You are on page 1of 111

ส่วนที่ 2

• ระบบต้นทุนงานสั่งทาพร้อมการบันทึกบัญชี

1
เนื้อหา
1. ความหมายระบบต้นทุนงาน
2. ต้นทุนวัตถุดิบใช้ไปในการผลิต
3. ต้นทุนค่าแรง
4. ต้นทุนค่าใช้จ่ายการผลิต
5. ค่าใช้จ่ายการผลิตกรณีมีหลายแผนกและการบันทึกบัญชี
ต้นทุนงานเมื่องานเสร็จ
6. การบัญชีระบบต้นทุนงานกรณีมีของชารุดเสียหาย

2
1. ความหมายระบบต้นทุนงาน
(Job-order Costing System)
• คือ ระบบที่เก็บข้อมูลต้นทุนวัตถุดิบ ค่าแรง และค่าใช้จ่ายการผลิต แยก
ตามแต่ละงานที่ลูกค้าสั่ง
• เป็นระบบต้นทุนที่ใช้กับการผลิตสินค้าที่มีหลายชนิด แต่ละชนิดมีความแตกต่าง
กันซึ่งขึ้นอยู่กับลักษณะของสินค้า การสั่งซื้อของลูกค้า เช่น กิจการขาย
อสังหาริมทรัพย์ การรับเหมาก่อสร้าง กิจการรับจ้างผลิตสินค้า รับจ้างพิมพ์
งาน เป็นต้น
• ระบบต้นทุนงานนิยมใช้ในกิจการที่ให้บริการเป็นส่วนใหญ่ เพราะผู้ประกอบการ
สามารถทราบต้นทุนรวมและต้นทุนต่อหน่วยของผลผลิตในแต่ละงานได้

3
2. ต้นทุนวัตถุดิบใช้ไปในการผลิต
• ในที่นี้จะใช้วิธีต่อเนื่อง (Perpetual inventory method)
• ทางเลือกของนโยบายการตีราคาต้นทุนวัตถุดิบ
– (1) วิธีราคาทุนแบบเฉพาะเจาะจง หรือวิธีตามราคาที่แท้จริง (Specific
Identification Method)
– (2) วิธีเข้าก่อนออกก่อน (First-in- First-out Method - FIFO)
– (3) วิธีถัวเฉลี่ย (Average Method) ซึ่งในทางปฏิบัตินิยมใช้วิธีถัวเฉลี่ย
เคลื่อนที่ (Moving Average Method)
– (4) วิธีเข้าทีหลังออกก่อน (Last-in-Last-out Method – LIFO) ใน
ปัจจุบันวิธี LIFOไม่นิยมใช้
4
5.1

1 2 1
1
3

3 2
2 1
ROP,
EOQ

1 2 6
2
3 3

1 4
2 5
3 1
4 2
3 4
1
1
4
2

N
5
N N 23
4
2
2
1 1
2 4
3
3
4
N
4
5

D
D 2
N

5
ตัวอย่างที่ 1 บริษัทหมวกยิ้ม จากัด ผลิตหมวกตามสั่ง วัตถุดิบเป็นผ้ากามะหยี่
คุณภาพพิเศษ ข้อมูลการซื้อและใช้ไปของวัตถุดิบ
ว.ด.ป. รายการ ซื้อ(เมตร) เบิกใช้(เมตร) ราคาต่อเมตร บาท
เม.ย. 1 วัตถุดิบต้นงวด 30 500 15,000
เม.ย. 5 เบิกเข้างาน J04-01 20
เม.ย. 7 ซื้อ 50 520 26,000
เม.ย. 10 เบิกเข้างาน J04-01 10
เม.ย. 11 เบิกเข้างาน J04-02 40
เม.ย. 12 ซื้อ 60 510 30,600
เม.ย. 24 เบิกเข้างาน J04-03 60
เม.ย. 25 ซื้อ 30 530 15,900
เม.ย. 27 เบิกเข้างาน J04-04 30
เม.ย. 29 ซื้อ 40 540 21,600
รวมวัตถุดิบมีไว้ใช้ 210 109,100
วัตถุดิบปลายงวดตรวจนับได้ 50
วัตถุดิบใช้ไป 160
6
6
1) วิธีตามราคาที่แท้จริง (Specific Identification Method)

วันที่เบิกใช้ ใช้วัตถุดิบที่ซื้อมาหรือมีเมื่อวันที่
เม.ย. 5 เม.ย. 1
เม.ย. 10 เม.ย. 7
เม.ย. 11 เม.ย. 7
เม.ย. 24 เม.ย.12
เม.ย. 27 เม.ย. 25

7
1) วิธีตามราคาที่แท้จริง (Specific Identification Method)

บัตรวัตถุดิบ เลขที่วัตถุดิบ C 1012


ชนิดของวัตถุดิบ ...ผ้ากามะหยี่พิเศษ. (Materials Ledger Card) จุดที่สั่งซื้อ ตามสั่ง
หน่วย ...เมตร... จานวนที่สั่งซื้อ ตามสั่ง
ว.ด.ป. รับ จ่าย คงเหลือ
วันที่เบิกใช้ ใช้วัตถุดิบที่ซื้อมา
หรือมีเมื่อวันที่ 25X1 อ้างอิง ปริมาณ หน่วยละ จานวนเงิน ปริมาณ หน่วยละ จานวนเงิน ปริมาณ หน่วยละ จานวนเงิน
เม.ย.-01 ยกมา 30 500 15,000 30 500 15,000
เม.ย. 5 เม.ย. 1 เม.ย.-05
J04-01 20 500 10,000 10 500 5,000

เม.ย.-07 10 500 5,000


เม.ย. 10 เม.ย. 7 ซื้อ 50 520 26,000 50 520 26,000

เม.ย.-10 10 500 5,000


เม.ย. 11 เม.ย. 7 J04-01 10 520 5,200 40 520 20,800
เม.ย.-11
J04-02 40 520 20,800 10 500 5,000
เม.ย. 24 เม.ย.12 30,600 10 500 5,000
เม.ย.-12
ซื้อ 60 510 60 510 30,600
เม.ย. 27 เม.ย. 25 เม.ย.-24 J04-03 60 510 30,600 10 500 5,000
10 500 5,000
เม.ย.-25
ซื้อ 30 530 15,900 30 530 15,900
เม.ย.-27 J04-04 30 530 15,900 10 500 5,000
เม.ย.-29 10 500 5,000
ซื้อ 40 540 21,600 40 540 21,600
สรุป วัตถุดิบมีไว้ใช้ 109,100 วัตถุดิบทางตรงใช้ไป 82,500 วัตถุดิบคงเหลือปลายงวด 26,600

8
8
2) วิธีเข้าก่อนออกก่อน(FIFO Method)

บัตรวัตถุดิบ เลขที่วัตถุดบิ C 1012

ชนิดของวัตถุดิบ ...ผ้ากามะหยี่พิเศษ. (Materials Ledger Card) จุดที่สั่งซื้อ ตามสั่ง


หน่วย ...เมตร... จานวนที่สั่งซื้อ ตามสัง่
ว.ด.ป. รับ จ่าย คงเหลือ
25X1 อ้างอิง ปริมาณ หน่วยละ จานวนเงิน ปริมาณ หน่วยละ จานวนเงิน ปริมาณ หน่วยละ จานวนเงิน
เม.ย.-01 ยกมา 30 500 15,000 30 500 15,000
เม.ย.-05 J04-01 20 500 10,000 10 500 5,000
10 500 5,000
เม.ย.-07
ซื้อ 50 520 26,000 50 520 26,000
เม.ย.-10 J04-01 10 500 5,000 50 520 26,000
เม.ย.-11 J04-02 40 520 20,800 10 520 5,200
10 520 5,200
เม.ย.-12
ซื้อ 60 510 30,600 60 510 30,600
10 520 5,200 5,100
เม.ย.-24
J04-03 50 510 25,500 10 510
10 510 5,100
เม.ย.-25
ซื้อ 30 530 15,900 30 530 15,900
10 510 5,100 530 5,300
เม.ย.-27
J04-04 20 530 10,600 10

เม.ย.-29 40 540 21,600 10 530 5,300


ซื้อ 40 540 21,600
สรุป วัตถุดิบมีไว้ใช้ 109,100 วัตถุดิบทางตรงใช้ไป 82,200 วัตถุดิบคงเหลือปลายงวด 26,900

9
3) วิธีถัวเฉลี่ยเคลื่อนที่ (Moving Average Method)

ทุกครั้งที่มีการซื้อจะต้องนาจานวนและราคามาคานวณถัวเฉลี่ยใหม่
โดยต้นทุนถัวเฉลี่ยของวัตถุดิบต่อหน่วย
= [ต้นทุนคงเหลือยกมา + ต้นทุนที่ซื้อ] / จานวนวัตถุดิบทั้งหมด

10
3) วิธีถัวเฉลี่ยเคลื่อนที่ (Moving Average Method)

บัตรวัตถุดิบ เลขที่วัตถุดิบ C 1012

ชนิดของวัตถุดิบ ...ผ้ากามะหยี่พิเศษ... (Materials Ledger Card) จุดที่สั่งซื้อ ตามสั่ง


หน่วย ...เมตร... จานวนที่สั่งซื้อ ตามสั่ง
ว.ด.ป. รับ จ่าย คงเหลือ
25X1 อ้างอิง ปริมาณ หน่วยละ จานวนเงิน ปริมาณ หน่วยละ จานวนเงิน ปริมาณ หน่วยละ จานวนเงิน
เม.ย.-01 ยกมา 30 500 15,000 30 500 15,000.00
เม.ย.-05 J04-01 20 500 10,000.00 10 500 5,000.00
เม.ย.-07 ซื้อ 50 520 26,000 60 516.671 31,000.00
เม.ย.-10 J04-01 10 516.67 5,166.70 50 516.67 25,833.30
เม.ย.-11 J04-02 40 516.67 20,666.80 10 516.65 5,166.50**
เม.ย.-12 ซื้อ 60 510 30,600 70 510.952 35,766.50
เม.ย.-24 J04-03 60 510.95 30,657.00 10 510.95 5,109.50
เม.ย.-25 ซื้อ 30 530 15,900 40 525.243 21,009.50
เม.ย.-27 J04-04 30 525.24 15,757.20 10 525.23 5,252.30
เม.ย.-29 ซื้อ 40 540 21,600 50 537.054 26,852.30
สรุป วัตถุดิบมีไว้ใช้ 109,100 วัตถุดิบทางตรงใช้ไป 82,247.70 วัตถุดิบคงเหลือปลายงวด 26,852.30
1. [(5,000) +(50 x 520)]/60 = 516.67 3. [5,109.50 + 15,900 ] / 40 = 525.24
2. [5,166.50 + 30,600 ]/ 70 = 510.95 4. [5,252.30 + 21,600] / 50 = 537.05 ** ปัดเศษ

11
การบันทึกบัญชี
• วิธีการบัญชีแบบต่อเนื่อง (Perpetual Inventory Method) ทุกครั้งที่มีการเบิกวัตถุดิบทางตรง
ไปใช้ต้องมีการบันทึกต้นทุนวัตถุดิบ โดยตามตัวอย่างด้านล่าง งาน J04-01 เบิกวันที่ 5
เมษายน บันทึกดังนี้

เดบิต บัญชีคุมยอดงานระหว่างทา 10,000


เครดิต บัญชีคุมยอดวัตถุดิบ 10,000
กรณีที่กิจการใช้สมุดรายวันการเบิกวัตถุดิบ(Materials Requisition Journal) ซึ่งเป็น
สมุดรายวันเฉพาะโดยบันทึกรายการเบิกจ่ายวัตถุดิบทั้งหมดเรียงตามเลขที่ใบเบิกวัตถุดิบ เช่น mr
401 เป็นต้น ทุกวันที่เกิดรายการจะมีการผ่านบัญชีไปบัญชีย่อยงานระหว่างทา บัญชีย่อย
ค่าใช้จ่ายในการผลิต (กรณีระบบต้นทุนงาน บัญชีย่อยงานระหว่างทา คือ บัตรต้นทุนงาน หรือ
Job Cost Sheet)
และเมื่อสิ้นเดือนจะรวมรายการและผ่านไปบัญชีแยกประเภททั่วไป โดย
เดบิต บัญชีคุมยอดงานระหว่างทา XXX
บัญชีคุมยอดค่าใช้จ่ายในการผลิต XXX
เครดิต บัญชีคุมยอดวัตถุดิบ XXX
12
สมุดรายวันการเบิกวัตถุดิบ
(Materials Requisition Journal - mrj)
สมุดรายวันการเบิกวัตถุดิบ (Materials Requisition Journal)
สาหรับเดือน...เมษายน 25X1…
หน้า mrj 4อ
เลขที่ใบ /(ผ่าน เลขที่งาน/ เดบิต เครดิต
วันที่ เบิก บัญชีย่อย หรือแผนก บัญชีคุมยอดงาน บัญชีคุมยอด บัญชีคุมยอด
วัตถุดิบ แล้ว) ระหว่างทา ค่าใช้จ่ายการ วัตถุดิบ
1420 ผลิต 1430
5090

เมษายน 5 mr401 / J04-01 10,000 00 10,000 00


10 mr402 / J04-01 5,166 70 5,166 70
10 mr403 / 3,000 00 3,000 00
11 mr404 / J04-02 20,666 80 20,666 80
24 mr405 / J04-02 30,657 00 30,657 00
27 mr406 / J04-03 15,757 20 15,757 20
รวม 82,247 70 3,000 00 85,247 70

13
และเมื่อสิ้นเดือนจะรวมรายการและผ่านไปบัญชีแยกประเภททั่วไป
(สมมติมีการเบิกวัตถุทางอ้อมทั้งเดือนเท่ากับ 3,000 บาท)
โดยผ่านรายการเข้าบัญชีคุมยอด และบัญชีย่อยงานระหว่างทา (บัตรต้นทุนงาน) ดังนี้

เดบิต บัญชีคุมยอดงานระหว่างทา (วัตถุดิบทางตรง) 82,247.70


บัญชีคุมยอดค่าใช้จ่ายการผลิต (วัตถุดิบทางอ้อม) 3,000.00
เครดิตบัญชีคุมยอดวัตถุดิบ 85,247.70

บัญชีคุมยอดวัตถุดิบ บัญชีคุมยอดงานระหว่างทา 1420


1430
ยกมา xxx mrj 4 ยกมา xxx
85,247.70
ซื้อ xxx mrj 4 82,247.7
0
บัญชีคุมยอดค่าใช้จ่ายการผลิต 5090
mrj 4 3,000
14
บัญชีย่อยของบัญชีคุมยอดงานระหว่างทา ถ้าเป็นระบบต้นทุนงาน (Job order costing)
บัญชีย่อยงานระหว่างทา คือ บัตรต้นทุนงาน (Job Cost Sheet)
บริษัทหมวกยิ้ม จากัด
บัตรต้นทุนงาน งานเลขที่.. J04-01...
(JOB COST SHEET) วันที่เริ่มงาน......5 เมษายน 25X1.........

แผนก.................ผลิตหมวกยิ้ม...... วันที่งานเสร็จ......................................
ประเภทงาน.......ตามสั่ง................. จานวนหน่วย...........100 ใบ................
นาเข้าคลัง...........หมวกยิ้ม.............
วัตถุดิบทางตรง ค่าแรงทางตรง ค่าใช้จ่ายการผลิต

วันที เลขที่ใบเบิก หน่วย บาท วันที เลขที่เอกสาร ชั่วโมง บาท วันที บาท
10,000.
5 เม.ย.X1 mr401 20 ม. 00
10 เม.ย.X1 mr402 10 ม. 5,166.70

รวม
สรุปต้นทุน บาท การส่งมอบ
วัตถุดิบทางตรง วันที่ จานวน คงเหลือ
ค่าแรงทางตรง
ค่าใช้จ่ายการผลิต
ผู้บันทึก........................ รวม ผู้ตรวจสอบ …....................
(….........................) ต้นทุนต่อหน่วย (………....................)
วันที่….. /……/……… วันที่…… /……/……….

15
3. ต้นทุนค่าแรง

• ขั้นตอนการบันทึก
– แบบฟอร์มที่ใช้ในการบันทึก ได้แก่
– บัตรลงเวลา (Time Cards) ใช้กับนาฬิกาตอกบัตรลงเวลา ( Time Clock)
– ทะเบียนเงินเดือนและค่าแรง (Payroll Register) ถือเป็นสมุดรายวันเฉพาะ
ของการบันทึกค่าแรง
– บันทึกรายได้รายบุคคล (Individual Earnings Records)

16
ขั้นตอนการบันทึกค่าแรง Payroll
ทะเบียนเงินเดือนและค่าแรง slips

รายการหัก
ชื่อ เงินได้ จ่ายสุทธิ
ภาษี ณ ที่ ประกัน อื่นๆ
บัตร จ่าย สังคม บันทึก
บันรายได้
ทึก
ลง บันรายได้
ทึก
1. ก xxx xx xx xx xxx รายบุคคล
เวลา 2. ข xxx xx xx xx xxx เงิรายบุ
นได้ คคล
3. ค xxx xx xx xx xxx รายบุคคล
: : : : : :
:
Time รวม xxx xx xx xx xxx
card

Dr คุมยอดเงินเดือนและค่าแรง xxx คุมยอดเงินเดือนและค่าแรง 5030


Cr ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่ายค้างจ่าย xxx xxx xxx
เงินสมทบประกันสังคมค้างจ่าย xxx
เงินเดือนและค่าแรงค้างจ่าย xxx

รูปที่ 1 ผังแสดงเอกสารการบันทึกเงินเดือนและค่าแรง
17
ตั ว อย่ า ง บริ ษั ท หมวกยิ้ ม จ ากั ด ผลิ ต หมวกตามสั่ ง มี น โยบายจ่ า ย
เงินเดือนและค่าแรงเป็นรายครึ่งเดือน ทางานสัปดาห์ละ 6 วัน วันละ 8 ชั่วโมง
รายละเอียดการทางานของพนักงานในเดือนเมษายน 25X1 ดังนี้
วันที่ 1-15 16-30
ชื่อ ตาแหน่ง เงินได้ อัตรา ปกติ OT ปกติ OT
1 นายยิ้ม ยิ่งแย้ม ผู้จัดการโรงงาน เงินเดือน 30,000
2 นางนภาลัย งาม ตัดเย็บ รายวัน 400 80 5 96 6
ยิ่ง
3 นางถนอม ออม แต่งสาเร็จ บรรจุ รายวัน 320 80 4 96 6
อิ่ม
4 นายปลิว รักษาความ รายวัน 240 80 5 96 6
ปลอดภัย ปลอดภัย
5 นางสงบ รักษา ทาความสะอาด รายวัน 240 72 - 96 2

18
ทะเบียนเงินเดือนและค่าแรง
ทะเบียนเงินเดือนและค่าแรง 1-15 เมษายน พ.ศ 25X1 7
อา จ อ พ พฤ ศ ส อา จ อ พ พฤ ศ ส อา รายการหัก
อัตรา/ เงินเดือน /
ชื่อ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 ชม.ปกติ OT ชม. ค่าแรง ภาษี ประกัน สค. อื่นๆ จ่ายสุทธิ

1 นายยิ้ม ยิ่งแย้ม 15,000.00 1,520.00 375.00 - 13,105.00

2 นางนภาลัย งานยิ่ง 10 8 8 8 8 8 10 8 8 9 80 5 50 4,375.00 450.00 218.75 - 3,706.25

3 นางถนอม ออมอิ่ม 10 8 8 8 8 8 10 8 8 8 80 4 40 3,440.00 340.00 172.00 - 2,928.00

4 นายปลิว ปลอดภัย 10 8 8 8 8 8 10 8 8 9 80 5 30 2,625.00 245.00 131.25 - 2,248.75

5 นางสงบ รักษา 8 8 8 8 8 8 8 8 8 72 - 30 2,160.00 220.00 108.00 - 1,832.00

รวม 27,600.00 2,775.00 1,005.00 0 23,820.00


ผ่านบัญชีไปแยกประเภทเลขที่ 6010 2320 2351 2352
ทะเบียนเงินเดือนและค่าแรง 15-30 พ.ศ. 25X1 8
จ อ พ พฤ ศ ส อา จ อ พ พฤ ศ ส อา จ รายการหัก
อัตรา/ เงินเดือน /
ชื่อ 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 ชม.ปกติ OT ชม. ค่าแรง ภาษี ประกัน สค. อื่นๆ จ่ายสุทธิ

1 นายยิ้ม ยิ่งแย้ม 15,000.00 1,520.00 375.00 - 13,105.00

2 นางนภาลัย งานยิ่ง ลา 8 10 8 8 10 8 8 8 8 8 10 88 6 50 4,850.00 450.00 242.50 - 4,157.50

3 นางถนอม ออมอิ่ม ลา 8 10 8 8 10 8 8 8 8 8 10 88 6 40 3,880.00 340.00 194.00 - 3,346.00

4 นายปลิว ปลอดภัย ลา 8 10 8 8 10 8 8 8 8 8 10 88 6 30 2,910.00 245.00 145.50 - 2,519.50

5 นางสงบ รักษา ลา 8 8 8 8 8 8 8 8 8 8 10 88 2 30 2,730.00 230.00 136.50 - 2,363.50

รวม 29,370.00 2,785.00 1,093.50 0 25,491.50


ผ่านบัญชีไปแยกประเภทเลขที่ 6010 2320 2351 2352

19
ผ่านรายการยอดรวมเข้าบัญชีแยกประเภท เลขที่ 15 เมษายน 25X1 30 เมษายน 25X1

บัญชีคุมยอดเงินเดือนและค่าแรง 6010 27,600.00 29,730.00

บัญชีภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่ายค้างจ่าย 2320 2,755.00 2,785.00

บัญชีเงินสมทบกองทุนประกันสังคมค้างจ่าย 2351 1,005.00 1,093.50

บัญชีเงินเดือนและค่าแรงค้างจ่าย 2352 23,820.00 25,491.50

20
บัญชีคุมยอดเงินเดือนและค่าแรง 6010
25X1 รายการ หน้า เดบิต 25X1 รายการ หน้า เครดิต

เม.ย.-15 ทะเบียนเงินเดือน 7 27,600 -

30 ทะเบียนเงินเดือน 8 29,370 -

บัญชีภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่ายค้างจ่าน 2320


25X1 รายการ หน้า เดบิต 25X1 รายการ หน้า เครดิต
เม.ย.-15 ยอดยกมา XXX

30 ทะเบียนเงินเดือน 7 2,778 -

ทะเบียนเงินเดือน 8 2,785 -

21
21
บัญชีเงินสมทบกองทุนประกันสังคมต้างจ่าย 2351
25X1 รายการ หน้า เดบิต 25X1 รายการ หน้า เครดิต
เม.ย.-15 ยอดยกมา XXX

30 ทะเบียนเงินเดือน 7 1,005 -

ทะเบียนเงินเดือน 8 1,093 50

บัญชีเงินเดือนและค่าแรงค้างจ่าย 2352
25X1 รายการ หน้า เดบิต 25X1 รายการ หน้า เครดิต
เม.ย.-15 ยอดยกมา XXX

30 ทะเบียนเงินเดือน 7 23,820 -

ทะเบียนเงินเดือน 8 25,491 50

22
การโอนต้นทุนค่าแรงเข้าต้นทุนผลิตภัณฑ์
กรณีการโอนเข้างานตามระบบต้นทุนงาน
สมุดรายวันทั่วไป
บัญชีคุมยอดงานระหว่างทา (ค่าแรงงานทางตรง) XXX
บัญชีย่อยงานระหว่างทา (ค่าแรงทางตรง) งานที่ 1
XX
บัญชีย่อยงานระหว่างทา (ค่าแรงทางตรง) งานที่ 2
XX XXX
บัญชีย่อยงานระหว่างทา (ค่าแรงทางตรง )งานที่ 3 XXX
XX
บัญชีคุมยอดค่าใช้จ่ายการผลิต (ค่าแรงทางอ้อม)
บัญชีคุมยอดเงินเดือนและค่าแรง
โอนต้นทุนเงินเดือนและค่าแรงทางตรงเข้าผลิตภัณฑ์

23
การวิเคราะห์ต้นทุนค่าแรงตามตัวอย่างที่ 2
(กรณีระบบต้นทุนงาน - Job order costing)
 บัญชีย่อยงานระหว่างทา เป็นบัญชีย่อยแยกตามเลขที่งานที่รับ
มอบหมายให้ผลิต สาหรับระบบบัญชีต้นทุนงาน บัญชีย่อยงานระหว่าง
ทาจะบันทึกในบัตรต้นทุนงาน (Job cost sheet) บันทึกแยกแต่ละงาน
ในการโอนต้นทุนเงินเดือนและค่าแรงทางตรงเข้าผลิตภัณฑ์ จาเป็นต้องมี
การวิเคราะห์โดยสรุปจากบัตรลงเวลา เอกสารการมอบหมายงาน
เงินเดือนและค่าแรงทางอ้อม คือเงินเดือนและค่าแรงที่ไม่เกี่ยวกับการ
ผลิตโดยตรง ส่วนค่าสวัสดิการ เช่น เงินสมทบกองทุนประกันสังคม
และอื่นๆในส่วนที่กิจการรับผิดชอบถือเป็นค่าใช้จ่าย ให้ถือเป็นค่าใช้จ่าย
ในการผลิต
 การวิเคราะห์ต้นทุนแรงงานมีขั้นตอนดังนี้
1. แยกแผนกหรือพนักงานที่ทาหน้าที่ผลิตโดยตรง
2. สรุปจากบัตรลงเวลาและเอกสารการมอบหมายงานทาการวิเคราะห์ต้นทุน
ค่าแรงและเงินเดือน (ใบวิเคราะห์บัตรลงเวลา

24
24 24
ตัวอย่างที่ 3 จากตัวอย่างที่ 2 สรุปชั่วโมงทางานแต่ละงาน โดยพนักงานตัดเย็บและแต่งสาเร็จ
เป็นค่าแรงงานทางตรง นอกนั้นเป็นค่าแรงทางอ้อม ยกเว้นผู้จัดการ เงินเดือน 30,000 บาท ถือ
เป็นค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร 10,000 บาท ที่เหลือถือเป็นเงินเดือนผู้จัดการโรงงาน
การวิเคราะห์บัตรลงเวลารายครึ่งเดือนแสดงดังนี้
ค่าแรงทางตรง ค่าแรงทางอ้อม

ผู้จัดการ ยาม ทาความ


ช่างตัดเย็บ ช่างแต่งสาเร็จ รวม โรงงาน ร.ป.ภ. สะอาด รวม

เลขที่งาน ชม.ปกติ ชม.OT บาท ชม.ปกติ ชม.OT บาท บาท 10,000.00 2,625.00 2,160.00 14,785.00
J03-03 24 2 1,350.00 24 2 1,080.00 2,430.00
3,025.0 2,360.0
J04-01 56 3 0 56 2 0 5,385.00
4,375.0 3,440.0
รวม 80 5 0 80 4 0 7,815.00 10,000.00 2,625.00 2,160.00 14,785.00

รวมค่าแรงทางตรง 7,815.00

รวมค่าแรงทางอ้อม 14,785.00
รวม 22,600.00

25
ใบสาคัญ(สมุด)รายวันทั่วไป
JV 04/01
25X1 บัญชีคุมยอดงานระหว่างทา(ค่าแรงงานทางตรง) 7,815 00
เม.ย.15 บัญชีย่อยงานระหว่างทางานเลขที่J03-03 2,430.-
บัญชีย่อยงานระหว่างทางานเลขที่J04-01 5,385.-
บัญชีคุมยอดค่าใช้จ่ายการผลิต (ค่าแรงทางอ้อม) 14,785 00
บัญชีคุมยอดค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร 5,000 00
บัญชีคุมยอดเงินเดือนและค่าแรง 27,600 00
โอนต้นทุนเงินเดือนและค่าแรงทางตรงเข้าผลิตภัณฑ์
ใบสาคัญ(สมุด)รายวันทั่วไป JV 04/01
25X1 บัญชีคุมยอดงานระหว่างทา(ค่าแรงงานทางตรง) 8,730 00
เม.ย.30 บัญชีย่อยงานระหว่างทางานเลขที่J04-02 6,300.-
บัญชีย่อยงานระหว่างทางานเลขที่J04-03 2,430.-
บัญชีคุมยอดค่าใช้จ่ายการผลิต (ค่าแรงทางอ้อม) 15,640 00
บัญชีคุมยอดค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร 5,000 00
บัญชีคุมยอดเงินเดือนและค่าแรง 29,370 00
โอนต้นทุนเงินเดือนและค่าแรงทางตรงเข้าผลิตภัณฑ์

26
บริษัทหมวกยิ้ม จากัด
บัตรต้นทุนงาน งานเลขที่.. J04-01...

(JOB COST SHEET) วันที่เริ่มงาน......5 เมษายน 25X1.........

แผนก.................ผลิตหมวกยิ้ม...... วันที่งานเสร็จ......................................
ประเภทงาน.......ตามสั่ง................. จานวนหน่วย...........100 ใบ................
นาเข้าคลัง...........หมวกยิ้ม.............
วัตถุดิบทางตรง ค่าแรงทางตรง ค่าใช้จ่ายการผลิต
วันที่ เลขที่ใบเบิก หน่วย บาท วันที่ เลขที่เอกสาร ชั่วโมง บาท วันที่ เลขที่เอกสาร บาท

5 เม.ย.X1 mr401 20 ม. 10,000.00 15เม.ย.X1 JV04/01 59 3,025.00


10 เม.ย.X1 mr402 10 ม. 5,166.70 58 2,360.00

รวม

สรุปต้นทุน บาท การส่งมอบ

วันที่ จานวน คงเหลือ


วัตถุดิบทางตรง
ค่าแรงทางตรง
ค่าใช้จ่ายการผลิต

ผู้บันทึก........................ รวม ผู้ตรวจสอบ …....................


27
28
4. ต้นทุนค่าใช้จ่ายการผลิต
• จาแนกตามลักษณะของต้นทุน มีวัตถุประสงค์เพื่อจดบันทึกทางการบัญชี ได้แก่
 วัตถุดิบทางอ้อม ได้แก่
» วัสดุสิ้นเปลืองโรงงาน
» วัสดุสิ้นเปลืองสานักงานในโรงงาน
» เครื่องมือขนาดเล็ก

• ค่าแรงทางอ้อม ได้แก่ • ค่าซ่อมบารุงรักษา ได้แก่


 ผู้ควบคุมงาน  อาคารโรงงาน
 ธุรการโรงงาน  เครื่องจักร
 ผู้คุมพัสดุ  เครื่องมือเครื่องใช้
 หัวหน้าคุมโรงงานทั่วไป  ยานพาหนะ
 ผู้ตรวจคุณภาพ (QC)
 ค่าแรงล่วงเวลา (ส่วนที่จ่ายเกินค่าแรงปกติ)
 ค่าแรงสูญเปล่า (Idle Time)

29
การบันทึกบัญชี
• ต้นทุนจริง (Actual Costing ) เป็นวิธีการบันทึกบัญชีต้นทุนวัตถุดิบ ค่าแรงและ
ค่าใช้จ่ายการผลิตตามที่เกิดขึ้นจริง วิธีนี้มีข้อดีคือข้อมูลถูกต้องมีหลักฐานตรวจสอบ
ได้เพราะเป็นข้อมูลที่เกิดขึ้นแล้ว ข้อบกพร่องคือไม่สามารถคานวณต้นทุนการผลิต
เข้าผลิตภัณฑ์ที่ผลิตเสร็จในระหว่างงวด เพราะต้องรอบันทึกรายการให้ครบจนถึง
วันสิ้นงวดก่อนโดยเฉพาะค่าใช้จ่ายการผลิต เช่น ค่าน้า ค่าไฟ เป็นต้น วิธีนี้เหมาะ
สาหรับกิจการขนาดเล็กที่ไม่มีความซับซ้อนในการผลิต

• ต้นทุนปกติ ( Normal Costing ) วิธีนี้เป็นวิธีที่แก้ปัญหาการคานวณต้นทุนการ


ผลิตตามวิธีต้ นทุนจริง ที่ค่า ใช้ จ่า ยการผลิ ตต้ องรอจนสิ้นงวดตามที่เกิด ขึ้นจริง จึ ง
คานวณต้นทุนการผลิตได้ แต่วิธีต้นทุนปกตินี้ เป็นวิธีการประมาณค่าใช้จ่ายการผลิต
ไว้ล่ วงหน้าด้ วยอัตราจัดสรรล่วงหน้าตามค่าใช้จ่ายการผลิตที่มี ความสัมพันธ์กั บ
กิจกรรมที่ใช้ในการจัดสรร ได้ แก่ หน่วยสินค้าที่ผลิ ต ต้ นทุนวัต ถุดิ บ จ านวน
ชั่วโมงเครื่องจักร จานวนชั่วโมงแรงงานทางตรง และต้นทุนค่าแรงทางตรง และ
มักใช้ในกรณีที่มีแผนกการผลิตหลายแผนก
30
กรณีเป็นการบันทึกบัญชีตามระบบต้นทุนจริง

• ตัวอย่างที่ 4 สมมติว่าบริษัท หมวกยิ้ม จากัด ได้จ่ายค่าใช้จ่ายการผลิตและ


บั น ทึ ก บั ญ ชี ต ามขั้ น ตอนในตารางที่ 1 บั ญ ชี คุ ม ยอดและบั ญ ชี ย่ อ ยของบั ญ ชี
ค่าใช้จ่ายการผลิตสาหรับงวดเดือนสิ้นสุดวันที่ 30 เมษายน 25X1 มีรายละเอียด
ดังนี้

31
กรณีเป็นการบันทึกบัญชีตามระบบต้นทุนจริง
ใบสาคัญ(สมุด)รายวันทั่วไป
JV 04/16
25X1 บัญชีคุมยอดงานระหว่างทา 35,700
เม.ย.30 บัญชีคุมยอดค่าใช้จ่ายการผลิต 35,700
โอนค่าใช้จ่ายในการผลิตเข้าต้นทุนงาน
บัญชีย่อยงานระหว่างทางานเลขที่J03-03
5,200.- ผ่านไปบัญชีย่อย
(บัตรต้นทุนงาน)
บัญชีย่อยงานระหว่างทางานเลขที่J04-01 11,700.-
แต่ละงาน
บัญชีย่อยงานระหว่างทางานเลขที่J04-02 13,600.-
บัญชีย่อยงานระหว่างทางานเลขที่J04-03
5,200.-
JV 04/16
25X1 บัญชีคุมยอดสินค้าสาเร็จรูป 32,251 70
เม.ย.30 บัญชีคุมยอดงานระหว่างทา 32,251 70
โอนต้นทุนสินค้าที่ผลิตเสร็จ
บัญชีย่อย(บัตรต้นทุนงาน) J04-01
บัญชีย่อยงานระหว่างทางานเลขที่J04-01
32,251.70 บาท ผ่านไปบัญชีย่อย(บัตรต้นทุน
งาน) J04-01
32
33
บริษัทหมวกยิ้ม จากัด
บัตรต้นทุนงาน งานเลขที่.. J04-01...

(JOB COST SHEET) วันที่เริ่มงาน.. 5 เมษายน 25X1..

แผนก.................ผลิตหมวกยิ้ม...... วันที่งานเสร็จ 15 เมษายน 25X1..

ประเภทงาน.......ตามสั่ง................. จานวนหน่วย..100 ใบ................


นาเข้าคลัง...........หมวกยิ้ม.............
วัตถุดิบทางตรง ค่าแรงทางตรง ค่าใช้จ่ายการผลิต
เลขที่ เลขที่
วันที่ เลขที่ใบเบิก หน่วย บาท วันที่ ชั่วโมง บาท วันที่ บาท
เอกสาร เอกสาร
5 เม.ย.X1 mr401 20 ม. 10,000.00 15เม.ย.X1 JV04/01 59 3,025.00 30เม.ย.X1 JV04/15 11,700.00
10 เม.ย.X1 mr402 10 ม. 5,166.70 58 2,360.00

รวม 15,166.70 5,385.00 11,700.00


สรุปต้นทุน บาท การส่งมอบ

วันที่ จานวน คงเหลือ


วัตถุดิบทางตรง 15,166.70
ค่าแรงทางตรง 5,385.00 16 เม.ย.X1 60 40
ค่าใช้จ่ายการผลิต 11,700.00 20 เม.ย.X1 40 0

ผู้บันทึ................. รวม 32,251.70 ผู้ตรวจสอบ …....................


(….........................) ต้นทุนต่อหน่วย 322.517 (………....................)
วันที…
่ .. /……/……… วันที…
่ … /……/……….

34
การบันทึกบัญชีตามระบบต้นทุนปกติ
(จัดสรรค่าใช้จ่ายการผลิตล่วงหน้า)
ทาไมต้องจัดสรร
• กรณีที่กิจการผลิตสินค้าต้องการตัวเลขเกี่ยวกับต้นทุนเพื่อนาไปตัดสินใจด้าน
ต่างๆ เช่น การตั้งราคาขายว่าจะคุ้มทุนหรือมีกาไรตามที่วางแผนหรือไม่ การตัดสินใจ
ว่าจะผลิตต่อไปหรือหยุดการผลิต การตัดสินใจว่าจะซื้อหรือผลิตเอง เป็นต้น การใช้
ข้อมูลต้นทุนจริงซึ่งต้องรอจนถึงวันสิ้นงวดปิดบัญชีจึงจะทราบต้นทุนทั้งหมดทาให้ไม่ทัน
ต่อการการตัดสินใจ ค่าใช้จ่ายการผลิตมีลักษณะเดียวกัน คือ จะทราบต้นทุนที่เกิดขึ้น
จริงต้องรอจนถึงวันสิ้นงวดเนื่องจากรายการค่าใช้จ่ายการผลิตมีหลายรายการที่ยังไม่
ทราบแม้เมื่อสิ้นงวด เช่น ค่าสาธารณูปโภค ค่าน้า ค่าไฟ ค่าโทรศัพท์ เป็นต้น
• ทางเลือกเพื่อให้ได้ข้อมูลต้นทุนการผลิต คือ การคานวณค่าใช้จ่ายการผลิต
ล่วงหน้า โดยเริ่มต้นจากการคานวณอัตราจัดสรรล่วงหน้า แล้วคานวณค่าใช้จ่ายการ
ผลิตจัดสรร เมื่อสิ้นงวดบันทึกค่าใช้จ่ายการผลิตที่เกิดขึ้นจริงแล้วเปรียบเทียบกับ
ค่าใช้จ่ายจัดสรรเพื่อหาผลต่างที่สูง(Over applied)หรือต่า กว่าที่เกิดขึ้นจริง(Under
applied) แล้วนามาปรับปรุงและปิดบัญชี
35
การบันทึกบัญชีตามระบบต้นทุนปกติ
(จัดสรรค่าใช้จ่ายการผลิตล่วงหน้า)
• กรณีการคานวณอัตราจัดสรรล่วงหน้า สูตรในการคานวณอัตราจัดสรรล่วงหน้า คือ
• อัตราค่าใช้จ่ายการผลิต = ประมาณค่าใช้จ่ายการผลิต / ปริมาณกิจกรรมรวม
• ประมาณค่าใช้จ่ายการผลิต กิจการต้องทราบโครงสร้างต้นทุนโดยประมาณซึ่งมาจาก
ข้อมูลในอดีตและประสบการณ์ ข้อมูลที่ใช้ในการคานวณอัตราจัดสรรล่วงหน้าควรเป็นข้อมูล
รอบบัญชีที่ยาว เช่น ข้อมูลรายเดือน หรือมากว่านั้น แต่ถ้าเป็นข้อมูลในระยะสั้น เช่น ราย
สัปดาห์ หรือรายวัน การคานวณอัตราจัดสรรอาจไม่ใกล้เคียงความเป็นจริงเพราะระยะเวลา
สั้นอาจยังไม่รวมข้อมูลต้นทุนบางรายการ ทางเลือกที่ดี คือ รายเดือน หรือรายปี และที่ดี
ที่สุดคือรายปี เพราะระยะเวลานาน สามารถรวบรวมลักษณะของค่าใช้จ่ายได้ดีว่าระยะสั้น
• ปริมาณกิจกรรมรวม คือ ปริมาณหรือจานวนเงินที่มีความสัมพันธ์กับค่าใช้จ่ายการผลิต
อย่างมีสาระสาคัญ ได้แก่ ค่าใช้จ่ายการผลิตมีความสัมพันธ์กับ
1. หน่วยสินค้าที่ผลิต
2. ต้นทุนวัตถุดิบทางตรง
3. จานวนชั่วโมงเครื่องจักร
4. จานวนชั่งโมงแรงงานทางตรง และ
5. ต้นทุนค่าแรงทางตรง
36
ปริมาณกิจกรรมรวม
1. อัตราจัดสรรตามหน่วยที่ผลิต
สูตรในการคานวณ
• อัตราจัดสรรค่าใช้จ่ายการผลิตต่อหน่วยผลิต = ประมาณค่าใช้จ่ายการ
ผลิต / ประมาณจานวนหน่วยผลิต
• ตัวอย่างที่ 5 กิจการประมาณว่าค่าใช้จ่ายการผลิตปีปัจจุบันเท่ากับ
420,000 บาทและประมาณว่ากิจการจะผลิตสินค้าได้ 3,500 หน่วย
• อัตราจัดสรรค่าใช้จ่ายการผลิตต่อหน่วยผลิต =
• 420,000 / 3,500 = 120 บาทต่อหน่วย
• ถ้ากิจการผลิตสินค้าได้ 100 หน่วย ค่าใช้จ่ายการผลิตจัดสรรจะเท่ากับ
12,000 บาท (100 x 120)

37
ปริมาณกิจกรรมรวม
2. อัตราจัดสรรตามต้นทุนวัตถุดิบทางตรง
สูตรในการคานวณ
• อัตราจัดสรรร้อยละของค่าใช้จ่ายการผลิตต่อต้นทุนวัตถุดิบทางตรงใช้ไป = ประมาณ
ค่าใช้จ่ายในการผลิต / ประมาณต้นทุนวัตถุดิบทางตรงใช้ไป
• วิธีนี้เหมาะสมสาหรับการผลิตที่ส่วนใหญ่ใช้ค่าแรงงานทางตรงในการผลิตและการใช้
จานวนชั่วโมงการผลิตสามารถใช้ได้ดีถ้ามีความแตกต่างในอัตราค่าแรงงานของคนงาน
• ตัวอย่างที่ 6 จากตัวอย่างที่ 5 สมมติประมาณต้นทุนวัตถุดิบทางตรงใช้ไปเท่ากับ
560,000 บาท
• อัตราจัดสรรร้อยละของค่าใช้จ่ายการผลิตต่อต้นทุนวัตถุดิบทางตรง
= 420,000 / 560,000 = 75 %
• ถ้าต้นทุนวัตถุดิบใช้ไปของงานที่ J04-01 เท่ากับ 15,166.70 บาท ค่าใช้จ่ายการผลิต
จัดสรรเท่ากับ
= 15,166.70 x 75% = 11,375 บาท

38
ปริมาณกิจกรรมรวม
3. อัตราจัดสรรตามชั่วโมงเครื่องจักร
สูตรในการคานวณ
• อัตราจัดสรรร้อยละของค่าใช้จ่ายการผลิตต่อชั่วโมงเครื่องจักร =
ประมาณค่าใช้จ่ายการผลิต / ประมาณจานวนชั่วโมงเครื่องจักร
• ตัวอย่างที่ 7 จากตัวอย่างที่ 5 สมมติประมาณจานวนชั่งโมง
เครื่องจักรทั้งปีเท่ากับ 2,000 ชั่วโมง
• อัตราจัดสรรค่าใช้จ่ายการผลิตต่อชั่วโมงเครื่องจักร
= 420,000 /2,000 = 210 บาท
• ถ้าจานวนชั่วโมงเครื่องจักรใช้ไปในการผลิตจริงของงาน J04-01เท่ากับ
50 ชั่วโมง ค่าใช้จ่ายการผลิตจัดสรรเท่ากับ
= 50 x 210 = 10,500 บาท
39
ปริมาณกิจกรรมรวม
4. อัตราจัดสรรตามชั่วโมงแรงงานทางตรง
สูตรในการคานวณ
• อัตราจัดสรรค่าใช้จ่ายการผลิตต่อชั่วโมงแรงงานทางตรง = ประมาณ
ค่าใช้จ่ายการผลิต / ประมาณจานวนชั่วโมงแรงงานทางตรง
• ตัวอย่างที่ 8 จากตัวอย่างที่ 5 สมมติประมาณจานวนชั่งโมงแรงงาน
ทางตรงทั้งปีเท่ากับ 4,000 ชั่วโมง
• อัตราจัดสรรค่าใช้จ่ายการผลิตต่อชั่วโมงแรงงานทางตรง
= 420,000 /4,000 = 105 บาท / ชั่งโมงแรงงานทางตรง
• ถ้าจานวนชั่วโมงแรงงานทางตรงในการผลิตจริงของงาน J04-01 เท่ากับ 117
ชั่วโมง ค่าใช้จ่ายการผลิตจัดสรรเท่ากับ
= 105 x 117 = 12,285 บาท
40
ปริมาณกิจกรรมรวม
5. อัตราจัดสรรตามต้นทุนแรงงานทางตรง
สูตรในการคานวณ
• อัตราจัดสรรร้อยละของค่าใช้จ่ายการผลิตต่อต้นทุนค่าแรงงานทางตรง =
ประมาณค่าใช้จ่ายการผลิต / ประมาณต้นทุนค่าแรงงานทางตรง
• ตัวอย่างที่ 9 จากตัวอย่างที่ 5 สมมติประมาณต้นทุนค่าแรงงานทางตรงทั้ง
ปีเท่ากับ 200,000 บาท
• อัตราจัดสรรร้อยละของค่าใช้จ่ายการผลิตต่อต้นทุนค่าแรงงานทางตรง
= 420,000 / 200,000 = 210 %
• ถ้าต้นทุนค่าแรงงานทางตรงของงานที่ J04-01 เท่ากับ 5,385 บาท
ค่าใช้จ่ายการผลิตจัดสรรเท่ากับ
= 5,385 x 210% = 11,309 บาท
41
ปริมาณกิจกรรมรวม
หลักในการพิจารณาเลือกวิธีการคานวณอัตราจัดสรรค่าใช้จ่ายการผลิต
• ผู้บริหารฝ่ายผลิตและนักบัญชีเป็นผู้มีส่วนร่วมในการเลือกวิธีการคานวณอัตราจัดสรร
ค่าใช้จ่ายการผลิตล่วงหน้า หลักในการเลือกวิธีที่เหมาะสมต้องพิจารณาปัจจัยที่มีผลกระทบ
ต่อทางเลือกซึ่งได้แก่ ประเภทของสินค้าที่ผลิต จานวนเครื่องจักรที่ใช้ การจัดโครงสร้าง
องค์กร แรงงานที่ใช้ อัตราค่าแรงและจานวนชั่วโมงแรงงาน กิจการต้องมีระบบที่สามารถ
จัดเก็บตัวเลขที่เกี่ยวข้องได้ เช่น จานวนชั่งโมงเครื่องจักรทั้งหมดและจานวนเครื่องจักที่ใช้ใน
แต่ละงานและแต่ละแผนกถ้ามีการแยกแผนกการผลิต เป็นต้น ดังนั้นอาจสรุปหลักในการ
พิจารณาเลือกวิธีการคานวณอัตราจัดสรรค่าใช้จ่ายการผลิต ดังนี้
1. อัตราที่เลือกควรง่ายในการคานวณ
2. ปัจจัยหรือกิจกรรมที่เลือกควรเป็นปัจจัยที่ง่ายในการวัดและจัดเก็บข้อมูลในแต่ละงาน
3. ปัจจัยกิจกรรมที่เลือกควรมีความสัมพันธ์โดยตรงกับค่าใช้จ่ายการผลิตมากที่สุด
4. หลักการคานวณที่เลือกสามารถแทนค่าการคานวณค่าใช้จ่ายการผลิตได้ทุกงานที่ผลิต
5. กรณีที่กิจการมีหลายแผนก ควรกาหนดอัตราแต่ละแผนกซึ่งอาจใช้หลักเกณฑ์ที่แตกต่างกัน
ตามลักษณะการผลิตที่แตกต่าง

42
การบันทึกบัญชีเมื่อใช้ต้นทุนจัดสรร
• การคานวณค่าใช้จ่ายการผลิตจัดสรร คือการนาปัจจัยหรือกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริงแล้วคูณกับอัตรา
จัดสรรที่คานวณไว้ล่วงหน้า ผลที่ได้คือค่าใช้จ่ายการผลิตจัดสรร ในการจัดสรร บางกิจการที่มีงาน
หลายงาน เพื่อวัตถุประสงค์ในการประมาณต้นทุนงานที่เสร็จในระหว่างงวด อาจเลือกจัดสรร
เฉพาะงานที่เสร็จเท่านั้น ส่วนงานอื่นๆที่ยังไม่เสร็จอาจรอจัดสรรตามค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นจริงตอนสิ้น
งวดได้ จากตัวอย่างต่อเนื่องจากบทก่อนการคานวณและบันทึกบัญชีค่าใช้จ่ายการผลิตจัดสรรแสดง
ดังนี้
• ตัวอย่างที่ 10 จากตัวอย่างก่อน ผู้จัดการบริษัทหมวกยิ้ม จากัดต้องการทราบต้นทุนสินค้าที่ผลิต
เสร็จซึ่งมีงานเดียวคืองานเลขที่ J04-01 บริษัทจึงคานวณค่าใช้จ่ายการผลิตจัดสรร และต้องการ
จัดสรรเฉพาะงานที่ทาเสร็จระหว่างงวดเท่านั้น จากการพิจารณาทางเลือกในการคานวณอัตราจัดสรร
เห็นว่าเหมาะสมที่สุดคือวิธีที่ 4 อัตราจัดสรรตามชั่วโมงแรงงานทางตรงซึ่งผลการคานวณ คือ
• อัตราจัดสรรค่าใช้จ่ายการผลิตต่อชั่วโมงแรงงานทางตรง
= 420,000 /4,000 = 105 บาท / ชั่งโมงแรงงานทางตรง
• จานวนชั่วโมงแรงงานทางตรงในการผลิตจริงของงาน J04-01เท่ากับ 117 ชั่วโมง ค่าใช้จ่ายการผลิต
จัดสรรเท่ากับ = 105x 117 = 12,285 บาท
• การบันทึกบัญชีในสมุดรายวัน ณ วันที่ผลิตเสร็จ 15 เมษายน 25X1 จะเป็นดังนี้

43
44
45
ณ วันสิ้นเดือน 30 เมษายน เฉลี่ยค่าใช้จ่ายการผลิต
จริงตามสัดส่วนของชั่วโมงแรงงานทางตรง ดังนี้

46
ผลต่างการจัดสรรค่าใช้จ่ายการผลิตขาด/เกิน
• 1) ประเด็นการแยก(ชื่อ)บัญชี
– 1.1) ไม่ต้องบันทึกบัญชีผลต่างแยกต่างหาก
– 1.2) บันทึกผลต่างเข้าบัญชีจัดสรรค่าใช้จ่ายการผลิตขาด/เกิน (Over applied or
Under applied Manufacturing Overhead) แยกต่างหาก
• 2) ประเด็นการบันทึกบัญชี
– 2.1) กรณีที่มีผลต่างมีจานวนค่อนข้างมาก - ควรแบ่งสรรผลต่างตามสัดส่วน
ของค่าใช้จ่ายการผลิตที่รวมอยู่ในต้นทุนขายและสินค้าคงเหลือ
– 2.2) กรณีที่มีผลต่างเป็นจานวนไม่มาก หรือขายสินค้าหมดในงวดนั้น คือไม่มี
สินค้าของงานที่ผลิตเสร็จคงเหลือ บันทึกเข้าบัญชีต้นทุนขาย

47
1) ประเด็นการแยก(ชื่อ)บัญชี

 1.1) ไม่ต้องบันทึกบัญชีผลต่างแยกต่างหาก
 1.2) บันทึกผลต่างเข้าบัญชีจัดสรรค่าใช้จ่ายการผลิตขาด/เกิน
(Over applied or Under applied Manufacturing Overhead)
แยกต่างหาก

48
49
2) ประเด็นการบันทึกบัญชี

 2.1) กรณีที่มีผลต่างมีจานวนค่อนข้างมาก - ควรแบ่งสรรผลต่าง


ตามสัดส่วนของค่าใช้จ่ายการผลิตที่รวมอยู่ในต้นทุนขายและ
สินค้าคงเหลือ
 2.2) กรณีที่มีผลต่างเป็นจานวนไม่มาก หรือขายสินค้าหมดในงวด
นั้น คือไม่มีสินค้าของงานที่ผลิตเสร็จคงเหลือ บันทึกเข้าบัญชี
ต้นทุนขาย

50
2.1) กรณีที่ผลต่างเป็นจานวนค่อนข้างมาก
• ตัวอย่างที่ 12 จากตัวอย่างที่ 10 สมมติว่าสินค้างาน J04-01 ผลิตเสร็จ 100 หน่วย
ต้นทุนหน่วยละ 328.367 บาทและขายไปบางส่วน 60 หน่วยราคาต้นทุน 19,702.02 บาท
มีสินค้าคงเหลือ 40 หน่วยราคาต้นทุน 13,134.68 บาท การคานวณและบันทึกบัญชีแสดง
ดังนี้
จานวนเงิน สัดส่วน % เฉลี่ย
ผลต่าง
ต้นทุนขาย 19,702.02 60% 351
สินค้าคงเหลือ 13,134.68 40% 234
รวม 32,836.70 100% 585

เดบิต บัญชีจัดสรรค่าใช้จ่ายการผลิตขาด/เกิน 585.00


เครดิต บัญชีต้นทุนขาย 351.00
บัญชีสินค้าคงเหลือ 231.00

51
2.2) กรณีที่มีผลต่างเป็นจานวนไม่มาก

• หรือขายสินค้าหมดในงวดนั้น คือไม่มีสินค้าของงานที่ผลิตเสร็จคงเหลือ บันทึก


เข้าบัญชีต้นทุนขาย
25X1 บัญชีคุมยอดงานระหว่างทา 1420 24,000 -
เม.ย.30 บัญชีคุมยอดค่าใช้จ่ายการผลิต 5090 24,000 -
โอนค่าใช้จ่ายการผลิตเข้าต้นทุนงานที่ยังทาไม่เสร็จ
บัญชีย่อยงานระหว่างทางานเลขที่J03-03 5,200.-
บัญชีย่อยงานระหว่างทางานเลขที่J04-02 13,600.-
บัญชีย่อยงานระหว่างทางานเลขที่J04-03 5,200.-

บัญชีคุมยอดค่าใช้จ่ายการผลิต 5090 585 -


บัญชีต้นทุนขาย 5000 585 -
บันทึกผลต่างการจัดสรรค่าใช้จ่ายการผลิตล่วงหน้าเกินกว่าที่
เกิดขึ้นจริงของงานJ04-01 (12,285-11,700)

52
จริง

53
5. ค่าใช้จ่ายการผลิตกรณีมีหลายแผนกและ
การบันทึกบัญชีต้นทุนงานเมื่องานเสร็จ

54
ตัวอย่างกิจการขนาดใหญ่ที่มีรายการมากและมีหลายแผนกผลิต

ผู้จัดการ

ฝ่ายจัดการทั่วไป ฝ่ายบุคคล ฝ่ายผลิต ฝ่ายการเงินและบัญชี ฝ่ายการตลาด

สายงานผลิต สายงานบริการ

1. แผนกตัด 2.แผนกเย็บ 3.แผนกตกแต่ง 4.แผนก 5.แผนก


สาเร็จ โรงงานทั่วไป บริการอาคาร

ส่วนจัดเตรียม ส่วนอานวยการ

หน่วยจัดซื้อ หน่วยตรวจตรา
หน่วยรับของ หน่วยต้นทุน
หน่วยจัดเก็บ หน่วยค่าแรง
หน่วยส่งของ หน่วยตรวจสอบ

55
ผังบัญชี

• 1. ไม่มีบัญชีย่อย ใช้สาหรับกิจการขนาดเล็กไม่สลับซับซ้อน (ตัวอย่างที่ ก)


• 2. มีบัญชีคุมยอดและบัญชีย่อยแต่ไม่แยกแผนก ใช้สาหรับกิจการขนาดเล็ก
และขนาดกลางที่มีประเภทชื่อบัญชีหรือมีรายการบัญชีจานวนมาก (ตัวอย่างที่ ข)
• 3. มีบัญชีคุมยอดและบัญชีย่อยกรณีมีหลายแผนก ใช้สาหรับกิจการ ขนาด
กลางและขนาดใหญ่ที่มีประเภทชื่อบัญชีหรือมีรายการบัญชีจานวนมาก และมีแผนก
ผลิตแยกเป็นแผนกย่อยๆซึ่งผู้บริหารต้องการวัดผลการดาเนินงานของแต่ละแผนก
ด้วย (ตัวอย่างที่ ค)

56
ตัวอย่างที่ ก ไม่มีบัญชีย่อย ใช้กับกิจการขนาดเล็กที่ไม่มีความซับซ้อนมากนัก

57
ตัวอย่างที่ ข มีบัญชีคุมยอดและบัญชีย่อย ใช้กับกิจการขนาดเล็กและกลางที่มี
รายการมากแต่ไม่ซับซ้อน

58
ตัวอย่างที่ ค มีบัญชีคุมยอดและบัญชีย่อย ใช้กับกิจการขนาดใหญ่ที่มี
รายการมากและมีหลายแผนกผลิต

ผังการจัดองค์กรของโรงงานแยกเป็นแผนกผลิตดังตัวอย่างต่อไปนี้

• ผังบัญชีค่าใช้จ่ายการผลิตมี 2 ทางเลือก คือ


• ทางเลือกที่ 1 มีบัญชีคุมยอดแยกตามชนิดค่าใช้จ่ายและมีบัญชีย่อยโดย
บัญชีย่อยแยกตามแผนกในโรงงาน
• ทางเลือกที่ 2 มีบัญชีคุมยอดแยกตามแผนกในโรงงานและมีบัญชีย่อยโดย
บัญชีย่อยแยกตามชนิดค่าใช้จ่าย

59
60
61
อธิบายรายการ
• ค่าใช้จ่ายการผลิตที่เกิดขึ้นจริง
• ค่าใช้จ่ายการผลิตจริงแยกแต่ละแผนก
• ค่าใช้จ่ายแผนกบริการ 5 – อาคารเฉลี่ยเข้าแผนก 1-4
• ค่าใช้จ่ายแผนกบริการ 4 – อาคารเฉลี่ยเข้าแผนก 1-3

62
63
64
65
2. การบันทึกบัญชีค่าใช้จ่ายการผลิตกรณีมีหลายแผนกตามระบบบัญชีต้นทุนปกติ

2.1 การคานวณอัตราจัดสรรล่วงหน้ากรณีมีหลายแผนกผลิต
 ทางบประมาณค่าใช้จ่ายการผลิตทั้งปี
 โอนประมาณค่าใช้จ่ายการผลิตของแผนกสายบริการเฉลี่ยให้แผนกอื่นและแผนก
สายการผลิต
 คานวณอัตราจัดสรรแต่ละแผนกสายการผลิต
2.2 การจัดสรรค่าใช้จ่ายการผลิตโดยใช้อัตราจัดสรรล่วงหน้าและการบันทึกบัญชี
 จัดสรรค่าใช้จ่ายการผลิตเข้าต้นทุนงานที่ผลิตเสร็จตามอัตราจัดสรรและบันทึกบัญชี
 บันทึกบัญชีต้นทุนงานที่ผลิตเสร็จในสมุดรายวันงานเสร็จ (Completed Job Journal
– CJJ)
 บันทึกบัญชีเมื่อขาย

66
 ทางบประมาณค่าใช้จ่ายการผลิตทั้งปี

67
 โอนประมาณค่าใช้จ่ายการผลิตของแผนกสายบริการเฉลี่ยให้แผนกอื่น
และแผนกสายการผลิต

68
 คานวณอัตราจัดสรรแต่ละแผนกสายการผลิต

69
 จัดสรรค่าใช้จ่ายการผลิตเข้าต้นทุนงานที่ผลิตเสร็จตามอัตราจัดสรร
และบันทึกบัญชี

70
71
บัญชีค่าใช้จ่ายในการผลิต
 แผนกตัด

 แผนกเย็บ

 แผนกแต่งสาเร็จ

 แผนกบริการอาคาร

 แผนกโรงงานทั่วไป

บัญชีจัดสรรค่าใช้จ่ายการผลิต ขาด/เกิน
72
 บันทึกบัญชีต้นทุนงานที่ผลิตเสร็จในสมุดรายวันงานเสร็จ
Complete Job Journal - CJJ

73
73
 การบันทึกบัญชีเมื่อขาย

74
 การบันทึกบัญชีเมื่อสิ้นงวดและการจัดทางบการเงิน

ทางเลือกที่ 1 กิจการบันทึกบัญชี ณ วันสิ้นเดือน

75
76
76
ทางเลือกที่ 2 กิจการบันทึกบัญชี ณ วันสิ้นปี

77
77
6. การบัญชีระบบต้นทุนงาน
กรณีมีของชารุดเสียหาย

78
ต้นทุนงาน (Job order costing)
• 6.1 ประเภทของาการเกิดของชารุดเสียหาย
• 6.2 การบัญชีเกี่ยวกับเศษวัสดุ (Scrap Materials)
• 6.3 การบัญชีเกี่ยวกับสินค้าเสีย (Spoiled Goods)
• 6.4 การบัญชีเกี่ยวกับการแก้ไขสินค้ามีตาหนิด้อยคุณภาพ (Defective
Units)

79
6.1 ประเภทของการเกิดของชารุดเสียหาย
• ประเภทของชารุดเสียหาย
• เศษวัสดุ( Scrap Materials) คือ เศษวัสดุคงเหลือจากกระบวนการผลิต มีมูลค่าเล็กน้อย
อาจขายหรือนาไปใช้ในระบวนการผลิตอื่นได้ เช่น ขี้เลื่อย เศษไม้ สามารถขายให้
โรงงานผลิตธูป ยากันยุงหรือเป็นเชื้อเพลิงในโรงงานต่อไปได้ เศษวัสดุอาจมีสาเหตุมาจาก
วัตถุดิบมีตาหนิ แตกหัก วัสดุเก่าล้าสมัย เครื่องมือเครื่องจักรชารุดเสียหายทาให้มีเศษวัสดุ
มาก หรือกรณีโครงงานการทดลองผลิตล้มเหลวหรือยกเลิก ทาให้มีเศษวัสดุที่ไม่ใช้คงเหลือ
เป็นต้น
• สินค้าเสีย (Spoiled Goods) คือ สินค้าที่ผลิตไม่ได้รูปแบบหรือไม่ได้ตามมาตรฐานที่กาหนด
ทาให้ต้องคัดออก สาเหตุอาจเนื่องมาจากความด้อยประสิทธิภาพของวัตถุดิบ กระบวนการ
ผลิต สินค้าเสียอาจนาไปขายได้แต่มีราคาต่า แต่ไม่สามารถนามาผลิตใหม่ได้
• สินค้ามีตาหนิด้อยคุณภาพ (Defective Units) คือ สินค้าที่ผลิตไม่ได้รูปแบบหรือไม่ได้ตาม
มาตรฐานที่กาหนดทาให้ต้องคัดออก สาเหตุอาจเนื่องมาจากความด้อยประสิทธิภาพของ
วัตถุดิบ กระบวนการผลิต สินค้าเสียอาจนาไปขายได้แต่มีราคาต่า แต่สามารถนามาผลิตใหม่
ให้มีสภาพดีขึ้นได้
80
6.2 การบัญชีเกี่ยวกับเศษวัสดุ
(Scrap Materials)
• กิจการควร
– จัดให้มีการเก็บรวบรวมเศษวัสดุให้เป็นระเบียบแยกต่างหากจากวัสดุที่ดี
– ทารายงานเศษวัสดุคงเหลือประจาสัปดาห์ เพื่อนาเสนอฝ่ายบริหารในหารตัดสินใน
กาจัดเศษวัสดุ
– รูปแบบของรายงานเศษวัสดุคงเหลือประจาสัปดาห์ แยกเป็น 2 ประเภท คือ
 ประเภทที่มีมูลค่าไม่มากหรือไม่ทราบราคาตลาด และ
 ประเภทที่มมี ูลค่าสูง ทราบราคาและสามารถบันทึกบัญชีได้
– รายงานเศษวัสดุคงเหลือมีรูปแบบตามที่เสดงในหน้าถัดไป
• การบันทึกบัญชี แยกเป็น 2 กรณี คือ
1. กรณีไม่ทราบราคาตลาดจนกว่าจะขายได้
2. กรณีทราบราคาตลาดและมีมูลค่าสูงพอสมควร

81
81
1) กรณีไม่ทราบราคาตลาดจนกว่าจะขายได้ การบันทึกบัญชีจะบันทึกเมื่อมีการขายเศษวัสดุไปดังนี้

82
1) กรณีไม่ทราบราคาตลาดจนกว่าจะขายได้ การบันทึกบัญชีจะบันทึกเมื่อมีการขายเศษวัสดุไปดังนี้

83
84
6.3 การบัญชีเกี่ยวกับสินค้าเสีย(Spoiled Goods)
• กิจการควรจัดทารายงานสินค้าเสียประจาสัปดาห์เช่นเดียวกัน เนื่องจากสินค้า
เสียมีสาเหตุมาจากคุณภาพของวัตถุดิบ หรือจากกระบวนการผลิต ดังนั้นจึงต้อง
มีระบบการรายงานและการควบคุมที่ดี รายงานดังกล่าวมีลักษณะดังนี้

85
การบันทึกบัญชีเกี่ยวกับสินค้าเสีย มี 2 วิธี คือ

• วิธีที่ 1 บันทึกขาดทุนสุทธิของสินค้าเสียเป็นค่าใช้จ่ายการผลิต
วิธีนี้ใช้สาหรับกรณีที่กิจการผลิตและเกิดสินค้าเสียเป็นปกติ

• วิธีที่ 2 บันทึกต้นทุนสุทธิของสินค้าที่เสียรวมเข้ากับต้นทุนของสินค้า
ที่ดีหรืองานชิ้นหนึ่งชิ้นใดโดยเฉพาะ
วิธีนี้ใช้ในกรณีที่สินค้าเสียเป็นผล อันเนื่องมาจากการปฏิบัติตามคาสั่งของ
ลูกค้าเป็นกรณีพิเศษไม่ใช่สาเหตุที่เคยเป็นไปตามปกติเหมือนวิธีที่ 1

86
วิธีที่ 1
บันทึกขาดทุนสุทธิของสินค้าเสียเป็นค่าใช้จ่ายการผลิต
• วิธีนี้ใช้สาหรับกรณีที่กิจการผลิตและเกิดสินค้าเสียเป็นปกติ เช่น ฝีจักรไม่สม่าเสมอ
เครื่องตัดผ้าคลาดเคลื่อน ผิดขนาด เป็นต้น ผลของการสูญเสียถ้าผู้บริหารเห็นว่า
เป็นเรื่องปกติเพราะไม่สามารถแก้ปัญหาในระยะสั้นได้ เพราะถ้าจะแก้ปัญหาต้อง
ลงทุนสูง จึงยอมรับสภาพถือเป็นส่วนหนึ่งของค่าใช้จ่ายในการผลิต
กิจการต้อง
• ประมาณขาดทุนสุทธิของสินค้าเสียซึ่งเท่ากับต้นทุนรวมของสินค้าที่เสียหักด้วย
ราคาที่ขายได้ แล้ว
• นาข้อมูลมากาหนดอัตราค่าใช้จ่ายการผลิตจัดสรรล่วงหน้า และ
• ถ้างวดใดมีสินค้าเสียเกิดขึ้น ให้คานวณขาดทุนสุทธิของสินค้าเสียแล้วโอนเข้าบัญชี
คุมยอดค่าใช้จ่ายการผลิต ดังตัวอย่างต่อไปนี้

87
87
วิธีที่ 1
บันทึกขาดทุนสุทธิของสินค้าเสียเป็นค่าใช้จ่ายการผลิต
• ตัวอย่างที่ 6.1
จากตัวอย่างเดิม สมมติว่างาน J01-01 (ดูบัตรต้นทุนงาน)มีรายงานการ
สูญเสียถึงวันที่ผลิตเสร็จ 20 มกราคม 25X2 จานวนเสื้อเสีย 80 ตัว
ในจานวน 2,000 ตัว รายละเอียดการบันทึกต้นทุนที่ผ่านมาเป็นดังนี้

88
ขั้นตอนวิธีที่ 1
• 1. สรุปข้อมูลจาก Job Cost Sheet –J01-01
• 2. บันทึก ราคาขายโดยประมาณของสินค้าเสีย 80 ตัว(สมมติ
ประมาณขายได้ตัวละ 50 บาท)
• 3. บันทึกสินค้าเสียตามราคาประมาณส่วนขาดทุนบันทึกเป็นคุมยอด
ค่าใช้จ่ายการผลิต
• 4. บันทึกต้นทุนหน่วยที่ผลิตเสร็จ
• 5. บันทึกการขายสินค้าที่เสีย

89
วิธีที่ 1 บันทึกขาดทุนสุทธิของสินค้าเสียเป็นค่าใช้จ่ายการผลิต

90
(1,456.56+963.84+1,703.52)/2,000

ต้นทุนเฉลี่ยต่อหน่วย 75.575 + 44.745 + 2.062 = 122.382

91
(Spoiled Goods Inventory)

1,920 หน่วย@122.382 หน่วย@122.382 = 9,790.56


80
92
93
วิธีที่ 2 บันทึกต้นทุนสุทธิของสินค้าที่เสียรวมเข้ากับต้นทุนของ
สินค้าที่ดีหรืองานชิ้นหนึ่งชิ้นใด

• วิธีนี้ใช้ในกรณีที่สินค้าเสียเป็นผล อันเนื่องมาจากการปฏิบตั ิตามคาสั่ง


ของลูกค้าเป็นกรณีพิเศษไม่ใช่สาเหตุที่เคยเป็นไปตามปกติเหมือนวิธีที่
1 วิธีนี้ให้ถือผลขาดทุนจากการขายสินค้าที่เสียมาเฉลี่ยรวมเข้ากับ
สินค้าทีด่ ี

• ตัวอย่างที่ 6.2 สมมติจากตัวอย่างที่ 6.1 เป็นการรับคาสั่งผลิตกรณีพิเศษ


จากลูกค้าทาให้มีสินค้าเสีย 80 ตัว และคาดว่าจะขายได้ตัวละ 50 บาท

94
บัญชีคุมยอดงานระหว่างทา-วัตถุดบิ ทางตรง(2,000x75.575) 151,150.00
บัญชีคุมยอดงานระหว่างทา-ค่าแรงทางตรง(2,000x44.745) 89,490.00
บัญชีคุมยอดงานระหว่างทา-ค่าใช้จ่ายการผลิต(จัดสรร)(เฉลีย่ @2.062) 4,123.92
บัญชีคุมยอดวัตถุดบิ 151,150.00
บัญชีคุมยอดเงินเดือนและค่าแรง 89,490.00
บัญชีค่าใช้จ่ายการผลิตจัดสรร-แผนกตัด 1,456.56
บัญชีค่าใช้จ่ายการผลิตจัดสรร-แผนกเย็บ 963.84
บัญชีค่าใช้จ่ายการผลิตจัดสรร-แผนกแต่งสาเร็จ 1,703.52
ต้นทุนผลิตเสื้อ J01-01 จานวน 2,000 ตัว

95
96
2) บันทึกสินค้าเสียตามราคาประมาณโดยเฉลี่ยต้นทุนการผลิตตามสัดส่วนของต้นทุนจริงกับ
ราคาขาย โดยคานวณอัตราส่วนของราคาขายโดยประมาณต่อต้นทุนสินค้า ค่าขายโดยประมาณของสินค้า
เสีย 80 ตัวประมาณขายได้ตัวละ 50 บาท ต้นทุนของสินค้าตัวละ122.382 บาท
อัตราส่วนของราคาขายโดยประมาณต่อต้นทุนสินค้า = 50 / 122.382 = 40.86 % เพื่อนาไปเฉลี่ยต้นทุน
วัตถุดิบ ค่าแรงและค่าใช้จ่ายการผลิต ดังนี้
วัตถุดิบ (80 x75.575) x 40.86% = 2,470.40
เงินเดือนและค่าแรง (80 x44.745) x 40.86% = 1,462.40
ค่าใช้จ่ายการผลิต (80 x2.062) x 40.86% = 67.20
รวม 4,000.00

บัญชีสินค้าเสีย 4,000.00
บัญชีคุมยอดงานระหว่างทา-วัตถุดิบ 2,470.40
บัญชีคุมยอดงานระหว่างทา-เงินเดือนและค่าแรง 1,462.40
บัญชีคุมยอดงานระหว่างทา-ค่าใช้จ่ายการผลิต
67.20
บันทึกสินค้าเสีย

97
3) บันทึกต้นทุนหน่วยที่ผลิตเสร็จ
บัญชีคุมยอดสินค้าสาเร็จรูป 240,763.92
บัญชีคุมยอดงานระหว่างทา-วัตถุดิบทางตรง(151,150.00-2,470.40) 148,679.60
บัญชีคุมยอดงานระหว่างทา-ค่าแรงทางตรง(89,490-1,462.40) 88,027.60
บัญชีคุมยอดงานระหว่างทา-ค่าใช้จ่ายการผลิต(จัดสรร) 4,123.92-67.20)) 4,056.72
บันทึกสินค้าที่ผลิตเสร็จ

4) บันทึกการขายสินค้าที่เสียไปในราคาหน่วยละ 40 บาท
บัญชีเงินสด / ลูกหนี้ (80 x 40) 3,200
บัญชีกาไรขาดทุนจากการขายสินค้าเสีย 800
บัญชีสินค้าเสีย 4,000
บันทึกขายสินค้าเสีย

98
6.4 การบัญชีเกี่ยวกับการแก้ไข
สินค้ามีตาหนิด้อยคุณภาพ (Defective Units)

• ในกรณีที่การผลิตมีสินค้าที่ด้อยคุณภาพแต่สามารถปรับปรุงแก้ไขให้ดีขึ้นได้ โดย
อาจต้องเพิ่มต้นทุนในการแก้ไขขึ้นอีกบ้าง บางครั้งเมื่อมีการแก้ไข สินค้าจะอยู่ใน
สภาพ “สินค้าชั้นหนึ่ง” คือดีเหมือนเดิม หรืออาจเป็นสินค้าที่มีสภาพไม่ดี
เหมือนเดิม หรือเป็น “สินค้าชั้นสอง” วิธีการบัญชีการแก้ไขการด้อยคุณภาพ มี 2
วิธี ดังนี้
• วิธีที่ 1 ถ้าการสูญเสียหรือด้อยคุณภาพเป็นไปตามปกติวิสัยของการผลิต
• วิธีที่ 2 ถ้าการสูญเสียหรือด้อยคุณภาพเป็นเพราะการปฏิบัติตามคาสั่งลูกค้า

99
วิธีที่ 1 ถ้าการสูญเสียหรือด้อยคุณภาพเป็นไปตามปกติวิสัยของ
การผลิต-ค่าใช้จ่ายเพิ่มที่เกิดจากการนาสินค้าที่เสียหายไปแก้ไข
ให้ดีขึ้นให้ถือเป็นค่าใช้จ่ายการผลิตรวม
• ตัวอย่างที่ 6.3 จากตัวอย่างที่ 6.1 งาน J01-01 มีสินค้าเสีย 80 ตัว
แต่สามารถนามาซ่อมแซมปรับปรุงแก้ไขให้ดีขึ้นได้โดยแผนกแต่งสาเร็จ
เสียค่าใช้จ่ายวัตถุดิบทางตรง 500 บาท ค่าแรงทางตรง 5 ชั่วโมง
เป็นเงิน 750 บาทและค่าใช้จ่ายในการผลิต 10.14 บาทต่อชั่วโมง
แรงงานทางตรงเท่ากับ 50.70 บาท(5x10.14) การบันทึกบัญชีแก้ไข
คุณภาพสินค้า

100
1) สรุปบันทึกต้นทุนการผลิตเข้างานระหว่างทา (บันทึกแล้ว ดู Job cost sheet) ต้นทุนงาน J01-01 ตั้งแต่
เริ่มผลิต (สมมติใช้ทางเลือกที่ 2 ปรับเมื่อสิ้นปีและเพิ่มบัญชีค่าใช้จ่ายการผลิตจัดสรร ดูบทที่ 8 ผังที่ 3 ใช้ทางเลือก
ที่ 2 ปรับเมื่อสิ้นปีและเพิ่มบัญชีค่าใช้จ่ายการผลิตจัดสรร) 1) สรุปบันทึกต้นทุนการผลิตเข้างานระหว่างทา (บันทึก
แล้ว ดู Job cost sheet) ต้นทุนงาน J01-01 ตั้งแต่เริ่มผลิต (สมมติใช้ทางเลือกที่ 2 ปรับเมื่อสิ้นปีและเพิ่มบัญชี
ค่าใช้จ่ายการผลิตจัดสรร ดูบทที่ 8 ผังที่ 3 ใช้ทางเลือกที่ 2 ปรับเมื่อสิ้นปีและเพิ่มบัญชีค่าใช้จ่ายการผลิตจัดสรร)

บัญชีคุมยอดงานระหว่างทา-วัตถุดิบทางตรง (2,000x75.575) 151,150.00


บัญชีคุมยอดงานระหว่างทา-ค่าแรงทางตรง (2,000x44.745) 89,490.00
บัญชีคุมยอดงานระหว่างทา-ค่าใช้จ่ายการผลิต(จัดสรร) (เฉลี่ย@2.062) 4,123.92
บัญชีคุมยอดวัตถุดิบ 151,150.00
บัญชีคุมยอดเงินเดือนและค่าแรง 89,490.00
บัญชีค่าใช้จ่ายการผลิตจัดสรร-แผนกตัด 1,456.56
บัญชีค่าใช้จ่ายการผลิตจัดสรร-แผนกเย็บ 963.84
บัญชีค่าใช้จ่ายการผลิตจัดสรร-แผนกแต่งสาเร็จ 1,703.52
ต้นทุนผลิตเสื้อ J01-01 จานวน 2,000 ตัว

101
2) บันทึกต้นทุนการแก้ไขคุณภาพสินค้าที่มีตาหนิ

3) บันทึกต้นทุนหน่วยมีตาหนิโอนออกพร้อมกับหน่วยดี

102
103
วิธีที่ 2 ถ้าการสูญเสียหรือด้อยคุณภาพเป็นเพราะการปฏิบัติตามคาสั่งลูกค้า(ไม่ปกติ)
ให้นาค่าใช้จ่ายที่ใช้ในการแก้ไขคุณภาพมาเฉลี่ยรวมเข้ากับสินค้าที่ดี
ตัวอย่างที่ 6.4 จากตัวอย่างที่ 6.3 สมมติว่างาน J01-01 เป็นงานพิเศษตามความต้องการของลูกค้า

(1,456.56+963.84+1,703.52)/2,000

ต้นทุนเฉลี่ยต่อหน่วย 75.575 + 44.745 + 2.062 = 122.382

104
105
106
หมายเหตุ : มีสินค้าด้อยคุณภาพ 80 หน่วยและได้แก้ไขแล้ว สรุปต้นทุน บาท

ต้นทุนในการแก้ไข 1,300.70 บาท ประกอบด้วย :- วัตถุดิบทางตรง 151,650.00

วัตถุดิบ 500.00 ถือเป็นต้นทุนรวม ค่าแรงทางตรง 90,240.00

ค่าแรงทางตรง 750.00 ของสินค้านี้ ค่าใช้จ่ายการผลิต 4,174.62

ค่าใช้จ่ายการผลิต 50.70 รวม 246,064.62

1,300.70 ต้นทุนต่อหน่วย 123.032

107
108
109
110
Q&A
111

You might also like