You are on page 1of 9

Page 1 of 9

ความปลอดภัยของ PPE

โดย ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ปราโมช เชี่ยวชาญ

เมื่อกล่าวถึง “พี พี อี (PPE)” ผูท้ ี่อยูใ่ นแวดวงอาชีวอนามัยและความปลอดภัย คงคุน้ เคยและรูจ้ กั เป็ นอย่าง
ดี เพราะหลาย ๆ ท่านมักเรียกทับศัพท์ตวั ย่อภาษาอังกฤษนี้ เสียจนติดปาก แต่สาหรับผูท้ ี่อยูน่ อกแวดวงแล้ว “พี พี
อี” คืออะไร ในจุลสารฉบับนี้ จะได้กล่าวถึงเรื่องนี้ พอสังเขป

พี พี อี คือ อะไร
พี พี อี (PPE) ย่อมาจาก Personal Protective Equipments (ตาราบางเล่ม เรียก เป็ น PPD ย่อมาจาก
Personal Protective Devices ก็มี) แปลเป็ นไทยแบบตรงตัว คือ อุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคล แต่เพื่อให้เกิดความชัดเจน
มากขึ้ น มักเรียกกันว่า “อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล” (ตาราบางเล่มเขียนเป็ นอุปกรณ์ป้องกันภัยส่วนบุคคลก็
มี) นอกจากนี้ หากดูตามกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเรื่องนี้ (โดยเฉพาะในกฏหมายฉบับใหม่ ๆ) มักเรียก PPE ว่า
“อุปกรณ์คุม้ ครองความปลอดภัยส่วนบุคคล” จะเห็นได้วา่ PPE เรียกเป็ นภาษาไทยได้หลายลักษณะดังที่กล่าว
ข้างต้น (การเรียกชื่ อ PPE เป็ นภาษาไทย ระวังการเรียกสับสนด้วย เคยพบว่า บางท่านเรียกสลับเป็ น “อุปกรณ์
ป้ องกันความปลอดภัยฯ” หรือ “อุปกรณ์คมุ้ ครองอันตรายฯ” ก็มี เพราะอันตรายต้องป้ องกันและความปลอดภัยต้อง
คุม้ ครอง)

โดยสรุปแล้ว PPE จึงเป็ นอุปกรณ์ท่ีถูกออกแบบมาสาหรับสวมใส่/ ปกคลุมอวัยวะส่วนใดส่วนหนึ่งของ


ร่างกาย ทัง้ นี้เพื่อเป็ นการป้ องกันและ/ หรือการบรรเทาอันตรายที่อาจเกิดขึ้นได้จากการทากิจกรรมต่าง ๆ ใน
การทางาน (อันตรายในที่ นี้ เป็ นอันตรายทัง้ ที่ อาจก่อให้เกิดการบาดเจ็บ (injury) และอันตรายที่ ก่อให้เกิดการเจ็บป่ วย
(illness))

ชนิดของ PPE
PPE แบ่งได้หลายชนิ ดตามส่วนของร่างกายที่สวมใส่หรือได้รบั การป้ องกันที่สาคัญ คือ

1. อุปกรณ์ป้องกันศรีษะ ใช้สาหรับป้ องกันศรีษะจากการกระแทก การเจาะทะลุของของแข็ง อันตรายจากไฟฟ้ าและ


สารเคมีเหลว อุปกรณ์ป้องกันศรีษะที่สาคัญ คือ หมวกนิ รภัย (Safety Helmet/Safety Hat/Hard Hat) (ดังแสดง
ในภาพที่ 1) นอกจากนี้ ยังมีอุปกรณ์ป้องกันศรีษะอีกชนิ ดหนึ่ งที่เรียกว่า “หมวกกันศรีษะชน (Bump Hat/Bump
Page 2 of 9

Cap)” (ดังแสดงในภาพที่ 1)ลักษณะภายนอกคล้ายหมวกนิ รภัย แต่ไม่ได้ถูกออกแบบมาให้มีคุณสมบัติทนการ


กระทบกระแทก การเจาะทะลุ กระแสไฟฟ้ าเหมือนกับหมวกนิ รภัย ดังนั้น หมวกกันศรีษะชนจึงเหมาะสาหรับงาน
ที่ทาในที่แคบหรือมีความเสี่ยงต่อการชนกับสิ่งกีดขวางบริเวณศรีษะ เช่น ภายในท่อ ถัง หรือโพรง เป็ นต้น

หมวกนิ รภัย (1) หมวกกันศรีษะชน (2)


ภาพที่ 1 อุปกรณ์ป้องกันศรีษะ
ที่มา (1) http://www-4.drapertoolbox.co.uk/draper-safety-helmet-00062544M.jpg; (2)
http://www.envirosafetyproducts.com/bumps-cap-white-bump-cap-red.html
2. อุปกรณ์ป้องกันใบหน้าและดวงตา ใช้สาหรับป้ องกันใบหน้าและดวงตาจากการกระทบกระแทกของของแข็ง การ
กระเด็นของสารเคมีหรือของเหลวอันตรายอื่น ๆ อันตรายจากงานเชื่อมโลหะ ตัวอย่างของอุปกรณ์ชนิ ดนี้ คือ
แว่นตานิ รภัย (Safety Spectacles/Safety Glasses)ครอบตานิ รภัย (Goggles) กระบังหน้า (Face Shields) กระ
บังหน้าสาหรับงานเชื่อมโลหะ(Welding Shields) (ดังแสดงในภาพที่ 2)

แว่นตานิ รภัย (1) ครอบตานิ รภัย (1)

กระบังหน้า (3) กระบังหน้าสาหรับงานเชื่อมโลหะ (4)


ภาพที่ 2 อุปกรณ์ป้องกันใบหน้าและดวงตา
ที่มา (1) http://www.osedirectory.com/images/product_profiles/257.jpg; (2) http://medical-supplies-
equipment-company.com/Image/N-A-2011/Safety-Chemical-Splash-Goggles-1.jpg;
Page 3 of 9

(3) http://images.rockler.com/rockler/images/41979-01-200.jpg; (5) http://image.made-in-


china.com/2f0j00MeuQEyzgqVba/Welding-Mask.jpg

3. อุปกรณ์ป้องกันมือและแขน ใช้สาหรับป้ องกันอันตรายที่อาจเกิดขึ้ นกับมือและแขน จากสารเคมี วัตถุมีคม


อุณหภูมิรอ้ นและเย็น ไฟฟ้ า เชี้ อโรด สิ่งสกปรกต่าง ๆ ตัวอย่างของอุปกรณ์ชนิ ดนี้ คือ ถุงมือชนิ ดต่าง ๆ ปลอก
แขน และปลอกนิ้ ว (ดังแสดงในภาพทื่ 3)

(1) (2) (3) (4)


ภาพที่ 3 อุปกรณ์ป้องกันมือและแขน
ที่มา : (1) http://www.howardsmalta.com/General%20purpose.jpg;
(2) http://www.legionsafety.com/images/T/mr9370_1.jpg;
(3)http://pimg.tradeindia.com/00356587/b/2/Safety-Gloves.jpg; (4) http://www.arc-flash-
clothing.com/images/electrical-safety-gloves.jpg

4. อุปกรณ์ป้องกันขาและเท้า ใช้สาหรับป้ องกันอันตรายที่อาจเกิดขึ้ นกับขาและเท้าจากการกระแทก ทับหรือหนี บ


โดยวัตถุแข็ง การหกใส่ของสารเคมี การสัมผัสกับกระแสไฟฟ้ า ตัวอย่างของอุปกรณ์ชนิ ดนี้ คือ รองเท้า
นิ รภัย (Safety shoes) รองเท้ายาง รองเท้าพลาสติก (ดังแสดงในภาพที่ 4)

รองเท้านิ รภัย (1), (2) (3)


ภาพที่ 4 อุปกรณ์ป้องกันขาและเท้า
ที่มา : (1) http://www.faurtat.com.my/images/111.JPG; (2) http://www.vegetarian-
shoes.co.uk/Portals/42/product/images/prdb1458af5-8cb1-4a86-8053-e157a9e47a51.jpg;
(3) http://i01.i.aliimg.com/img/pb/992/333/467/467333992_652.jpg
Page 4 of 9

5. อุปกรณ์ป้องกันลาตัว ใช้สาหรับป้ องกันอันตรายที่อาจเกิดขึ้ นกับลาตัวจากการกระเด็นของสารเคมีอนั ตราย


โลหะหลอมเหลว การสัมผัสอุณหภูมิที่รอ้ นจัดหรือเย็นจัด รวมถึงไฟไหม้ การกระแทกกับวัตถุแข็งต่าง ๆ ตัวอย่าง
ของอุปกรณ์ชนิ ดนี้ คือ ชุดป้ องกันสารเคมี ชุดป้ องกันความร้อน แผ่นคาดลาตัว หรือเอี๊ยมทาจากวัสดุชนิ ดต่าง ๆ
(ดังแสดงในภาพที่ 5)

ชุดป้ องกันสารเคมี (1) ชุดป้ องกันความร้อน (2)

แผ่นคาดลาตัว (3), (4)


ภาพที่ 5 อุปกรณ์ป้องกันลาตัว
ที่มา : (1) http://shoptnk.com/media/catalog/product/cache/1/small_image/170x/
9df78eab33525d08d6e5fb8d27136e95/m/m/mmm-4540_1.jpg;
(2) http://www.siamsafetyplus.com/images/200909/goods_img/392_G_1252533734315.jpg;
(3)http://www.conexstore.com/images/catalog_images/1212120431.jpg;
(4) http://www.pangolin.co.th/content/ppe/L_29022012233444_Id134.jpg
Page 5 of 9

6. อุปกรณ์ป้องกันระบบหายใจ ใช้สาหรับป้ องกันไม่ให้สารอันตรายหรือสารพิษที่ปนเปื้ อนในอากาศเข้าสู่ร่างกาย


ทางระบบหายใจ ตัวอย่างของอุปกรณ์ชนิ ดนี้ คือ หน้ากากกรองอากาศชนิ ดต่าง ๆ ชุดส่งผ่านอากาศ (Airline
Respirators) อุปกรณ์ป้องกันระบบหายใจแบบมีถงั อากาศพกพา (SCBA; Self Contained Breathing Apparatus)
(ดังแสดงในภาพที่ 6)

1. (2) (3) (4)


ภาพที่ 6 หน้ากากกรองอากาศชนิ ดต่าง ๆ
ที่มา: (1) http://img.directindustry.com/images_di/photo-m2/disposable-particulate-filter-masks-17954-
2512077.jpg; (2)http://img.weiku.com/waterpicture/2011/10/23/4/CE_approved_gas_mask_safety_mas
k_respirator_634550730833837208_9.jpg;
(3)http://www.seamansafety.com/Upload/Resim/u_207201111328672.gif; ;
(4)http://web.tradekorea.com/upload_file2/sell/14/S00013814/Gas_Mask_NDXM1122_.jpg

ชุดส่งผ่านอากาศ (1) SCBA (2)


ภาพที่ 6 อุปกรณ์ป้องกันระบบหายใจ
ที่มา
: http://www.atlasfse.com/images/MSA%20Hip%20Air.jpg; http://www.geneseo.edu/~ehs/Respirator%20
Web%20page/scba.gif
7. อุปกรณ์ป้องกันเสียงดัง ใช้สาหรับลดระดับเสียงดังจากสภาพแวดล้อมการทางานให้อยูใ่ นระดับที่ปลอดภัย ก่อน
เข้าสู่ระบบการได้ยนิ ของผูป้ ฏิบตั ิงาน ทั้งนี้ เพื่อป้ องกันการสูญเสียสมรรถภาพการได้ยนิ ตัวอย่างของอุปกรณ์ชนิ ด
นี้ คือ ที่อุดหูลดเสียง (Ear Plugs) ที่ครอบหูลดเสียง (Ear Muffs) (ดังแสดงในภาพที่ 7)
Page 6 of 9

ที่อุดหูลดเสียง (1)-(4)

ที่ครอบหูลดเสียง (5), (6)


ภาพที่ 7 อุปกรณ์ป้องกันเสียงดัง
ที่มา : (1) https://www.pistoleer.com/protection/pics/RP2001.jpg; (2) http://www.columbia-
sp.com/images/ear%20plug.jpg;
(3)http://www.andysafety.com/products/images/ear%20muff/EAR%20PLUG%20AS0404.jpg;
(4)http://www.kfook.com/uploadfile/201005/14/13577258.jpg;
(5) http://www.sharpesafety.com/catalog/images/9/2099.jpg;
(6)http://simplifiedsafety.co.uk/store/media/catalog/product/cache/1/image/500x500/9df78eab33525d
08d6e5fb8d27136e95/f/i/file_1_78.jpg
8. อุปกรณ์ป้องกันการตกจากที่สูง ใช้สาหรับป้ องกันไม่ให้คนทางานในที่สูงตกลงสู่เบื้ องล่าง ตัวอย่างของอุปกรณ์
ชนิ ดนี้ คือ เข็มขัดนิ รภัย (Safety Belt) สายรัดตัวนิ รภัย (Safety Harness) เชือกนิ รภัย (Lanyards) สายช่วยชีวิต
(Lifelines) (ดังแสดงในภาพที่ 8)
Page 7 of 9

เข็มขัดนิ รภัย (1) สายรัดตัวนิ รภัย (2)

เชือกนิ รภัย (3) สายช่วยชีวิต (4)


ภาพที่ 8 อุปกรณ์ป้องกันการตกจากที่สูง
ที่มา : (1) http://unionpdg.tarad.com/shop/u/unionpdg/img-lib/spd_20080904135655_b.jpg;
(2) http://www.premierplanthire.co.uk/14W%20-%20Safety%20Harness.jpg;
(3) http://www.dcfpnavymil.org/Personnel%20Protection/Fall%20Protection/HarnessTip004a.jpg;
(4)http://www.westernsafety.com/tractelfallstop2005/tractelpg31-ropelifeline.jpg

จุลสารฉบับนี้ คงกล่าวถึงนิ ยามและชนิ ดของ PPE พอสังเขป เป็ นความรูเ้ บื้ องต้นโดยไม่ได้ลงรายละเอียดทาง
วิชาการมากนัก อย่างไรก็ตาม หากสนใจสามารถศึกษาเพิ่มเติมได้จากตาราและเอกสารวิชาการที่มีเผยแพร่อยู่
มากมาย รวมถึงเอกสารอ้างอิงท้ายจุลสารนี้

-----------------------------------
ที่มา : ความปลอดภัยของ PPE (welovesafety.com)
Page 8 of 9

เครื่องแต่งกายในการทางานที่ปลอดภัย


เครื่องแต่งกายที่ใช้ในการทางาน เมื่อสวมใส่แล้วจะต้องทาให้ผสู ้ วมใส่เกิดความคล่องตัวในการทางาน
และสามารถปกป้ องร่างกายของผูป้ ฏิบตั ิงานให้พน้ จากอันตรายต่าง ๆ ได้ ดังนั้น การออกแบบเครื่องแต่งกายจึง
จาเป็ นจะต้องคานึ งถึงวัยและเพศของผูใ้ ช้ดว้ ย
1. หมวก
Check Point
1. สวมหมวกทางานหรือไม่
2. พนักงานหญิงสวมหมวกหรือผ้าสามเหลี่ยมคลุมผมเอาไว้หรือไม่
2. ชุดปฏิบตั ิงาน
Check Point
1. ขนาดพอดีกบั ผูส้ วมใส่หรือไม่
2. แขนเสื้ อ เสื้ อคลุม ชายขากางเกง อาจถูกเครื่องจักรดึงเข้าไปได้หรือไม่ 3. ชุดปฏิบตั ิงานขาดหลุดลุ่ยอยู่
หรือไม่
3. กระดุมหลุดอยูห่ รือไม่ได้กลัดกระดุมอยูห่ รือไม่
4. มีผา้ เช็ดมือห้อยอยูท่ ี่คอหรือเหน็ บอยูท่ ี่กระเป๋าหลังหรือไม่
5. มีชุดที่เปรอะเปื้ อนเหงื่อหรือน้ ามันอยูห่ รือไม่
6. ทางานโดยใช้ส่วนหนึ่ งของร่างกายโดยตรงโดยไม่มีสิ่งปกปิ ดอยูห่ รือไม่ (โดยเฉพาะในบริเวณที่อาจถูกไฟ
ลวกหรือของกระเด็นใส่ได้)
7. ในสถานที่ปฏิบตั ิงานที่อาจก่อให้เกิดประจุไฟฟ้ าติดไฟและระเบิดได้น้ัน ใช้ชุดปฏิบตั ิงานที่ไม่ก่อประจุ
หรือไม่
3. รองเท้า
Check Point
1. ใช้รองเท้าที่อาจลื่นหลุด ขาดได้ (รองเท้าแตะ เป็ นต้น) หรือไม่
2. ในบริเวณที่อาจเกิดการติดไฟและระเบิดได้ มีการใช้รองเท้าประเภทที่พื้นใช้ โลหะเป็ นส่วนประกอบ
หรือไม่

4. อื่น ๆ
Check Point
Page 9 of 9

1. มีการเตรียมอุปกรณ์ป้องกันอันตรายที่จาเป็ นสาหรับงานชนิ ดต่าง ๆ เช่น หมวกนิ รภัย (Helmet), Ear


Plug , หน้ากาก, ถุงมือ, แว่นตา, ปลอกขา ชุดทนกรด ฯลฯ ไว้หรือไม่
2. ผูป้ ฏิบตั ิงานสวมใส่หรือใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายดังกล่าวหรือไม่
3. มีการใส่ถุงมือทางานในงานที่หา้ มใช้ถุงมือ เช่น งานเจาะด้วยเครื่องเจาะ และ งานใช้คอ้ น ฯลฯ หรือไม่

-----------------------------------

You might also like