You are on page 1of 65

่ ดท

เอกสารประกอบสือวี ิ ศ
ั น์
คณิ ตศาสตร ์ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น


เนื อหา
“อ ัตราส่วนตรีโกณมิต”ิ

ภายใต้โครงการสนับสนุนสือ่ วีดีทัศน์ประกอบการเรียนการสอน
เพือ่ แก้ไขปั ญหาขาดแคลนครูให้กับโรงเรียนขนาดเล็ก (ประจาปี งบประมาณ 2564)

จ ัดทาโดย
โปรแกรมวิชาคณิ ตศาสตร ์ คณะครุศาสตร ์
มหาวิทยาลัยราชภัฏกาแพงเพชร

คำนำ

โปรแกรมวิชาคณิตศาสตร คณะครุศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร ไดจัดทำเอกสารประกอบ


การใชวีดีทัศนการสอนในเนื้อหาคณิตศาสตรระดับมัธยมศึกษาตอนตน ภายใตโครงการสนับสนุนสื่ อวีดีทัศน
ประกอบการเรียนการสอน เพื่อแกไขปญหาขาดแคลนครูใหกับโรงเรียนขนาดเล็ก ซึ่งไดนำเสนอการสอน
คณิตศาสตรใน 5 เนื้อหา ดังนี้
1. อัตราสวนตรีโกณมิติ
2. ความนาจะเปน
3. สมการเชิงเสนสองตัวแปร
4. พื้นที่ผิวและปริมาตรของรูปทรงเรขาคณิตสามมิติ
5. ฟงกชันกำลังสอง
โดยเอกสารชุดนี้เปนชุดที่ 1 อัตราสวนตรีโกณมิติ ประกอบไปดวย ขอบเขตของเนื้อหา ขอสอบกอนเรียน
และหลั ง เรี ย นเพื ่ อ ใช ใ นการวั ด และประเมิ น ผลด า นความรู  ข องผู  เ รี ย น เอกสารพาวเวอร พ อยท (PPT)
ซึ่งเปนเอกสารชุดเดียวกับที่ปรากฏในวีดีทศั น
คณะผู  จ ั ด ทำหวั ง เป น อย า งยิ่ ง ว า จะเกิด ประโยชน ต  อ การเรี ย นรู  ค ณิ ต ศาสตร ใ ห ก ั บ ผู  เ รี ย นในระดั บ
ชั้นมัธยมศึกษา เพื่อใชในการตอยอดการเรียนรูในระดับที่สูงขึ้น หรือเปนแนวทางในการทำขอสอบวัดความรู
ในระดับตางๆ

อาจารยโกมินทร บุญชู (ผูจัดทำ)


และคณาจารยโปรแกรมวิชาคณิตศาสตร
คณะครุศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร
มกราคม 2564

คูมือการใชสื่อวีดีทัศน

1. เนื้อหา เรื่อง อัตราสวนตรีโกณมิติ


2. ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3
3. สาระที่ 2 การวัดและเรขาคณิต
4. มาตรฐาน ค 2.2 เขาใจและวิเคราะหรูปเรขาคณิต สมบัติของรูปเรขาคณิต ความสัมพันธระหวาง
รูปเรขาคณิต และทฤษฎีบททางเรขาคณิต และนำไปใช
ตัวชี้วัด ม.2/2 เขาใจและใชความรูเกี่ยวกับอัตราสวนตรีโกณมิติในการแกปญหาคณิตศาสตร
และปญหาในชีวิตจริง
5. ขอบเขตเนื้อหาในคลิปการสอน
5.1 ความหมายของอัตราสวนตรีโกณมิติ
5.2 อัตราสวนตรีโกณมิติมุมแหลม
5.3 การนำอัตราสวนตรีโกณมิติไปใชในการแกปญหา
6. การวัดและประเมินผล
แบบทดสอบกอนเรียน / แบบทดสอบหลังเรียน จำนวน 20 ขอ พรอมเฉลย
แบบทดสอบกอนเรียน /หลังเรียน
เรื่อง อัตราสวนตรีโกณมิติ

โครงการสนับสนุนสื่อวีดีทัศนประกอบการเรียนการสอน เพือ่ แกไขปญหาขาดแคลนครูใหกับโรงเรียนขนาดเล็ก


คณะครุศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร
1

แบบทดสอบกอนเรียน / แบบทดสอบหลังเรียน

แบบทดสอบกอนเรียน เรื่อง อัตราสวนตรีโกณมิติ


1. จากรูป tan A + cos A เทากับขอใด

a c b b
ก. + ข. +
b d a c
a a a b
ค. + ง. +
b c b c

2.
จากรูป cos A เทากับขอใด

4 1 1 2
ก. ข. ค. ง.
2 5 5 2 5

โครงการสนับสนุนสื่อวีดีทัศนประกอบการเรียนการสอน เพือ่ แกไขปญหาขาดแคลนครูใหกับโรงเรียนขนาดเล็ก


คณะครุศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร
2

3. ขอใดไมถูกตอง
ก. sin 45° cos 45° =1 ข. sin 30° cos 60° =1
ค. tan 45° tan 45° =1 ง. tan 30° tan 60° =1

4.

 = 40° และ BC = 5 หนวย แลว AB ยาวประมาณเทาไร


จากรูป ถา ACB
(กำหนดให tan 40° = 0.8)
ก. 4.0 หนวย ข. 4.2 หนวย
ค. 4.5 หนวย ง. 4.8 หนวย

5. จากขอ 4 จะได AC ยาวเทาไร


ก. 33 หนวย ข. 39 หนวย
ค. 41 หนวย ง. 47 หนวย

6. คาของ sin 30° cos 60° + cos 30° sin 60° เทากับขอใด
1 1
ก. ข. ค. 1 ง. 0
4 2

7.

 = 45° , ADC
กำหนดให ABC  = 30° และ AD = 14 หนวย แลว CA ยาวเทาไร
ก. 6 หนวย ข. 7 หนวย
ค. 9 หนวย ง. 14 หนวย

โครงการสนับสนุนสื่อวีดีทัศนประกอบการเรียนการสอน เพือ่ แกไขปญหาขาดแคลนครูใหกับโรงเรียนขนาดเล็ก


คณะครุศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร
3

8. จากรูป sin A เทากับขอใด


24 25
ก. ข.
25 24

7 7
ค. ง.
25 24

9. จากขอ 8 จะได BD ยาวเทาไร


ก. 7 3 หนวย ข. 7 3 + 2 หนวย
7+ 3
ค. 7(1 + 3 ) หนวย ง. หนวย
3
10. ขอใดตอไปนี้ถูกตอง
ก. 0  cos x  1 ข. -1  sin x  1
ค. tan x  0 ง. sin x  cos x

11. จากรูป sin A + cos C เทากับขอใด


30
ก. ข. 1
34
30
ค. 2 ง.
17

4
12. กำหนดให 0° < A < 90° และ cos A = แลว tan A เทากับขอใด
5
3 3 4 5
ก. ข. ค. ง.
5 4 3 3

13. ขอใดไมถูกตอง
ดานตรงขามมุม A ดานตรงขามมุม A
ก. sin A = ข. cos A =
ดานตรงขามมุมฉาก ดานประชิดมุม A
ดานตรงขามมุม A sin A
ค. tan A = ง. tan A =
ดานประชิดมุม A cos A

โครงการสนับสนุนสื่อวีดีทัศนประกอบการเรียนการสอน เพือ่ แกไขปญหาขาดแคลนครูใหกับโรงเรียนขนาดเล็ก


คณะครุศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร
4

1
14. ถา 0° < A < 90° และ sin A = แลว tan A เทากับขอใด
a
1 1
ก. ข.
a2 - 1 1 - a2

1
ค. a2 - 1 ง.
a2 +1
15. ผูกลวดกับยอดเสาธง ดึงลวดใหตึงผูกกับหมุดบนดิน หางจากโคนเสา 25 ฟุต ถาลวดทำมุมกับ
พื้นดิน 55° แลวเสาธงตนนี้สูงเทาไร (กำหนดให tan 55° = 1.4)
ก. 49 ฟุต ข. 35 ฟุต ค. 50 ฟุต ง. 51 ฟุต

1 4 sin A + 3 cos A
16. ถา tan A = แลว ตรงกับขอใด
3 4 cos A - 4 sin A
3 13
ก. ข. 2 ค. 3 ง.
20 8
17. กำหนดให 3 + 2sin 30° = 2x - 3 คา x ตรงกับขอใด
2 7
ก. 0 ข. ค. ง. 7
7 2
18. นักเรียนคนหนึ่งยืนหางจากตึก 60 เมตร เขาสังเกตเห็นยอดตึกทำมุมเงย 60°
ตึกนี้สูงประมาณกี่เมตร (กำหนดให 2  1.414 และ 3  1.732 )
ก. 100.72 เมตร ข. 101.28 เมตร ค. 102.64 เมตร ง. 103.92 เมตร

19. คาของ cos 30° cos 60° - sin 30°sin 60° เทากับขอใด
3 1 1
ก. -1 ข. ค. ง. 0
2 2 4
20. ถาเงาเสาธงตนหนึ่งทอดยาว 2 3 เมตร และปลายเงาทำมุมเงยกับยอดเสา 60° แลวเสาธงสูง
กี่เมตร
ก. 5 เมตร ข. 6 เมตร ค. 9 เมตร ง. 12 เมตร

โครงการสนับสนุนสื่อวีดีทศั นประกอบการเรียนการสอน เพือ่ แกไขปญหาขาดแคลนครูใหกับโรงเรียนขนาดเล็ก


คณะครุศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร
5

แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง อัตราสวนตรีโกณมิติ


1. ขอใดไมถูกตอง
ดานตรงขามมุม A ดานตรงขามมุม A
ก. sin A = ข. cos A =
ดานตรงขามมุมฉาก ดานประชิดมุม A
ดานตรงขามมุม A sin A
ค. tan A = ง. tan A =
ดานประชิดมุม A cos A

2. จากรูป tan A + cos A เทากับขอใด


a c b b
ก. + ข. +
b d a c
a a a b
ค. + ง. +
b c b c

3. จากรูป sin A เทากับขอใด


24 25
ก. ข.
25 24
7 7
ค. ง.
25 24

4.
จากรูป cos A เทากับขอใด
4 1
ก. ข.
2 5 5
1 2
ค. ง.
2 5
5. ขอใดไมถูกตอง
ก. sin 45° cos 45° =1 ข. sin 30° cos 60° =1
ค. tan 45° tan 45° =1 ง. tan 30° tan 60° =1

โครงการสนับสนุนสื่อวีดีทัศนประกอบการเรียนการสอน เพือ่ แกไขปญหาขาดแคลนครูใหกับโรงเรียนขนาดเล็ก


คณะครุศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร
6

6.
 = 40° และ BC = 5 หนวย แลว AB ยาว
จากรูป ถา ACB
ประมาณเทาไร (กำหนดให tan 40° = 0.8)
ก. 4.0 หนวย ข. 4.2 หนวย
ค. 4.5 หนวย ง. 4.8 หนวย

7. จากขอ 6 จะได AC ยาวเทาไร


ก. 33 หนวย ข. 39 หนวย ค. 41 หนวย ง. 47 หนวย

8. กำหนดให 3 + 2sin 30° = 2x - 3 คา x ตรงกับขอใด


2 7
ก. 0 ข. ค. ง. 7
7 2
9. คาของ sin 30° cos 60° + cos 30° sin 60° เทากับขอใด
1 1
ก. ข. ค. 1 ง. 0
4 2

10.  = 45° , ADC


กำหนดให ABC  = 30°
และ AD = 14 หนวย แลว CA ยาวเทาไร
ก. 6 หนวย ข. 7 หนวย
ค. 9 หนวย ง. 14 หนวย

11. จากขอ 10 จะได BD ยาวเทาไร


ก. 7 3 หนวย ข. 7 3 + 2 หนวย
7+ 3
ค. 7(1 + 3 ) หนวย ง. หนวย
3
12. คาของ cos 30° cos 60° - sin 30°sin 60° เทากับขอใด
3 1 1
ก. -1 ข. ค. ง. 0
2 2 4

โครงการสนับสนุนสื่อวีดีทัศนประกอบการเรียนการสอน เพือ่ แกไขปญหาขาดแคลนครูใหกับโรงเรียนขนาดเล็ก


คณะครุศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร
7

13. ขอใดตอไปนี้ถูกตอง
ก. 0  cos x  1 ข. -1  sin x  1
ค. tan x  0 ง. sin x  cos x
14.
จากรูป sin A + cos C เทากับขอใด
30
ก. ข. 1
34
30
ค. 2 ง.
17
4
15. กำหนดให 0° < A < 90° และ cos A = แลว tan A เทากับขอใด
5
3 3 4 5
ก. ข. ค. ง.
5 4 3 3
1
16. ถา 0° < A < 90° และ sin A = แลว tan A เทากับขอใด
a
1 1
ก. ข.
a2 - 1 1 - a2

1
ค. a2 - 1 ง.
a2 +1

1 4 sin A + 3 cos A
17. ถา tan A = แลว ตรงกับขอใด
3 4 cos A - 4 sin A
3 13
ก. ข. 2 ค. 3 ง.
20 8
18. นักเรียนคนหนึ่งยืนหางจากตึก 60 เมตร เขาสังเกตเห็นยอดตึกทำมุมเงย 60°
ตึกนี้สูงประมาณกี่เมตร (กำหนดให 2  1.414 และ 3  1.732 )
ก. 100.72 เมตร ข. 101.28 เมตร
ค. 102.64 เมตร ง. 103.92 เมตร

โครงการสนับสนุนสื่อวีดีทัศนประกอบการเรียนการสอน เพือ่ แกไขปญหาขาดแคลนครูใหกับโรงเรียนขนาดเล็ก


คณะครุศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร
8

19. ผูกลวดกับยอดเสาธง ดึงลวดใหตึงผูกกับหมุดบนดิน หางจากโคนเสา 25 ฟุต ถาลวดทำมุมกับ


พื้นดิน 55° แลวเสาธงตนนี้สูงเทาไร
(กำหนดให tan 55° = 1.4)
ก. 49 ฟุต ข. 35 ฟุต ค. 50 ฟุต ง. 51 ฟุต
20. ถาเงาเสาธงตนหนึ่งทอดยาว 2 3 เมตร และปลายเงาทำมุมเงยกับยอดเสา 60°
แลวเสาธงสูงกี่เมตร
ก. 5 เมตร ข. 6 เมตร ค. 9 เมตร ง. 12 เมตร

โครงการสนับสนุนสื่อวีดีทศั นประกอบการเรียนการสอน เพือ่ แกไขปญหาขาดแคลนครูใหกับโรงเรียนขนาดเล็ก


คณะครุศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร
9

เฉลยแบบทดสอบกอนเรียน
เรื่อง อัตราสวนตรีโกณมิติ
1. ง 11. ง
2. ก 12. ข
3. ก 13. ข
4. ก 14. ก
5. ค 15. ข
6. ค 16. ง
7. ข 17. ค
8. ค 18. ง
9. ค 19. ง
10. ก 20. ข

เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน
เรื่อง อัตราสวนตรีโกณมิติ
1. ข 11. ค
2. ง 12. ง
3. ค 13. ก
4. ก 14. ง
5. ก 15. ข
6. ก 16. ก
7. ค 17. ง
8. ค 18. ง
9. ค 19. ข
10. ข 20. ข

โครงการสนับสนุนสื่อวีดีทศั นประกอบการเรียนการสอน เพือ่ แกไขปญหาขาดแคลนครูใหกับโรงเรียนขนาดเล็ก


คณะครุศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร
เอกสารนำเสนอประกอบการสอน (PPT)
เรื่อง อัตราสวนตรีโกณมิติ

โครงการสนับสนุนสื่อวีดีทัศนประกอบการเรียนการสอน เพือ่ แกไขปญหาขาดแคลนครูใหกับโรงเรียนขนาดเล็ก


คณะครุศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร
ตอนที่ 1 ความหมายของอัตราส่วนตรีโกณมิติ

ในบรรดาดาวเคราะห์ในระบบสุริยะ โลกของเรามีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 5 วิธีหนึ่งที่ใช้ใน


การเปรียบเทียบขนาดของดาวเคราะห์ ทาได้โดยเปรียบเทียบรัศมีเฉลี่ยของดาวเคราะห์ ด้วย
ความรู้ทางเทคโนโลยีที่มีในปัจจุบัน การคานวณรัศมีเฉลี่ยของโลกจึงเป็นเรื่องง่ายสาหรับนัก
ดาราศาสตร์และนักภูมิศาสตร์
ตอนที่ 1 ความหมายของอัตราส่วนตรีโกณมิติ

เราจะมีวิธีหาขนาด
ของโลกอย่างไร?
ตอนที่ 1 ความหมายของอัตราส่วนตรีโกณมิติ

ใช้ 2 สิ่งด้วยกัน
ตอนที่ 1 ความหมายของอัตราส่วนตรีโกณมิติ

ชาวอินเดีย ค้นพบวิธีการ
ทางคณิตศาสตร์นั่นคือ
“ตรีโกณมิต”ิ
ตอนที่ 1 ความหมายของอัตราส่วนตรีโกณมิติ

“ตรีโกณมิต”ิ มีความสาคัญมากในการกาหนดความยาวของสิง่ ที่สูงเกินไปหรือไกลเกิน


กว่าที่จะวัดได้ตัวอย่าง เช่น
ตอนที่ 1 ความหมายของอัตราส่วนตรีโกณมิติ

“ตรีโกณมิต”ิ มีความสาคัญมากในการกาหนดความยาวของสิง่ ที่สูงเกินไปหรือไกลเกิน


กว่าที่จะวัดได้ตัวอย่าง เช่น
ตอนที่ 1 ความหมายของอัตราส่วนตรีโกณมิติ

ชาวอินเดียสามารถ
คานวณได้แม้กระทั่ง
ระยะจากโลกถึงดวง
อาทิตย์
ตอนที่ 1 ความหมายของอัตราส่วนตรีโกณมิติ

ชาวอินเดียสามารถ
คานวณได้แม้กระทั่ง
ระยะจากโลกถึงดวง
อาทิตย์
ตอนที่ 1 ความหมายของอัตราส่วนตรีโกณมิติ

“ตรีโกณมิต”ิ ตรงกับคาภาษาอังกฤษว่า Trigonometry ซึ่งมีรากศัพท์มาจากภาษากรีก


สองคา คือ “trigonon” ที่แปลว่าสามเหลี่ยม และ “metron” ที่แปลว่าการวัด ดังนั้น
จึงเป็นวิชาเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างขนาดของมุมและความยาวของด้านของรูป
สามเหลี่ยม ถึงแม้ความรู้เกี่ยวกับตรีโกณมิติจะมีจดุ เริ่มจากการศึกษารูปเรขาคณิต
พื้นฐาน เช่น รูปสามเหลี่ยมมุมฉาก แต่เมื่อนักคณิตศาสตร์ได้พัฒนาวิชานี้ออกไปอย่าง
กว้างขวางตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 16 เป็นต้นมาจึงทาให้ความรู้ทางตรีโกณมิติสามารถ
นาไปเป็นเครื่องมือในการศึกษาวิชาต่างๆ เช่น
ตอนที่ 1 ความหมายของอัตราส่วนตรีโกณมิติ
ตอนที่ 1 ความหมายของอัตราส่วนตรีโกณมิติ

จากรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก พิจารณารูปสามเหลี่ยมมุมฉาก ABC ที่มีมุม C เป็นมุมฉาก ดังรูป

𝑨𝑩 เรียกว่า ด้านตรงข้ามมุมฉาก (hypotenuse)


𝑩𝑪 เรียกว่า ด้านตรงข้ามมุม A (the opposite side of angle A)
𝑨𝑪 เรียกว่า ด้านประชิดมุม A (the adjacent side of angle A)
ตอนที่ 1 ความหมายของอัตราส่วนตรีโกณมิติ

จากรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก พิจารณารูปสามเหลี่ยมมุมฉาก ABC ที่มีมุม C เป็นมุมฉาก ดังรูป

𝑨𝑩 เรียกว่า ด้านตรงข้ามมุมฉาก (hypotenuse)


𝑨𝑪 เรียกว่า ด้านตรงข้ามมุม B (the opposite side of angle A)
𝑨𝑩 เรียกว่า ด้านประชิดมุม B (the adjacent side of angle A)
ตอนที่ 1 ความหมายของอัตราส่วนตรีโกณมิติ

ในรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก ABC ที่มุม C เป็นมุมฉาก เมื่อพิจารณาอัตราส่วนของความยาวของ


ด้านสองด้านสองด้านที่เกี่ยวข้องกับมุมมุมหนึ่งที่ไม่ใช่มุมฉาก เช่น มุม A จะพบว่ามีอัตราส่วนที่
เป็นไปได้ทั้งหมด 6 แบบดังนี้
ความยาวของด้านตรงข้ามมุม 𝐴 ความยาวของด้านตรงข้ามมุมฉาก
ความยาวของด้านตรงข้ามมุมฉาก ความยาวของด้านตรงข้ามมุม 𝐴
ความยาวของด้านประชิดมุม 𝐴 ความยาวของด้านตรงข้ามมุมฉาก
ความยาวของด้านตรงข้ามมุมฉาก ความยาวของด้านตรงข้ามมุม 𝐴
ความยาวของด้านตรงข้ามมุม 𝐴 ความยาวของด้านประชิดมุม 𝐴
ความยาวของด้านประชิดมุม 𝐴 ความยาวของด้านตรงข้ามมุม 𝐴
ตอนที่ 1 ความหมายของอัตราส่วนตรีโกณมิติ

อัตราส่วนตรีโกณมิติ (Trigonometice ratio) ในชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 จะพิจารณาดังนี้


ความยาวของด้านตรงข้ามมุม 𝐴
ความยาวของด้านตรงข้ามมุมฉาก

ความยาวของด้านประชิดมุม 𝐴
ความยาวของด้านตรงข้ามมุมฉาก

ความยาวของด้านตรงข้ามมุม 𝐴
ความยาวของด้านประชิดมุม 𝐴
ตอนที่ 1 ความหมายของอัตราส่วนตรีโกณมิติ

กิจกรรม : สืบเสาะสมบัติพิเศษ
อุปกรณ์
1. ไม้บรรทัด
2. โพรแทรกเตอร์
3. เครื่องคิดเลข
ขัน้ ตอนการทากิจกรรม
1.ให้นกั เรียนแบ่งกลุม่ ออกเป็ น 3 กลุม่
2.ให้นกั เรียนแต่ละคนในกลุม่ สร้างรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก ABC ที่มมุ C เป็ นมุมฉาก และมีขนาด
ของมุม A เท่ากันตามสมาชิคกลุม่ ได้กาหนดร่วมกัน แต่ขนาดของรูปสามเหลี่ยมต่างกัน
3.ให้นกั เรียนแต่ละคนวัดความยาวแต่ละด้านของรูปสามเหลี่ยม ABC ของตนเอง และเขียนความ
ยาวกากับด้านไว้ แล้วเติมค่าของอัตราส่วนตรีโกณมิตลิ งในตารางต่อไปนี ้
ตอนที่ 1 ความหมายของอัตราส่วนตรีโกณมิติ

อัตราส่วนตรีโกณมิติ ค่าของอัตราส่วนตรีโกณมิติที่ได้จากนักเรียนคนที่...
1 2 3 ...

ความยาวของด้านตรงข้ามมุม 𝐴
ความยาวของด้านตรงข้ามมุมฉาก
ความยาวของด้านประชิดมุม 𝐴
ความยาวของด้านตรงข้ามมุมฉาก
ความยาวของด้านตรงข้ามมุม 𝐴
ความยาวของด้านประชิดมุม 𝐴

ขั้นตอนการทากิจกรรม
4.จากตารางในข้อ 3 ให้นักเรียนในกลุ่มสังเกตและอภิปรายเกี่ยวกับค่าของอัตราส่วนตรีโกณมิตทิ ี่ได้พร้อม
ทั้งสร้างข้อความคาดการณ์เกี่ยวกับอัตราส่วนตรีโกณมิติของมุม A
5.ให้นักเรียนเปลี่ยนขนาดของมุม A และทากิจกรรมตามข้อ 2 ถึงข้อ 4 จากนั้นตรวจสอบว่าข้อความ
คาดการณ์ที่ได้จะยังเหมือนเดิมหรือไม่อย่างไร
ตอนที่ 1 ความหมายของอัตราส่วนตรีโกณมิติ

อัตราส่วนตรีโกณมิติ ค่าของอัตราส่วนตรีโกณมิติที่ได้จากนักเรียนคนที่...
1 2 3 ...

ความยาวของด้านตรงข้ามมุม 𝐴
ความยาวของด้านตรงข้ามมุมฉาก
ความยาวของด้านประชิดมุม 𝐴
ความยาวของด้านตรงข้ามมุมฉาก
ความยาวของด้านตรงข้ามมุม 𝐴
ความยาวของด้านประชิดมุม 𝐴
ตอนที่ 1 ความหมายของอัตราส่วนตรีโกณมิติ
ตอนที่ 1 ความเป็นมาของอัตราส่วนตรีโกณมิติ

จบตอนที่ 1
ความหมายของอัตราส่วนตรีโกณมิติ

โดย อาจารย์โกมินทร์ บุญชู (อ.ดล)


โปรแกรมวิชาคณิตศาสตร์ คณะครุศาสตร์
มหาวิทยาลัยราชภัฎกาแพงเพชร
ตอนที่ 2 การคานวณหาค่า sin cos และ tan

กำหนดให้ ∆𝐴𝐵𝐶 และ ∆𝑋𝑌𝑍 เป็นรูปสำมเหลีย่ มมุมฉำกที่คล้ำยกันและมีควำมยำวของด้ำนต่ำงๆ ดังรูป


𝑎
𝑥𝑥 𝑐𝑐 𝑧
𝑎 𝑎𝑎 𝑥𝑥
ต้องกำรพิสูจน์ = , = = , และ = =𝑧
𝑏𝑏 𝑦𝑦 𝑏𝑏 𝑦 𝑐𝑐 𝑧
พิสจู น์ เนื่องจาก ABC ~ XYZ

𝑎 𝑏
จะได้ = สมบัติของสามเหลี่ยมคล้าย
𝑥 𝑦
ay = 𝑥𝑏 การคูณไขว้
ay = 𝑏𝑥 สมบัติของสลับที่สาหรับการคูณ
𝑎 𝑥
ดังนัน้ = การคูณไขว้
𝑏 𝑦

เป็ นจริง
ตอนที่ 2 การคานวณหาค่า sin cos และ tan

บทนิยาม สาหรับรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก ที่มีมมุ A เป็ นมุมหหลม

ความยาวของด้านตรงข้ามมุม 𝐴
ไซน์ของมุม A
ความยาวของด้านตรงข้ามมุมฉาก

ความยาวของด้านประชิดมุม 𝐴
โคไซน์ของมุม A
ความยาวของด้านตรงข้ามมุมฉาก

ความยาวของด้านตรงข้ามมุม 𝐴
หทนเจนต์ของมุม A
ความยาวของด้านประชิดมุม 𝐴
ตอนที่ 2 การคานวณหาค่า sin cos และ tan

บทนิยาม สาหรับรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก ที่มีมมุ A เป็ นมุมหหลม

ข้าม
sin A
ฉาก

ชิด
cos A
ฉาก

ข้าม
tan A
ชิด
ตอนที่ 2 การคานวณหาค่า sin cos และ tan

ตัวอย่ำงที่ 1 จำกรูปสำมเหลีย่ มมุมฉำก ABC ที่กำหนดให้ จงหำค่ำของ sin A, cos A, tan A, sin B, cos B และ tan B
8 6
วิธีทา sin A = sin B =
10 10
6 8
cos A = 10
cos B = 10
8 6
tan A = tan B = 8
6
ตอนที่ 2 การคานวณหาค่า sin cos และ tan

ตัวอย่ำงที่ 2 จำกรูปสำมเหลีย่ มมุมฉำก XYZ ที่กำหนดให้ จงหำค่ำของ sin X 𝐶 2 = 𝐴2 + 𝐵2


วิธีทา โดยใช้ทฤษฎีบทพีทาโกรัส จะได้
𝑥𝑧 2 = 12.52 − 3.52
= 144
ดังนัน้ YZ = 12
𝑌𝑍
เนื่องจาก 𝑠𝑖𝑛𝑥 =
𝑍𝑋
12 24
เพราะฉะนัน้ 𝑠𝑖𝑛𝑥 = =
12.5 25
ตอนที่ 2 การคานวณหาค่า sin cos และ tan

ตัวอย่ำงที่ 3 กำหนดให้ MAT เป็นรูปสำมเหลีย่ มมุมฉำกที่มีมุมฉำกที่มมี ุม A เป็นมุมฉำก AT = 22 หน่วย


11
และ cos T = จงหำควำมยำว 𝑇𝑀 วิธีทา จากโจทย์อาจเขียน MAT ได้ดงั รูป
61
𝐴𝑇
จากรูป จะได้ 𝑐𝑜𝑠𝑇 =
𝑇𝑀
11
เนื่องจาก 𝑐𝑜𝑠𝑇 = หละ 𝐴𝑇 = 22
61
22 11
จะได้ =
𝑇𝑀 61

ดังนัน้ TM = 122
ตอนที่ 2 การคานวณหาค่า sin cos และ tan

ตัวอย่ำงที่ 3 กำหนดให้ NAT เป็นรูปสำมเหลี่ยมที่มมี ุม A เป็นมุมฉำก พื้นที่ 60 ตำรำงหน่วย และ 𝑁𝐴 ยำว 12


หน่วย ดังรูป จงหำค่ำของ tan T วิธีทา เนื่องจาก NAT มีพนื ้ ที่ 60 ตารางหน่วย
1
จะได้ 60 = × 12 × 𝐴𝑇
2
นั่นคือ A𝑇 = 10
𝑁𝐴
เนื่องจาก 𝑡𝑎𝑛𝑇 =
𝐴𝑇
12
เนื่องจาก 𝑡𝑎𝑛𝑇 =
10
ตอนที่ 2 การคานวณหาค่า sin cos และ tan

จบตอนที่ 2
การคานวณหาค่า sin cos และ tan

โดย อำจำรย์โกมินทร์ บุญชู (อ.ดล)


โปรแกรมวิชำคณิตศำสตร์ คณะครุศำสตร์
มหำวิทยำลัยรำชภัฎกำแพงเพชร
ตอนที่ 3 อัตราส่วนตรีโกณมิติของมุมแหลม

1.อัตราส่วนตรีโกณมิตขิ องมุมแหลมที่มีขนาด 45°


จากรูปกาหนดให้ ∆ABC เป็ นรูปสามเหลี่ยมมุมฉากหน้าจั่ว
ที่มี 𝐴𝐵 = 1 หน่วย

𝟐 ข้อที่ ข้อความ เหตุผล


1 1 BC = 1 หน่วย สมบัตริ ู ปสามเหลี่ยมหน้าัั่ว
2 AC = 𝟐 หน่วย ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
45 3 𝐴መ = 45 องศา สมบัตริ ู ปสามเหลี่ยมหน้าัั่ว
𝟏
4 sin 45˚ = 𝟐 ข้ า ม/ฉาก
𝟏
5 cos 45˚ = 𝟐
ชิด/ฉาก
6 tan 45˚ = 1 ข้าม/ชิด
ตอนที่ 3 อัตราส่วนตรีโกณมิติของมุมแหลม

สรุปอัตราส่วนตรีโกณมิตขิ องมุมแหลมที่มีขนาด 45°


อัตราส่วน ขนาดของมุม
ตรีโกณมิติ 45˚
𝟏
sin
𝟐
𝟏
cos
𝟐

tan 𝟏
ตอนที่ 3 อัตราส่วนตรีโกณมิติของมุมแหลม

2.อัตราส่วนตรีโกณมิตขิ องมุมแหลมที่มีขนาด 30°และ 60°


จากรูปกาหนดให้ ∆ABD เป็ นรูปสามเหลี่ยมด้านเท่า ที่มี
𝐴𝐵 = 2 หน่วย และ 𝐶 เป็ นจุดกึ่งกลางของ 𝐴𝐷
60
ข้อที่ ข้อความ เหตุผล
𝟑 1 AD = 2 หน่วย สมบัติรูปสามเหลี่ยมด้านเท่า
2 AC = 1 หน่วย สมบัติรูปสามเหลี่ยมด้านเท่า
1 2 2 BD = 𝟑 หน่วย ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
3 𝐴 ෣𝐵𝐷 = 60 องศา สมบัติรูปสามเหลี่ยมด้านเท่า
4 𝐴 ෣𝐵𝐶 = 30 องศา มุมภายในรูปสามเหลี่ยม= 180˚
ตอนที่ 3 อัตราส่วนตรีโกณมิติของมุมแหลม

2.อัตราส่วนตรีโกณมิตขิ องมุมแหลมที่มีขนาด 30°และ 60°


จากรูปกาหนดให้ ∆ABD เป็ นรูปสามเหลี่ยมด้านเท่า ที่มี
𝐴𝐵 = 2 หน่วย และ 𝐶 เป็ นจุดกึ่งกลางของ 𝐴𝐷
ข้อที่ ข้อความ เหตุผล
𝟏
5 sin30˚ = 𝟐 ข้าม/ฉาก มุม 30
𝟑
6 cos30˚ =
𝟏 𝟐
ชิ ด /ฉาก มุ ม 30
7 tan30˚ = 𝟑
ข้าม/ชิด มุม 30
𝟑
8 sin60˚ =
𝟏 𝟐
ข้าม/ฉาก มุม 60
9 cos60˚ = 𝟐 ชิด/ฉาก มุม 60
10 tan60˚ = 𝟑 ข้าม/ชิด มุม 60
ตอนที่ 3 อัตราส่วนตรีโกณมิติของมุมแหลม

สรุปอัตราส่วนตรีโกณมิตขิ องมุมแหลมที่มีขนาด 30° และ 60°


อัตราส่วน ขนาดของมุม
ตรีโกณมิติ 30˚ 60˚
sin 𝟏 𝟑
𝟐 𝟐
cos 𝟑 𝟏
𝟐 𝟐
tan 𝟏
𝟑
𝟑
ตอนที่ 3 อัตราส่วนตรีโกณมิติของมุมแหลม

สรุปอัตราส่วนตรีโกณมิตขิ องมุมแหลมที่มีขนาด 30° 45°และ 60°


อัตราส่วน ขนาดของมุม
ตรีโกณมิติ 30˚ 45˚ 60˚
sin 𝟏 𝟏 𝟑
𝟐 𝟐 𝟐

cos 𝟑 𝟏 𝟏
𝟐 𝟐 𝟐

tan 𝟏
𝟏 𝟑
𝟑
ตอนที่ 3 อัตราส่วนตรีโกณมิติของมุมแหลม

สรุปอัตราส่วนตรีโกณมิตขิ องมุมแหลมที่มีขนาด 30° 45°และ 60° ตัวส่วนไม่ตดิ เครื่องหมายกรณฑ์


อัตราส่วน ขนาดของมุม
ตรีโกณมิติ 30˚ 45˚ 60˚
sin 𝟏 𝟐 𝟑
𝟐 𝟐 𝟐

cos 𝟑 𝟐 𝟏
𝟐 𝟐 𝟐

tan 𝟑
𝟏 𝟑
𝟑
ตอนที่ 3 อัตราส่วนตรีโกณมิติของมุมแหลม

ตัวอย่างที่ 1 จากรูปสามเหลีย่ มมุมฉาก ABC ที่กาหนดให้ AB = 174 หน่วย และ 𝐴መ = 30˚ หา


จงหาBCBC และ AC
วิธีทา เนื่องจาก 𝑡𝑎𝑛𝐴 =
𝐵𝐶
, 𝐴መ = 30˚และ AB = 174
𝐴𝐵
𝐵𝐶
จะได้ 𝑡𝑎𝑛30° = 174
3 𝐵𝐶
จะได้ =
3 174
3
BC = 3
× 174
ดังนัน้ BC = 58 3 หน่วย
ตอนที่ 3 อัตราส่วนตรีโกณมิติของมุมแหลม

ตัวอย่างที่ 1 จากรูปสามเหลีย่ มมุมฉาก ABC ที่กาหนดให้ AB = 174 หน่วย และ 𝐴መ = 30˚ จงหา BC และ AC
หา AC
วิธีทา เนื่องจาก 𝑐𝑜𝑠30° =
174
𝐴𝐶
3 174
จะได้ =
2 𝐴𝐶
174
𝐴𝐶 = 3
×2
348 3
= × 3
3

ดังนัน้ AC = 116 3 หน่วย


ตอนที่ 3 อัตราส่วนตรีโกณมิติของมุมแหลม

ตัวอย่างที่ 2 จากรูปสามเหลีย่ มที่กาหนดให้ จงหาค่าของ 𝑥 + 2𝑦 − 𝑧


𝑥
วิธีทา จากรูป จะได้ 𝑐𝑜𝑠60° =
8
1 𝑥
=
2 8
ดังนัน้ 𝑥=4
𝑦
จากรูป จะได้ 𝑠𝑖𝑛60° =
8
3 𝑦
=
2 8
ดังนัน้ y=4 3
ตอนที่ 3 อัตราส่วนตรีโกณมิติของมุมแหลม

ตัวอย่างที่ 2 จากรูปสามเหลีย่ มที่กาหนดให้ จงหาค่าของ 𝑥 + 2𝑦 − 𝑧


𝑦
วิธีทา จากรูป จะได้ 𝑡𝑎𝑛45° =
𝑥
4 3
1=
𝑧
ดังนัน้ z=4 3
จะได้ 𝑥 + 2𝑦 − 𝑧 = 4 + 2(4 3) − 4 3

=4+8 3−4 3

ดังนัน้ =4+4 3
ตอนที่ 3 อัตราส่วนตรีโกณมิติของมุมแหลม

ตัวอย่างที่ 3 จาก กาหนดให้ AB = 24 3 หน่วย จงหา CD


วิธีทา พิจารณา ABC จะได้ 𝑡𝑎𝑛30° =
𝐵𝐶
24 3
1 𝐵𝐶
=
3 24 3
ดังนัน้ BC = 24
24
พิจารณา BCD จะได้ sin60° = 𝐶𝐷
3 24
=
2 𝐶𝐷
48 48 3
𝐶𝐷 = = ×
3 3 3
ดังนัน้ 𝐶𝐷 = 16 3
ตอนที่ 3 อัตราส่วนตรีโกณมิติของมุมแหลม

3.อัตราส่วนตรีโกณมิตขิ องมุมแหลมขนาดอื่นๆ

อัตราส่วนตรีโกณมิตขิ องมุมที่มีขนาด 30˚ 45˚ และ 60˚ เราจะหาได้โดยใช้ความรู ้


ในเรื่องทฤษฎีพีทาโกรัส สมบัตขิ องรูปสามเหลี่ยมหน้าจั่ว และสมบัติของรูป
สามเหลี่ยมด้านเท่า แต่รูปสามเหลี่ยมมุมฉากที่มีมมุ ขนาดอื่น ๆ นอกเหนือจากที่
กล่าวมา การหาค่าตรีโกณมิตขิ องมุมเหล่านัน้ เป็ นเรื่องยาก นักเรียนอาจหาค่า
เหล่านัน้ โดยใช้ตารางแสดงค่าของอัตราส่วนตรีโกณมิติ หรือเครื่องคิดเลข
ตอนที่ 3 อัตราส่วนตรีโกณมิติของมุมแหลม

3.อัตราส่วนตรีโกณมิตขิ องมุมแหลมขนาดอื่นๆ
ตอนที่ 3 อัตราส่วนตรีโกณมิติของมุมแหลม

ตัวอย่างที่ 4 จากรูปจงหา 𝐵𝐶
𝐵𝐶
วิธีทา จากรูป จะได้ 𝑐𝑜𝑠44° = 10
จากตารางแสดงค่าของอัตราส่วนตรีโกณมิติ จะได้ cos44˚ ≈ 0.719
𝐵𝐶
ดังนัน้ 0.719 ≈
10
นั่นคือ BC ≈ 7.19 หน่วย
ตอนที่ 3 อัตราส่วนตรีโกณมิติของมุมแหลม

ตัวอย่างที่ 5 จากรูป จงหาพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยม ABC โดยประมาณ


วิธีทา 𝐶𝐷
พิจารณา ∆ACD จะได้ 𝑠𝑖𝑛39° = 16.6
CD = 16.6𝑠𝑖𝑛39°
≈ 16.6 × 0.629
≈ 10.441
1
ดังนัน้ พืน้ ที่ของรูปสามเหลี่ยม 𝐴𝐵𝐶 = × 𝐴𝐵 × 𝐶𝐷
2
1
≈ × 15 × 10.441
2
≈ 78.308
ดังนัน้ พืน้ ที่ของรูปสามเหลี่ยม 𝐴𝐵𝐶 ประมาณ 78.308 ตารางหน่วย
ตอนที่ 3 อัตราส่วนตรีโกณมิติของมุมแหลม

จบตอนที่ 3
อัตราส่วนตรีโกณมิติของมุมแหลม

โดย อาจารย์โกมินทร์ บุญชู (อ.ดล)


โปรแกรมวิชาคณิตศาสตร์ คณะครุศาสตร์
มหาวิทยาลัยราชภัฎกาแพงเพชร
ตอนที่ 4 การนาอัตราส่วนตรีโกณมิติไปใช้ในการแก้ปัญหา

1. มุมเงย
มุมที่อยูร่ ะหว่างเส้นระดับสายตากับเส้นที่
ลากจากตาไปยังวัตถุ โดยวัตถุจะอยูส่ งู กว่า
ระดับสายตา
แนว
เส้นระดับ
2. มุมก้ม สายตา

มุมที่อยูร่ ะหว่างเส้นระดับสายตากับเส้นที่
ลากจากตาไปยังวัตถุ โดยวัตถุจะอยูต่ ่ากว่า
ระดับสายตา
ตอนที่ 4 การนาอัตราส่วนตรีโกณมิติไปใช้ในการแก้ปัญหา

ตัวอย่างที่ 1 ถ้ามุมเงยของสายตาของแมวที่มองนกซึ่งเกาะอยู่บนกิ่งไม้มีขนาด 45˚ และแมวอยู่ห่างจากโคนต้นไม้ 20


ฟุต จงหาระยะระหว่างแมวตัวนี้กับนกที่เกาะอยู่บนกิ่งไม้
วิธีทา จากโจทย์นามาวาดรูปและกาหนดจุด
ต่าง ๆ ได้ดงั นี ้ 20
จาก c𝑜𝑠45˚ = 𝑌
1 20
=
2 𝑌
𝑌 = 20 2

ดังนัน้ ระยะระหว่างแมวกับนกที่เกาะอยูบ่ นกิ่งไม้ เท่ากับ 20 2


ตอนที่ 4 การนาอัตราส่วนตรีโกณมิติไปใช้ในการแก้ปัญหา

ตัวอย่างที่ 2 เด็กหญิงมดยืนมองยอดเสาอากาศสถานีโทรทัศน์แห่งหนึ่งเป็นมุมเงย 30˚เมื่อเธอเดินเข้าใกล้ไปอีก 100


เมตร เธอจะมองยอดเสาอากาศเป็นมุมเงย 60˚ จงหาว่าเสาอากาศสูงเท่าไหร่ ถ้าเด็กหญิงสูง 160 เซนติเมตร
วิธีทา จากโจทย์นามาวาดรูปและกาหนดจุด ด.ญ.มดสูง 160 ซม. = 1.6 ม.
ต่างๆ ได้ดงั นี ้ พิจารณา ABD พิจารณา ABC
ℎ ℎ
= 𝑡𝑎𝑛60° = 𝑡𝑎𝑛30°
𝐵𝐷 𝐵𝐷 + 100
ℎ ℎ 1
= 3 =
𝐵𝐷 𝐵𝐷 + 100 3
ℎ = 3BD (1) 𝐵𝐷 + 100 (2)
ℎ=
3

100 m
ตอนที่ 4 การนาอัตราส่วนตรีโกณมิติไปใช้ในการแก้ปัญหา

ตัวอย่างที่ 2 เด็กหญิงมดยืนมองยอดเสาอากาศสถานีโทรทัศน์แห่งหนึ่งเป็นมุมเงย 30˚เมื่อเธอเดินเข้าใกล้ไปอีก 100


เมตร เธอจะมองยอดเสาอากาศเป็นมุมเงย 60˚ จงหาว่าเสาอากาศสูงเท่าไหร่ ถ้าเด็กหญิงสูง 160 เซนติเมตร
วิธีทา จากโจทย์นามาวาดรูปและกาหนดจุด หาค่า BD โดยค่า h ในสมการ (1) = (2) หาค่า h โดยแทน BD = 50 ลงใน
ต่างๆ ได้ดงั นี ้ 𝐵𝐷 + 100 สมการ 1
3BD =
3 ℎ = 3(50)
3( 3BD) = 𝐵𝐷 + 100
ℎ = 50 3
3BD = 𝐵𝐷 + 100
ความสูงของเสาอากาศ ต้องบวกความสูง
3BD − 𝐵𝐷 = 100
ของ ด.ญ.มด ด้วย
2𝐵𝐷 = 100 ดังนัน้ ความสูงของเสาอากาศ
100 = ℎ + ความสูง ด.ญ.มด
𝐵𝐷 =
2
𝐵𝐷 = 50 = 50 3 + 1.6

ดังนัน้ เสาอากาศสูง เท่ากับ 50 3 + 1.6 เมตร


ตอนที่ 4 การนาอัตราส่วนตรีโกณมิติไปใช้ในการแก้ปัญหา

ตัวอย่างที่ 3 อาคาร ก และอาคาร ข อยู่ห่างกัน 5 เมตร ดังรูป เมื่อมองจากจุด A ของอาคาร ข มายังยอดตึกของ


อาคาร ก ที่จุด C พบว่ามุมก้มจะมีขนาด 47˚ แต่ถ้ามองจากจุด B ของอาคาร ข ไปยังยอดตึกของอาคาร ก ที่จุด
เดียวกัน พบว่ามุมเงยมีขนาด 55˚ จงหาความสูงของอาคาร ข
วิธีทา พิจารณา ෣ = 47˚
𝐴𝐶𝐷 เนื่องจาก𝐴𝐶𝐷
𝐴𝐷
จะได้ tan 47° =
5
จากตาราง tan 47˚ ≈ 1.072
ดังนัน้ AD ≈ 5 × 1.072
≈ 5.36

อาคาร ก อาคาร ข
ตอนที่ 4 การนาอัตราส่วนตรีโกณมิติไปใช้ในการแก้ปัญหา

ตัวอย่างที่ 3 อาคาร ก และอาคาร ข อยู่ห่างกัน 5 เมตร ดังรูป เมื่อมองจากจุด A ของอาคาร ข มายังยอดตึกของ


อาคาร ก ที่จุด C พบว่ามุมก้มจะมีขนาด 47˚ แต่ถ้ามองจากจุด B ของอาคาร ข ไปยังยอดตึกของอาคาร ก ที่จุด
เดียวกัน พบว่ามุมเงยมีขนาด 55˚ จงหาความสูงของอาคาร ข
วิธีทา พิจารณา ෣ = 55˚
𝐷𝐵𝐶 เนื่องจาก𝐵𝐶𝐷
𝐷𝐵
จะได้ tan 55° =
5
จากตาราง tan 55˚ ≈ 1.428
ดังนัน้ DB ≈ 5 × 1.428
≈ 7.14
นั่นคือ ความสูงของอาคาร ข เท่ากับ
อาคาร ก อาคาร ข 𝐴𝐷 + 𝐷𝐵 ≈ 5.36 + 7.14 = 12.5 เมตร
ตอนที่ 4 การนาอัตราส่วนตรีโกณมิติไปใช้ในการแก้ปัญหา

จบตอนที่ 4
การนาอัตราส่วนตรีโกณมิติไปใช้ในการแก้ปัญหา

โดย อาจารย์โกมินทร์ บุญชู (อ.ดล)


โปรแกรมวิชาคณิตศาสตร์ คณะครุศาสตร์
มหาวิทยาลัยราชภัฎกาแพงเพชร

You might also like