You are on page 1of 20

ตารางวิเคราะห์ ข้อสอบมาตรฐานปลายภาค/รายปี วิชา ภาษาไทย

ชัน้ มัธยมศึกษาปี ที่ 1 ชุดที่ 1


มาตรฐาน/ตัวชีว้ ัด
ข้ อ ท 1.1 ท 2.1 ท 3.1 ท 4.1 ท 5.1
1 2 4 5 7 8 3 6 1 2 3 4 5 6 1 2 3 4
1 
2 
3 
4 
5 
6 
7 
8 
9 
10 
11 
12 
13 
14 
15 
16 
17 
18 
19 
20 
21 
22 
23 
24 
25 
26 
27 

1
มาตรฐาน/ตัวชีว้ ัด
ข้ อ ท 1.1 ท 2.1 ท 3.1 ท 4.1 ท 5.1
1 2 4 5 7 8 3 6 1 2 3 4 5 6 1 2 3 4
28 
29 
30 
31 
32 
33 
34 
35 
36 
37 
38 
39 
40  
41  
42  
43 
44 
45 
46 
47 
48 
49 
50  
51  
52 
53  
54 
55 
56  

2
มาตรฐาน/ตัวชีว้ ัด
ข้ อ ท 1.1 ท 2.1 ท 3.1 ท 4.1 ท 5.1
1 2 4 5 7 8 3 6 1 2 3 4 5 6 1 2 3 4
57 
58 
59 
60 

ข้ อสอบมาตรฐานปลายภาค/รายปี ชุดที่ 1 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย


วิชาภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 จำนวน 60 ข้ อ

คำชี้แจง ให้นกั เรี ยนเลือกคำตอบที่ถูกที่สุด หรื อเหมาะสมที่สุดเพียงคำตอบเดียว


1. การเลือกเขียนเรี ยงความควรใช้หลักอย่างไร
ก. เลือกเรื่ องที่เคยเขียนมาก่อน
ข. เลือกเรื่ องที่มีความรู้มากที่สุด

3
ค. เลือกเรื่ องเกี่ยวกับตัวผูเ้ ขียน
ง. เลือกเรื่ องที่ใช้โวหารได้หลากหลาย
2. ในการเขียนย่อความมีลำดับขั้นตอนอย่างไร
1) จับใจความสำคัญแต่ละย่อหน้า
2) ใจความที่ยอ่ แล้วให้เขียนติดต่อกันเป็ นย่อหน้าเดียว
3) นำใจความสำคัญแต่ละย่อหน้ามาเรี ยบเรี ยงใหม่
4) อ่านข้อความนั้นให้เข้าใจแจ่มแจ้งเสี ยก่อน
ก. 1) – 3) – 2) – 4) ข. 4) – 3) – 2) – 1)
ค. 4) – 1) – 3) – 2) ง. 1) – 4) – 2) – 3)
3. ข้อความต่อไปนี้ควรเขียนเรี ยงลำดับความอย่างไร
1) ถือเป็ นการทิ้งโอกาสไปอย่างน่าเสี ยดาย
2) ใครไม่ใช้ประโยชน์จากธรรมชาติในตอนเช้า
3) ธรรมชาติในตอนเช้าเป็ นสิ่ งที่มนุษย์ได้มาโดยไม่ตอ้ งซื้ อหา
4) ฉะนั้นจึงขอขอบคุณธรรมชาติที่มีค่าแก่มนุษย์
ก. 3) – 2) – 1) – 4) ข. 1) – 2) – 4) – 3)
ค. 3) – 4) – 2) – 1) ง. 3) – 1) – 4) – 2)
4. การลงวันที่ในจดหมาย ข้อใดถูกต้องที่สุด
ก. 1 ม.ค. 53 ข. 1 ม.ค. 2553
ค. 1 มกราคม 2553 ง. 1 มกราคม พ.ศ. 2553
5. ถ้านักเรี ยนเขียนจดหมายถึงพระภิกษุ นักเรี ยนควรเขียนคำขึ้นต้น – ลงท้าย อย่างไร
ก. กราบทูล... ควรมิควรแล้วแต่จะโปรด ข. เรี ยน... ขอแสดงความนับถือ
ค. กราบเรี ยน... ขอแสดงความเคารพอย่างสู ง ง. นมัสการ... ขอนมัสการด้วยความเคารพ

6. ข้อใดเป็ นคำมูลทุกคำ
ก. ประธาน สกุณา พสุ ธา ข. น้ำ จรลี ผลัดเวร
ค. อ้อยควัน่ วารี ลูกเสื อ ง. ประโยชน์ เสนา ผัดไทย
7. ข้อใดเป็ นคำประสมทุกคำ
ก. กระเป๋ า รถประจำทาง แกงส้ม ข. ความรัก เงินเดือน เครื่ องบิน
ค. เก้าอี้ ชุดนักเรี ยน เปรี้ ยวหวาน ง. รถไฟ ปฏิทิน ดินสอ
8. เนื้อความในข้อใดมิใช่กลุ่มคำ
ก. สิ กขิมรัฐเล็กที่สุด ข. อาณาจักรแห่งขุนเขา
ค. ดินแดนศักดิ์สิทธิ์ ง. หิ มะปกคลุมตลอดเส้นทาง
9. คำในข้อใดมีเสี ยงพยัญชนะต้นเป็ นเสี ยงควบกล้ำทุกคำ
ก. พลัง เพลิง ควัน ข. เจริ ญ ความ ขวนขวาย
ค. กลาโหม ขอบ เพลิน ง. กราบ ครัว กว้าง

4
10. คำในข้อใดมีเสี ยงพยัญชนะท้ายเหมือนกัน
ก. สวย เลย จิต ข. กฎ ยุทธ มิตร
ค. บิน อรุ ณ แล้ว ง. ดาว เร็ ว ถวิล
11. “ฑ” ในข้อใดออกเสี ยง “ด” ทั้ง 2 คำ
ก. กุณฑล มณฑา ข. ขัณฑสกร ขัณฑสี มา
ค. บัณฑิต บัณเฑาะว์ ง. จัณฑาล บัณฑูร
12. “ทร” ในข้อใดออกเสี ยงควบแท้
ก. ไทร ข. เทริ ด
ค. นิทรา ง. มัทรี
13. คำในข้อใดออกเสี ยง 2 พยางค์
ก. สวรรคต ข. อัฒจันทร์
ค. อาชญา ง. คุณวุฒิ
14. คำในข้อใดเขียนไม่ถูกต้อง
ก. กากบาท บันเทิง กะทันหัน ข. บาดทะยัก เบญจเพส วิ่งเปรี้ ยว
ค. เสื้ อเชิ้ต ทแยง กะทัดรัด ง. อาพาธ แสตมป์ สังเกต

15. คำในข้อใดอ่านไม่ถูก
ก. กาลเวลา อ่านว่า กาน – เว – ลา
ข. กาลสมัย อ่านว่า กา – ละ – สะ – ไหม
ค. ฉัตรมงคล อ่านว่า ฉัด – ตระ – มง – คล
ง. ประวัติศาสตร์ อ่านว่า ประ – หวัด – สาด
16. คำซ้ำในข้อใดมีความหมายจางลง
ก. ดำ ข. ดำๆ
ค. ด๊ำ ดำ ง. ดำ ด๊ำ ดำ
17. คำในข้อใดมิใช่คำซ้อน
ก. ยากแค้น สิ้ นสุ ด ข. เดินตาม ไปได้
ค. ค้นคว้า วุน่ วาย ง. สับสน เลือกสรร
18. เนื้อความในข้อใดเป็ นคำนามทุกคำ
ก. ถนนลื่น ข. บันไดเลื่อน
ค. ทางม้าลาย ง. ท่องเที่ยว
19. คำในข้อใดใช้ลกั ษณะนามไม่ถูกต้อง
ก. นาฬิกา – เรื อน , มุง้ – หลัง ข. เข็ม – เล่ม , ไม้บรรทัด – อัน
ค. ชอล์ก – แท่ง , ปากกา – ด้าม ง. พระภิกษุ – คน , กระดาษ - ใบ

5
20. คำว่า “ได้” ในข้อใดมิได้เป็ นคำกริ ยา
ก. กิ้งก่าได้ทอง ข. วานรได้แก้ว
ค. ตาบอดได้แว่น ง. เขาสู ้ได้
21. การพูดในข้อใดเป็ นการพูดเชิงสร้างสรรค์
ก. นิดคุยกับนุย้ ว่า “เราควรช่วยกันลดโลกร้อน”
ข. น้อยบอกหน่อยว่า “เธอสวมชุดนี้ แล้วดูแก่”
ค. หนึ่งกล่าวว่า “ทำดีได้ดีมีที่ไหน ทำชัว่ ได้ดีมีถมไป”
ง. น้ำสัง่ เด็กนักเรี ยนว่า “ห้ามเดินลัดสนาม”
22. ข้อใดเป็ นการกระทำที่ผฟู้ ังที่ดีไม่ควรกระทำในระหว่างที่ฟัง
ก. พยายามจับใจความสำคัญของเรื่ องที่ฟัง ข. ฟังอย่างสงบ และมีสมาธิ
ค. พูดจาหยอกล้อส่ งเสี ยงดัง ง. จดบันทึกเนื้ อความที่สำคัญ

23. ดวงตา มีประโยชน์มหาศาล


คำว่า “ดวงตา” ทำหน้าที่ใดในประโยค
ก. ภาคประธาน ข. ภาคแสดง
ค. ส่ วนขยาย ง. กรรม
24. พระเจดียภ์ ูเขาทอง มีความสง่างามมาก
เนื้อความนี้มีลกั ษณะเป็ นประโยคชนิดใด
ก. ประโยคความเดียว ข. ประโยคความรวม
ค. ประโยคความซ้อน ง. นามานุประโยค
25. “ฉันชอบดูละครทีวนี ้ำดี” ประโยคนี้สามารถเปลี่ยนเป็ นภาษาเขียนได้วา่ อย่างไร
ก. ฉันชอบดูละครโทรทัศน์น ้ำดี ข. ฉันชอบดูละครทีวีสร้างสรรค์
ค. ฉันชอบชมละครทีวีสร้างสรรค์สงั คม ง. ฉันชอบดูละครโทรทัศน์สร้างสรรค์สงั คม
26. ข้อใดไม่ควรปฏิบตั ิในการสื่ อสารโต้ตอบกันระหว่างผูร้ ับสารและผูส้ ่ งสาร
ก. ใช้วาจาไพเราะ ข. ใช้คำหยาบคายเพื่อความสนิทสนม
ค. ตั้งใจฟังผูท้ ี่กำลังพูด ง. ไม่พดู แทรกเมื่อผูอ้ ื่นกำลังพูด
27. ก้านบัวบอกลึกตื้น ชลธาร
มรรยาทส่ อสันดาน ชาติเชื้อ
โฉดฉลาดเพราะคำขาน ควรทราบ
หย่อมญ่าเหี่ยวแห้งเรื้ อ บอกร้ายแสลงดิน
จากบทประพันธ์ขา้ งต้นเนื้อความในข้อใดกล่าวเกี่ยวกับการพูด
ก. ก้านบัวบอกลึกตื้น ชลธาร ข. มรรยาทส่ อสันดาน ชาติเชื้อ
ค. โฉดฉลาดเพราะคำขาน ควรทราบ ง. หย่อมญ่าเหี่ ยวแห้งเรื้ อ บอกร้ายแสลงดิน
28. ข้อใดเป็ นลักษณะของการเขียนรายงาน

6
ก. การเขียนเรื่ องราวที่ศึกษาค้นคว้า ข. การเขียนประวัติส่วนตัว
ค. บันทึกการท่องเที่ยว ง. การเขียนเล่าประสบการณ์
29. ข้อใดไม่ใช่ลกั ษณะของการทำโครงงาน
ก. ผูเ้ รี ยนมีโอกาสได้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง
ข. ลงมือปฏิบตั ิเองตามความสามารถ
ค. การศึกษาค้นคว้าจะทำโดยมีครู ผสู ้ อนคอยแนะนำ
ง. เป็ นการศึกษาที่ไม่อาศัยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์

30. วันนั้นจันทร มีดารากร เป็ นบริ วาร


เห็นดินสิ้ นฟ้ า ในป่ าท่าธาร มาลีคลี่บาน ใบก้านอรชร”
ข้อใดเป็ นคำพ้องความหมาย (คำไวพจน์) ขอคำที่ขีดเส้นใต้
ก. พนา ไพรสณฑ์ ข. ชโลธร ชลาลัย
ค. รวี ทินกร ง. พสุ ธา ปฐพี
31. แม้เมื่อเรายังเล็กเป็ นเด็กน้อย เคยกล่าวถ้อยวอนจันทราว่าให้สม
ขอข้าวแกง...แหวน...ให้นอ้ งปองนิยม ขอเตียงตัง่ นัง่ ชมดาวและเดือน
บทประพันธ์น้ ี มีลกั ษณะเป็ นคำประพันธ์ชนิดใด
ก. กลอนสุ ภาพ ข. โคลงสี่ สุภาพ
ค. กาพย์ยานี ๑๑ ง. กาพย์ฉบัง ๑๖
32. จากบทประพันธ์ในข้อ 1 คำในข้อใดมีสมั ผัสถูกต้อง
ก. เล็ก – เป็ น – เด็ก , ถ้อย – วอน ข. น้อย – ถ้อย , สม – ยม
ค. แกง – แหวน , ดาว – เดือน ง. น้อย – ถ้อย , นิยม - ชม
33. เนื้อความในข้อใดมีสมั ผัสพยัญชนะมากที่สุด
ก. ออกจากวัดทัศนาดูอาวาส เมื่อตรุ ษสารทพระพรรษาได้อาศัย
ข. ขอเดชะพระพุทธคุณช่วย แม้นมอดม้วยกลับชาติวาสนา
ค. นี่หรื อจิตคิดหมายมีหลายใจ ที่จิตใครจะเป็ นหนึ่งอย่าพึงคิด
ง. ดูน้ำวิง่ กลิ้งเชี่ยวเป็ นเกลียวกลอก กลับกระฉอกฉาดฉัดฉวัดเฉวียน
34. เนื้อความในข้อใดมีสมั ผัสสระมากที่สุด
ก. กระนี้หรื อชื่อเสี ยงเกียรติยศ จะมิหมดล่วงหน้าทันตาเห็น
ข. เงียบสงัดสัตว์ป่าคณานก น้ำค้างตกพร่ างพรายพระพายพัด
ค. ทั้งโลโภโทโสและโมหะ ให้ชนะใจได้อย่าใหลหลง
ง. ได้ฟังเล่นต่างต่างที่ขา้ งวัด ดึกสงัดเงียบหลับลงกับหมอน
35. เนื้อความในข้อใดให้คุณค่าความไพเราะมากที่สุด
ก. รับกฐินภิญโญโมทนา ชุลีลาลงเรื อเหลืออาลัย
ข. อายุยนื หมื่นเท่าเสาศิลา อยูค่ ู่ฟ้าดินได้ดงั ใจปอง
ค. ไม่เมาเหล้าแล้วแต่เรายังเมารัก สุ ดจะหักห้ามจิตคิดไฉน
ง. โอ้ยามเข็ญเห็นอยูแ่ ต่หนูพดั ช่วยนัง่ ปั ดยุงให้ไม่ไกลกาย

7
อ่านบทประพันธ์ ต่อไปนี้ แล้วตอบคำถามข้ อ 36 – ข้ อ 40
คุณแม่หนาหนักเพี้ยง พสุ ธา
คุณบิดรดุจอา - กาศกว้าง
คุณพี่พา่ งศิขรา เมรุ มาศ
คุณพระอาจารย์จา้ ง อาจสู ้ดสั กร

36. บทร้อยกรองนี้มีลกั ษณะเป็ นคำประพันธ์ประเภทใด


ก. กลอนสุ ภาพ ข. โคลงสี่ สุภาพ
ค. กาพย์ยานี 11 ง. กาพย์ฉบัง 16
37. โคลงบทนี้กำหนดให้มีคำที่ใช้วรรณยุกต์ และโทจำนวนเท่าไร
ก. เอก 7 โท 4 ข. เอก 5 โท 2
ค. เอก 4 โท 4 ง. เอก 3 โท 4
38. คำในข้อใดมีสมั ผัสถูกต้องตามลักษณะคำประพันธ์
ก. หนา – หนัก , กาศ – กว้าง
ข. มาศ – อ้าง – ดัส , สู้ – ดัสกร
ค. กว้าง – มาศ , ธา – อา – รา
ง. พสุ ธา – อา – ศิขรา , กว้าง – อ้าง
39. โคลงสี่ สุภาพ กำหนดให้ 1 บท มีคำทั้งหมดจำนวนเท่าไร
ก. 34 คำ ข. 32 คำ
ค. 30 คำ ง. 28 คำ
40. บทประพันธ์น้ ี กล่าวถึงสาระสำคัญเกี่ยวกับเรื่ องใดเป็ นสำคัญ
ก. ความรัก ข. ความกตัญญู
ค. ความซื่อสัตย์ ง. ความสุ ข
41. “ถึงเกร็ ดย่านบ้านมอญแต่ก่อนเก่า ผูห้ ญิงเกล้ามวยงามตามภาษา
เดี๋ยวนี้มอญถอนไรจุกเหมือนตุ๊กตา ทั้งผัดหน้าจับเขม่าเหมือนชาวไทย”
บทประพันธ์ตอนนี้ ให้ความรู้เกี่ยวกับเรื่ องใด
ก. แหล่งกำเนิด ข. อาชีพ
ค. ประเพณี ง. สถานที่

42. เนื้อความในข้อใดคือ เนื้อหาสาระสำคัญของเรื่ องโคลงโลกนิติ


ก. ประเพณี สำคัญทางพระพุทธศาสนา

8
ข. หลักปฏิบตั ิตนให้เป็ นคนดี สามารถดำเนินชีวิตอยูไ่ ด้ในสังคมด้วยความไม่ประมาท
ค. ประวัติศาสตร์ของชาติไทย
ง. รายชื่ออาหารไทย
43. ถึงจนทนสู้กดั กินเกลือ
อย่าเที่ยวแล่เนื้อเถือ พวกพ้อง
อดอยากเยีย่ งอย่างเสื อ สงวนศักดิ์
โซก็เสาะใส่ ทอ้ ง จับเนื้อกินเอง
โคลงบทนี้ให้ขอ้ คิด และคติธรรมเกี่ยวกับเรื่ องใด
ก. ซื่อกินไม่หมด คดกินไม่นาน ข. ตนเป็ นที่พึ่งแห่งตน
ค. รักสัตย์ยงิ่ ชีวิต ง. เพื่อนกินหาง่าย เพื่อนตายหายาก
44. เนื้อความต่อไปนี้ ข้อใดเป็ นพฤติกรรมที่ไม่ควรกระทำเป็ นอย่างยิง่
ก. ความรู้คู่เปรี ยบนั้น นักเรี ยน
ฝนทัง่ เท่าเข็มเพียร ผ่ายหน้า
ข. ถึงจนทนสู้กดั กินเกลือ
อย่าเที่ยวแล่เนื้อเถือ พวกพ้อง
ค. เห็นท่านมีอย่าเคลิ้ม ใจตาม
เรายากหากใจงาม อย่าคร้าน
ง. คนใดละพ่อทั้ง มารดา
อันทุพพลชรา ภาพแล้ว
45. ปลากระโห้โลมาราหู เหราปลาทู
มีอยูใ่ นน้ำคล่ำไป
บทประพันธ์น้ ี กล่าวถึงปลากี่ชนิด
ก. 5 ชนิด ข. 4 ชนิด
ค. 3 ชนิด ง. 2 ชนิด
46. คำในข้อใดมีความหมายต่างจากข้ออื่น
ก. วารี ข. เภตรา
ค. ธารา ง. สิ นธุ

47. อ่อนหวานมานมิตรล้น เหลือหลาย


หยาบบ่มีเกลอกราย เกลื่อนใกล้
ดุจดวงศศิฉาย ดาวดาษประดับนา
สุ ริยะส่ องดาราไว้ เพื่อร้อนแรงแสง
โคลงบทนี้มีคุณค่าทางวรรณคดีอย่างยิง่ สำหรับนำไปใช้พฒั นาทักษะทางภาษาด้านใด
ก. การพูด ข. การฟัง
ค. การอ่าน ง. การเขียน

9
48. วรรณคดีเรื่ องราชาธิราช เป็ นเรื่ องราวที่กล่าวถึงชนชาติใดเป็ นสำคัญ
ก. ไทย ข. มอญ
ค. พม่า ง. จีน
49. พงศาวดาร หมายถึงข้อใด
ก. เรื่ องราวเกี่ยวกับพระพุทธเจ้า ข. เรื่ องราวทางประวัติศาสตร์
ค. เรื่ องราวการทดลองทางวิทยาศาสตร์ ง. เรื่ องราวเกี่ยวกับประเพณี โบราณ
50. ตัวละครคนใดสมควรได้รับยกย่องว่า เป็ นผูม้ ีอธั ยาศัยน่าชื่นชม มีใจเป็ นธรรม รักษาคำสัตย์
และมีน ้ำใจเป็ นนักกีฬา
ก. พระเจ้าฟ้ ารั่ว ข. พระเจ้าราชาธิ ราช
ค. พระเจ้าฝรั่งมังฆ้อง ง. พระเจ้ากรุ งจีน
51. ตัวละครคนใดสมควรได้รับการยกย่องให้เป็ นตัวอย่างของผูม้ ีความซื่ อสัตย์สุจริ ต รักชาติ
ศาสนา และพระมหากษัตริ ย ์
ก. พระเจ้าราชาธิราช ข. พระเจ้าฝรั่งมังฆ้อง
ค. พระเจ้ากรุ งจีน ง. สมิงพระราม
52. “ขี่ชา้ งขี่มา้ สันทัดดี ฝี มือเข้มแข็ง แกล้วกล้าในการสงคราม หาผูเ้ สมอตัวยาก”
เนื้อความนี้หมายถึงตัวละครในข้อใด
ก. สมิงนครอินทร์ ข. สมิงพ่อเพชร
ค. สมิงพระราม ง. กามะนี
53. “ม้าดีได้ตอ้ งเอามือต้ องหลังดูก่อน จึงจะรู ้วา่ ดี...”
คำว่า ต้อง หมายถึงข้อใด
ก. แตะ ข. จับ
ค. ตี ง. ตบ

54. เนื้อความต่อไปนี้ มีลกั ษณะเป็ นโวหารชนิดใด


“...ลักษณะช้างดีต่อเมื่อขี่จึงรู้วา่ ดี ม้าดีได้ตอ้ งเอามือต้องหลังดูก่อนจึงจะรู ้วา่ ดี ทแกล้วทหารก็ดี ถ้า
อาสาออกสงครามทำศึก จึงจะรู ้วา่ ดี ทองนพคุณเล่าขีดลงหน้าศิลาก่อนจึงจะรู ้วา่ ดี...”
ก. โวหารบรรยาย ข. โวหารพรรณนา
ค. โวหารสาธก ง. โวหารอุปมา
55. “...เราเป็ นกษัตริ ยผ์ ใู้ หญ่อนั ประเสริ ฐได้ให้คำมัน่ สัญญาไว้แก่เขาแล้ว จะกลับคำไปดังนั้นหา
ควรไม่ พม่าทั้งปวงจะชวนกันดูหมิ่นได้วา่ จีนพูดมิจริ ง เรารักสัตย์ยงิ่ กว่าทรัพย์ อย่าว่าแต่สมบัติ
มนุษย์น้ ีเลย ถึงท่านจะเอาทิพยสมบัติของสมเด็จอมริ นทร์มายกให้เรา เราก็มิได้ปรารถนา ตรัส
ดังนั้นแล้วก็สงั่ ให้เลิกทัพเสด็จกลับไปยังกรุ งจีน”
เนื้อความนี้ให้คุณค่าแห่งรสวรรณคดีดา้ นใด
ก. เสาวรจนี ข. นารี ปราโมทย์

10
ค. พิโรธวาทัง ง. สัลลาบังคพิไสย
56. เนื้อความในข้อใดมิได้แสดงให้เห็นส่ วนประกอบของเครื่ องปรุ งอาหาร
ก. มัสมัน่ แกงแก้วตา หอมยีห่ ร่ ารสร้อนแรง
ข. ตับเหล็กลวกหล่อนต้ม เจือน้ำส้มโรยพริ กไทย
ค. หมูแหนมแหลมเลิศรส พร้อมพริ กสดใบทองหลาง
ง. เทโพพื้นเนื้อทอง เป็ นมันย่องล่องลอยมัน
57. ความรักยักเปลี่ยนท่า ทำน้ำยาอย่างแกงขม
กลอ่อมกล่อมเกลี้ยงกลม ชมไม่วายคลับคล้ายเห็น
บทประพันธ์น้ ี มีลกั ษณะเด่นในด้านใดเป็ นสำคัญ
ก. การเปรี ยบเทียบเห็นภาพพจน์
ข. การพรรณนาซาบซึ้ งกินใจ
ค. มีการเคลื่อนไหว
ง. มีการเล่นอักษร และเล่นเสี ยงวรรณยุกต์
58. ช้ าช้ า พล่าเนื้อสด ฟุ้ งปรากฏรสหื่ นหอม
คิดความยามถนอม สนิทเนื้ อเจือเสาวคนธ์
คำที่ขีดเส้นใต้ หมายถึงข้อใด
ก. ชื่ออาหาร ข. ชื่อเพลง
ค. ไม่เร็ ว ง. คำอุทาน

59. เนื้อความในข้อใดมีการพรรณนาที่ถ่ายทอดอารมณ์ของกวีได้ดีที่สุด
ก. มัสมัน่ แกงแก้วตา หอมยีห่ ร่ ารสร้อนแรง
ชายใดได้กลืนแกง แรงอยากให้ใฝ่ ฝันหา
ข. ล่าเตียงคิดเคียงน้อง นอนเตียงทองทำเมืองบน
ลดหลัน่ ชั้นชอบกล ยลอยากนิทรคิดแนบนอน
ค. ก้อยกุง้ ปรุ งประทิ่น วางถึงลิ้นดิ้นแดโดย
รสทิพย์หยิบมาโปรย ฤาจะเปรี ยบเทียบทันขวัญ
ง. ความรักยักเปลี่ยนท่า ทำน้ำยาอย่างแกงขม
กลอ่อมกล่อมเกลี้ยงกลม ชมไม่วายคลับคล้ายเห็น
60. ข้อใดคือลักษณะของนิทานพื้นบ้าน
ก. เรื่ องราวที่บนั ทึกไว้เป็ นอักษร ข. เรื่ องราวที่เล่าสื บต่อกันมา
ค. ตัวละครมีนอ้ ยคน ง. เนื้อเรื่ องสั้น

-------------------------------------------

11
12
เฉลยข้ อสอบมาตรฐานปลายภาค/รายปี วิชาภาษาไทย ม.1 ชุดที่ 1

1. ข. 11. ค. 21. ก. 31. ก. 41. ค. 51. ง.


2. ค. 12. ค. 22. ค. 32. ข. 42. ข. 52. ค.
3. ก. 13. ค. 23. ก. 33. ง. 43. ข. 53. ก.
4. ค. 14. ข. 24. ก. 34. ค. 44. ง. 54. ก.
5. ง. 15. ง. 25. ง. 35. ค. 45. ข. 55. ง.
6. ก. 16. ข. 26. ข. 36. ข. 46. ข. 56. ง.
7. ข. 17. ข. 27. ค. 37. ก. 47. ก. 57. ง.
8. ง. 18. ค. 28. ก. 38. ง. 48. ข. 58. ง.
9. ง. 19. ง. 29. ง. 39. ค. 49. ข. 59. ค.
10. ข. 20. ง. 30. ก. 40. ข. 50. ง. 60. ข.

13
แนวเฉลยละเอียดข้ อสอบมาตรฐานปลายภาค/รายปี วิชาภาษาไทย ม.1 ชุดที่ 1

1. ตอบ ข.
การเขียนเรี ยงความต้องเลือกเขียนเรื่ องที่ผเู ้ ขียนมีความรู ้มากที่สุด
2. ตอบ ค.
การย่อความที่ถูกต้องจะต้องอ่านเรื่ องที่จะย่อให้จบอย่างน้อย 1 ครั้ง เพื่อให้รู้วา่ ใคร ทำ
อะไร ที่ไหน อย่างไร
3. ตอบ ก.
การเรี ยงลำดับข้อความที่สมบูรณ์ที่สุดคือ “ธรรมชาติยามเช้าเป็ นสิ่ งที่มนุษย์ได้มาโดย
ไม่ตอ้ งซื้ อหา ใครไม่ใช้ประโยชน์จากธรรมชาติในตอนเช้าถือเป็ นการทิ้งโอกาสไปอย่างน่า
เสี ยดาย ฉะนั้นจึงขอขอบคุณธรรมชาติที่มีค่าแก่มนุษย์”
4. ตอบ ค.
การเขียนจดหมายจะเขียนตามหลักการเขียนจดหมายที่กำหนดไว้
5. ตอบ ง.
การเขียนจดหมายถึงพระภิกษุจะต้องขึ้น “นมัสการ...” และลงท้าย “ขอนมัสการ
ด้วยความเคารพ”
6. ตอบ ก.
ประธาน เมื่อแยกพยางค์ ประ – ไม่มีความหมาย, ธาน – ไม่มีความหมาย
สกุณา เมื่อแยกพยางค์ สกุ – ไม่มีความหมาย, ณา – ไม่มีความหมาย
พสุ ธา เมื่อแยกพยางค์ พสุ – ไม่มีความหมาย, ธา – ไม่มีความหมาย
7. ตอบ ข
ความรัก เป็ นคำประสม เป็ นอาการนาม โดยเติมคำว่า “ความ” หน้าคำกริ ยา คำว่า “รัก”
เงินเดือน เป็ นคำประสม เงิน แปลว่า วัตถุที่ใช้วดั ราคา, เดือน แปลว่า ส่ วนของปี
มี 30 วัน, เงินเดือน แปลว่า เงินค่าตอบแทนการทำงานที่กำหนดให้เป็ นรายเดือน
เครื่ องบิน เป็ นคำประสม เครื่ อง แปลว่า สิ่ งของที่ประกอบกันชนิดหนึ่งซึ่ งหนัก
กว่าอากาศ ลอยตัวอยูไ่ ด้ดว้ ยการใช้พลังงานกลแก่อากาศโดยรอบ ก่อให้เกิดแรงพยุงขึ้น
โต้ตอบกับความโน้มถ่วงของโลกและใช้เครื่ องยนต์ขบั เคลื่อน
8. ตอบ ง.
“หิมะปกคลุมตลอดเส้นทาง” เนื้อความนี้เป็ นประโยค ประกอบด้วย
คำว่า หิมะ เป็ น ประธาน คำว่า ปกคลุม เป็ น คำกริ ยา และคำว่า ตลอดเส้นทาง เป็ น
คำวิเศษณ์
9. ตอบ ง.
กราบ อ่านออกเสี ยง “กร” พร้อมกัน
ครัว อ่านออกเสี ยง “คร” พร้อมกัน
กว้าง อ่านออกเสี ยง “กว” พร้อมกัน
10. ตอบ ข.

14
กฎ อ่านว่า กด อ่านออกเสี ยงตัวสะกด แม่กด
ยุทธ อ่านว่า ยุด อ่านออกเสี ยงตัวสะกด แม่กด
มิตร อ่านว่า มิด อ่านออกเสี ยงตัวสะกด แม่กด
11. ตอบ ค.
บัณฑิต อ่านว่า บัน – ดิด “ฑ” อ่านออกเสี ยง “ด”
บัณเฑาะว์ อ่านว่า บัน – เดาะ “ฑ” อ่านออกเสี ยง “ด”
12. ตอบ ค.
นิทรา อ่านว่า นิด – ทรา ออกเสี ยง “ทร” พร้อมกัน
13. ตอบ ค.
อาชญา อ่านได้ 2 อย่าง คือ อาด – ยา, อาด – ชะ – ยา ส่ วนคำอื่นๆจะอ่าน 3-4 พยางค์
14. ตอบ ข.
บาดทะยัก เบญจเพส วิง่ เปี้ ยว
15. ตอบ ง.
ประวัติศาสตร์ อ่านว่า ประ – หวัด – ติ – ศาสตร์
16. ตอบ ข.
ดำๆ หมายถึง ดำนิดๆ ดำจางๆ
17. ตอบ ข.
เดินตาม เป็ น ประโยค
ไปได้ เป็ น ประโยค
18. ตอบ ค.
ทาง เป็ น คำนาม
ม้า เป็ น คำนาม
ลาย เป็ น คำนาม
19. ตอบ ง.
พระภิกษุ ใช้ลกั ษณนาม รู ป
กระดาษ ใช้ลกั ษณนาม แผ่น
20. ตอบ ง.
เขาสู้ได้
“สู้” เป็ น คำกริ ยา
“ได้” เป็ น คำวิเศษณ์
21. ตอบ ก.
การพูดของนิดเป็ นการพูดเชิงสร้างสรรค์ เพราะเป็ นการพูดเสนอแนะ เพื่อให้เกิดการ
เปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดี คือ การช่วยกันลดโลกร้อน จะช่วยให้มนุษย์และสิ่ งมีชีวิตอื่นๆ
สามารถดำรงชีพอยูบ่ นโลกได้โดยปกติสุข
22. ตอบ ค.

15
ผูฟ้ ังที่ดีไม่ควรส่ งเสี ยงดังรบกวนผูอ้ ื่นระหว่างผูพ้ ดู กำลังพูด แต่ควรฟังอย่างตั้งใจ
จับใจความสำคัญของเรื่ องที่ฟัง และจดบันทึกสิ่ งที่ฟังไว้
23. ตอบ ก.
ดวงตามีประโยชน์มหาศาล ในประโยคนี้คำว่า ดวงตา เป็ นภาคประธานของประโยค
24. ตอบ ก.
พระเจดียภ์ ูเขาทอง เป็ น ประธาน
มี เป็ น คำกริ ยา
ความสง่างามมาก เป็ น คำวิเศษณ์
25. ตอบ ง.
ประโยคที่วา่ “ฉันชอบดูละครทีวนี ้ำดี” สามารถเปลี่ยนการใช้คำในประโยคจากภาษา
พูดเป็ นภาษาเขียนได้ โดยการใช้คำว่า “โทรทัศน์” แทนคำทับศัพท์ภาษาอังกฤษว่า ทีวี และใช้
คำว่า “สร้างสรรค์สงั คม” แทนคำเปรี ยบเปรยว่า น้ำดี
26. ตอบ ข.
ในการสื่ อสารโต้ตอบกันผูท้ ี่สื่อสารไม่ควรใช้วาจาหยาบคาย ไม่วา่ จะสนิทสนมกัน
หรื อไม่กต็ าม เพราะการสื่ อสารด้วยวาจาหยาบคาย ถือเป็ นการไม่ให้เกียรติคู่สนทนา และเป็ น
มารยาทที่ไม่ดีในการสื่ อสารโต้ตอบกับผูอ้ ื่น
27. ตอบ ค.
ใจความจากโคลงที่กล่าวถึงการพูดคือ โคลงบาทที่ ๓ กล่าวว่า “โฉดฉลาดเพราะคำ
ขาน ควรทราบ” หมายถึง คำพูดของคนจะสามารถบ่งบอกถึงความฉลาดของคนได้
28. ตอบ ก.
รายงานเป็ นการเรี ยบเรี ยงเนื้ อหาที่ศึกษาค้นคว้ามาจากแหล่งความรู ้ต่างๆ ส่ วนการเขียน
ประวัติส่วนตัว บันทึกการท่องเที่ยว และการเขียนเล่าประสบการณ์ จะเป็ นการเขียนสารคดี
29. ตอบ ง.
การเขียนโครงงานจะมีลกั ษณะการค้นคว้าโดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์หรื อ
กระบวนการอื่นๆโดยอาศัยการลงมือปฏิบตั ิเพื่อหาคำตอบของเรื่ องที่ศึกษาค้นคว้า
30. ตอบ ก.
พนา และไพรสณฑ์ หมายถึง ป่ า
ชโลธร และชลาลัย หมายถึง น้ำ
รวี และทินกร หมายถึง พระอาทิตย์
พสุ ธา และปฐพี หมายถึง แผ่นดิน
31. ตอบ ก.
กลอนสุ ภาพ 1 บทมี 2 บาท 1 บาทมี 2 วรรค คือ วรรคสดับ วรรครับ วรรครอง
และวรรคส่ ง 1 วรรคมี 6-9 คำ คำสุ ดท้ายของวรรคสดับสัมผัสคำที่ 3 ของวรรครับ คำ
สุ ดท้ายของวรรครับสัมผัสคำสุ ดท้ายของวรรครอง
32. ตอบ ข.
คำสุ ดท้ายของวรรคสดับสัมผัสคำที่ 3 ของวรรครับ คำสุ ดท้ายของวรรครับสัมผัส

16
คำสุ ดท้ายของวรรครอง
33. ตอบ ง.
เกลียว – กลอก – กลับ – กระฉอก, ฉาด – ฉวัด – เฉวียน
34. ตอบ ค.
โล – โภ – โท – โส – โมหะ,
35. ตอบ ค.
มีการพรรณนาเปรี ยบเทียบได้อย่างไพเราะ ลึกซึ้ งกินใจระหว่าง ความรู ้สึกลุ่มหลง
ในความรักกับความรู้สึกมึนเมากับการดื่มเหล้า
36. ตอบ ข.
โคลงสี่ สุภาพ 1 บทมี 4 บาท บาทละ 2 วรรค วรรคแรกมี 5 คำ วรรคหลังมี 2 คำ
ยกเว้นวรรคหลังของบาทที่ 4 จะมี 4 คำ บาทที่ 1 และที่ 3 จะมีคำสร้อยหรื อไม่มีกไ็ ด้
นอกจากนี้บงั คับวรรณยุกต์เอก 7 แห่ง และโท 4 แห่ง ส่ วนการส่ งสัมผัส คำสุ ดท้ายของ
บาทที่ 1 ส่ งสัมผัสไปคำสุ ดท้ายของวรรคแรกในบาทที่ 2 และที่ 3 คำสุ ดท้ายของบาทที่ 2
ส่ งสัมผัสไปคำสุ ดท้ายของวรรคแรกในบาทที่ 4 โคลงสี่ สุภาพจะมีคำทั้งหมดจำนวน 30 คำ
37. ตอบ ก.
โคลงสี่ สุภาพจะมีขอ้ บังคับในฉันทลักษณ์ให้มีรูปวรรณยุกต์เอก 7 แห่ง และรู ป
วรรณยุกต์โท 4 แห่ง หรื อการใช้คำตายแทนวรรณยุกต์เอก (คำเอกโทษ) และใช้คำที่ไม่ได้สะกด
ด้วยรู ปวรรณยุกต์แต่ออกเสี ยงวรรณยุกต์โทมาเปลี่ยนให้สะกดด้วยรู ปวรรณยุกต์โท (คำ
โทโทษ)
38. ตอบ ง.
พสุ ธา – อา – ศิขรา มีสมั ผัสสระ –า
กว้าง – อ้าง มีสมั ผัสสระ และตัวสะกด –าง
39. ตอบ ค.
โคลงสี่ สุภาพบทหนึ่งจะมีคำทั้งหมด 30 คำ โดยไม่รวมคำสร้อย 2 คำ ที่สามารถเพิ่มใน
ท้ายบาทที่ 1 และท้ายบาทที่ 3 เพื่อให้เนื้อความสมบูรณ์มากขึ้น
40. ตอบ ข.
โคลงบทนี้พรรณนาพระคุณของมารดาบิดาผูใ้ ห้กำเนิด อบรมเลี้ยงดูต้ งั แต่เกิดจน
โตว่ามีมากมายเปรี ยบเทียบได้กบั ความกว้างใหญ่ไพศาลของผืนแผ่นดินและอากาศในโลก
ที่เราอาศัยอยูน่ ้ ี บุญคุณของพี่ผใู้ ห้การดูแลช่วยเหลือมีมากมายเทียบได้กบั ความสู งของภูเขา
และบุญคุณของครู อาจารย์ผสู้ งั่ สอนให้ความรู ้มีมากมายจนสามารถนำความรู ้น้ นั ไปใช้
ประกอบอาชีพ สามารถดำรงชีวิตอยูไ่ ด้ดว้ ยความสุ ข เพราะฉะนั้นบุญคุณของท่านเหล่านี้
จึงมีมากสุ ดจะพรรณนา เราจำเป็ นต้องมีความกตัญญูตอบแทนพระคุณท่านเมื่อมีโอกาส
41. ตอบ ค.
บทประพันธ์ตอนนี้ ให้ความรู ้เกี่ยวกับประเพณี การแต่งกายของชนชาวมอญที่มาอยู่
ในประเทศไทย บริ เวณปากเกร็ ด โดยเดิมผูห้ ญิงมอญจะไว้ผมยาวเกล้ามวย นอกจากนี้จะทา
แป้ งขาวเหมือนคนไทยทัว่ ไป

17
42. ตอบ ข.
สอนให้เป็ นคนดี และดำเนินชีวิตด้วยความไม่ประมาท
43. ตอบ ข.
สอนให้รู้จกั พึ่งตน ช่วยเหลือตัวเองก่อนจะขอความช่วยเหลือคนอื่น เพื่อเป็ นการรักษา
ศักดิ์ศรี ของตนไม่ให้เป็ นที่นินทาว่าร้ายของผูอ้ ื่น
44. ตอบ ง.
บิดามารดา คือผูใ้ ห้กำเนิดและอบรมเลี้ยงดูเรามาตั้งแต่เกิด ดังนั้นเมื่อท่านแก่ชรา
หรื อทุพพลภาพ เราต้องเลี้ยงดูท่าน
45. ตอบ ข.
ปลา 4 ชนิด ได้แก่ ปลากะโห้ ปลาโลมา ปลาราหู (เป็ นชื่อหนึ่งของปลาหัวค้อน)
และปลาทู ส่ วนเหรามิใช่สตั ว์ประเภทปลา แต่เป็ นสัตว์ทะเลชนิดหนึ่งเหมือนแมงดาทะเล
หรื อเป็ นสัตว์ในนิยายรู ปครึ่ งนาคครึ่ งจระเข้
46. ตอบ ข.
เภตรา แปลว่า เรื อ
วารี , ธารา, สิ นธุ แปลว่า น้ำ
47. ตอบ ก.
คนที่พดู จาไพเราะอ่อนหวาน เป็ นผูท้ ี่มีเสน่ห์ มีคนรักใคร่ มากมาย เปรี ยบได้กบั
ความงดงามสดใสจองดวงจันทร์ที่ลอ้ มรอบด้วยดาวระยิบระยับ ตรงข้ามกับคนพูดจาหยาบ
คาย ไม่สุภาพ จะไม่มีคนคบหา เปรี ยบได้กบั ดวงอาทิตย์ที่มีแสงร้อนแรง เพราะฉะนั้นจึงมี
คุณค่ายิง่ ที่จะนำไปใช้ประกอบหลักการพูด
48. ตอบ ข.
เป็ นเรื่ องราวเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ของชนชาติมอญ
49. ตอบ ข.
พงศาวดาร เป็ นบันทึกเรื่ องราวทางประวัติศาสตร์ ที่สามารถนำมาเป็ นหลักฐานในการ
ศึกษาประวัติศาสตร์
50. ตอบ ง.
พระเจ้ากรุ งจีนได้ยกกองทัพมาตีพม่า โดยตรัสไว้วา่ ถ้าพม่าแพ้ พม่าต้องตกเป็ น
ประเทศราชของจีน แต่ถ่าจีนแพ้พระเจ้ากรุ งจีนจะยกทัพกลับ ผลปรากฎว่าจีนแพ้ ได้มี
ทหารทูลยุให้พระองค์กระทำสงคราม แต่พระองค์มิได้กระทำเช่นนั้น ยอมยกทัพกลับแต่
โดยดีตามที่รับสัง่ และนอกจากนี้พระสงฆ์หรื อประชาชนทัว่ ไปที่ไม่มีอาวุธ หรื อคิดต่อสู ้กบั
ทหารจีน ได้ทรงตรัสห้ามทหารจีนทำร้ายคนเหล่านั้น จึงสมควรเป็ นผูไ้ ด้รับการยกย่องชมเชย
ว่าเป็ นผูม้ ีอธั ยาศัยน่าชื่นชม มีใจเป็ นธรรม รักษาคำสัตย์และมีน ้ำใจเป็ นนักกีฬา รู ้แพ้รู้ชนะ
51. ตอบ ง.
สมิงพระรามเป็ นายทหารมอญผูม้ ีความสามารถ แต่ถูกพม่าจับเป็ นเชลย ได้รับ
อาสาพระเจ้าฝรั่งมังฆ้องกษัตริ ยพ์ ม่าต่อสู ้กบั กามะนี นายทหารเอกของพระเจ้ากรุ งจีน จนได้รับ
ชัยชนะ กษัตริ ยพ์ ม่าตอบแทนโดยพระราชทานสิ่ งของมากมาย ได้เป็ นพระราชบุตรเขยของพม่า

18
โดยกำหนดสัญญาไว้ 2 ข้อคือ จะไม่ทำศึกสงครามกับพระเจ้าราชาธิราช พระมหากษัตริ ยม์ อญ
และไม่ให้ชาวพม่าเรี ยกเขาว่า เชลย ฉะนั้นสมิงพระรามจึงสมควรเป็ นผูไ้ ด้รับการยกย่องว่ามี
ความซื่อสัตย์สุจริ ต รักชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริ ย ์
52. ตอบ ค.
สมิงพระรามเป็ นนายทหารเอกของมอญผูม้ ีความสามารถในการต่อสู ้ทำสงคราม
เป็ นเลิศ มีความชำนาญการขี่ชา้ งขี่มา้ รำดาบรำทวนได้สวยงามจนชนะคู่ต่อสู ้

53. ตอบ ก.
ต้อง แปลว่า แตะ
54. ตอบ ก.
โวหารบรรยาย คือ การอธิ บายรายละเอียดเหตุการณ์ต่างๆ ทำให้ผอู ้ า่ นเข้าใจ
55. ตอบ ง.
สัลลาปังคพิไสย คือ รสแห่งความโศกเศร้าเสี ยใจ เนื้ อความนี้เป็ นพระราชดำรัส
ของพระเจ้ากรุ งจีนที่แสดงออกซึ่ งความเข้มแข็ง เด็ดเดี่ยว กล้าหาญ หยิง่ ในศักดิ์ศรี รักษา
สัจจะ แต่ในส่ วนลึกของหัวใจ รู ้สึกอับอายที่ตอ้ งพ่ายแพ้ เศร้าโศกเสี ยใจและทรงสัง่ ให้
ทหารยกกองทัพกลับประเทศ
56. ตอบ ง.
เทโพพื้นเนื้อท้อง เป็ นมันย่องล่องลอยมัน
บทประพันธ์น้ ี กล่าวถึงลักษณะของแกงเทโพว่ามีมนั ลอยอยูบ่ นผิวหน้าของแกง แต่ไม่
ได้ระบุวา่ ปรุ งจากอะไร ผิดกับบทประพันธ์อื่นที่บอกไว้ชดั เจน ได้แก่
มัสมัน่ มีกลิ่นหอมเพราะยีห่ ร่ า
ตับเหล็ก มีน ้ำส้มและพริ กไทย
หมูแนม มีพริ กสดและใบทองหลาง
57. ตอบ ง.
บทประพันธ์น้ ี มีลกั ษณะเด่นด้านการเล่นอักษร และเล่นเสี ยงวรรณยุกต์ ได้แก่
การเล่นอักษร คือ น้ำยา – อย่าง, แกง – ขม, กล – กล่อม – เกลี้ยง – กลม, คลับ – คล้าย
การเล่นเสี ยงวรรณยุกต์ คือ กล, กลม - วรรณยุกต์เสี ยงสามัญ
กล่อม - วรรณยุกต์เสี ยงเอก
เกลี้ยง - วรรณยุกย์เสี ยงโท
58. ตอบ ง.
ช้าช้า คือ คำว่า ชะช้า เป็ นคำอุทาน เมื่อแสดงความดีใจ แปลกใจ
59. ตอบ ค.
บทประพันธ์ตอนนี้ พรรณนาถึงอาหารชนิดหนึ่ง คือ ก้อยกุง้ คล้ายพล่า ทำด้วยกุง้ จัด
เป็ นอาหารประเภทยำ รสจัด มีกลิ่นหอมชวนรับประทาน ถ้าผูใ้ ดได้ลิ้มชิมรส หรื อเพียงแค่แตะ
ที่ปลายลิ้น ก็รู้สึกราวกับว่าใจจะขาด แม้อาหารรสทิพย์จากสวรรค์กม็ ิอาจสู ้ได้
60. ตอบ ข.

19
นิทานพื้นบ้าน คือ เรื่ องราวที่เล่าสื บต่อกันมา มิได้บนั ทึกไว้เป็ นลายลักษณ์อกั ษร

20

You might also like