You are on page 1of 25

17170

การไฟฟ้าส่ วนภูมิภาค
2
องค์ ความรู้ (Body of Knowledge)

คานา
One Point Knowledge (OPK) นี้จัดทาขึ้นเพื่อเป็นคู่มือการใช้งานโปรแกรม CDEGS เบื้องต้นใน
การวิเคราะห์หาคุณลักษณะค่าสภาพต้านทานดิน เพื่อให้วิศวกรใหม่ของกองออกแบบสถานีไฟฟ้า (กอฟ.) วิศวกรผู้
ที่ไม่ได้ใช้งานโปรแกรมดังกล่าวเป็นเวลานาน และผู้ที่สนใจศึกษาการใช้งานโปรแกรมดังกล่าว ใช้เป็นแนวทางใน
การใช้โปรแกรม CDEGS ในการวิเคราะห์หาคุณลักษณะค่าสภาพต้านทานดิน ผู้จัดทาหวังอย่างยิ่งว่า OPK นี้จะ
สามารถลดระยะเวลาในการสอนการใช้งานโปรแกรมดังกล่ าวให้ กับวิศวกรใหม่ของ กอฟ. และสามารถเป็น
แหล่งข้อมูลให้วิศวกรของ กอฟ. ผู้ที่ไม่ได้ใช้งานโปรแกรมดังกล่าวเป็นเวลานานได้มีแหล่งข้อมูลเพื่อกลับมาทบทวน
การใช้งานโปรแกรมดังกล่าว
หากมีข้อผิดพลาดในเนื้อหาประการใด ผู้จัดทาพร้อมรับข้อเสนอแนะและขออภัยมา ณ ที่นี้

พัชรี ทองอินต๊ะ
ผู้จัดทา

องค์ ความรู้ ประสบการณ์ ผ้ปู ฏิบตั งิ าน .................................... | หน่ วยงาน


การไฟฟ้าส่ วนภูมิภาค
3
องค์ ความรู้ (Body of Knowledge)

สารบัญ
1. วัตถุประสงค์ขององค์ความรู้ .............................................................................................................................. 4
2. โมดูล Resap ..................................................................................................................................................... 6
2.1 การใช้งานโมดูล Resap ............................................................................................................................. 6
2.2 การปรับ RMS Error โดยฟังก์ชัน Optimization ................................................................................... 15
2.3 ประสบการณ์ผู้ปฏิบัติติงาน ..................................................................................................................... 22
2.4 ตัวอย่างกราฟและ Report ผลการวิเคราะห์คุณลักษณะค่าสภาพต้นทานดิน
ที่ได้จากโปรแกรม CDEGS ...................................................................................................................... 23
3. ข้อคิดเห็นเพิ่มเติม........................................................................................................................................... 25

องค์ ความรู้ ประสบการณ์ ผ้ปู ฏิบตั งิ าน .................................... | หน่ วยงาน


การไฟฟ้าส่ วนภูมิภาค
4
องค์ ความรู้ (Body of Knowledge)

1. วัตถุประสงค์ขององค์ความรู้
1. เพื่อช่วยลดระยะเวลาในการสอนการใช้งานโปรแกรม CDEGS ให้กับวิศวกรใหม่ของ กอฟ.
2. เพื่อเป็นข้อมูลให้วิศวกรของ กอฟ. ที่ไม่ได้ใช้งานโปรแกรมดังกล่าวเป็นเวลานานได้มีแหล่งข้อมูลไว้เพื่อ
ทบทวนการใช้งานโปรแกรมดังกล่าว

องค์ ความรู้ ประสบการณ์ ผ้ปู ฏิบตั งิ าน .................................... | หน่ วยงาน


การไฟฟ้าส่ วนภูมิภาค
5
องค์ ความรู้ (Body of Knowledge)

CDEGS

RESAP MALT
วิเคราะห์เพื่อหาคุณลั กษณะ วิเคราะห์ระบบกราวด์กริดที่
ค่าสภาพต้านทานดินของดิน ท าการออกแบบว่ า มี ค วาม
ในพื้นที่ ปลอดภัยเพียงพอหรือไม่

ในการออกแบบระบบกราวด์ของสถานีไฟฟ้า ผู้ใช้งานจะต้องใช้ฟังก์ชันการทางานของโปรแกรม CDEGS


จานวน 2 โมดูล คือ 1. โมดูล Resap และ 2. โมดูล Malt
โมดูล Resap เป็นโมดูลสาหรับวิเคราะห์หาคุณลักษณะค่าสภาพต้านทานดินของดิน โดยโมดูล Resap จะ
นาข้อมูลค่าความต้านทานดิน หรือ ค่าสภาพต้านทานดิน ที่ผู้ใช้งานป้อนให้กับโมดูลมาทาการวิเคราะห์เพื่อหาว่า
พื้นที่ที่ได้ทาการวัดค่าความต้านทานดิน หรือ ค่าสภาพต้านทานดิน มานั้นมีลักษณะค่า สภาพต้านทานดินเป็น
อย่างไร เช่น เป็นพื้นที่ที่มีลักษณะค่า สภาพต้านทานดินเป็นค่าเดียว (Uniform Soil Model) หรือเป็นพื้นที่ที่มี
ลักษณะค่าสภาพต้านทานดินเป็น 2 ค่า หรือ 3 ค่า (Multi layers Soil Model)
โมดูล Malt เป็นโมดูลสาหรับวิเคราะห์กราวด์กริดที่ผู้ใช้งานได้ทาการออกแบบว่า กราวด์กริดที่ได้ทาการ
ออกแบบเมื่อมาอยู่ภายใต้พื้นดินที่มีคุณลักษณะค่าสภาพต้านทานดินหนึ่งๆ นั้น มีความปลอดภัยเพียงพอหรือไม่
โดยกราวด์กริดที่ได้ทาการออกแบบเมื่อมาอยู่ภายใต้พื้นดินที่มีคุณลักษณะค่าสภาพต้านทานดินหนึ่งๆ จะต้องทาให้
เกิด Touch Voltage และ Step Voltage ในระดับที่ไม่ก่อให้เกิดอันตรายแก่ผู้ปฏิบัติงานในสถานีไฟฟ้า

องค์ ความรู้ ประสบการณ์ ผ้ปู ฏิบตั งิ าน .................................... | หน่ วยงาน


การไฟฟ้าส่ วนภูมิภาค
6
องค์ ความรู้ (Body of Knowledge)

2. โมดูล Resap
2.1 การใช้งานโมดูล Resap

รูปที่ 1 หน้าต่างแรกของโปรแกรม CDEGS

จากรูปที่ 1 คือ หน้าต่างแรกของโปรแกรม CDEGS ในหน้าต่างแรกของโปรแกรมผู้ใช้งานจะต้อง


1. ทาการระบุตาแหน่งที่จะเก็บไฟล์งานบนคอมพิวเตอร์ (ระบุ directory ที่จะเก็บไฟล์) โดยการพิมพ์
ตาแหน่งที่จะจัดเก็บไฟล์ลงบนช่องที่ 1 หรือ อาจทาการระบุตาแหน่งดังกล่าวโดยการกดปุมม Browse
2. ทาการตั้งชื่อไฟล์งานโดยการพิมพ์ชื่อไฟล์ลงในช่องที่ 2
3. คลิกใช้งานโมดูล Resap

องค์ ความรู้ ประสบการณ์ ผ้ปู ฏิบตั งิ าน .................................... | หน่ วยงาน


การไฟฟ้าส่ วนภูมิภาค
7
องค์ ความรู้ (Body of Knowledge)

รูปที่ 2 หน้าต่างของโมดูล Resap

ในหน้าต่างของโมดูล Resap ผู้ใช้งานจะต้องทาการป้อนข้อมูลค่าความต้านทานดิน หรือ ค่าสภาพ


ต้านทานดิน ที่ทาการวัดมาให้กับโปรแกรม โดยคลิกใช้งานฟังก์ชัน Measurements

องค์ ความรู้ ประสบการณ์ ผ้ปู ฏิบตั งิ าน .................................... | หน่ วยงาน


การไฟฟ้าส่ วนภูมิภาค
8
องค์ ความรู้ (Body of Knowledge)

รูปที่ 3 หน้าต่างของฟังก์ชัน Measurement

ในหน้าต่างฟังก์ชัน Measurement ผู้ใช้งานจะต้องป้อนข้อมูลค่าความต้านทานดิน หรือ ค่าสภาพความ


ต้านทานดิน ที่ทาการวัดมาลงในช่องที่ 3 โดยผู้ใช้งานจะต้องเลือก Method ให้สอดคล้องกับ Method ที่ผู้ใช้งาน
ใช้วัดค่าความต้านทานดิน ซึ่ง Method ที่กองออกแบบสถานีไฟฟ้า (กอฟ.) ใช้ คือ Wenner ซึ่งเป็น Method
ทีม่ าตรฐาน IEEE 81 แนะนาสาหรับการวัดค่าความต้านทานดินในพื้นที่ขนาดใหญ่ และเลือก Type ของข้อมูลให้
สอดคล้องกับข้อมูลที่ได้ทาการวัด จากนั้นเลือก Options เป็น Ignore Probe Depth หากผู้ใช้งานวัดค่าความ
ต้านทานดิน หรือ ค่าสภาพต้านทานดิน มาโดยไม่ได้พิจารณาความลึกของโพรบ หรือ เลือก Account for
Probe Depth หากผู้ใช้งานวัดค่าความต้านทานดิน หรือ ค่าสภาพต้านทานดิน โดยพิจารณาความลึกของโพรบ
ด้วย และผู้ใช้งานสามารถเรียกดูกราฟของข้อมูลที่ป้อนให้กับโปรแกรมได้โดยคลิกที่ Show Data เมื่อป้อนข้อมูล
เสร็จแล้วให้คลิก OK จากนั้นโปรแกรมจะกลับสู่หน้าต่างโมดูล Resap อีกครั้ง

องค์ ความรู้ ประสบการณ์ ผ้ปู ฏิบตั งิ าน .................................... | หน่ วยงาน


การไฟฟ้าส่ วนภูมิภาค
9
องค์ ความรู้ (Body of Knowledge)

รูปที่ 4 หน้าต่างของโมดูล Resap

จากนั้นผู้ใช้งานจะต้องเลือกรูปแบบการวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อให้โปรแกรมใช้ในการวิเคราะห์ โดยการคลิกที่
ฟังก์ชัน Soil Type

องค์ ความรู้ ประสบการณ์ ผ้ปู ฏิบตั งิ าน .................................... | หน่ วยงาน


การไฟฟ้าส่ วนภูมิภาค
10
องค์ ความรู้ (Body of Knowledge)

รูปที่ 5 หน้าต่างของฟังก์ชัน Soil type

ในหน้าต่างฟังก์ชัน Soil type ผู้ใช้งานสามารถเลือกรูปแบบการวิเคราะห์ข้อมูลได้จาก Soil Type ซึ่ง


โดยทั่วไปจะทาการเลือกรูปแบบการวิเคราะห์ข้อมูล เป็น Horizontal Layers (เพราะพื้น ดินส่วนมากจะมี
คุณลักษณะค่าสภาพต้านทานดินเป็นแบบ Horizontal Layers) และผู้ใช้งานสามารถกาหนดจานวนชั้นดินของ
การวิเคราะห์แบบ Horizontal Layers ให้กับโปรแกรมได้ โดยคลิก User-Defined และป้อนจานวนชั้นดินที่
ต้องการลงในช่องด้านขวาของ User-Defined หรือผู้ใช้งานสามารถเลือกให้โปรแกรมทาการวิเคราะห์จานวนชั้น
ดินจากข้อมูลให้โดยอัตโนมัติโดยการคลิก Determine Automatically จากนั้นกด OK

องค์ ความรู้ ประสบการณ์ ผ้ปู ฏิบตั งิ าน .................................... | หน่ วยงาน


การไฟฟ้าส่ วนภูมิภาค
11
องค์ ความรู้ (Body of Knowledge)

รูปที่ 6 หน้าต่างของโมดูล Resap

จากนั้นให้คลิกฟังก์ชัน Compute/Summit เพื่อให้โปรแกรมเริ่มทาการวิเคราะห์และจาลองคุณลักษณะ


ค่าสภาพต้านทานดินจากข้อมูลที่ป้อน

องค์ ความรู้ ประสบการณ์ ผ้ปู ฏิบตั งิ าน .................................... | หน่ วยงาน


การไฟฟ้าส่ วนภูมิภาค
12
องค์ ความรู้ (Body of Knowledge)

รูปที่ 7 การวิเคราะห์ข้อมูลค่าความต้านทานดิน หรือ ค่าสภาพต้านทานดิน ของโปรแกรม

องค์ ความรู้ ประสบการณ์ ผ้ปู ฏิบตั งิ าน .................................... | หน่ วยงาน


การไฟฟ้าส่ วนภูมิภาค
13
องค์ ความรู้ (Body of Knowledge)

รูปที่ 8 หน้าต่างโปรแกรมเมื่อทาการวิเคราะห์ข้อมูลเสร็จ

จากรูปที่ 8 ผู้ใช้งานสามารถเลือกหน่วยของกราฟข้อมูลในแนวแกน X ได้จาก X-Axis Units และสามารถ


เลือกรูปแบบสเกลของข้อมูลในแนวแกน X และ Y ได้จาก Types of Scale จากนั้นผู้ใช้งานสามารถเรียกดูกราฟ
ข้อมูลค่าสภาพต้านทานดินและค่าที่โปรแกรมทาการวิเคราะห์ได้โดยการคลิก Plot/Draw และเรียกดู Report
ของการของการวิเคราะห์ได้จากการคลิก Report และหากผู้ใช้งานต้องการกลับไปยังหน้าต่างโมดูล Resap เพื่อ
แก้ไขการตั้งค่าต่างๆ ให้คลิกที่ Specify

องค์ ความรู้ ประสบการณ์ ผ้ปู ฏิบตั งิ าน .................................... | หน่ วยงาน


การไฟฟ้าส่ วนภูมิภาค
14
องค์ ความรู้ (Body of Knowledge)

รูปที่ 9 ตัวอย่างกราฟข้อมูลค่าสภาพต้านทานดินที่โปรแกรมวิเคราะห์ได้ (เส้นสีเขียว)


และค่าสภาพต้านทานดินที่คานวณจากค่าความต้านทานดินที่ผู้ใช้งานป้อน หรือ ค่าสภาพต้านทานดินที่ผู้ใช้งานได้ทาการวัด (จุดสีน้าเงิน)

ชื่องาน %RMS Error ระหว่างค่าสภาพ


ต้านทานดินที่วดั ได้ และค่าสภาพ
ต้านทานดินที่โปรแกรมคานวณได้

คุณลักษณะค่าสภาพต้านทานดินที่
โปรแกรมทาการวิเคราะห์ได้

รูปที่ 10 ตัวอย่าง Report ที่ได้จากการวิเคราะห์

องค์ ความรู้ ประสบการณ์ ผ้ปู ฏิบตั งิ าน .................................... | หน่ วยงาน


การไฟฟ้าส่ วนภูมิภาค
15
องค์ ความรู้ (Body of Knowledge)

จากรูปที่ 10 พบว่า คุณลักษณะค่าสภาพต้านทานดินที่โปรแกรมทาการวิเคราะห์ได้นั้น มีลักษณะเป็นดิน


3 ชั้น โดยชั้นแรกมีค่าสภาพต้านทานดินเป็น 61.25 โอห์ม-เมตร มีความหน้าของชั้นดินเป็น 0.85 เมตร ชั้นที่สองมี
ค่าสภาพต้านทานดินเป็น 254.51 โอห์ม -เมตร มีความหนาของชั้ นดินเป็น 0.3 เมตร และชั้นที่สามมีค่าสภาพ
ต้านทานดินเป็น 62.08 โอห์ม-เมตร และคุณลักษณะค่าความต้านทานดินที่โปรแกรมวิเคราะห์ได้มีค่า RMS Error
เป็น 28.24 % (Root Mean Square Error, RMS Error หมายถึง รากที่สองของค่าเฉลี่ยของค่าความ
คลาดเคลื่อนยกกาลังสอง ซึ่งค่า RMS Error เป็นค่าที่แสดงการกระจายตัวของ ค่าความต้านทานดิน หรือ ค่า
สภาพต้านทานดินที่ได้ทาการวัดมาว่ามีการกระจายตัวของข้อมูลห่างจากค่าสภาพต้านทานดินที่โปรแกรมวิเคราะห์
ได้ (เส้นสีเขียวในรูปที่ 9) มากเท่าไร ซึ่งถ้า RMS Error ที่โปรแกรมคานวณได้มีค่าต่า นั่นแสดงให้เห็นว่าค่าสภาพ
ต้านทานดินที่โปรแกรมวิเคราะห์ได้มีความคลาดเคลื่อนจากค่าที่ทาการวัดมาน้อย )
2.2 การปรับ RMS Error โดยฟังก์ชัน Optimization

รูปที่ 11 หน้าต่างโปรแกรมเมื่อทาการวิเคราะห์ข้อมูลเสร็จ

องค์ ความรู้ ประสบการณ์ ผ้ปู ฏิบตั งิ าน .................................... | หน่ วยงาน


การไฟฟ้าส่ วนภูมิภาค
16
องค์ ความรู้ (Body of Knowledge)

หากผู้ใช้งานต้องการปรับ RMS Error ของผลการวิเคราะห์คุณลักษณะค่าสภาพต้านทานดินที่โปรแกรม


ทาการวิเคราะห์ได้ ให้ผู้ใช้งานคลิก Specify เพื่อกลับไปยังหน้าต่างโมดูล Resap เพื่อแก้ไขการตั้งค่าการวิเคราะห์
ข้อมูลในฟังก์ชัน Optimization

รูปที่ 12 หน้าต่างของโมดูล Resap

เมื่อกลับมายังหน้าต่างโมดูล Resap ให้ผู้ใช้งานคลิกฟังก์ชัน Optimization

องค์ ความรู้ ประสบการณ์ ผ้ปู ฏิบตั งิ าน .................................... | หน่ วยงาน


การไฟฟ้าส่ วนภูมิภาค
17
องค์ ความรู้ (Body of Knowledge)

รูปที่ 13 หน้าต่างของฟังก์ชัน Optimization

ในฟังก์ชัน Optimization ผู้ใช้งานสามารถปรับค่า Accuracy, Iterations และ Step Size เพื่อให้


ได้ผลการวิเคราะห์ข้อมูลที่มีค่า RMS Error น้อยลง
Accuracy: การระบุค่า accuracy หมายถึงการระบุค่า root mean square error (RMS Error) สูงสุด
ที่ยอมรับได้ระหว่างค่าที่ทาการวัดมากับค่าที่โปรแกรมคานวณได้ ในระบบ per unit ซึ่งสามารถระบุค่าดังกล่าวได้
ตั้งแต่ 0 ถึง 1 แต่ค่าปกติที่นิยมเลือกใช้จะอยู่ที่ 0.001 (0.1%) ถึง 0.1 (10%) ซึ่ง default ของโปรแกรมจะ
กาหนดค่าดังกล่าวไว้ที่ 0.025
Iterations: การระบุค่า Iterations หมายถึงการระบุจานวน cycles หรือ Iterations สูงสุดที่ยอมให้
โปรแกรมทาการคานวณได้ ผู้ใช้งานสามารถระบุค่าดังกล่าวได้ตั้งแต่ 0 ถึง อนันต์ ซึ่ง default ของโปรแกรมจะ
กาหนดค่าดังกล่าวไว้ที่ 500
Step Size: การระบุค่า Step Size หมายถึงการระบุค่า Step Size (ในหน่วย per unit) ของ search
optimization algorithm สาหรับการวิเคราะห์ชั้นดินแบบ non-horizontal หรือ หมายถึงการเปลี่ยนแปลง
ต่าสุดของค่า RMS Error สาหรับการวิเคราะห์ชั้นดินแบบ horizontal multilayer ผู้ใช้งานสามารถระบุค่า
ดังกล่าวได้ตั้งแต่ 0 ถึง 1 ซึ่ง default ของโปรแกรมจะกาหนดค่าดังกล่าวไว้ที่ 0.0001 สาหรับการวิเคราะห์ชั้นดิน

องค์ ความรู้ ประสบการณ์ ผ้ปู ฏิบตั งิ าน .................................... | หน่ วยงาน


การไฟฟ้าส่ วนภูมิภาค
18
องค์ ความรู้ (Body of Knowledge)

แบบ horizontal multilayer ถ้าค่าเฉลี่ยของ RMS Error น้อยกว่าค่าที่ระบุไว้ใน Step Size โปรแกรมจะหยุดทา
การคานวณ โดยทั่วไปค่า default ที่โปรแกรมกาหนดไว้ก็เพียงพอแล้วสาหรับการวิเคราะห์

รูปที่ 14 ค่าสภาพต้านทานดินที่ได้จากการวิเคราะห์ของโปรแกรม (เส้นสีเขียว) เทียบกับค่าสภาพต้านทานดินทีไ่ ด้จากค่าความต้านทานดินจากการวัด ที่


ค่า Accuracy=0.025 Iteration=500 และ Step Size=0.0001

องค์ ความรู้ ประสบการณ์ ผ้ปู ฏิบตั งิ าน .................................... | หน่ วยงาน


การไฟฟ้าส่ วนภูมิภาค
19
องค์ ความรู้ (Body of Knowledge)

รูปที่ 15 ผลการวิเคราะห์ชั้นดินที่ได้จากโปรแกรม ที่ ค่า Accuracy=0.025 Iteration=500 และ Step Size=0.0001

องค์ ความรู้ ประสบการณ์ ผ้ปู ฏิบตั งิ าน .................................... | หน่ วยงาน


การไฟฟ้าส่ วนภูมิภาค
20
องค์ ความรู้ (Body of Knowledge)

รูปที่ 16 ค่าสภาพต้านทานดินที่ได้จากการคานวณ (เส้นสีเขียว) เทียบกับค่าสภาพต้านทานดินที่คานวณจากค่าความต้านทานดินที่ได้จากการวั ด ที่ค่า


Accuracy=0.025 Iteration=1000 และ Step Size=0.0001

องค์ ความรู้ ประสบการณ์ ผ้ปู ฏิบตั งิ าน .................................... | หน่ วยงาน


การไฟฟ้าส่ วนภูมิภาค
21
องค์ ความรู้ (Body of Knowledge)

รูปที่ 17 ผลการวิเคราะห์ชั้นดินที่ได้จากโปรแกรม ที่ค่า Accuracy=0.025 Iteration=1000 และ Step Size=0.0001

จากรูปที่ 14 และ 16 พบว่า เมื่อปรับค่า Iteration จะทาให้ค่าสภาพต้านทานดินที่ได้จากการวิ เคราะห์


ของโปรแกรม (เส้นสีเขียว) ใกล้เคียงกับค่าสภาพต้านทานดินที่คานวณได้จากค่าความต้านทานดินที่ได้จากการวัด
มากยิ่งขึ้น และจากรูปที่ 15 และ 17 พบว่า เมื่อปรับค่า Iteration จะทาให้ผลการวิเคราะห์ชั้นดินที่ได้จาก
โปรแกรมมีความแตกต่างกัน และ ค่า RMS error มีค่าลดลงจาก 28.2410 เปอร์เซ็นต์ เป็น 26.3241 เปอร์เซ็นต์

องค์ ความรู้ ประสบการณ์ ผ้ปู ฏิบตั งิ าน .................................... | หน่ วยงาน


การไฟฟ้าส่ วนภูมิภาค
22
องค์ ความรู้ (Body of Knowledge)

2.3 ประสบการณ์ผู้ปฏิบัติติงาน
จากประสบการณ์ผู้ปฏิบัติงาน พบว่า ค่า Accuracy = 0.025 และค่า Step Size = 0.0001 ซึ่งเป็นค่า
default ที่โปรแกรมกาหนดไว้มีความเหมาะสมเพียงพอสาหรับการวิเคราะห์หาคุณลักษณะค่าสภาพต้านทานดิน
แล้ว ซึ่งค่าที่ผู้ปฏิบัติงานนิยมปรับคือ ค่า Iteration เท่านั้น จากรูปที่ 14 จะเห็นว่าภายใต้ค่า Accuracy = 0.025
และค่า Step Size = 0.0001 เมื่อกาหนดค่า Iteration = 500 โปรแกรมจะทาการคานวณทั้งหมด 500
Iteration ซึ่งเท่ากับค่า Iteration ที่ได้กาหนดไว้ ซึ่งหมายความว่าสามารถเพิ่มค่า Iteration ของการคานวณได้อีก
และจากรูปที่ 16 จะเห็นว่าภายใต้ค่า Accuracy = 0.025 และค่า Step Size = 0.0001 เมื่อกาหนดค่า Iteration
= 1000 โปรแกรมจะทาการคานวณทั้งหมด 810 Iteration ซึ่งน้อยกว่าค่า Iteration ที่ได้กาหนดไว้ นั่น
หมายความว่าภายใต้ค่า Accuracy = 0.025 และค่า Step Size = 0.0001 โปรแกรมสามารถคานวณได้มากที่สุด
810 Iteration เท่านั้น ซึ่งการเพิ่มค่า Iteration มากยิ่งขึ้น (มากกว่า 810) จะไม่มีผลต่อการวิเคราะห์ของ
โปรแกรมภายใต้ค่า Accuracy และค่า Step Size นั้นๆ และถือได้ว่าค่าสภาพต้านทานดินที่โปรแกรมวิเคราะห์ได้
ที่ Iteration มากกว่า 810 เป็นผลการวิเคราะห์ที่มีความเหมาะสมเพียงพอที่จะสามารถนาไปใช้งานต่อได้

องค์ ความรู้ ประสบการณ์ ผ้ปู ฏิบตั งิ าน .................................... | หน่ วยงาน


การไฟฟ้าส่ วนภูมิภาค
23
องค์ ความรู้ (Body of Knowledge)

2.4 ตัวอย่างกราฟและ Report ผลการวิเคราะห์คุณลักษณะค่าสภาพต้นทานดินที่ได้จากโปรแกรม CDEGS

รูปที่ 17 ผลการจาลองชั้นดินของสถานีไฟฟ้าเมืองเอก2

องค์ ความรู้ ประสบการณ์ ผ้ปู ฏิบตั งิ าน .................................... | หน่ วยงาน


การไฟฟ้าส่ วนภูมิภาค
24
องค์ ความรู้ (Body of Knowledge)

รูปที่ 17 ผลการจาลองชั้นดินของสถานีไฟฟ้าสะเดา2

องค์ ความรู้ ประสบการณ์ ผ้ปู ฏิบตั งิ าน .................................... | หน่ วยงาน


การไฟฟ้าส่ วนภูมิภาค
25
องค์ ความรู้ (Body of Knowledge)

3. ข้อคิดเห็นเพิ่มเติม
สาหรับการจัดทา KM ในครั้งนี้ ผู้จัดทาได้จัดทา VDO และ คู่มือการใช้งานโปรแกรม CDEGS เบื้องต้น ใน
ส่วนของโมดูล Resap เท่านั้น จึงมีข้อคิดเห็นเพิม่ เติมสาหรับผู้ที่จะจัดทาคู่มือการใช้งานโปรแกรมดังกล่าวในลาดับ
ถัดไป ให้จัดทาการใช้งานโปรแกรมในส่วนของโมดูล Malt เพิ่มเติม

องค์ ความรู้ ประสบการณ์ ผ้ปู ฏิบตั งิ าน .................................... | หน่ วยงาน

You might also like