You are on page 1of 26

สารบัญ

บทนำ� 07
วิเคราะห์และแนะนำ�เทคนิคการทำ�ข้อสอบ
ความถนัดแพทย์ PART เชาวน์
แนวข้อสอบเชาวน์
ชุด 01 25
ชุด 02 44
ชุด 03 62

เฉลยแนวข้อสอบเชาวน์
ชุด 01 82
ชุด 02 110
ชุด 03 137

Page1_1-80.indd 4 7/23/18 11:00 AM


บทนำ� 161
วิเคราะห์และแนะนำ�เทคนิคการทำ�ข้อสอบ
ความถนัดแพทย์ PART จริยธรรมแพทย์
แนวข้อสอบจริยธรรมแพทย์
ชุด 01 169
ชุด 02 205
ชุด 03 239

เฉลยแนวข้อสอบจริยธรรมแพทย์
ชุด 01 274
ชุด 02 302
ชุด 03 329

Page1_1-80.indd 5 8/2/18 9:08 AM


บทนำ� 353
วิเคราะห์และแนะนำ�เทคนิคการทำ�ข้อสอบ
ความถนัดแพทย์ PART เชื่อมโยง
แนวข้อสอบเชื่อมโยง
ชุด 01 367
ชุด 02 373
ชุด 03 379

เฉลยแนวข้อสอบเชื่อมโยง
ชุด 01 386
ชุด 02 396
ชุด 03 407

ประวัตินักเขียน

Page1_1-80.indd 6 7/23/18 11:00 AM


บทนำ�

วิเคราะห์และแนะนำ�เทคนิค
การทำ�ข้อสอบ
ความถนัดแพทย์
PART
เชาวน์

Page1_1-80.indd 7 7/23/18 11:00 AM


ข้อสอบความถนัดแพทย์ พาร์ตที่ 1 คือ ข้อสอบพาร์ตเชาวน์ ซึ่งจะแบ่งแนวข้อสอบย่อย
ออกเป็น 3 แนวหลักๆ คือ แนวเชาวน์ปัญญา แนวคณิตศาสตร์พื้นฐาน และแนวภาษาไทย

สัดส่วนจำ�นวนข้อ (เฉลี่ยโดยประมาณในแต่ละปี)

สัดส่วนจ�ำนวนข้ออาจเปลี่ยนแปลงได้ในแต่ละปี จึงไม่ควรเทข้อสอบแนวใดแนวหนึ่ง อย่างปีพี่


พี่มัวแต่ไปอ่านอนุกรมมากไป แต่ข้อสอบออกแค่ 2 ข้อ!!! ปีถัดมาคนเลยไม่อ่านกัน แต่ข้อสอบ
กลับออกมา 5 ข้อ
อย่างไรก็ดี ข้อสอบที่ควรจะเก็บแต้มได้ในทุกๆ ปี คือ ข้อสอบแนวคณิตศาสตร์พื้นฐาน ใช้
ความรูเ้ ก่าที่เคยเรียนมาสมัย ม.ต้น และ ม.ปลาย ก็สามารถท�ำได้และควรจะท�ำก่อน ไม่เหมือนแนว
เชาวน์ปัญญาที่อาจจะมาลูกเล่นไหนก็ได้ที่เราคาดไม่ถึง
1. แนวโจทย์เชาวน์ปัญญา (ประมาณ 20 ข้อ)
ตัวอย่างแนวโจทย์ที่ออกบ่อย ได้แก่ อนุกรมตัวเลข อนุกรมรูปภาพ การแปลงรหัส การหารูป
ที่ต่างจากพวก การอุปมาอุปไมยเชิงรูปภาพ การมองลูกบาศก์ การวิเคราะห์เงื่อนไข และการ
วิเคราะห์ความเพียงพอของข้อมูล
2. แนวโจทย์คณิตศาสตร์พื้นฐาน (ประมาณ 15 ข้อ)
ตัวอย่างแนวโจทย์ที่ออกบ่อย ได้แก่ อัตราเร็วและเวลา อัตราไหลและการท�ำงาน ร้อยละ ก�ำไร
ขาดทุน สถิติและความน่าจะเป็น โจทย์ปัญหาสมการเงื่อนไข และโจทย์ปัญหาเซต
3. แนวโจทย์ภาษาไทย (ประมาณ 10 ข้อ)
ตัวอย่างแนวโจทย์ที่ออกบ่อย ได้แก่ การจับคู่ค�ำ การเลือกค�ำที่ไม่เข้าพวก อุปนัย-นิรนัย การ
ตั้งสมมติฐานจากข้อความที่ก�ำหนดให้ และการสรุปใจความส�ำคัญจากบทความ
จะเห็นได้ว่าข้อสอบมีทั้งหมด 45 ข้อ เวลาท�ำ 75 นาที (เฉลี่ยข้อละ 1 นาที 40 วินาที รวม 100
คะแนน) ซึ่งจาก 100 คะแนนในข้อสอบพาร์ตเชาวน์ทั้งหมดนี้ คิดเป็น 10 เต็ม 100 จากคะแนนของ
ข้อสอบ กสพท ทุกส่วนรวมกัน (ส่วนใหญ่ถ้าจะสอบติดแพทย์ต้องได้ไม่ต�่ำกว่า 60 คะแนน) ดังนั้น
น�้ำหนักคะแนนในพาร์ตเชาวน์ต่อข้อก็คือ 0.22 คะแนน เห็นแบบนี้อาจจะรู้สึกว่าคะแนนน้อยจัง แต่
ถ้าลองเปรียบเทียบกับคะแนนต่อข้อของข้อสอบพาร์ตอื่นๆ จะเห็นว่าไม่น้อยเลย

Page1_1-80.indd 8 7/23/18 11:00 AM


วิชา สัดส่วนคะแนนของวิชา จ�ำนวนข้อ คะแนนโดยประมาณ
ต่อ 100 คะแนน กสพท ต่อ 1 ข้อ
คณิตศาสตร์ 14% 30 ข้อ 0.47 คะแนน*
ฟิสิกส์ 9.33% 25 ข้อ 0.37 คะแนน
ความถนัดพาร์ตเชาวน์ 10% 45 ข้อ 0.22 คะแนน
เคมี 9.33% 50 ข้อ 0.19 คะแนน
ภาษาอังกฤษ 14% 80 ข้อ 0.18 คะแนน
ภาษาไทย 7% 50 ข้อ 0.14 คะแนน
สังคมศึกษา 7% 50 ข้อ 0.14 คะแนน
ความถนัดพาร์ตจริยธรรม 10% 80 ข้อ 0.13 คะแนน
ชีววิทยา 9.33% 80 ข้อ 0.12 คะแนน
ความถนัดพาร์ตเชื่อมโยง 10% แตกต่างกัน แตกต่างกัน
ในแต่ละปี ในแต่ละปี
จะเห็นได้วา่ คะแนนต่อข้อของข้อสอบพาร์ตเชาวน์นนั้ ไม่นอ้ ยเลยทีเดียว บางข้อเป็นข้อทีเ่ ก็บได้กค็ วร
เก็บ และเป้าหมายของการสอบความถนัดแพทย์รวมทั้ง 3 พาร์ต (ความถนัดพาร์ตเชาวน์ ความถนัด
พาร์ตจริยธรรมแพทย์ และความถนัดพาร์ตเชื่อมโยง) จากคะแนนเต็ม 30 คะแนน ควรได้คะแนนขั้นต�่ำ
18 คะแนน แต่ถ้าจะให้ดีก็ไม่ควรต�่ำกว่า 21 คะแนน เพราะการหวังคะแนนจากกลุ่มวิชาสามัญนั้น
ท�ำได้ยากกว่า (ถ้าความถนัดแพทย์ทำ� ได้แค่ 7-8 คะแนน ก็เตรียมตัวสอบใหม่ปีหน้าได้เลย ไม่ต้อง
ไปสอบวิชาสามัญให้เสียเวลา)

1. แนวโจทย์เชาวน์ปัญญา

ตัวอย่างแนวโจทย์ที่ออกบ่อย ได้แก่ อนุกรมตัวเลข อนุกรมรูปภาพ การแปลงรหัส การหารูป


ที่ต่างจากพวก อุปมาอุปไมยเชิงรูปภาพ มองลูกบาศก์ วิเคราะห์เงื่อนไข และวิเคราะห์ความเพียงพอ
ของข้อมูล

Page1_1-80.indd 9 7/23/18 11:00 AM


1. อนุกรมตัวเลข
อนุกรมตัวเลข คือ ล�าดับของตัวเลขที่มีแบบแผนจ�าเพาะว่า มีแนวโน้มจะเพิ่มขึ้นหรือลดลง
อย่างไร หลักการส�าคัญของข้อสอบอนุกรมตัวเลขคือ ให้สังเกตหาแนวโน้มนั้นให้เจอ หากตัวเลข
มีแนวโน้มที่เพิ่มขึ้น ให้ดูว่าล�าดับนั้นเพิ่มขึ้นครั้งละเท่าไร คงที่หรือไม่ หากไม่คงที่ อาจพิจารณาว่า
ล�าดับนั้นเป็นล�าดับพิเศษหรือไม่ เช่น ล�าดับของเลขยกก�าลัง ล�าดับจ�านวนเฉพาะ ล�าดับฟีโบนักชี
ทั้งนี้ล�าดับอาจมีค่าที่ขึ้นและลงสลับกันก็ได้ หากเจอเลข 0 กับ 1 เยอะๆ อาจนึกถึงเลขฐานสอง และ
ถ้าเจออนุกรมตัวอักษรก็อาจแปลงเป็นล�าดับตัวเลขก่อน หรืออาจนึกถึงแกนสมมาตรของตัวอักษร
ก็ได้
ตัวอย่าง
30 60 20 80 16 ___
จากตัวอย่างนีจ้ ะสังเกตได้วา่ ล�าดับนัน้ มีคา่ ขึน้ ๆ ลงๆ ให้พยายามดูการเปลีย่ นแปลงของตัวเลข
และหาแนวโน้ม โดยจะสังเกตได้ว่ามีการคูณและหารตัวเลขสลับกันไปดังนี้
×2 ÷3 ×4 ÷5 ×6

30 60 20 80 16 96
2. อนุกรมรูปภาพ
มีหลักการคล้ายๆ กับอนุกรมตัวเลข เพียงแต่เปลี่ยนจากสังเกตตัวเลขมาเป็นสังเกตลักษณะ
ของเหลี่ยม เส้น มุม หรือถ้าเป็นรูปภาพที่มีตัวเลข อาจมองหาความสัมพันธ์ของตัวเลขช่องที่ติดกัน
หรือช่องตรงข้ามกัน
ตัวอย่าง

หากหาความสัมพันธ์ของรูปร่างไม่ได้ ให้ลองนับจ�านวนเส้น (Stroke) ดังเช่นโจทย์ตัวอย่าง


ซึ่งเป็นรูปที่มี 2, 3, 4 และ 5 เส้น ตามล�าดับ ค�าตอบจึงต้องหาตัวเลือกที่มี 6 เส้น

10

Page1_1-80.indd 10 7/23/18 11:00 AM


3. การแปลงรหัส
หากมีรูปภาพเข้ามาเกี่ยวข้อง ให้พยายามมองหาความหมายของแต่ละภาพว่า สามารถแปลง
ออกมาเป็นรหัสตัวอักษรหรือตัวเลขได้ว่าอะไร อาจพิจารณาจากเหลี่ยม สี หรือเส้นของหลายๆ
รูปประกอบกัน หากโจทย์ให้มาเป็นตัวอักษร อาจต้องพิจารณาจ�านวนตัวอักษรหรือจ�านวนสระแทน
ตัวอย่าง

S3B L5W S4W _______


โจทย์ข้อนี้แปลงรหัสได้ว่า S = เล็ก, L = ใหญ่, ตัวเลขตรงกลาง = จ�านวนเหลี่ยม, B = สีด�า,
W = สีขาว ดังนั้นค�าตอบจึงเป็น L6B

4. การหารูปที่ต่างจากพวก
เป็นการหาว่าอะไรต่างจากพวก โดยใช้คุณสมบัติของเหลี่ยม สี และเส้นเช่นเดิม แต่อาจรวมไปถึง
ทิศทางการหมุนด้วย
ตัวอย่าง

A B C D E

รูปที่ต่างจากพวกคือ รูป C หลักสังเกตคือ วงกลมที่สัญลักษณ์ต่างกันจะอยู่ฝั›งเดียวกันของเส้น


และวงกลมที่มีสัญลักษณ์เหมือนกันจะอยู่คนละฝั›ง แต่ข้อ C ไม่ตรงกับเงื่อนไขดังกล่าว จึงเป็นรูปที่ต่าง

5. อุปมาอุปไมยเชิงรูปภาพ
ให้นึกถึงการ Intersection และ Union ไว้ก่อน โดยเฉพาะถ้าเจอตาราง 3 x 3 จะมีเทคนิคคือ หาก
มี 1 หลัก (Column) ที่ตรงกับค�าถาม มีสัญลักษณ์น้อย ดูสะอาดๆ ให้นึกถึง Intersection (ลบส่วนที่
ต่างกันของภาพออก คงไว้แต่ส่วนที่เหมือนกัน) หรือมีสัญลักษณ์เยอะ ดูรกๆ ให้นึกถึง Union (รวม
ส่วนประกอบทั้ง 2 ภาพเข้าด้วยกัน)

11

Page1_1-80.indd 11 7/23/18 11:00 AM


ตัวอย่าง

ข้อนี้มีหลักการคือ น�าภาพที่ 1 และ 2 ของแต่ละแถวมา Intersection กัน จะได้ภาพที่ 3 คือ

6. มองลูกบาศก์
เมื่อเจอรูปคลี่ของลูกบาศก์ให้ลองพับรูปเข้าหากัน มีเทคนิคในการตัดตัวเลือกคือ รูปที่ถัดไป
สองช่องในแนวเดียวกัน ถ้าพับเป็นกล่องแล้วจะอยู่ด้านตรงข้ามกัน จึงไม่ควรจะเห็นพร้อมกันในรูป
ที่ประกอบเป็นลูกบาศก์
ตัวอย่าง เมื่อน�าไปประกอบเป็นลูกบาศก์แล้วจะตรงกับข้อใด

1. 2. 3.

4. 5.

12

Page1_1-80.indd 12 7/23/18 11:00 AM


7. วิเคราะห์เงื่อนไข
เป็นส่วนที่ยากที่สุด เนื่องจากต้องละเอียดและรอบคอบ ค่อยๆ ไล่ดูทีละเงื่อนไข จึงเสียเวลามาก
ที่สุด ถ้านึกไม่ออกบอกไม่ถูก ให้วาดแผนผังเสมอเพื่อความเข้าใจที่ง่ายขึ้น แนวที่ชอบออกข้อสอบบ่อย
ได้แก่ แนวเรียงล�าดับก่อนหลัง แนวจัดเรียงห้อง แนวจัดกลุ่มคน
ตัวอย่าง ในการแข่งขันรถมอเตอร์ไซค์มีผู้เข้าแข่งขันทั้งหมด 9 คน ผลการแข่งขันคือ C ถึงเส้นชัย
หลังจาก A และ I ส่วน I ถึงเส้นชัยก่อน H ในขณะที่ D ถึงเส้นชัยก่อน A ส่วน A ถึงเส้นชัยก่อน E โดยที่
H ถึงเส้นชัยพร้อมกับ E พอดี ถ้า H ถึงเส้นชัยหลัง B, G และ C แต่ถึงเส้นชัยก่อน F แล้ว จงหาว่า
มีกี่คนที่ถึงเส้นชัยก่อน E
เมื่อน�าข้อความข้างต้นไปสร้างเป็นแผนภาพจะได้ดังนี้

(ใครที่อยู่คนละเส้นกันจะไม่สามารถบอกได้ว่าใครเข้าเส้นชัยก่อนกัน)

8. วิเคราะห์ความเพียงพอของข้อมูล
แต่ละค�าถามจะให้ข้อมูลประกอบ 2 ชุด คือ ข้อมูลที่ (1) และข้อมูลที่ (2) และให้เราหาค�าตอบว่า
ข้อมูลที่ให้เพียงพอต่อการใช้หาค�าตอบหรือไม่ ค�าตอบอาจเป็นเพียงข้อมูลใดข้อมูลหนึ่ง ต้องใช้ทั้งสอง
ข้อมูล หรือข้อมูลไม่เพียงพอที่จะหาค�าตอบเลยก็ได้ โดยเราอาจไม่จ�าเป็นต้องคิดโจทย์เพื่อหาค�าตอบ
จริงๆ แต่ให้พิจารณาแค่ว่าข้อมูลใดบ้างที่มีประโยชน์ต่อการตอบค�าถาม
ตัวอย่าง พ่อมีเงิน 15,000 บาท ต้องการแบ่งให้ลกู 3 คน อยากทราบว่าคนเล็กจะได้สว่ นแบ่งเท่าไร
ข้อมูลที่ (1) คนโตได้ 2 ส่วน คนกลางและคนเล็กรวมกันได้ 3 ส่วน
ข้อมูลที่ (2) คนกลางได้มากกว่าคนเล็ก 2,000 บาท

13

Page1_1-80.indd 13 7/23/18 11:00 AM


ถ้าพิจารณาจากข้อมูลที่ (1) จะพบว่า
คนโตได้ 2x ส่วน ในขณะที่คนกลางและคนเล็กรวมกันได้ 3x ส่วน
ถ้าลองตั้งสมการจะได้ว่า
2x + 3x = 5x ซึ่งมีค่าเท่ากับ 15,000
ดังนั้น x = 3,000
แต่คนกลางและคนเล็กรวมกันจะได้ 3x = 9,000 บาท จึงยังไม่รู้อยู่ดีว่าคนเล็ก
ได้เท่าไรกันแน่
ถ้าพิจารณาจากข้อมูลที่ (2) จะพบว่า
คนกลางได้มากกว่าคนเล็ก 2,000 บาท ถ้าคนเล็กได้ y บาท จะตั้งสมการหาเงิน
ของคนกลางได้ว่า
y + 2,000 = ส่วนแบ่งของคนเล็ก
ก็ยังไม่รู้อยู่ดีว่าคนโตได้เท่าไร
ดังนั้นโจทย์นี้จึงต้องดูว่า ถ้าเอาข้อมูลที่ (1) และ (2) มารวมกันแล้วจะเพียงพอต่อการตอบ
ค�ำถามหรือไม่
จากข้อความแรกพบว่า คนกลางและคนเล็กได้รวมกัน 9,000 บาท ถ้าสมมติให้คนเล็กได้ a
บาท คนกลางก็จะได้ 9,000 - a บาท และจากข้อความที่สองที่บอกว่า คนกลางได้มากกว่าคนเล็ก
2,000 บาท ก็จะได้สมการว่า
(9,000 - a) - a = 2,000
9,000 - 2a = 2,000
2a = 7,000
a = 3,500
โจทย์ข้อนี้จึงได้ค�ำตอบว่า ต้องใช้ทั้งสองข้อมูลจึงจะเพียงพอต่อการหาค�ำตอบ

14

Page1_1-80.indd 14 7/23/18 11:00 AM


2. แนวโจทย์คณิตศาสตร์พื้นฐาน

เป็นแนวโจทย์ที่ออกสอบค่อนข้างมาก (ประมาณ 15 ข้อ) และเป็นแนวที่ควรเก็บคะแนนให้ได้


อีกด้วย เนื่องจากสามารถใช้พื้นฐานความรู้เดิมตั้งแต่สมัย ม.ต้น มาหาค�ำตอบได้ แนวโจทย์ที่ออกบ่อย
ได้แก่ อัตราเร็วและเวลา อัตราไหลและการท�ำงาน ร้อยละ ก�ำไร ขาดทุน สถิตแิ ละความน่าจะเป็น โจทย์
ปัญหาสมการเงื่อนไข และโจทย์ปัญหาเซต

1. อัตราเร็วและเวลา
โจทย์เรื่องอัตราเร็วและเวลาส่วนมากจะใช้สูตร v = st แนวโจทย์ที่มักจะชอบออก เช่น
1.1 แนวหยุดพักระหว่างทางแล้วถามหาระยะ จะต้องก�ำหนดให้ระยะทางส่วนที่ 1 เท่ากับ x และ
ระยะทางส่วนที่ 2 เท่ากับ ระยะทางทั้งหมด - x และจะต้องตั้งสมการโดยใช้ผลรวมของเวลา โดยใช้สูตร
t1 + t2 = vs11 + vs22
1.2 แนวขับรถมาเจอกันระหว่างทาง ถ้าสองคนออกเดินทางพร้อมกันจากคนละที่ แปลว่าใช้เวลา
ในการเดินทางเท่ากัน ดังนั้น t1 = t2 ก็จะได้สมการว่า vs11 = vs22 ด้วย

2. อัตราการไหลและการทำ�งาน (Man-Day)
โจทย์ลักษณะนี้ให้เทียบบัญญัติไตรยางศ์เป็นหลัก เช่น ถ้าโจทย์ก�ำหนดให้ ผู้ใหญ่ a คน เด็ก b
คน ท�ำงานหนึ่งเสร็จในเวลา t วัน ดังนั้นจะได้ว่า ใน 1 วัน จะท�ำงานเสร็จไปคิดเป็น งาน
จากนั้นจึงตั้งสมการ 2 ตัวแปร (x, y) ตามข้อมูลที่โจทย์ก�ำหนด โดยแทนลงไปในส่วนที่เป็น
ตัวหนังสือสีไว้ โดย x และ y หมายถึง ปริมาณงานที่ท�ำได้ในหนึ่งวันของผู้ใหญ่และเด็ก ตามล�ำดับ
หากโจทย์เป็นเรื่องเติมน�้ำ ก็ให้เปลี่ยนค�ำว่า “งาน” เป็นค�ำว่า “ถัง” ส่วนผู้ใหญ่และเด็กก็เปลี่ยน
เป็นก๊อกน�้ำแต่ละตัว แล้วใช้วิธีการคิดเหมือนกัน
ตัวอย่าง การทาสีบ้านหลังหนึ่ง ถ้าผู้ใหญ่ 6 คน เด็ก 2 คน ช่วยกันทาสี จะทาเสร็จในเวลา 3 วัน
แต่ถ้าผู้ใหญ่ 2 คน เด็ก 6 คน ช่วยกันทาสี จะทาเสร็จในเวลา 12 วัน จงหาว่าถ้าผู้ใหญ่ 1 คน
เด็ก 1 คน ช่วยกันทาสี จะทาเสร็จในเวลากี่วัน
ดังนั้นจะได้ว่า ผู้ใหญ่ 6 คน เด็ก 2 คน “ใน 1 วัน” จะท�ำงานเสร็จไปคิดเป็น งาน
และจะได้ว่า ผู้ใหญ่ 2 คน เด็ก 6 คน “ใน 1 วัน” จะท�ำงานเสร็จไปคิดเป็น งาน

15

Page1_1-80.indd 15 7/23/18 11:00 AM


ก�ำหนดให้ x และ y หมายถึง ปริมาณงานทีท่ ำ� ได้ในหนึง่ วันของผูใ้ หญ่และเด็ก ตามล�ำดับ
จะได้วา่
6x + 2y = 13
2x + 6y = 121
เมื่อแก้สมการออกมาจะได้ x = 965 และ y = 961
จากที่โจทย์ถามว่า ผู้ใหญ่ 1 คน เด็ก 1 คน ช่วยกันทาสี จะทาเสร็จในเวลากี่วัน ก็แทนค่าได้
1( 965 ) + 1( 961 ) = 966 งาน ในหนึ่งวัน ซึ่งแปลความได้ว่า การที่จะได้ 966 งาน ต้องใช้
เวลา 1 วัน
ดังนั้นถ้าจะให้งานเสร็จ หรือเท่ากับ 1 งาน จะต้องใช้เวลา 966 = 16 วันนั่นเอง

3. ร้อยละ กำ�ไร ขาดทุน


ข้อควรระวังของโจทย์แนวนีค้ อื ตัง้ สมการให้ถกู เพราะคนมักจะสับสนว่าจะเอาอะไรเป็นตัวตัง้
อะไรเป็นตัวหาร ดังนั้นจึงขอแนะน�ำตัวอย่างสูตรในการคิดง่ายๆ ดังนี้
ซื้อของมา x บาท ต้องการเอาไปขายให้ได้ก�ำไร 20% ดังนั้นจะต้องขายในราคา 120 100 x บาท
▶ ขายของได้ก�ำไร แสดงว่าต้องขายได้มากกว่าราคาทุน

ขายของไปในราคา x บาท ซึ่งได้ก�ำไร 20% ดังนั้นต้นทุนของดังกล่าวราคา 100 120 x บาท


▶ ขายของได้ก�ำไร แสดงว่าต้นทุนจะต้องน้อยกว่าราคาที่ขายไป

ซื้อของมา x บาท แต่เอาไปขายแล้วขาดทุน 20% แสดงว่าขายไปในราคา 100 80 x บาท


▶ ขายของขาดทุน แสดงว่าต้องขายได้น้อยกว่าราคาทุน

ขายของไปในราคา x บาท ซึ่งขาดทุน 20% ดังนั้นต้นทุนของดังกล่าวราคา 100 80 x บาท


▶ ขายของขาดทุน แสดงว่าต้นทุนจะต้องมากกว่าราคาที่ขายไป

ถ้าจวนตัวในห้องสอบจริงๆ และจ�ำสูตรด้านบนไม่ได้ ก็ให้เทียบบัญญัติไตรยางศ์กับ 100 เอา


เป็นวิธีที่ง่ายที่สุดแล้ว ส่วนใหญ่ถ้าพูดถึงค�ำว่าก�ำไร จะเกี่ยวกับตัวเลขที่เกิน 100 (ในกรณีนี้คือ 120)
ส่วนขาดทุนจะเกี่ยวกับตัวเลขที่ต�่ำกว่า 100 (ในกรณีนี้คือ 80)

16

Page1_1-80.indd 16 7/23/18 11:00 AM


4. สถิติและความน่าจะเป็น
สถิติจะเน้นแค่พวก Mean, Median และ Mode ธรรมดาๆ เหมือนข้อสอบสถิติ ม.ต้น มีสูตรการ
หาค่าเฉลี่ยรวมของ 2 กลุ่ม คือ x1N1 + x2 N2 = xรวม Nรวม ส่วนพวกสถิติ ม.ปลาย การหา Z-Score
พวกนี้ก็อาจมีออกได้บ้าง แต่น้อยมาก
ส่วนเรื่องความน่าจะเป็นที่ออกข้อสอบบ่อยๆ ได้แก่ การเรียงสับเปลี่ยน และการจัดหมู่
การเรียงสับเปลี่ยน คือ การน�ำของ n สิ่งมาจัดเรียงใหม่ ซึ่งจะได้จ�ำนวนวิธีเท่ากับ n! ซึ่งเท่ากับ
1 x 2 x 3 x … x n เมื่อ n เป็นจ�ำนวนเต็มบวก
การจัดหมู่ คือ การเลือกของจากทัง้ หมด n สิง่ มาเพียง r สิง่ (โดยไม่ได้สนใจล�ำดับหรือเอามาเรียง
n
ใหม่แต่อย่างใด) จะสามารถเลือกได้ ( r ) วิธี (อ่านว่า n เลือก r) ซึง่ มีคา่ เท่ากับ (n - n!r)! × r! วิธี

ตัวอย่าง มีกล่องทั้งหมด 11 ใบ เป็นกล่องสีแดง 4 ใบ กล่องสีเหลือง 3 ใบ กล่องสีเขียว 2 ใบ


กล่องสีฟ้าและกล่องสีชมพูอย่างละใบ เอามาตั้งซ้อนกัน ถามว่าจะตั้งได้กี่วิธีที่ต่างกัน
ข้อนี้ถามหาจ�ำนวนวิธีการเรียงสับเปลี่ยนของที่มีของซ�้ำกัน คิดเหมือนการเรียงสับเปลี่ยนทั่วไป
แต่จะต้องหารทิ้งด้วยของที่ซ�้ำ โดยการเรียงสับเปลี่ยนปกติ หากเป็นกล่องที่ต่างกันทั้งหมด จะ
เรียงได้ 11! วิธี โดยที่ 11! = 11 x 10 x 9 x 8 x … x 3 x 2 x 1
แต่ในกรณีนี้มีของซ�้ำ จึงต้องหารทิ้งด้วยการเรียงสับเปลี่ยนของที่ซ�้ำกัน ซึ่งจะได้
11!
4! × 3! × 2! วิธี

5. โจทย์ปัญหาสมการเงื่อนไข
ส่วนใหญ่เป็นโจทย์แนวสมการสองตัวแปรทั่วไป โดยจะต้องแปลโจทย์และตั้งสมการให้ได้ แต่จะมี
แนวโจทย์ที่ออกสอบบ่อยๆ เช่น
5.1 แนวถามหาอายุ เพื่อถามอายุ 5 ปีที่แล้ว หรือ 10 ปีข้างหน้า วิธีคิดโจทย์แนวนี้แนะน�ำให้
ตีตาราง เช่น

ใคร 5 ปีที่แล้ว ปัจจุบัน 10 ปีข้างหน้า


พ่อ
ลูก

17

Page1_1-80.indd 17 7/23/18 11:00 AM


5.2 แนวจ�ำนวนเหรียญ แนะน�ำให้ตั้งสองสมการ คือ จ�ำนวนเหรียญ และจ�ำนวนเงิน
ตัวอย่าง เด็กคนหนึง่ แคะกระปุกออมสินออกมาพบว่า มีแต่เหรียญ 5 บาท กับเหรียญ 50 สตางค์
เท่านั้น โดยมีเหรียญ 5 บาทมากกว่าเหรียญ 50 สตางค์อยู่ 10 เหรียญ และเมื่อนับเงิน
รวมกันพบว่ามีเงินทั้งหมด 160 บาท
เมื่อก�ำหนด x = จ�ำนวนเหรียญ 5 บาท
y = จ�ำนวนเหรียญ 50 สตางค์
ตั้งสมการจ�ำนวนเหรียญ คือ x - y = 10
ตั้งสมการจ�ำนวนเงิน คือ 5x + 0.5y = 160
(เหรียญ 5 มีมูลค่า 5 บาท และเหรียญ 50 สตางค์ มีมูลค่า 0.5 บาท)
5.3 แนวหาพื้นที่ ให้วาดรูปเป็นหลัก แล้วตั้งสมการจากความยาวของด้าน
ตัวอย่าง ที่ดินแห่งหนึ่งมีด้านยาวมากกว่าด้านกว้าง 20 เมตร เมื่อเพิ่มความยาวอีกด้านละ
10 เมตร จะท�ำให้มีพื้นที่เพิ่มขึ้น 60% จงหาความยาวรอบรูปเดิมของพื้นที่แห่งนี้

x เดิม → ใหม่ x + 10

x + 20
x + 30
พื้นที่ของรูปใหม่ (x + 30)(x + 10) 160
= (x + 20)x = 100
พื้นที่ของรูปเดิม
เมื่อแก้สมการจะพบว่า x = 30, - 503
แต่เราพิจารณาเฉพาะค่าบวกเท่านั้น คือ 30 จึงได้ความยาวรอบรูปเท่ากับ 160 เมตร

6. โจทย์ปัญหาเซต
หนีไม่พ้นการวาดแผนภาพเวนน์-ออยเลอร์เป็นหลัก โดยค่อยๆ แปลงข้อมูลเป็นแผนภาพ
ซึ่งมีเทคนิคการเขียนข้อมูลลงในแผนภาพเวนน์-ออยเลอร์ให้ไม่สับสน ดังนี้
• n(U) = 100, n(A) = 36, n(B) = 43, n(C) = 50, … ให้เอาข้อมูลเซต U ซึ่งหมายถึง Universe
(เอกภพสัมพัทธ์) เขียนจ�ำนวนไว้ที่กรอบบนขวา ส่วนจ�ำนวนของสมาชิกเซต A, B และ C ให้ทด
ไว้ข้างๆ นอกกรอบ Universe ก่อน
18

Page1_1-80.indd 18 7/23/18 11:00 AM


•n(A ∩ B) = 11, n(B ∩ C) = 18, n(A ∩ C) = 10, n(A ∩ B ∩ C) = 5 ก็ทดไว้ขา้ งๆ เช่นกัน
หลังจากนั้นจึงทยอยหาค่า แล้วค่อยเขียนลงไปในแต่ละช่อง
∪ = 100
n(A) = 36
A B n(B) = 43
20 6 19
n(C) = 50
5 5 13 n(A ∩ B) = 11
27 n(B ∩ C) = 18
5 C n(A ∩ C) = 10

วิธีการที่ไม่แนะน�ำอย่างยิ่งในการท�ำโจทย์แนววาดแผนภาพเวนน์-ออยเลอร์ คือ การตั้งสมการ


7-8 ตัวแปร แล้วเอามาแก้ เพราะจะช้า เสียเวลา และมีโอกาสผิดพลาดได้สูง

3. แนวโจทย์ภาษาไทย

โจทย์แนวนีเ้ ป็นแนวทีต่ อ้ งอาศัยการอ่าน พยายามจับใจความและความหมายส�ำคัญให้ได้ เป็นแนว


ที่ควรเก็บคะแนนเช่นกัน เนื่องจากสามารถใช้เซนส์และประสบการณ์ในการตอบได้ ตัวอย่างแนวโจทย์
ทีอ่ อกสอบบ่อย ได้แก่ การจับคูค่ ำ� การเลือกค�ำทีไ่ ม่เข้าพวก อุปนัย-นิรนัย การตัง้ สมมติฐานจากข้อความ
ที่ก�ำหนดให้ และการสรุปใจความส�ำคัญจากบทความ

1. แนวจับคู่คำ�
จะมีการเปรียบเทียบค�ำ โดยเราจะต้องสังเกตความสัมพันธ์ระหว่างสองค�ำนั้นว่าเป็นอย่างไร ดังนี้
สิ่งนั้นอยู่ในหมวดหมู่ใด (โยงไปหาสิ่งที่กว้างกว่า)
ตัวอย่าง สุนัข : สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม
ชมพู่ : ผลไม้
สิ่งนั้นประกอบไปด้วยอะไรบ้าง (โยงไปหาสิ่งที่ย่อยกว่า)
ตัวอย่าง สุนัข : ไทยหลังอาน (เป็นพันธุ์หนึ่งของสุนัข)
ญี่ปุ่น : โอซากา (เป็นจังหวัดหนึ่งของญี่ปุ่น)
19

Page1_1-80.indd 19 7/23/18 11:00 AM


เปรียบเทียบสิ่งที่อยู่ในหมวดหมู่เดียวกัน
ตัวอย่าง สุนัข : แมว (เป็นสัตว์เลี้ยงทั้งคู่)
สับปะรด : มะนาว (เป็นผลไม้รสเปรี้ยวทั้งคู่)
นอกจากนี้ยังมีคู่ที่บอกหน้าที่หรือคุณสมบัติของสิ่งหนึ่ง คู่ที่บอกผลลัพธ์และสาเหตุ คู่ที่บอก
ลักษณนาม คูท่ บี่ อกความหมาย หรือบอกคูต่ รงข้าม

2. แนวหาคำ�ที่ ไม่เข้าพวก
พยายามนึกถึงเกณฑ์ที่คนทั่วไปมักจะนึกถึงมากที่สุด อย่าไปนึกถึงเกณฑ์แปลกๆ เพราะอาจ
ผิดได้
ตัวอย่าง ข้อใดไม่เข้าพวก
สกลนคร ลพบุรี นครนายก สุพรรณบุรี สระบุรี
ค�ำตอบของข้อนีค้ อื สกลนคร เพราะสกลนครอยูใ่ นภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ส่วนตัวเลือกอืน่
อยูใ่ นภาคกลาง เกณฑ์ของโจทย์ขอ้ นีจ้ งึ เป็นต�ำแหน่งทีต่ งั้ แต่หากไปนึกถึงจ�ำนวนพยางค์และตอบว่า
ลพบุรี ข้อนีก้ จ็ ะเสียคะแนนไปทันที

3. อุปนัย-นิรนัย
อุปนัยเป็นการคาดเดาทีไ่ ม่ชวั ร์ เพราะโยงจากสิง่ ทีอ่ ยูใ่ นหมวดหมูท่ ยี่ อ่ ยกว่าไปหาหมวดหมูท่ กี่ ว้าง
กว่า แต่นริ นัยเป็นการคาดเดาทีช่ วั ร์กว่า เพราะโยงจากสิง่ ทีอ่ ยูใ่ นหมวดหมูท่ กี่ ว้างกว่าไปหาหมวดหมูท่ ี่
ย่อยกว่า
เทคนิคคือ ถ้านึกไม่ออกบอกไม่ถกู ให้วาดแผนภาพเวนน์-ออยเลอร์แบบในโจทย์คณิตศาสตร์
โดยมีเทคนิคการวาดดังนี้
1. คนเก่งทุกคนเป็นคนรวย ▶ ค�ำว่า “ทุกคน” บ่งบอกว่า คนเก่งเป็น Subset ของคนรวย

คนรวย

คนเก่ง

20

Page1_1-80.indd 20 7/23/18 11:00 AM


2. คนเก่งบางคนเป็นคนขยัน ▶ ค�ำว่า “บางคน” บ่งบอกว่า 2 เซตนีม้ บี างส่วนซ้อนทับกันอยู่ และ
อย่าลืมว่า การวาดเซตของคนขยันนัน้ ให้ลากเส้นผ่ากลางเซตของคนรวยด้วย เพราะจะต้องมีคนรวยทีข่ ยัน
และคนรวยทีไ่ ม่ขยัน

คนรวย

คนเก่ง
คนขยัน

3. คนที่เก่งและขยันทุกคน ไม่มีใครเป็นคนรวย ถ้าเจอแบบนี้ เราก็ต้องใส่สัญลักษณ์เซตว่าง


ตรงช่องที่ลูกศรชี้ อย่าลืมว่าในทางตรรกศาสตร์ ค�ำว่า “และ” ในที่นี้จะแปลว่า คนที่อยู่ตรงส่วนที่
ซ้อนทับกันของเซตคนเก่งและเซตคนขยัน

คนรวย

คนเก่ง

คนขยัน

4. การตั้งสมมติฐาน
ส่วนใหญ่มักจะให้บทความหรือการทดลองมาแล้วก็ตั้งสมมติฐาน โดยมีหลักการว่าจะต้องตั้งจาก
ตัวแปรต้น (สาเหตุ หรือสิง่ ทีเ่ อามาเปรียบเทียบ) ไปหาตัวแปรตาม (ผลลัพธ์จากการทดลองนัน้ ๆ) โดยใน
การทดลองนัน้ จะต้องมีตวั แปรควบคุมทีจ่ ดั ให้เหมือนๆ กันเพือ่ ไม่ให้การทดลองคลาดเคลือ่ น
ตัวอย่าง เด็กหญิงปัญต้องการท�ำการทดลองโดยน�ำใยบวบที่ผสมยางพาราในอัตราส่วนยางพารา
20%, 40%, 60% และ 80% มาขึน้ รูปเป็นแผ่น และมียางพารา 100% เป็นตัวควบคุม เพือ่ ทดสอบ
ความสามารถในการดูดซับเสียงโดยการน�ำแผ่นไปกั้นตรงกลางท่อ โดยที่ต้นท่อจะปล่อยเสียงที่มี
ความดัง 50 dB ส่วนทีป่ ลายท่อจะวัดเสียงทีต่ รวจวัดได้หลังการดูดซับ ซึง่ ได้ผลการทดลองดังภาพ
ทีแ่ สดง

21

Page1_1-80.indd 21 7/23/18 11:00 AM


ต้นท่อปล่อยเสียง ปลายท่อวัดเสียง
50 dB เครื่องตรวจวัด
แผ่นใยบวบผสมยางพารา
dB ที่ตรวจวัดได้
50
40
30
20
10
20% 40% 60% 80% 100%

จากภาพจะพบว่า
ตัวแปรต้น คือ สัดส่วนของการผสมใยบวบต่อยางพาราในการขึน้ รูปเป็นแผ่นกัน้ เสียง
ตัวแปรตาม คือ ปริมาณเสียงทีส่ ามารถดูดซับได้ (จะพบว่ายิง่ ตรวจวัดเสียงได้เบาเท่าไร แปลว่า
ยิง่ ดูดซับเสียงได้ดเี ท่านัน้ )
ตัวแปรควบคุม คือ ชนิดท่อทีใ่ ช้ในการทดลองแต่ละครัง้ ชนิดเครือ่ งปล่อยเสียง เครือ่ งวัดเสียง
ชนิดของยางพารา และสภาพอากาศในการทดลอง
ข้อนีจ้ งึ ต้องตัง้ สมมติฐานว่า สัดส่วนของการผสมใยบวบต่อยางพาราในการขึน้ รูปเป็นแผ่นกัน้ เสียง
มีผลต่อปริมาณเสียงทีส่ ามารถดูดซับได้

5. จับใจความสำ�คัญจากบทความ
โจทย์แนวนี้อาจเสียเวลาในการอ่านบ้าง แต่ส่วนใหญ่บทความมักจะไม่ยาวมาก ประมาณ 5-6
บรรทัดเท่านั้น หรืออาจจะให้เป็นบทประพันธ์มาก็ได้ (โอกาสออกไม่บ่อยเพราะไม่ใช่วิชาภาษาไทย)
ทั้งนี้อาจรวมไปถึงการตั้งชื่อเรื่อง หาจุดประสงค์ของผู้เขียน และความรู้สึกของผู้เขียน
เทคนิคคือ ลองสรุปเนื้อหา และขีดเส้นใต้บทความตรงใจความส�ำคัญ โดยอย่าเพิ่งไปดู
ตัวเลือก เพราะอาจจะถูกชักจูงให้คล้อยตามตัวเลือกไปก่อนได้ พยายามมองหาค�ำส�ำคัญ เช่น
แต่ ถ้า เพราะ ดังนั้น ที่ส�ำคัญ เพราะใจความส�ำคัญมักจะอยู่หลังค�ำส�ำคัญเหล่านี้ (แต่ค�ำเหล่านี้
ก็ต้องสอดคล้องกับเนื้อหาโดยรวมด้วย)

22

Page1_1-80.indd 22 7/23/18 11:00 AM


หากโจทย์ถามจุดประสงค์ของผู้เขียน จะมีหลักๆ ดังนี้
• บรรยาย : เล่าเรือ่ งเหตุการณ์หรือประสบการณ์เป็นฉากๆ ว่าใคร ท�ำอะไร ทีไ่ หน เมือ่ ไร อย่างไร
โดยข้อความจะไม่ละเอียดเท่าการพรรณนา
• อธิบาย : อธิบายวิธกี ารต่างๆ เป็นขัน ้ ตอน หรือแจกแจงรายละเอียดทีม่ ลี กั ษณะเป็นข้อมูล เช่น
ขัน้ ตอนการท�ำอาหาร หรือลักษณะของโรคต่างๆ (ในทางการแพทย์)
• พรรณนา : จะต้องมีการเขียนรายละเอียด เพือ่ ให้เห็นภาพตาม หรือเกิดอารมณ์ความรูส้ กึ ร่วม
มักจะใช้คำ� อุปมาโวหาร เช่น ราวกับ ประดุจดัง่ ปาน ฯลฯ
• แสดงความคิดเห็น : มักมีการใส่ความเห็นของผู้เขียนลงไป สังเกตจากค�ำว่า โดยส่วนตัวแล้ว
ผมว่า น่าจะ คงจะ
• โน้มน้าวใจ : ภาษาจะสัน ้ ๆ รัดกุม จะไม่บงั คับขูเ่ ข็ญออกค�ำสัง่ เช่น การโฆษณา ค�ำขวัญ
• การสร้างความตระหนัก : ใช้ภาษาทีร่ น ุ แรงขึน้ โดยการให้มาสองตัวเลือก (ดีกบั แย่) ซึง่ ใครๆ ก็
น่าจะรูว้ า่ ควรจะตอบข้อไหน เช่น “เมือ่ ตืน่ ขึน้ มายามเช้า เรามีทางเลือกสองทาง ระหว่างการ
กลับไปนอนต่อ กับการลุกขึน้ มาท�ำฝันให้เป็นจริง มันก็อยูท่ ตี่ วั คุณแล้วว่าจะเลือกอะไร”
• ตักเตือน : บอกให้รวู้ า่ สิง่ ใดควรท�ำและไม่ควรท�ำ เมือ่ มีการท�ำผิดมาแล้ว
• สัง่ สอน : เน้นให้ผถู้ กู สอนมีพฒ ั นาการทีด่ ขี น้ึ แฝงการลงโทษให้หลาบจ�ำ
• เสียดสี : มักใช้คำ� ทีส่ ดุ โต่งจากความเป็นจริง มีการเหน็บแนม หรือใช้โทนเสียงทีต่ า่ งจากเดิม
ส่วนแนวอารมณ์ความรูส้ กึ ของผูเ้ ขียนมีโอกาสออกสอบไม่มาก เพราะโจทย์แนวนีจ้ ะไปอยูใ่ นข้อสอบ
ภาษาไทยของกลุ่มวิชาสามัญแล้ว ข้อสอบภาษาไทยในพาร์ตเชาวน์จึงเน้นการสรุปความมากกว่า

สรุปเกี่ยวกับข้อสอบความถนัดแพทย์พาร์ตเชาวน์

โดยรวมข้อสอบพาร์ตเชาวน์นี้ถือเป็นพาร์ตที่ยากที่สุดในข้อสอบความถนัดแพทย์ แต่ก็ยังไม่ถือว่า
เกินความสามารถของน้องๆ มากนัก สิ่งที่ส�ำคัญที่สุดในพาร์ตนี้คือเรื่องการบริหารเวลา เพราะ 45 ข้อ
ในเวลา 75 นาทีนั้น เฉลี่ยแล้วข้อหนึ่งประมาณ 1 นาทีครึ่งเท่านั้น ซึ่งถือว่าน้อยมาก บางข้อยากๆ อาจ
ต้องใช้เวลา 3-5 นาทีในการคิด เช่น แนววิเคราะห์เงื่อนไข แต่บางข้อ เช่น อนุกรม หรือจับคู่ค�ำ
สามารถท�ำได้ภายในครึง่ นาที จึงควรเลือกข้อท�ำก่อนให้ดๆี ทีส่ ำ� คัญคือ ต้องฝึกฝนการท�ำโจทย์พาร์ตนี้
บ่อยๆ ให้เกิดความเคยชิน ให้คิดได้อย่างเป็นระบบ จะได้เดามุกของแนวโจทย์ได้ถูก และอย่าคิด
นอกกรอบจนเกินไป เพราะจะไม่ได้ค�ำตอบที่ถูกต้อง

23

Page1_1-80.indd 23 7/23/18 11:00 AM


แนวข้อสอบ
เชาวน์

Page1_1-80.indd 24 7/23/18 11:00 AM


ชุด
01
Page1_1-80.indd 25 7/23/18 11:00 AM
1 จงหาตัวเลขล�าดับถัดไปของ 8 9 11 12 15 16 20 21 ___
1. 22 2. 24
แนวขŒอสอบเชาวน ชุด 01

3. 26 4. 28
5. 30

2 จงหาตัวเลขล�าดับถัดไปของ 2 52 32 3 1 72 ___
1. - 12 2. 1
2
3. 1 4. 3
2
5. 2

3 จงหาตัวอักษรล�าดับถัดไปของ A ข C ฅ H ญ ___
1. M 2. N
3. P 4. S
5. U

4 ถ้า AILMENTS = BULLETED, COMMANDO = RAMPAGED และ ARTWORKS = CATHOLIC


แล้ว BASICITY = ______
1. CHARCOAL 2. AQUATICS
3. MAKEOVER 4. HOSPITAL
5. INSECURE

26

Page1_1-80.indd 26 7/23/18 11:00 AM


5 ถ้า ACCELERATORS = 7, WAGGLING = 6 และ CONSIDERATIONS = 8 แล้ว
ULTRASOUND มีค่าเท่ากับข้อใด

แนวขŒอสอบเชาวน ชุด 01
1. 4 2. 6
3. 8 4. 9
5. 10

6
4 ?
10 4
6 5
7 1

1. 2 2. 4
3. 6 4. 8
5. 10

7
2 3 1 2
2 ? 3
5 7 3
3 2 5 4 7 6
1. 3 2. 4
3. 5 4. 6
5. 7

27

Page1_1-80.indd 27 7/23/18 11:00 AM


8
?
แนวขŒอสอบเชาวน ชุด 01

1. 2. 3. 4. 5.

1. 2.

3. 4.

5.

28

Page1_1-80.indd 28 7/23/18 11:00 AM


10

แนวขŒอสอบเชาวน ชุด 01
?

1. 2.

3. 4.

5.

11 หากมองจากด้านที่ชี้จะเห็นภาพอย่างไร

1. 2. 3. 4. 5.

29

Page1_1-80.indd 29 7/23/18 11:01 AM

You might also like