You are on page 1of 23

ตารางวิเคราะห์ ข้อสอบมาตรฐานปลายภาค/รายปี วิชา วิทยาศาสตร์ เล่ ม 1

ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 ชุดที่ 2


มาตรฐาน/ตัวชี้วดั
ว 1.1 ว 3.1 ว 3.2 ว 8.1
ข้ อ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3 4 5 6 7 8 9
1  
2  
3  
4  
5  
6  
7  
8  
9  
10  
11  
12  
13  
14  
15  
16  
17  
18  
19  
20  
21  
22  
23  
24  
25  
26  
27  
28  
29  
30  

1
มาตรฐาน/ตัวชี้วดั
ว 1.1 ว 3.1 ว 3.2 ว 8.1
ข้ อ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3 4 5 6 7 8 9
31        
32        
33        
34        
35        
36        
37        
38        
39        
40        
41        
42        
43        
44        
45        
46        
47        
48        
49        
50        
51        
52        
53        
54        
55        
56        
57        
58        
59        
60        

ข้ อสอบมาตรฐานปลายภาค/รายปี ชุ ดที่ 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์

2
วิชาวิทยาศาสตร์ เล่ม 1 ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 จำนวน 60 ข้ อ

คำชี้แจง ให้นกั เรี ยนเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดหรื อเหมาะสมที่สุดเพียงคำตอบเดียว


1. สิ่ งมีชีวิตเซลล์เดียวและสิ่ งมีชีวิตหลายเซลล์ต่างกันอย่างไร
ก. นิวเคลียสของสิ่ งมีชีวิตเซลล์เดียวจะไม่มีเยือ่ หุม้ ส่ วนนิวเคลียสของสิ่ งมีชีวิตหลายเซลล์มี
เยือ่ หุม้
2. เซลล์ของสิ่ งมีชีวิตเซลล์เดียวไม่มีไซโทพลาซึ ม ส่ วนเซลล์ของสิ่ งมีชีวิตหลายเซลล์มี
ไซโทพลาซึม
3. สิ่ งมีชีวิตเซลล์เดียวต้องดำรงชีวิตเป็ นกลุ่มเพื่อช่วยกันทำงาน แต่สิ่งมีชีวิตหลายเซลล์
สามารถอยูอ่ ย่างอิสระได้
4. สิ่ งมีชีวิตเซลล์เดียวสามารถดำรงชีวิตโดยใช้เซลล์เพียงเซลล์เดียว ส่ วนสิ่ งมีชีวิตหลายเซลล์
ต้องอาศัยเซลล์หลายเซลล์ทำงานประสานกัน
2. ต่อไปนี้เป็ นส่ วนประกอบของเซลล์
1. เยือ่ หุม้ เซลล์
2. คลอโรพลาสต์
3. นิวเคลียส
4. ไซโทพลาซึม
5. ผนังเซลล์
เซลล์ของสิ่ งมีชีวิตในข้อใดที่มีส่วนประกอบครบทั้ง 5 ข้อ
1. เซลล์ประสาท
2. เซลล์คุมในใบไม้
3. เซลล์สมองของมนุษย์
4. เซลล์กล้ามเนื้อของมนุษย์
3. ในภาพบริ เวณที่ลูกศรชี้เรี ยกว่าอะไร เพราะเหตุใดจึงอยูใ่ กล้ขอบเซลล์
ก. คลอโรพลาสต์ ซึ่ งจะมีอยูบ่ ริ เวณขอบของเซลล์
ข. ไมโทคอนเดรี ย มีขนาดเล็กจึงถูกดันไปอยูข่ า้ งเซลล์
ค. นิวเคลียสถูกแวคิวโอลซึ่ งมีขนาดใหญ่ดนั ไปอยูข่ า้ งเซลล์
ง. นิวเคลียสเพราะเซลล์พชื ทุกชนิดนิวเคลียสจะอยูต่ ดิ ขอบเซลล์

4. จากภาพข้อใดน่าจะเป็ นแผนภาพของเซลล์ เพราะเหตุใด

1 2 3 4

3
ก. รู ปที่ 1 เพราะมีโครงสร้างพื้นฐานของเซลล์ คือ เยือ่ หุม้ เซลล์ ไซโทพลาซึ ม และนิวเคลียส
ข. รู ปที่ 2 เพราะมีลกั ษณะเป็ นเซลล์ปิด
ค. รู ปที่ 3 เพราะมีท้ งั ผนังเซลล์และเยือ่ หุม้ เซลล์
ง. รู ปที่ 4 เพราะมีผนังเซลล์ เยือ่ หุม้ เซลล์ และรู ปร่ างของเซลล์มีลกั ษณะโค้งและเว้า
5. จากภาพคือเซลล์ชนิดใด และเพราะเหตุใดจึงมีรูปร่ างเช่นนั้น
ก. เซลล์ของไตทำหน้าที่ขบั ถ่าย
ข. เซลล์กล้ามเนื้อแขน ซึ่ งช่วยให้แขนทำงานได้แข็งแรง
ค. เซลล์ของตับสร้างน้ำดี เพราะต้องกักเก็บน้ำดีไว้ในเซลล์
ง. เซลล์ประสาท ทำหน้าที่รับส่ งกระแสความรู ้สึกระหว่างอวัยวะ
และ สมอง
6. ข้อใดกล่าวผิด
ก. ของแข็ง ของเหลว และแก๊สสามารถเกิดการแพร่ ได้
ข. แก๊สจะเกิดการแพร่ ได้เร็ วกว่าของเหลว และของแข็ง
3. การแพร่ ของสารจะต้องเป็ นการแพร่ ผา่ นเยือ่ เลือกผ่านเท่านั้น
4. การแพร่ คือ การเคลื่อนที่ของโมเลกุลของสารจากบริ เวณที่มีโมเลกุลของสารมาก (เข้มข้น)
ไปยังบริ เวณที่มีโมเลกุลของสารน้อย (เจือจาง)
7. ข้อใดถูกต้อง
ก. น้ำและเกลือแร่ เข้าสู่ เซลล์รากโดยการแพร่
ข. น้ำและเกลือแร่ เข้าสู่ เซลล์รากโดยการดูดซึ ม
3. น้ำและเกลือแร่ เข้าสู่ เซลล์รากโดยการออสโมซิ ส
4. น้ำเข้าสู่ เซลล์รากโดยการออสโมซิ ส ส่ วนเกลือแร่ เข้าสู่ เซลล์รากโดยการแพร่
8. ที่กล่าวว่าเยือ่ หุม้ เซลล์มีสมบัติเป็ นเยือ่ เลือกผ่านเพราะเหตุใด
ก. โมเลกุลของแข็งเท่านั้นที่ผา่ นเข้า- ออกได้
ข. โมเลกุลของแก๊สเท่านั้นที่ผา่ นเข้า-ออกได้
3. โมเลกุลของสารบางชนิดสามารถผ่านเข้า-ออกได้
4. โมเลกุลของสารทุกชนิดสามารถผ่านเข้า-ออกได้
9. จากภาพก่อนการทดลอง ข้อความในข้อใดถูกต้อง
เยือ่ เลือกผ่าน

โมเลกุลน้ำตาล โมเลกุลน้ำ

ก. สารด้าน A มีความเข้มข้นเท่Aากับสารด้าน B B
ข. สารด้าน A มีความเข้มข้นมากกว่าสารด้าน B

4
ค. สารด้าน B มีความเข้มข้นมากกว่าสารด้าน A
ง. สารด้าน A มีจำนวนโมเลกุลเท่ากับสารด้าน B
10. กลิ่นของสัตว์ทะเลในตลาดสดมากกระทบจมูกของเราได้ดว้ ยวิธีใด
ก. การแพร่ ข. การดูดซึ ม
3. การออสโมซิส ง. ทั้งการแพร่ และออสโมซิ ส
11. พืชหลายชนิดเมื่อน้ำท่วมเป็ นเวลานานจะเหี่ ยวเฉาและตายไป เพราะเหตุใด
ก. รากดูดน้ำมากเกินไป
ข. พืชไม่ได้รับแก๊สออกซิเจน
3. แร่ ธาตุสะสมที่รากมากเกินไป
4. ของเสี ยสะสมอยูท่ ี่รากมากเกินไป
12. หากต้องการปลูกพืชในบริ เวณที่มกั เกิดน้ำท่วม ซึ่ งจะทำให้พืชตายได้ นักเรี ยนควรทำอย่างไร
ก. ยกร่ องให้สูงขึ้น ข. ปล่อยตามธรรมชาติ
ค. ใช้ถุงพลาสติกหุ้มรากไว้ ง. ทำคันกั้นน้ำไม่ให้น ้ำท่วมถึง
13. เมื่อนำลูกโป่ งชนิดเดียวกัน ขนาดเท่ากัน โดยลูก A บรรจุดว้ ยแก๊สไฮโดรเจน ส่ วนลูก B บรรจุ
ด้วยแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ ในปริ มาณเท่ากัน เมื่อทิ้งไว้เป็ นเวลา 24 ชัว่ โมง ปรากฏว่าลูกโป่ ง
A จะแฟบลงมากกว่าลูกโป่ ง B เพราะเหตุใดจึงเป็ นเช่นนั้น
ก. แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์มีความสามารถในการออสโมซิ สได้ดีกว่าแก๊สไฮโดรเจน
ข. แก๊สไฮโดรเจนมีความสามารถในการออสโมซิ สได้ดีกว่าแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์
ค. ในอากาศไม่มีแก๊สไฮโดรเจน ดังนั้น แก๊สไฮโดรเจนในลูกโป่ งจึงแพร่ ออกได้รวดเร็ ว
ง. โมเลกุลของแก๊สไฮโดรเจนเล็กและเบากว่าโมเลกุลของแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ จึงแพร่
ออกจากลูกโป่ งได้เร็ วกว่า
14. แก๊สออกซิเจนในดินเข้าสู่ เซลล์ขนรากได้อย่างไร
ก. โดยการแพร่ ข. โดยการดูดซึ ม
ค. โดยการระเหย ง. โดยการออสโมซิ ส
15. จากภาพเมื่อตั้งชุดทดลองทิ้งไว้ระยะหนึ่ง ระดับน้ำในหลอดแก้วจะเปลี่ยนแปลงอย่างไร เพราะ
เหตุใด
ก. สู งขึ้น เพราะโมเลกุลน้ำออสโมซิ สเข้าไปในถุง
ข. สู งขึ้น เพราะโมเลกุลน้ำตาลแพร่ เข้าไปในถุง
ค . ลดลง เพราะโมเลกุลน้ำออสโมซิ สออกจากถุง
ง. ลดลง เพราะโมเลกุลน้ำตาลออสโมซิ สออกจากถุง
น้ำ
สารละลายน้ำตาล

16. หากรดน้ำให้กบั ดอกไม้ที่เหี่ยวเฉา แล้วทิ้งไว้ระยะหนึ่ง ดอกไม้กลับเบ่งบานตามเดิม เหตุใดจึง


เป็ นเช่นนั้น
ก. น้ำในดินแพร่ เข้าสู่ รากแล้วลำเลียงมาตามท่อไซเล็มไปสู่ ดอกไม้
ข. น้ำในดินแพร่ เข้าสู่ รากแล้วลำเลียงมาตามท่อโฟลเอ็มไปสู่ ดอกไม้

5
ค. น้ำในดินออสโมซิสเข้าสู่ รากแล้วลำเลียงตามท่อไซเล็มไปสู่ ดอกไม้
ง. น้ำในดินออสโมซิสเข้าสู่ รากแล้วลำเลียงตามท่อโฟลเอ็มไปสู่ ดอกไม้
17. จากภาพทดลองใส่ เกล็ดด่างทับทึมลงไปในแก้วน้ำที่มีน ้ำอยูเ่ กือบเต็ม เมื่อเวลาผ่านไป 30 นาที
และ 1 ชัว่ โมง จะปรากฏผลดังภาพ กระบวนการนี้เกิดขึ้นได้เพราะเหตุใด และกระบวนการนี้
เรี ยกว่าอะไร

30 นาที 1 ชัว่ โมง


ก. ด่างทับทิมละลายน้ำ
เริ่ มต้น การแพร่
ข. ด่างทับทิมละลายน้ำ ออสโมซิ ส
ค. ด่างทับทิมไม่ละลายน้ำ การแพร่
ง. ด่างทับทิมไม่ละลายน้ำ ออสโมซิ ส
18. พืชชนิดใดมีการคายน้ำน้อยที่สุด เพราะเหตุใด
ก. พืชที่มีใบใหญ่
ข. พืชที่มีใบปริ มาณมาก
ค. พืชที่ลดขนาดของใบให้มีขนาดเล็กที่สุด
ง. พ ืช ท ี่ม ีข น า ด ข อ ง ใ บ ท ้ งั ข น า ด เ ล ก็ แ ล ะ ข น า ด ใ ห ญ ่
19. ข้อใดกล่าวถูกต้องที่สุด
ก. ท่อลำเลียงน้ำของพืชล้มลุกไม่สามารถลำเลียงแร่ ธาตุได้
ข. ท่อลำเลียงน้ำประกอบด้วยกลุ่มเซลล์ที่ยงั มีชีวิตอยูท่ ้ งั หมด
3. ท่อลำเลียงน้ำแทรกอยูร่ ะหว่างเซลล์ทุกเซลล์ในลำต้นพืช
4. ท่อลำเลียงน้ำเป็ นท่อยาวติดต่อกันตลอดตั้งแต่ราก ลำต้น และใบ
20. ตั้งชุดทดลองดังในภาพเป็ นเวลา 2 ชัว่ โมง ระดับของเหลวในหลอดแก้ว x และ y จะ
เปลี่ยนแปลงในลักษณะใด ตามลำดับ
X Y ก. สู งขึ้น ลดลง
ข. สู งขึ้น สู งขึ้น
ค. ลดลง ลดลง
ง. ลดลง สู งขึ้น
สารละลายกลูโคส
เข้มข้น น้ำ

สารละลายกลูโคส
เจือจาง
21. จากภาพกระบวนการที่เกิดขึ้นนอกจากจะสังเกตระดับน้ำในหลอดแก้วว่าเพิ่มขึ้นหรื อลดลงแล้ว
จะมีวิธีอื่นเพื่อศึกษากระบวนการนี้หรื อไม่อย่างไร

6
ก. วัดปริ มาตรของสารในถุงเซลโลเฟน
ข. ทดสอบว่ามีสารละลายน้ำตาลออกมาจาก
ถุงเซลโลเฟนหรื อไม่
ค. ไม่มีเพราะต้องสังเกตจากระดับใน
สารละลายน้ำตาล หลอดแก้วเท่านั้น
น้ำ ง. ชัง่ หาน้ำหนักของถุงเซลโลเฟนก่อนและ
หลังการทดลองเปรี ยบเทียบกัน

22. ข้อใดสัมพันธ์กนั
ก. พลังงาน : น้ำ
ข. ออสโมซิส : น้ำ
3. การแพร่ : แก๊สเท่านั้น
ง. ออสโมซิส : ของเหลวทุก
23. หากนักเรี ยนปลูกพืชในกระถาง นักเรี ยนจะดูแลพืชนั้นให้เจริ ญเติบโตได้อย่างไร
1. รดน้ำทุกวัน
2. ใส่ ปุ๋ยทุกวัน
3. พรวนดินทุกวัน
ก. 1 และ 2
ข. 2 และ 3
ค. 1 และ 3
ง. 2 และ 3
24. อาหารที่พืชสร้างขึ้นคือน้ำตาลกลูโคส แต่พืชจะเก็บน้ำตาลกลูโคสไว้เป็ นอาหารสำรองไม่ได้
ต้องเปลี่ยนให้เป็ นแป้ งก่อน จึงจะเก็บไว้ได้ เพราะเหตุใด
ก. กลูโคสเป็ นสารพิษต่อเซลล์พืช
ข. กลูโคสละลายน้ำได้ ส่ วนแป้ งไม่ละลายน้ำ
ค. แป้ งละลายน้ำได้ ส่ วนกลูโคสไม่ละลายน้ำ
ง. กลูโคสมีโมเลกุลเล็ก ส่ วนแป้ งมีโมเลกุลใหญ่
25. ถ้านำต้นผักกระสังแช่ในสารละลายสี แดง จะเห็นสี แดงเคลื่อนที่ไปในต้นผักกระสังตามข้อใด
ก. รากขนรากลำต้นกิ่งใบ
ข. ขนรากราก ใบกิ่งลำต้น
3. ข น ร า ก  ร า ก  ลำ ต น้  ก ิ่ง  ใ บ
ง. รากขนรากกิ่งลำต้นใบ
26. ข้อความใดถูกต้องที่สุดเกี่ยวกับกระบวนการสังเคราะห์ดว้ ยแสง
ก. บริ เวณที่มีอากาศร้อนจัดและแห้งแล้ง การสังเคราะห์ดว้ ยแสงเกิดขึ้นได้ยาก

7
ข. ในวันที่ฝนตกตลอดทั้งวัน ไม่มีแสงแดด พืชจะไม่มีการสังเคราะห์ดว้ ยแสง
ค. การสังเคราะห์ดว้ ยแสงเกิดขึ้นตลอดเวลาเวลากลางวันไม่วา่ อากาศจะร้อนจัดหรื อแห้งแล้ง
ง. พืชที่ข้ ึนอยูบ่ ริ เวณโขดหินริ มฝั่งน้ำ จะไม่มีการสังเคราะห์ดว้ ยแส ง เพราะคลื่นซัดฝั่ง
ตลอดเวลา
27. เมื่อนำใบไม้ห่อด้วยกระดาษสี ดำครึ่ งใบ แล้วนำไปวางกลางแสงแดดระยะเวลาหนึ่ง จากนั้นนำ
มาทดสอบกับสารละลายไอโอดีน ผลการทดลอง คือ ส่ วนของใบที่ห่อด้วยกระดาษสี ดำจะไม่
เกิดการเปลี่ยนแปลง แต่ส่วนที่ไม่ได้ห่อด้วยกระดาษสี ดำจะเกิดปฏิกิริยากับสารละลายไอโอดีน
นักเรี ยนจะสรุ ปผลการทดลองนี้ได้อย่างไร
ก. ไม่มีแป้ งเกิดขึ้นในใบไม้ทุกส่ วน
ข. แสงแดดทำให้ไอโอดีนเปลี่ยนเป็ นสี น ้ำเงินได้
ค. แสงแดดเป็ นปัจจัยที่จำเป็ นในการสังเคราะห์ดว้ ยแสง
ง. กระดาษดำช่วยเพิ่มความสามารถในการสังเคราะห์ดว้ ยแสง
28. จากสมการการสังเคราะห์ดว้ ยแสง
A + น้ำ B C + น้ำ + แก๊สออกซิ เจน
คลอโรฟิ ลล์

A B และ C คือข้อใดตามลำดับ
ก. แก๊สออกซิเจน แสงแดด พลังงาน
ข. แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ แสงแดด กลูโคส
ค. แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ แสงแดด พลังงาน
ง. แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ ออกซิ เจน พลังงาน
29. ถ้านักเรี ยนจะทำการทดลองเกี่ยวกับการสังเคราะห์ดว้ ยแสงโดยนำกระถางต้นไม้ไปเก็บไว้ใน
ห้องมืดเป็ นเวลา 2 วัน นักเรี ยนจะตั้งสมมติฐานเกี่ยวกับการทดลองนี้อย่างไร
ก. ถ้าไม่มีแสงแดด ใบไม้จะซีดเพราะไม่มีคลอโรฟิ ลล์
ข. ถ้าไม่มีแสงแดด ใบไม้จะยังคงมีสีเขียวเหมือนเดิม
3. แสงสว่างมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงรู ปร่ างของใบไม้
ง. ถ้าไม่มีแสงแดด สี ของใบไม้จะซี ด เพราะไม่มีการคายน้ำ
30. ในกระบวนการสังเคราะห์ดว้ ยแสดง พืชได้แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์จากแหล่งใด
ก. พืชสังเคราะห์ข้ ึนเอง
ข. ภายในเซลล์ของพืชเอง
3. จากอากาศที่แพร่ เข้าทางปากใบ
ง. จากดินที่ออสโมซิสผ่านทางราก

8
31. นำใบไม้ที่ผา่ นการถูกแสงแดดมาต้มในเอทานอล แล้วนำออกมาทดสอบโดยหยดสารละลาย
ไอโอดีนลงไปให้ทวั่ ทั้งผิวใบ ผลการทดสอบปรากฏว่าเกิดสี น ้ำเงินม่วง เพราะเหตุใดจึงได้ผล
เช่นนั้น
ก. ไม้ดูดซับไอโอดีนไว้
ข. ใบไม้ไม่มีมีคลอโรฟิ ลล์
3. ใบไม้ไม่ทำปฏิกิริยากับเอทานอล
ง. การสังเคราะห์ดว้ ยแสงเกิดขึ้นที่ใบ
32. เหตุใดกระบวนการสังเคราะห์ดว้ ยแสงเกิดขึ้นได้ยากในบริ เวณที่มีอากาศร้อนจัด และแห้งแล้ง
ก. ความเข้มของแสงมากเกินไปจนคลอโรฟิ ลล์ถูกทำลาย
ข. อากาศร้อนจัด ปากใบจะปิ ด ทำให้แก๊สออกซิ เจนแพร่ ผา่ นเข้าไปในใบไม่ได้
ค. อากาศร้อนจัด ปากใบจะปิ ด ทำให้แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์แพร่ ผา่ นเข้าไปในใบไม่ได้
ง. แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ปริ มาณมากที่อยูใ่ นใบ ทำให้กระบวนการสังเคราะห์ดว้ ยแสง
หยุดลง
33. เมื่อนักเรี ยนรับประทานข้าว ในข้าวมีสารอาหารที่ให้พลังงานแก่ร่างกาย สารอาหารที่สะสมใน
ข้าวเป็ นสารเคมีที่เปลี่ยนแปลงมาอย่างไร และโดยกระบวนการใด
ก. เปลี่ยนแปลงจากพลังงานเคมีเป็ นพลังงานกล โดยกระบวนการหายใจ
ข. เปลี่ยนแปลงจากพลังงานเคมีเป็ นพลังงานกล โดยกระบวนการสังเคราะห์ดว้ ยแสง
3. เปลี่ยนแปลงจากพลังงานแสงเป็ นพลังงานกล โดยกระบวนการสังเคราะห์ดว้ ยแสง
ง. เปลี่ยนแปลงจากพลังงานแสงเป็ นพลังงานเคมี โดยกระบวนการสังเคราะห์ดว้ ยแสง
34. องค์ประกอบชั้นนอกสุ ดของดอกไม้ที่เป็ นดอกครบส่ วน คือข้อใด
ก. กลีบเลี้ยง ข. กลีบดอก
3. เกสรเพศผู้ ง. เกสรเพศเมีย
35. การที่เกสรตัวผูป้ ลิวไปตามลมไปตกลงบนยอดเกสรตัวเมีย กระบวนการนี้เรี ยกว่าอะไร
ก. การปฏิสนธิ
ข. การผสมเกสร
ค. การแพร่ กระจาย
ง. การถ่ายละอองเรณู

36. ทำการทดลองเกี่ยวกับการสังเคราะห์ดว้ ยแสงของต้นไม้ขนาดเท่ากัน 2 ต้น โดยต้น A คลุมด้วย


ถุงสี ดำภายในถุงอัดอากาศที่มีแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ปริ มาณมาก ส่ วนต้น B คลุมด้วยถุงสี ดำ
ภายในอัดอากาศที่ไม่มีแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ แล้วนำทั้งสองต้นไปตั้งไว้กลางแดดเป็ นเวลา
10 ชัว่ โมง นักเรี ยนคิดว่าจะได้ผลการทดลองอย่างไร
ถุงสี ดำ ถุงสี ดำ

อากาศที่มี CO2 อากาศที่ไม่มี CO2


9

ต้น A ต้น B
ก. ทั้งต้น A และต้น B มีการสังเคราะห์ดว้ ยแสง
ข. ทั้งต้น A และต้น B ไม่มีการสังเคราะห์ดว้ ยแสง
2. ต้น A มีการสังเคราะห์ดว้ ยแสง ส่ วนต้น B ไม่มีการสังเคราะห์ดว้ ยแสง
ง. ต้น B มีการสังเคราะห์ดว้ ยแสง ส่ วนต้น A ไม่มีการสังเคราะห์ดว้ ยแสง
37. คนไทยที่กลับจากต่างประเทศ มักจะนำเอาเมล็ดพืชพันธุ์แปลกๆ ที่ไม่มีในประเทศมาเพราะ
พันธุ์ ลักษณะเช่นนี้เป็ นการแพร่ พนั ธุ์แบบใด
ก. แบบอาศัยเพศ ข. แบบไม่อาศัยเพศ
2. แพร่ พนั ธุ์ขา้ มต้น ง. การแปลงพันธุ์
38. ข้อใดเป็ นคำกล่าวที่ถูกต้อง
ก. พืชที่มีลำต้นสูงเกิน 10 เมตร จะดูดซับไอน้ำจากอากาศผ่านทางใบ
ข. พืชที่มีความสูงมากๆ จะมีท่อลำเลียงน้ำเพียงครึ่ งหนึ่งของความสู งเท่านั้น
3. พืชที่มีความสูงเกิน 20 เมตร จะมีอวัยวะเก็บกักน้ำจากฝนไว้ใช้ตลอดทั้งฤดูแล้ง
4. แม้วา่ พืชจะมีความสูงเท่าใดก็ตาม จะมีการลำเลียงน้ำจากรากผ่านทางท่อไซเล็มไปสู่ ยอด
39. ดอกไม้ที่เป็ นดอกครบส่ วนมีส่วนประกอบของดอกเรี ยงลำดับจากชั้นนอกสุ ดไปยัง
ชั้นในสุ ด ตามข้อใด
ก. กลีบเลี้ยง กลีบดอก เกสรเพศเมีย เกสรเพศผู ้
ข. กลีบดอก กลีบเลี้ยง เกสรเพศเมีย เกสรเพศผู ้
ค. กลีบเลี้ยง กลีบดอก เกสรเพศผู ้ เกสรเพศเมีย
ง. กลีบดอก กลีบเลี้ยง เกสรเพศเมีย เกสรเพศผู ้
40. เมื่อมีแมลงมาเกาะบริ เวณกาบที่เปิ ดอ้าอยูข่ องต้นกาบหอยแครง กาบจะปิ ดทันที เหตุการณ์ดงั
กล่าวมีสิ่งใดเป็ นสิ่ งเร้า
ก. การสัมผัส ข. กลิ่นของแมลง
ค. แรงสัน่ สะเทือน ง. น้ำหนักของแมลง
41. จากภาพข้างล่างแสดงการทดลองเพื่อตรวจสอบเกี่ยวกับสิ่ งเร้าอะไร
ก. น้ำ
ข. อุณหภูมิ
ค. แสงแดด
ง. แรงโน้มถ่วงของโลก

42. ในการทดลองการตอบสนองของพืชต่อสิ่ งเร้าดังภาพ นักเรี ยนคาดว่าผลการทดลอง


จะเป็ นไปตามข้อใด

10
ฟองน้ำชุ่มน้ำ

ดินแห้ง
ดินเปี ยก
ก. รากจะเจริ ญไปทุกทิศทาง
ข. รากจะเจริ ญเข้าหาดินแห้ง
3. รากจะเจริ ญเข้าหาฟองน้ำที่ชุมน้ำ
ง. ลำต้นจะเจริ ญเข้าหาฟองน้ำที่ชุ่มน้ำ
43. การเพาะพันธุ์สิ่งมีชีวิตจำนวนมากๆ ให้มีลกั ษณะทางพันธุกรรมเหมือนเดิม เช่น การเพาะเลี้ยง
เนื้อเยือ่ เป็ นเทคโนโลยีที่เรี ยกว่าอะไร
ก. การโคลน ข. การตัดต่อยีน
3. การผสมพันธุ์ ง. การดัดแปลงพันธุกรรม
44. นักเรี ยนมีความคิดเห็นอย่างไรเกี่ยวกับอาหารดัดแปลงพันธุกรรม (GMO)
ก. ไม่ซ้ื อมารับประทาน
ข. ควรนำมาปลูกในบ้าน
3. บอกกล่าวให้ทุกคนช่วยกันต่อต้าน
ง. เลือกบริ โภคบางชนิดที่คิดว่าน่าจะปลอดภัย
45. จากภาพอากาศในหลอดฉีดยาอยูท่ ี่ขีด P แต่เมื่อกดก้านสู บลงไป จะลงไปได้ถึงจุด Q เป็ นเพราะ
เหตุใด
ก. โมเลกุลของอากาศไม่เคลื่อนที่
ข. เมื่อได้รับแรงอัด โมเลกุลของแก๊สจะมีขนาดเล็กลง
ค. โมเลกุลของอากาศเคลื่อนที่เข้าใกล้กนั เมือได้รับแรงอัด
ง. โมเลกุลของอากาศที่ถูกอัดจะรั่วออกจากกระบอกฉี ดยา
46. สารบริ สุทธิ์ แตกต่างจากสารละลายอย่างไร
ก. สารบริ สุทธิ์ มีจุดเดือดคงที่ ส่ วนสารละลายมีจุดเดือดไม่คงที่
ข. สารบริ สุทธิ์ เป็ นสารเนื้อผสม ส่ วนสารละลายเป็ นสารเนื้อเดียว
ค. สารละลายเป็ นสารเนื้อผสม ส่ วนสารบริ สุทธิ์ เป็ นสารเนื้อเดียว
ง. สารบริ สุทธิ์ มีส่วนประกอบมากมาย ส่ วนสารละลายเป็ นสารชนิดเดียวไม่มีสารอื่นปน
47. สารในข้อใดเป็ นสารประกอบทั้งหมด
ก. ด่างทับทิม น้ำโคลน
ข. น้ำเกลือ น้ำทะเล
ค. อากาศ แก๊สออกซิเจน
ง. น้ำ กรดไฮโดรคลอริ ก
48. น้ำอัดลมประกอบด้วยน้ำและแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ ข้อใดถูกต้อง

11
ก. ไม่ทำปฏิกิริยากับสารใดๆ
ข. ไม่เปลี่ยนสี กระดาษลิตมัส
ค. เปลี่ยนสี กระดาษลิตมัสจากสี น ้ำเงินเป็ นสี แดง
ง. เปลี่ยนสี กระดาษลิตมัสจากสี แดงเป็ นสี น ้ำเงิน
49. สารละลายคอปเปอร์ซลั เฟตเข้มข้นร้อยละ 40 โดยมวลต่อปริ มาตร มีความหมายตรงกับข้อใด
ก. สารละลายคอปเปอร์ซลั เฟต 100 กรัม มีคอปเปอร์ซลั เฟต 40 กรัม
2. สารละลายคอปเปอร์ซลั เฟต 100 ลูกบาศก์เซนติเมตร มีคอปเปอร์ซลั เฟต 40 กรัม
3. สารละลายคอปเปอร์ซลั เฟต 100 กรัม มีคอปเปอร์ซลั เฟต 40 ลูกบาศก์เซนติเมตร
ง. สารละลายคอปเปอร์ซลั เฟต 100 ลูกบาศก์เซนติเมตร มีคอปเปอร์ซลั เฟต 40 ลูกบาศก์
เซนติเมตร
50. ข้อใดเป็ นสมบัติทางกายภาพของสาร
ก. การเป็ นสนิม ข. การผุกร่ อน
3. เกิดปฏิกิริยากับกรด ง. การละลายน้ำ
51. ทองเหลืองเป็ นโลหะผสมระหว่างทองแดง 60% และสังกะสี 40% ข้อใดกล่าวถูกต้อง
ก. ทองแดงเป็ นตัวละลาย สังกะสี เป็ นตัวทำละลาย เพราะสังกะสี มีปริ มาณมากกว่าทองแดง
ข. ทองแดงเป็ นตัวทำละลาย สังกะสี เป็ นตัวละลาย เพราะทองแดงมีปริ มาณมากกว่าสังกะสี
ค. ทองแดงเป็ นตัวละลาย สังกะสี เป็ นตัวทำละลาย เพราะทองเหลืองมีสถานะเป็ นของแข็ง
เหมือนสังกะสี
ง. ทองแดงเป็ นตัวทำละลาย สังกะสี เป็ นตัวละลาย เพราะทองเหลืองมีสถานะเป็ นของแข็ง
เหมือนทองแดง
52. สารในข้อใดแตกต่างไปจากสารอื่น
ก. น้ำนม ข. น้ำอัดลม
ค. น้ำหวาน ง. น้ำเกลือ
53. สารละลายชนิดหนึ่งเกิดจากน้ำ 30 cm3 ผสมกับแอลกอฮอล์ 70 cm3 ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับ
สารละลายนี้
ก. ความเข้มข้น 70% โดยปริ มาตร ซึ่ งน้ำเป็ นตัวทำละลาย
ข. ความเข้มข้น 70% โดยปริ มาตร ซึ่ งแอลกอฮอล์เป็ นตัวทำละลาย
ค. ความเข้มข้น 70% โดยมวลต่อปริ มาตร ซึ่ งน้ำเป็ นตัวทำละลาย
ง. ความเข้มข้น 30% โดยมวลต่อปริ มาตร ซึ่ งแอลกอฮอล์เป็ นตัวทำละลาย
54. ให้พิจารณาสมบัติบางประการของธาตุในตาราง
ธาตุ สถานะ ความแข็ง การนำไฟฟ้ า จุดเดือด จุดหลอมเหลว
A ของแข็ง เหนียว นำไฟฟ้ าได้ดี 3,000 1,535
B ของเหลว - ไม่นำไฟฟ้ า 59 -7.2
C ของแข็ง เ ห น ีย ว ไม่นำไฟฟ้ า 445 113

12
D ของแข็ง เปราะ นำไฟฟ้ าได้ดี 2,562 1,085
ข้อใดกล่าวถูกต้อง
ก. A เป็ นโลหะ B เป็ นอโลหะ
ข. B เป็ นโลหะ C เป็ นโลหะ
3. C เป็ นโลหะ D เป็ นอโลหะ
ง. D เป็ นอโลหะ A เป็ นอโลหะ

55. สารละลายชนิดหนึ่งเมื่อหยดลงบนกระดาษลิตมัสสี แดง แล้วกระดาษเปลี่ยนเป็ นสี น ้ำเงิน


สารละลายนี้น่าจะมีสมบัติอย่างไร
ก. กรด ข. กลาง
ค. เบส ง. เบสหรื อเป็ นกลาง
56. มีสารอยู่ 4 ชนิด คือ A B C และ D เมื่อทำการทดสอบกันอินดิเคเตอร์ และเจนเชียนไวโอเลต
ได้ผลดังตาราง
สาร pH ทดสอบกับเจนเชียนไวโอเลต
A 7 -
B 4 เปลี่ยนเป็ นสี เขียว
C 9 -
D 2 -
ข้อใดกล่าวถูกต้อง
ก. สาร B และ D เป็ นกรด
ข. สาร A และ C เป็ นเบส
ค. สาร A และ C เป็ นกรด
ง. สาร C และ D เป็ นกรด
57. แผนภาพในข้อใดแสดงถึงโมเลกุลของน้ำสลัด

1 2 3 4

ก. 1 ข. 2
ค. 3 ง. 3 และ 4
58. ควรใช้น ้ำยาล้างห้องน้ำอย่างไรให้ปลอดภัย
ก. สอบถามจากเพื่อนที่เคยใช้

13
ข. ใช้สบู่แทนน้ำยาล้างห้องน้ำ
ค. อ่านคำแนะนำในฉลากให้เข้าใจ
ง. ควรใช้เป็ นประจำอย่างต่อเนื่อง

59. ในการขนส่ งสารเคมีจากประเทศหนึ่งไปยังอีกประเทศหนึ่ง เพราะเหตุใดจึงต้องใช้สญ ั ลักษณ์


แทนการใช้ตวั อักษร
ก. ประหยัดพื้นที่ และเขียนบนบรรจุภณั ฑ์ขนาดต่างๆ ได้
ข. กล่องที่บรรจุของเล็กเกินไป ไม่สามารถเขียนเป็ นตัวอักษรได้
ค. สัญลักษณ์ขา้ งกล่องเห็นเด่นชัดกว่าตัวหนังสื อ และสัญลักษณ์เขียนง่ายกว่า
ง. การใช้ตวั อักษรในบางประเทศอาจไม่เข้าใจ จึงต้องใช้สญ ั ลักษณ์สากลที่สามารถเข้าใจได้
ตรงกัน
60. เพราะเหตุใดจึงไม่ควรใช้ผงซักฟอกล้างจานชาม หรื อใช้สระผม
ก. ผงซักฟอกเป็ นกรดแก่ ซึ่ งจะกัดกร่ อนจานชาม หรื อเส้นผมได้
ข. ผงซักฟอกเป็ นสารพิษถ้ารับประทานเข้าไปจะทำให้เสี ยชีวิตได้
ค. ผงซักฟอกมีสารบางอย่างผสมอยูถ่ า้ ใช้สระผมจะทำให้ผมเปลี่ยนสี ไปอย่างถาวร
ง. สารจากผงซักฟอกอาจจะตกค้างในภาชนะเป็ นอันตรายเมื่อนำมาใส่ อาหาร และผงซักฟอก
เป็ นเบสแก่เป็ นอันตรายต่อเส้นผม

14
เฉลยข้ อสอบมาตรฐานปลายภาค/รายปี วิชาวิทยาศาสตร์ ม. 1 เล่ ม 1 ชุดที่ 2

1. ง. 11. ข. 21. ง. 31. ง. 41. ง. 51. ข.


2. ข. 12. ก. 22. ข. 32. ค. 42. ค. 52. ก.
3. ค. 13. ง. 23. ค. 33. ง. 43. ก. 53. ข.
4. ก. 14. ก. 24. ข. 34. ก. 44. ง. 54. ก.
5. ง. 15. ค. 25. ค. 35. ง. 45. ค. 55. ค.
6. ค. 16. ค. 26. ก. 36. ข. 46. ก. 56. ก.
7. ง. 17. ก. 27. ค. 37. ก. 47. ง. 57. ข.
8. ค. 18. ค. 28. ข. 38. ง. 48. ค. 58. ค.
9. ข. 19. ง. 29. ก. 39. ค. 49. ข. 59. ง.
10. ก. 20. ก. 30. ค. 40. ก. 50. ง. 60. ง.

แนวเฉลยละเอียดข้ อสอบมาตรฐานปลายภาค/รายปี วิชาวิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ ม 1 ชุดที่ 2

1. ตอบ ง.

15
สิ่ งมีชีวิตเซลล์เดียวจะมีกิจกรรมในการดำรงชีวิต เช่น กินอาหาร ขับถ่าย หายใจ
สื บพันธุ์ และอื่นๆ เกิดขึ้นภายในเซลล์เพียงเซลล์เดียว ส่ วนสิ่ งมีชีวิตหลายเซลล์ตอ้ งอาศัย
การทำงานของเซลล์หลายเซลล์มาทำงานประสานกัน
2. ตอบ ข.
เซลล์ของสิ่ งมีชีวิตที่มีส่วนประกอบครบทั้ง 5 ข้อ ต้องเป็ นเซลล์ของพืชเท่านั้น
เนื่องจากเซลล์สตั ว์จะไม่มีผนังเซลล์และคลอโรพลาสต์
3. ตอบ ค.
จากภาพจุดเล็กๆ ในเซลล์ คือ นิวเคลียส ซึ่ งการที่เห็นอยูใ่ กล้ๆ ขอบเซลล์แทนที่จะ
อยูต่ รงกลางเซลล์ เนื่องจากเซลล์พืชมีแวคิวโอลขนาดใหญ่เกือบเต็มเซลล์ ทำให้นิวเคลียส
ถูกดันไปอยูใ่ กล้ขอบเซลล์
4. ตอบ ก.
เซลล์ที่เห็นจากกล้องจุลทรรศน์ไม่วา่ จะเป็ นเซลล์พืชหรื อเซลล์สัตว์จะมีองค์
ประกอบพื้นฐาน คือ เยือ่ หุม้ เซลล์ ไซโทพลาซึ ม และนิวเคลียส ดังนั้น แผนภาพที่น่าจะ
แสดงถึงรู ปร่ างและโครงสร้างของเซลล์ คือ รู ปที่ 1
5. ตอบ ง.
ในภาพ คือ เซลล์ประสาทของคน ซึ่ งมีโครงสร้างแตกแขนงเป็ นสายสั้นและยาวนั้น
เพื่อรับและส่ งกระแสความรู ้สึกจากอวัยวะต่างๆ ไปสู่ สมอง และสัง่ งานจากสมองไปยัง
อวัยวะต่างๆ
6. ตอบ ค.
การแพร่ ของสาร หมายถึง การที่โมเลกุลของสารเคลื่อนที่จากบริ เวณที่มีความ
เข้มข้นของสารมากไปสู่ บริ เวณที่มีความเข้มของสารน้อยหรื อไม่มีเลย โดยจะมีเยือ่ เลือก
ผ่านหรื อไม่มีกไ็ ด้ ซึ่ งสารทั้ง 3 สถานะ สามารถเกิดการแพร่ ได้ โดยสารในสถานะแก๊สจะ
แพร่ ได้เร็ วกว่าสารในสถานะของเหลว และของแข็ง
7. ตอบ ง.
พืชสังเคราะห์ดว้ ยแสงโดยใช้น ้ำจากดินเป็ นสารตั้งต้น และพืชต้องการเกลือแร่ ใน
การดำรงชีวิต ซึ่ งน้ำเข้าสู่ เซลล์รากโดยการออสโมซิ ส ส่ วนเกลือแร่ เข้าสู่ เซลล์รากโดยการ
แพร่

8. ตอบ ค.
เยือ่ หุม้ เซลล์มีลกั ษณะเป็ นเยือ่ บางๆ ห่อหุม้ อยูร่ อบเซลล์ ซึ่ งพบทั้งในเซลล์พืชและ
เซลล์สตั ว์ มีหน้าที่ควบคุมการผ่านเข้าและออกจากเซลล์ ของสารต่างๆ เนื่องจากเยือ่ หุม้
เซลล์ยอมให้สารที่มีโมเลกุลเล็กๆ เท่านั้นผ่านเข้าออกได้ ส่ วนสารที่มีโมเลกุลใหญ่ เช่น
โปรตีน คาร์โบไฮเดรต ไขมัน ไม่สามารถผ่านได้ ดังนั้น เยือ่ หุม้ เซลล์ จึงทำหน้าที่เป็ นเยือ่
เลือกผ่าน

16
9. ตอบ ข.
เมื่อเริ่ มต้นทำการทดลอง ด้าน A มีโมเลกุลของน้ำตาล ซึ่ งเป็ นตัวละลายอยูเ่ พียงเล็ก
น้อย และมีโมเลกุลของน้ำ ซึ่ งเป็ นตัวทำละลายอยูม่ าก ดังนั้นจึงเป็ นสารละลายเจือจางส่ วน
ทางด้าน B มีโมเลกุลของน้ำตาลอยูม่ ากกว่าด้าน A จึงเป็ นสารละลายเข้มข้น
10. ตอบ ก.
กลิ่นของสัตว์ทะเล เช่น ปลาทะเล และอื่นๆ จะมีกลิ่นแรง ซึ่ งกลิ่นจะกระจายไปใน
อากาศได้โดยอาศัยหลักการแพร่ ของสาร จากบริ เวณที่มีกลิ่นแรง (ความเข้มข้นมาก) ไปยัง
บริ เวณที่มีกลิ่นเบาบาง (ความเข้มข้นน้อย)
11. ตอบ ข.
การที่พืชบางชนิดเหี่ ยวเฉาและตายเพราะน้ำท่วม เนื่องมาจากเมื่อน้ำท่วมราก ทำให้
รากไม่สามารถหายใจ คือ รับออกซิ เจนจากดินได้ จึงเหี่ ยวเฉาตาย แต่พืชบางชนิดมีรากที่
โผล่ข้ ึนมาเหนือน้ำเพื่อรับออกซิ เจนได้ เช่น แสม โกงกาง เป็ นต้น
12. ตอบ ก.
ถ้าต้องการปลูกพืชในบริ เวณที่มีน ้ำท่วม จะต้องยกร่ องให้สูงขึ้น เพื่อป้ องกันไม่ให้
รากถูกน้ำท่วม
13. ตอบ ง.
โมเลกุลของสารที่มีขนาดเล็กจะแพร่ ได้เร็ วกว่าโมเลกุลของสารที่มีขนาดใหญ่ จาก
การทดลองแก๊สไฮโดรเจนมีขนาดโมเลกุลเล็กกว่าโมเลกุลของแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ จึง
แพร่ ออกสู่ ภายนอกได้รวดเร็ วกว่า ลูกโป่ งที่บรรจุดว้ ยแก๊สไฮโดรเจนจึงแฟบมากกว่าลูกที่
บรรจุดว้ ยแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์
14. ตอบ ก.
แก๊สออกซิเจนที่แทรกอยูร่ ะหว่างรู พรุ นของดินนั้นจะเข้าสู่ เซลล์รากโดยหลักการ
แพร่ เนื่องจากในดินมีปริ มาณแก๊สออกซิ เจนมากกว่าในเซลล์ราก
15. ตอบ ค.
ระดับน้ำในหลอดแก้วจะลดลง เพราะโมเลกุลของน้ำภายในถุงจะออสโมซิ สออกสู่
สารละลายน้ำตาลภายนอกถุง เนื่องจากสารละลายในถุงเจือจางกว่าภายนอกถุง
16. ตอบ ค.
ดอกไม้เหี่ยวเฉาเนื่องจากปริ มาณน้ำในเซลล์รากมีมากกว่าปริ มาณน้ำในดิน น้ำจึงออ
สโมซิสของน้ำจากเซลล์รากออกสู่ ดิน แต่เมื่อรดน้ำลงดินปริ มาณน้ำในดินมีมากกว่าใน
เซลล์ราก น้ำจึงออสโมซิสจากดินเข้าไปในเซลล์ราก แล้วผ่านไปตามท่อไซเล็ม จนถึงดอก
ดอกไม้จึงเบ่งบานตามเดิม
17. ตอบ ก.
เมื่อตั้งชุดทดลองทิ้งไว้ในตอนแรกๆ อนุภาคของด่างทับทิมจะกระจายจากบริ เวณที่
มีอนุภาคหนาแน่นไปสู่ บริ เวณที่ไม่มีอนุภาค เมื่อเวลาผ่านไป 1 ชัว่ โมงอนุภาคของด่าง
ทับทิมจะกระจายไปทัว่ แก้ว ทำให้เห็นน้ำเป็ นสี เดียวกันทั้งแก้ว ซึ่ งกระบวนการนี้ เรี ยกว่า
การแพร่

17
18. ตอบ ค.
พืชที่มีใบขนาดเล็กหรื อเปลี่ยนรู ปไปก็เพื่อลดการสู ญเสี ยน้ำจากการคายน้ำ
โดยเฉพาะพืชที่เจริ ญเติบโตในที่แห้งแล้งหรื อทะเลทราย เช่น ต้นสน กระบองเพชร
จะเปลี่ยนใบไปเป็ นหนาม เพื่อลดการสู ญเสี ยน้ำ
19. ตอบ ง.
ท่อลำเลียงน้ำของพืชมีลกั ษณะเป็ นท่อยาวติดต่อกันตลอดตั้งแต่ราก ลำต้น จนถึงใบ
มีหน้าที่ลำเลียงน้ำจากรากไปใช้เป็ นสารตั้งต้นในกระบวนการสังเคราะห์ดว้ ยแสง
20. ตอบ ก.
ผลการทดลองดังในภาพ หลอดแก้ว X ระดับสารละลายจะเพิ่มขึ้น เนื่องจากน้ำใน
บีกเกอร์จะออสโมซิ สเข้าไปใบถุงของหลอดแก้ว X ส่ วนในหลอด Y จะลดลง ทั้งนี้เพราะ
สารละลายในหลอดแก้ว Y จะออสโมซิ สออกสู่ สารละลายกลูโคส ในบีกเกอร์
21. ตอบ ง.
นอกจากการสังเกตระดับนำในหลอดแก้วแล้ว ยังมีวิธีอื่นๆ ที่สามารถศึกษาถึง
กระบวนการออสโมซิสได้ โดยการชัง่ หาน้ำหนักของสารในถุงเซลโลเฟนก่อนและหลังการ
ทดลองจากการทดลองนี้ ซึ่ งน้ำหนักของถุงเซลโลเฟน หลังการทดลองจะหนักกว่าก่อนการ
ทดลอง เพราะน้ำจากภายนอกออสโมซิ สเข้าไปภายในถุง

22. ตอบ ข.
กระบวนการออสโมซิ สจะใช้กบั การแพร่ ของน้ำผ่านเยือ่ เลือกผ่าน ส่ วนการ
แพร่ ใช้ให้กบั สารทุกชนิด (ยกเว้นน้ำ)
23. ตอบ ค.
การปลูกพืชให้เจริ ญเติบโตเป็ นปกติน้ นั จะต้องดูแลด้วยการรดน้ำทุกวัน ให้ปุ๋ย
(แร่ ธาตุ) ตามระยะเวลาที่เหมาะสม และพรวนดินเพื่อช่วยแก๊สออกซิ เจนแทรกไปอยูใ่ นช่อง
วางของเม็ดดินซึ่ งพืชสามารถนำไปใช้ได้
24. ตอบ ข.
พืชเก็บอาหารในรู ปของกลูโคสไม่ได้ เพราะกลูโคสละลายในน้ำ ดังนั้นพืชต้อง
เปลี่ยนกลูโคส ให้เป็ นแป้ งก่อน และเก็บสะสมในรู ปของแป้ งเพราะแป้ งไม่ละลายในน้ำ
25. ตอบ ค.
เมื่อนำต้นกระสังไปแช่ในน้ำที่ผสมสี แดงโดยแช่เฉพาะส่ วนของรากเพื่อสังเกต
การลำเลียงน้ำของพืชจากดินไปจนถึงใบ จะเห็นการลำเลียงน้ำ (สี แดง) ผ่านส่ วนต่างๆ
ของพืช ดังนี้ ขนรากรากลำต้นกิ่ง ใบ
26. ตอบ ก.
ในบริ เวณที่มีอากาศร้อนจัดและแห้งแล้ง เช่น ในทะเลทราย พืชจะไม่มีการ
สังเคราะห์ดว้ ยแสง เพราะพืชต้องสงวนน้ำไว้ ปากใบจึงปิ ด ทำให้แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์
ในอากาศผ่านเข้าสู่ ใบไม่ได้ ดังนั้นในช่วงเวลาที่อากาศร้อนจัดการสังเคราะห์ดว้ ยแสงจะ

18
หยุด ส่ วนข้ออื่นๆ จะเกิดการสังเคราะห์ดว้ ยแสดงได้ แม้แต่วนั ที่ไม่มีแสงแดด หรื อฝนตก
ตลอดทั้งวัน แต่พลังงานแสงอาทิตย์จะผ่านเมฆฝนลงมาสู่ พ้ืนโลกได้
27. ตอบ ค.
ใบไม้ส่วนที่ปิดด้วยกระดาษดำจะมีสีซีด ส่ วนใบไม้ส่วนถูกแสงแดด มีสีเขียว
เหมือนเดิม ซึ่ งเมื่อทดสอบด้วยสารละลายไอโอดีน จะเกิดปฏิกิริยา แสดงว่าส่ วนที่ปิดด้วย
กระดาษดำไม่ได้รับแสงแดดจึงไม่มีการสังเคราะห์ดว้ ยแสง จึงสรุ ปได้วา่ แสงเป็ นปั จจัยที่
จำเป็ นในกระบวนการสังเคราะห์ดว้ ยแสง
28. ตอบ ข.
กระบวนการสังเคราะห์ดว้ ยแสดงมีน ้ำและแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์เป็ นสารตั้งต้น
มีแสงแดดเป็ นแหล่งพลังงาน ผลผลิตที่ได้ คือ กลูโคส น้ำ และแก๊สออกซิ เจน ดังนั้น A คือ
แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ B คือ แสงแดด และ C คือ กลูโคส

29. ตอบ ก.
พืชสี เขียวสร้างคลอโรฟิ ลล์โดยมีแสงแดดเป็ นแหล่งพลังงาน ถ้าไม่มีแสงแดดพืช
จะไม่มีการสร้างคลอโรฟิ ลล์ เมื่อนำต้นไม้ไปเก็บไว้ในที่มืดใบไม้จึงซี ด
30. ตอบ ค.
ในกระบวนการสังเคราะห์ดว้ ยแสง พืชต้องใช้น ้ำและแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์เป็ น
สารตั้งต้น ซึ่ งน้ำจะออสโมซิ สเข้าทางราก และลำเลียงไปตามไซเล็ม ส่ วนแก๊ส
คาร์บอนไดออกไซด์จากอากาศจะแพร่ เข้าทางปากใบ
31. ตอบ ง.
เมื่อนำใบไม้ที่ถูกแสงแดดไปต้มในเอทานอล แล้วทดสอบด้วยสารละลายไอโอดีน
จะได้สีน ้ำเงิน เนื่องจากเกิดการสังเคราะห์ดว้ ยแสงขึ้นที่ใบไม้ ได้กลูโคสเป็ นผลิตภัณฑ์
แล้วกลูโคสถูกเปลี่ยนไปเป็ นแป้ ง ซึ่ งแป้ งจะทำปฏิกิริยากับสารละลายไอโอดีนได้สีน ้ำเงิน
32. ตอบ ค.
ในบริ เวณที่มีอากาศร้อนจัดและแห้งแล้ง ปากใบจึงปิ ด ทำให้แก๊ส
คาร์บอนไดออกไซด์ในอากาศผ่านเข้าสู่ ใบไม่ได้ ดังนั้นในช่วงเวลาที่อากาศร้อนจัดการ
สังเคราะห์ดว้ ยแสงจะเกิดได้ยาก
33. ตอบ ง.
สารอาหารที่ให้พลังงานที่มีอยูใ่ นข้าว คือ แป้ ง ซึ่ งเปลี่ยนแปลงมาจากกลูโคสที่พืช
สังเคราะห์ข้ ึนโดยกระบวนการสังเคราะห์ดว้ ยแสง กล่าวคือพลังงานแสงเปลี่ยนเป็ น
พลังงานเคมีในรู ปของสารอาหาร
34. ตอบ ก.
ดอกไม้ที่เป็ นดอกครบส่ วน คือ ดอกไม้ที่มีส่วนประกอบต่างๆ ครบทั้ง 4 ส่ วน
ได้แก่ กลีบเลี้ยง กลีบดอก เกสรเพศผู ้ และเกสรเพศเมีย โดยส่ วนที่อยูน่ อกสุ ด คือ กลีบเลี้ยง
35. ตอบ ง.

19
การที่เกสรตัวผูป้ ลิวไปตกลงบนยอดเกสรตัวเมียนั้น เรี ยกว่า การถ่ายละอองเรณู ซึ่ ง
อาจปลิวไปตามลม น้ำพัดพาไป หรื ออาจติดไปกับสัตว์หรื อมนุษย์กไ็ ด้
36. ตอบ ข.
แสงแดดเป็ นแหล่งพลังงานที่สำคัญในกระบวนการสังเคราะห์ดว้ ยแสง ถ้าไม่ได้รับ
แสงการสังเคราะห์ดว้ ยแสงจะเกิดไม่ได้ถึงแม้จะมีสารตั้งตั้ง คือ น้ำและแก๊ส
คาร์บอนไดออกไซด์ ปฏิกิริยาก็ไม่สามารถเกิดขึ้น

37. ตอบ ก.
เมล็ดพืชเกิดจากออวุลในรังไข่ ถูกปฏิสนธิ จากเกสรตัวผูแ้ ล้วเจริ ญไปเป็ นเมล็ด
ดังนั้น การแพร่ พนั ธุ์โดยใช้เมล็ดจึงเป็ นการแพร่ พนั ธุ์แบบอาศัยเพศ
38. ตอบ ง.
พืชไม่วา่ จะมีความสู งเท่าใดก็ตาม น้ำสามารถลำเลียงจากรากขึ้นไปสู่ ใบที่อยูส่ ู งสุ ด
ได้ เนื่องจากท่อไซเล็มมีลกั ษณะเป็ นหลอดเล็กจึงมีแรงดูด สามารถดูดน้ำให้ข้ ึนไปในที่
สูงๆ ได้ โดยทำงานร่ วมกับการคายน้ำของใบ
39. ตอบ ค.
ดอกไม้เป็ นดอกครบส่ วน เช่น ดอกกุหลาบ ดอกชบา ดอกมะลิ เป็ นต้น ประกอบ
ด้วยชั้นต่างๆ เรี ยงจากชั้นนอกเข้าไปชั้นใน ดังนี้ กลีบเลี้ยง กลีบดอก เกสรเพศผู ้ และเกสร
เพศเมีย
40. ตอบ ก.
การหุบและกางใบของพืชบางชนิด เช่น ไมยราพ กาบหอยแครง มีความไวสู งต่อสิ่ ง
ที่มาสัมผัส โดยการกระทำของกลุ่มเซลล์พลั ไวนัส ไมยราพมีกลุ่มเซลล์น้ ีที่โคนใบ ส่ วน
กาบหอยแครงมีกลุ่มเซลล์น้ ีอยูท่ ี่โคนใบที่มีลกั ษณะคล้ายฝา ซึ่ งเมื่อมีแมลงมาเกาะส่ วนของ
ใบที่คล้ายฝาจะปิ ดเข้าหากันทันที
41. ตอบ ง.
จากผลการทดลองเมื่อปลูกต้นไม้ในกระถางให้โตถึงระยะหนึ่ง ซึ่ งลำต้นจะตั้งตรง
ต่อมาคว่ำกระถางและปล่อยให้ตน้ ไม้เจริ ญเติบโตต่อไป พบว่ายอดของต้นไม้จะโค้งขึ้นไป
ด้านบน จากการทดลองนี้เป็ นการทดลอง เพื่อตรวจสอบเกี่ยวกับผลของแรงโน้มถ่วงของ
โลกต่อการเจริ ญของยอดพืช ซึ่ งยอดพืชจะเจริ ญหนีแรงโน้มถ่วงของโลกเสมอ
42. ตอบ ค.
จากการทดลองเรื่ องการตอบสนองของรากพืชต่อสิ่ งเร้า ซึ่ งประกอบด้วยฟองน้ำ
ชุ่มน้ำ ดินชื้น และดินแห้งวางไว้รอบๆ ต้นพืชที่เพาะในกล่องพลาสติก ผลที่คาดว่าจะ
ได้รับ คือ รากพืชจะงอกเข้าหาฟองน้ำที่ชุ่มน้ำ เพราะพืชต้องการน้ำเพื่อการสังเคราะห์ดว้ ย
แสงผ่านทางราก
43. ตอบ ก.

20
การโคลน หมายถึง การผลิตสิ่ งมีชีวิตรุ่ นลูกให้มีลกั ษณะทางพันธุกรรมเหมือนพ่อ
แม่พนั ธุ์ เช่น การเพาะเลี้ยงเยือ่ ส่วนการผสมพันธุ์ การตัดต่อยีน และการดัดแปลงพันธุกรรม
รุ่ นลูกที่ได้อาจมีลกั ษณะแตกต่างจากพ่อแม่พนั ธุ์

44. ตอบ ง.
อาหารที่ดดั แปลงพันธุกรรม หรื ออาหาร GMO ทำให้ผบู ้ ริ โภคมีความกังวลเกี่ยวกับ
ผลกระทบเมื่อบริ โภคเข้าไป เช่น อาจจะทำให้เกิดโรคภัยต่างๆ ดังนั้น นักเรี ยนควรเลือก
บริ โภคบางชนิดที่คิดว่าน่าจะปลอดภัย
45. ตอบ ค.
สารที่อยูใ่ นสถานะแก๊ส โมเลกุลจะอยูห่ ่างกันจึงเคลื่อนที่ได้อย่างอิสระ มีช่องว่าง
ระหว่างโมเลกุลมาก เมื่อบรรจุแก๊สลงในกระบอกฉี ดยาแล้วกดลงบนก้านหลอดฉี ดยาจะ
ทำให้โมเลกุลของแก๊สจะเคลื่อนที่เข้าใกล้กนั
46. ตอบ ก.
สารบริ สุทธิ์ คือ สารเนื้อเดียวที่ประกอบด้วยสารชนิดเดียวล้วน มีจุดหลอมเหลว
และจุดเดือดคงที่ ส่ วนสารละลาย หมายถึง สารเนื้อเดียวที่เกิดจากการผสมของสาร 2 ชนิด
ขึ้นไป ด้วยอัตราส่ วนการผสมไม่แน่นอน จุดหลอมเหลว และจุดเดือดจึงไม่คงที่
47. ตอบ ง.
สารประกอบ คือ สารที่ประกอบด้วยอะตอมของธาตุต่างชนิดกันตั้งแต่ 2 อะตอม
ขึ้นไปมารวมตัวกันด้วยสัดส่ วนที่แน่นอน เช่น น้ำประกอบด้วยไฮโดรเจนรวมตัวกับ
ออกซิเจน กรดไฮโดรคลอริ กประกอบด้วยไฮโดรเจนและคลอรี นมารวมตัวกัน ส่ วน
ข้ออื่นมีท้ งั สารประกอบ สารผสม และธาตุจึงไม่ถูกต้อง
48. ตอบ ค.
น้ำอัดลมประกอบด้วยน้ำผสมกับแก๊สคาร์บอนใดออกไซด์ น้ำจะ
รวมตัวกับแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ ได้กรดคาร์บอนิก ดังสมการ
H20 + CO3 H2CO3
น้ำอัดลมจึงมีฤทธิ์ เป็ นกรด จึงเปลี่ยนสี กระดาษลิตมัสจากสี น ้ำเงินเป็ นสี แดง
49. ตอบ ข.
สารละลายที่มีหน่วยเป็ นมวลต่อปริ มาตร หมายถึง สารละลายที่มีตวั ละลายมีหน่วย
เป็ นกรัม และมีตวั ทำละลายมีหน่วยเป็ นลูกบาศก์เซนติเมตร สารละลายคอปเปอร์ซลั เฟต
เข้มข้นร้อยละ 40 โดยมวลต่อปริ มาตร จึงหมายความว่า ในสารละลายคอปเปอร์ซลั เฟต
100 ลูกบาศก์เซนติเมตร มีคอปเปอร์ซลั เฟต 40 กรัม
50. ตอบ ง.
สมบัติทางกายภาพของสาร หมายถึง สมบัติที่สงั เกตเห็นได้ง่ายจากภายนอก
เช่น สี กลิ่น รส การละลาย สถานะ ความแข็ง จุดหลอมเหลว จุดเดือด ความหนาแน่น

การนำความร้อน เป็ นต้น

21
51. ตอบ ข.
สารละลายจะประกอบด้วยตัวทำละลายและตัวละลาย ซึ่ งมีหลักอยูว่ า่ สารใดมี
ปริ มาณมากจัดเป็ นตัวทำละลาย ส่ วนที่มีปริ มาณน้อยกว่าจะเป็ นตัวละลาย
52. ตอบ ก.
น้ำนมเป็ นสารคลอลอยด์ คือ สารเนื้อผสมที่ผสมกลมกลืนจนไม่สามารถจัดเป็ นสาร
เนื้อเดียวหรื อสารเนื้อผสมลงได้อย่างชัดเจน อนุภาคของแข็งมีขนาดเล็กกว่าสารแขวนลอย
ตั้งทิ้งไว้จะไม่ตกตะกอน ส่ วนน้ำอัดลม น้ำหวาน และน้ำเกลือ เป็ นสารละลาย
53. ตอบ ข.
ความเข้มข้นโดยปริ มาตร หมายถึง สารละลายที่ท้ งั ตัวทำละลายและตัวละลาย
มีหน่วยเป็ นลูกบาศก์เซนติเมตร ซึ่ งในกรณี น้ ี แอลกอฮอล์เป็ นตัวทำละลาย เพราะมีปริ มาณ
มากกว่า ส่ วนน้ำเป็ นตัวละลาย
54. ตอบ ก.
สาร A มีสมบัติเป็ นโลหะ คือ เป็ นของแข็ง เหนี่ยว นำไฟฟ้ าได้ดี จุดเดือดและ
จุดหลอดเหลวสูง
สาร B มีสมบัติเป็ นอโลหะ คือ เป็ นของเหลว ไม่มีความแข็ง ไม่นำไฟฟ้ า มีจุดเดือด
และจุดหลอดเหลวต่ำ
ส่ วนสาร C และ D มีสมบัติต่างไปจากโลหะและอโลหะ จึงไม่สามารถบอกได้วา่
เป็ นสารอะไร
55. ตอบ ค.
สมบัติของสารละลายเบส มีดงั นี้ เปลี่ยนสี กระดาษลิตมัสจากสี แดงเป็ นสี น ้ำเงิน
มี pH มากกว่า 7 ทำปฏิกิริยากับกรดได้เกลือกับน้ำ เบสสามารถกัดกร่ อนโลหะอะลูมิเนียม
และสังกะสี ได้ฟองแก๊ส
56. ตอบ ก.
สารที่มีฤทธิ์ เป็ นกรด คือ สาร B กับสาร D เพราะสารทั้งคู่มี pH น้อยกว่า 7 เมื่อ
ทดสอบสาร B และสาร D โดยใช้สารละลายเจนเชียนไวโอเลต ปรากฏว่า สาร B ทำ
ปฏิกิริยากับเจนเชียนไวโอเลตได้สารสี เขียว แสดงว่าสาร B เป็ นกรดที่ได้จากแร่ ธาตุ ส่ วน
สาร D ไม่ทำปฏิกิริยากับเจนเชียนไวโอเลต แสดงว่าเป็ นกรดที่ได้จากสิ่ งมีชีวิต

57. ตอบ ข.
สารที่เป็ นของแข็งอนุภาคจะอยูช่ ิดกันเพราะมีแรงดึงดูดระหว่างอนุภาคสู ง (รู ปที่ 1)
ส่ วนแก๊สอนุภาคจะอยูห่ ่างกันและเคลื่อนไหวเป็ นอิสระ (รู ปที่ 3 และ 4) ส่ วนรู ปที่ 2
อนุภาคบางตัวอยูช่ ิดกัน บางตัวอยูห่ ่างกันเล็กน้อย แสดงว่าเป็ นสารกึ่งแข็งกึ่งเหลว
ซึ่ งก็คือน้ำสลัด

22
58. ตอบ ค.
การใช้สารเคมีในบ้าน เช่นสารเคมีที่ใช้ทำความสะอาดห้องน้ำ ซึ่ งมีฤทธิ์ เป็ นกรด
เข้มข้นต้องใช้ดว้ ยความระมัดระวัง อ่านข้อแนะนำในการใช้ให้เข้าใจก่อนใช้
59. ตอบ ง.
การขนส่ งสารเคมีซ่ ึ งเป็ นสารอันตรายจากประเทศหนึ่งไปยังอีกประเทศหนึ่งภาชนะ
ที่บรรจุสารเคมีตอ้ งติดสัญลักษณ์แสดงประเภทของสารเคมี เช่น สารกัดกร่ อน สารระเบิด
ง่าย สารพิษ เป็ นต้น ทั้งนี้เพราะการใช้ตวั อักษรในบางประเทศอาจไม่เข้าใจ จึงต้องใช้
สัญลักษณ์สากลที่สามารถเข้าใจได้ตรงกัน
60. ตอบ ง.
ผงซกฟอกเป็ นเบสแก่มีฤทธิ์ กดั กร่ อนสิ่ งต่างๆ ได้ สามารถใช้ทำความสะอาดเสื้ อผ้า
ได้เป็ นอย่างดี แต่การที่นำผงซักฟอกล้างจานชามจะทำให้สารตกค้างในภาชนะ เมื่อนำมาใส่
อาหารรับประทานเป็ นอาจเป็ นอันตรายได้ และถ้านำไปใช้สระผมอาจจะกัดหนังศีรษะหรื อ
เส้นผมได้

23

You might also like