันรถ A เริ่ มเคลื่อนที่ดว้ ยความเร่ ง 2 m/s2 ไปก่อน 2 s
รถ B จึงตามออกไปด้วยความเร่ ง 4 m/s2 จงหาว่าขณะรถ B ตามทันรถ A รถ B เคลื่อนที่ได้ระยะทางเท่าใด
วิธีทำ ระยะทางที่รถ A คือ SA ใช้เวลา tA
ระยะทางที่รถ B คือ SB ใช้เวลา tB = tA-2

ตัวอย่ างที่ 15 รถมีความเร็ว 30 km/hr เมื่อห้ามล้อให้หยุดจะไถลไปได้ระยะทาง 4 m ถ้ารถมี


ความเร็ว 90 km/hr เมื่อห้ามล้อให้หยุดจะไถลไปได้ระยะทางเท่าใด
วิธีท ำ
รถมีความเร็ ว 30 km/hr รถมีความเร็ ว 90 km/hr

นัน่ คือ ถ้ารถมีความเร็ ว 90 km/hr เมื่อห้ามล้อให้หยุดจะไถลไปได้ระยะทาง 36 เมตร

ตัวอย่ างที่ 16 รถไฟ 2 ขบวนวิง่ เข้าหากันในรางเดียวกันรถขบวนที่ 1 วิง่ ด้วยความเร็ ว 10 m/s ส่ วนขบวน


ที่ 2 วิ่งด้วยความเร็ว 20 m/s ขณะที่อยูห่ ่างกัน 325 m รถไฟทั้งสองต่างเบรกรถและหยุดได้พอดีพร้อมกัน
โดยห่างกัน 25 m เวลาที่รถทั้งสองใช้มีค่าเท่าใด
วิธีทำ จากโจทย์
t1=t2 (1) (เพราะเริ่ มเคลื่อนที่พร้อมกัน)
หน้า 8 ตัวอย่างการแก้โจทย์ปัญหาเรื่ องการเคลื่อนที่ 1 และ 2 มิติ วิชาฟิ สิ กส์ 1 ว 31201

และ s1 + s2 + 25 = 325 (2)


จากความสัมพันธ์
พิจารณารถคันแรก :

พิจารณารถคันที่ 2 :

แทนค่า (3) และ (4) ใน (2) จะได้

นัน่ คือ เวลาที่รถทั้งสองใช้มีค่าเท่ากับ 20 วินาที ตอบ


ตัวอย่ างที่ 17 รถยนต์และรถไฟเคลื่อนที่คูข่ นานกันไปด้วยความเร็ ว 30 m/s เท่ากัน เมื่อมาถึงสัญญาณไฟแดง
รถยนต์ก็เบรกทำให้รถเคลื่อนที่ดว้ ยความหน่วง 3 m/s2 จนหยุดนิ่งและหยุดนาน 2 s ก่อนจะเคลื่อนที่ดว้ ย
ความเร่ ง 1.5 m/s2 จนมีความเร็ วเป็ น 30 m/s เท่ากับรถไฟในขณะนั้นรถยนต์อยูห่ ่างรถไฟเท่าใด
วิธีท ำ
เวลาที่รถยนต์ใช้ก่อนหยุด ระยะทางที่เคลื่อนทีดว้ ย t รวม = 10 +2 + 20
จาก v = u + at ความเร่ ง 1.5 m/s2 จนมี = 32 s
t.= 30/2 = 10 s ความเร็ วเท่ากับ 30 m/s ระยะทางที่รถไฟเคลื่อนที่ได้
ได้ระยะทาง จาก

ระยะทางที่รถยนต์เคลื่อนที่
ได้
S รถ = 450 + 300
= 750 m
ใช้เวลา 20 s = 210 เมตร
นัน่ คือ รถยนต์ห่างจากรถไฟเท่ากับ 210 เมตร ตอบ
ตัวอย่ างที่ 18 ยิงปื นผ่านแผ่นไม้ที่วางซ้อนกันหลายแผ่นที่มีความหนาเท่ากัน ถ้าความเร็ วของลูกปื นที่ผา่ น
แผ่นไม้แต่ละแผ่นมีความเร็ วลดลง 20 % จงหาว่าลูกปื นจะสามารถทะลุผา่ นแผ่นไม้ได้กี่แผ่น
วิธีทำ
เมื่อผ่านแผ่นไม้ 1 แผ่น หนา d ความเร็ วต้นกระสุ น u
หน้า 9 ตัวอย่างการแก้โจทย์ปัญหาเรื่ องการเคลื่อนที่ 1 และ 2 มิติ วิชาฟิ สิ กส์ 1 ว 31201

มีความเร็ วปลาย แผ่นไม้ n แผ่น

(1)/(2)

กระสุ นสามารถผ่านได้ 2 แผ่น ตอบ

ตัวอย่ างที่ 19 รถคันหนึ่งวิ่งด้วยความเร็ว 10 เมตร/วินาที ขณะที่อยูห่ ่างจากสิ่ งกีดขวางเป็ นระยะทาง 35 เมตร


คนขับต้องตัดสิ นใจห้ามล้อโดยเสี ยเวลา 1 วินาที ก่อนที่หา้ มล้อจะทำงาน เมื่อห้ามล้อทำงานแล้วรถต้องลด
อัตราเร็ วในอัตราเท่าใด จึงจะทำให้รถหยุดพอดีเมื่อถึงสิ่ งกีดขวางนั้น
วิธีทำ จาก

นัน่ คือ รถต้องลดอัตราเร็วในอัตรา ตอบ


ตัวอย่ างที่ 20 ขว้างลูกบอลลงมาในแนวดิ่งด้วยความเร็ ว 15 เมตรต่อวินาที เวลา 2 วินาทีกจ็ ะถึงพื้น ถามว่า
ก. จุดที่ขว้างลุกบอลอยูส่ ู งจากพื้นเท่าไร
ข. ลูกบอลสัมผัสพื้นด้วยความเร็ วเท่าไร
ค. หากปล่อยลูกบอลลงมาเฉยๆ จะถึงพื้นเร็ วหรื อช้าตอนแรกกี่วินาที
วิธีทำ ก. เนื่องจากทราบเวลาและความเร็ วต้นจึงใช้สมการ (2) เพื่อหาความสู งของจุดที่
ขว้าง ดังนี้
s = ut+ gt2

= (15)(2)+ (+10)(2)2 = 50 m

ให้สงั เกตกรณี น้ ีแทนค่า g เป็ นบวก เพราะลูกบอลเริ่ มเคลื่อนที่กด็ ิ่งลงเสี ยแล้ว ความเร็ วของมันจึง
มีค่ามากขึ้นเรื่ อยๆ g ขณะนี้จึงเป็ นความเร่ ง
นัน่ คือ จุดที่ขว้างลูกบอลอยูส่ ูงจากพื้น 50 เมตร ตอบ
ข. เพื่อความสะดวกจะใช้สมการ (1) เพื่อหาความเร็ วของลูกบอลขณะสัมผัสพื้น เพราะเราทราบเวลา
และความเร็ วต้น
v = u+gt = 15+(+10)(2) = 35 m/s
นัน่ คือ ลูกบอลสัมผัสพื้นด้วยความเร็ ว 35 เมตรต่อวินาที ตอบ
หน้า 10 ตัวอย่างการแก้โจทย์ปัญหาเรื่ องการเคลื่อนที่ 1 และ 2 มิติ วิชาฟิ สิ กส์ 1 ว 31201

ค. ถ้าปล่อยลูกบอลลงมาเฉยๆ แปลว่าความเร็ วต้นเท่ากับศูนย์ เนื่องจากเราทราบว่าจุดที่ขว้างลูกบอล


สู งจากพื้น 50 m จึงใช้สมการ (2) หาเวลา t ที่ลูกบอลจะตกพื้นในกรณี ดงั นี้
s = ut+ gt2
50 = (0)t+ (+10)t2
t = 3.16s
ตอนแรกใช้เวลา 2s จึงถึงพื้น แสดงว่าในตอนหลังจะตกถึงพื้นช้ากว่าตอนแรกเท่ากับ 3.16-2 = 1.16s
นัน่ คือ ลูกบอลจะถึงพื้นช้ากว่าตอนแรก 1.16 วินาที ตอบ
ตัวอย่ างที่ 21 ปล่อยวัตถุจากตึกสู ง 200 m จงหา
1. นานเท่าใดวัตถุตกถึงพื้น
2. ขณะกระทบพื้นดินมีความเร็ วเท่าใด
3. หลังจากปล่อยวัตถุ 1 s วัตถุอยูส่ ู งเท่าใด
ก. ข. ค.

ดังนั้น วัตถุอยูส่ ู ง 200-5 =195


ตอบ ขณะกระทบพื้นดินมี ตอบ วัตถุอยูส่ ู ง 195 เมตร
ความเร็ ว m/s

ตอบ ใช้เวลาตกถึงพื้น
วินาที

ตัวอย่ างที่ 22โยนลูกบอลขึ้นไปในแนวดิ่งจากยอดตึงสู ง 45 m ด้วยความเร็ ว 40 m/s จงหา


ก. ลูกบอลขึ้นไปได้สูงสุ ดเท่าใด
ข. นานเท่าใดลูกบอลจะตกถึงพื้น
ค. ขณะกระทบพื้นมีความเร็ วเท่าใด
หน้า 11 ตัวอย่างการแก้โจทย์ปัญหาเรื่ องการเคลื่อนที่ 1 และ 2 มิติ วิชาฟิ สิ กส์ 1 ว 31201

ก. ข. ค.

ตอบ ลูกบอลขึ้นไปสูงสุ ด 125


ตอบ ขณะกระทบพื้นมี
m จากพื้น
ความเร็ ว 50 m/s
ตอบ ใช้เวลา 9 วินาที จึงตกถึงพื้น

ตัวอย่ างที่ 23 ขว้างลูกบอลขึ้นไปในแนวดิ่งด้วยความเร็ วต้น 5 m/s จงหา


ก. ระยะสู งสุ ดที่ลูกบอลขึ้นไปได้
ข. เวลาทั้งหมดที่ลูกบอลลอยในอากาศ
ก. ข.

ตอบ ระยะสู งสุ ดที่ลูกบอล


ขึ้นไปได้ 1.25 m ตอบ ใช้ เวลาทั้งหมด 1 วินาที

ตัวอย่ างที่ 24 ปล่อยวัตถุ A และ B จากตึกสูง 180 m ปล่อยวัตถุ A ไปก่อน 1 s จึงปล่อย B ลงไปด้วย
ความเร็ วต้น11 m/s จงหาว่าวัตถุท้ งั สองจะตามทันกันสู งจากพื้นเท่าใด
พิจารณา วัตถุ A พิจารณา วัตถุ B วัตถุท้ งั สองจะตามทันกัน
เวลาที่วตั ถุ B คือ

จะได้
หน้า 12 ตัวอย่างการแก้โจทย์ปัญหาเรื่ องการเคลื่อนที่ 1 และ 2 มิติ วิชาฟิ สิ กส์ 1 ว 31201

ตอบ วัตถุท้ งั สองจะตามทันกัน


เมื่อตกถึงพื้นพอดี

ตัวอย่ างที่ 25 โยนลูกบอลลูกแรกขึ้นไปในแนวดิ่งด้วยความเร็ วต้น 10 m/s เมื่อลูกบอลขึ้นไปได้สูงสุ ดก็โยน


ลูกบอลลูกที่สองขึ้นไปด้วยความเร็ วเท่ากับลูกแรก จงหาว่าลูกบอลทั้งสองจะสวนกันสู งจากพื้นเท่าใด
H-h

H
h

หา H แทน t ลงใน (1)

หาเวลา t
ให้มองว่า ลูกบอลลูกแรก หยุดนิ่ง ลูกบอล
ตอบ ลูกบอลทั้งสองจะ สวนกันสู งจากพื้น
ลูกที่สอง วิ่งเข้าหาด้วยความเร็ ว 10 m/s
3.75 เมตร
จะได้

ตัวอย่ างที่ 26 ชายคนหนึ่งอยูบ่ นตึกสูง 60 m ปล่อยก้อนหินลงมาหลังจากนั้น 2 s ชายอีกคนหนึ่งบนพื้นดิน


โยนลูกบอลขึ้นไปในแนวดิ่งด้วยความเร็ ว 10 m/s จงหาว่าวัตถุท้ งั สองจะสวนกันสู งจากพื้นเท่าใด
S=
20
60
40
m
-h

h
หน้า 13 ตัวอย่างการแก้โจทย์ปัญหาเรื่ องการเคลื่อนที่ 1 และ 2 มิติ วิชาฟิ สิ กส์ 1 ว 31201

หาระยะที่เคลื่อนที่ปล่อยลงมา ระยะพิจารณา แทน (2) ใน (1)


ใน 2 วินาที

แทนค่า t ลงในสมการที่ (2)


จาก
หาความเร็ วที่ปลายที่เคลื่อนที่
ใน 2 วินาที

ตอ

บ วัตถุท้ งั สองจะสวนกัน
สู งจากพื้น 4.44 เมตร

ตัวอย่ างที่ 27 ในการปรับให้หยดน้ำจากบิวเรตที่ปลายอยูส่ ู งจากพื้น 50 cm เมื่อหยดแรกถึงพื้นหยดต่อมา


เริ่ มหยดพอดี เมื่อเวลาผ่านไป 10 s จงหาว่าหยดน้ำหยดไปแล้วกี่หยด
วิธีท ำ
หาเวลาที่หยดน้ำ 1 หยด ตกถึงพื้นจากความสัมพันธ์ แทนค่าจะได้
จากโจทย์

จะได้วา่ เมื่อเวลาผ่านไป 10 s น้ำจะหยดไปแล้ว


ดังนั้น เมื่อเวลาผ่านไป 10 s น้ำจะหยดไปแล้ว 31 หยด ตอบ
ตัวอย่ างที่ 28 นัดกระโดดร่ มกระโดดจากเครื่ องบินลงมาเป็ นเวลา 5 s จึงกระตุกร่ ม ถ้าอัตราเร็ วลดลงเป็ น 5
m/s ซึ่ งเป็ นอัตราเร็ วคงที่ภายในเวลา 3 s หลังจากกระตุกร่ ม อยากทราบว่าความหน่วงสู งสุ ดของนัก
กระโดดร่ มเป็ นเท่าใด
วิธีท ำ
หาความเร็ วของนักกระโดดร่ มที่วนิ าทีที่ 5 จากโจทย์
จากความสัมพันธ์
ก่อนกระตุกร่ ม

หาความหน่วงจากความสัมพันธ์ หลังกระตุกร่ ม
หน้า 14 ตัวอย่างการแก้โจทย์ปัญหาเรื่ องการเคลื่อนที่ 1 และ 2 มิติ วิชาฟิ สิ กส์ 1 ว 31201

ความหน่วงสูงสุ ดของนักกระโดดร่ มเป็ น 15 ตอบ

ตัวอย่ างที่ 29 โยนก้อนหินขึ้นจากแนวดิ่งด้วยความเร็ วต้น 20 m/s หลังจากถึงจุดสู งสุ ดแล้วก้อนหิ นตกลงมา


จนถึงจุดที่มีความเร็ ว 10 m/s การกระจัดและระยะทางทั้งหมดที่กอ้ นหิ นเคลื่อนที่ได้ถึงจุดนั้นเป็ นเท่าใด
วิธีท ำ
หาระยะทางที่กอ้ นหินขึ้นได้สูงสุ ดจากความสัมพันธ์

หาระยะทางที่กอ้ นหินตกลงมาและมีความเร็ วเป็ น 10 m/s

ระยะทางเท่ากับ ตอบ
การกระจัดเท่ากับ ตอบ

ตัวอย่ างที่ 30 เด็กคนหนึ่งขว้างลูกบอลขึ้นในแนวดิ่ง เมื่อลูกบอลขึ้นได้สูง 20 m อัตราเร็ วของลูกบอลเท่ากับ


10 m/s อัตราเร็วต้นและระยะสูงสุ ดที่ลูกบอลเคลื่อนที่ได้มีค่าเท่าใด

วิธีท ำ
หาอัตราเร็ วต้นจากความสัมพันธ์
จากโจทย์
แทนค่าจะได้

หาระยะที่ลูกบอลขึ้นได้สูงสุ ด จากความ
สัมพันธ์ แทนค่าจะได้
หน้า 15 ตัวอย่างการแก้โจทย์ปัญหาเรื่ องการเคลื่อนที่ 1 และ 2 มิติ วิชาฟิ สิ กส์ 1 ว 31201

อัตราเร็วต้ นมีค่าเท่ ากับ ตอบ


ระยะที่ลูกบอลขึ้นได้สูงสุ ดมีค่าเท่ากับ ตอบ

ตัวอย่ างที่ 31 จุดบั้งไฟขึ้นไปในอากาศด้วยความเร่ ง 8 m/s2 ในแนวดิ่ง เมื่อขึ้นไปได้ 10 s เชื้อเพลิงบั้งไฟ


หมดพอดี จงหาว่าบั้งไฟขึ้นสูงจากพื้นเท่าใด
วิธีท ำ
หาค่าระยะทางที่บ้ งั ไฟ หาระยะทางที่บ้ งั ไฟเคลื่อนที่ได้
เคลื่อนที่ดว้ ยความเร่ ง 8 m/s2 จาก หลังจากเชื้อเพลิงหมดจากความ
ความสัมพันธ์ สัมพันธ์ แทนค่า
ได้
แทนค่าจะได้

บั้งไฟสู งจากพื้น 400 + 320 = 720


หาความเร็ วของบั้งไฟเมื่อเวลา
เมตร ตอบ
ผ่านไป 10 s จากความสัมพันธ์
แทนค่าจะได้

ตัวอย่ างที่ 32 ปล่อยลูกเหล็กที่ระดับความสูง h ลงบนพื้นทราย ลูกเหล็กจมลงในทรายได้ L ถ้าคิดแรงต้าน


ของทรายคงที่ จงหาเวลาที่ลูกเหล็กเคลื่อนที่ในทราย
วิธีท ำ
หาค่าความเร็ วปลายของลูกเหล็ก หาความเร่ งของลูกเหล็กที่เคลื่อนที่
ในอากาศจากความสัมพันธ์ ในทรายจากความสัมพันธ์
แทนค่าจะได้ แทนค่าจะได้

หาเวลาที่ลูกเหล็กเคลื่อนที่ในทรายจากความสัมพันธ์ แทน
ค่าจะได้
หน้า 16 ตัวอย่างการแก้โจทย์ปัญหาเรื่ องการเคลื่อนที่ 1 และ 2 มิติ วิชาฟิ สิ กส์ 1 ว 31201

เวลาที่ลูกเหล็กเคลื่อนที่ในทรายมีค่าเท่ากับ วินาที ตอบ

ตัวอย่ างที่ 33 บอลลูนลอยขึ้นในแนวดิ่งด้วยความเร็ วคงที่ 5 m/s คนบนบอลลูนปล่อยก้อนหินลงมาก้อนหิ น


ตกลงมาถึงพื้นใช้เวลา 10 s หลังปล่อยขณะปล่อยก้อนหิ นลูกบอลลูนสู งจากพื้นเท่าใด

วิธีท ำ
หาการขจัดของก้อนหินจากความสัมพันธ์ เนื่องจากระยะขจัดของก้อนหิ นเท่ากับความสู ง
แทนค่าจะได้ ของบอลลูนจากพื้นจะได้วา่
ลูกบอลลูนสู งจากพื้น 450 เมตร ตอบ

ตัวอย่ างที่ 34 ปล่อยบอลลูนด้วยความเร่ ง 2 m/s2 ขึ้นไปได้ 20 s บอลลูนเคลื่อนที่ดว้ ยความเร็ วคงที่ตลอด หลังจาก


ปล่อยบอลลูนได้นาน 40 s มีวตั ถุหลุดออกจากบอลลูน นานเท่าใดวัตถุจะตกถึงพื้นหลังจากหลุดจากบอลลูน
วิธีท ำ
หาความเร็ วของบอลลูนเมื่อเวลาผ่านไป 20 s จาก หาการขจัดของบอลลูนขณะที่บอลลูนเคลื่อนที่ดว้ ย
ความสัมพันธ์ แทนค่าจะได้ ความเร็ วคงที่จาก แทนค่าจะได้

หาการขจัดของบอลลูนเมื่อเวลาผ่านไป 20 s จาก
ความสัมพันธ์ แทนค่าจะได้ การขจัดของบอลลูนเมื่อเวลาผ่านไป 40 s เท่ากับ
400 + 800 = 1200 m

หาเวลาที่วตั ถุจะตกถึงพื้นจากความสัมพันธ์ แทนค่าจะได้

เวลาที่วตั ถุตกถึงพื้นหลังจากหลุดจากบอลลูนมีค่าเท่ากับ 20 วินาที ตอบ


หน้า 17 ตัวอย่างการแก้โจทย์ปัญหาเรื่ องการเคลื่อนที่ 1 และ 2 มิติ วิชาฟิ สิ กส์ 1 ว 31201

ตัวอย่ างที่ 35 ปล่อยบอลลูนขึ้นในแนวดิ่งด้วยความเร็ วคงที่ 10 m/s หลังจากปล่อยขึ้นได้นาน 12 s มีวตั ถุหล่นออก


มาชิ้นหนึ่ง ต่อมาไม่นานมีวตั ถุชิ้นที่สองหล่นตามมา ปรากฏว่าวัตถุชิ้นที่สองอยูใ่ นอากาศนานกว่าชิ้นแรก 2 s อยาก
ทรายว่าวัตถุชิ้นที่สองหล่น บอลลูนสูงจากพื้นเท่าใด
วิธีท ำ
หาการขจัดของบอลลูนเมื่อปล่อยขึ้นไป 12 s จาก หาค่าเวลาที่วตั ถุตกจากระยะ 120 m จากความ
ความสัมพันธ์ แทนค่าจะได้ สัมพันธ์ แทนค่าจะได้

เวลาที่วตั ถุที่สองอยูใ่ นอากาศคือ 6 + 2 = 8 วินาที จะได้วา่

วัตถุชิ้นที่สองหล่น บอลลูนสูงจากพื้น 240 เมตร ตอบ

You might also like