You are on page 1of 14

แรง หมายถึง การกระทำของวัตถุหนึง่ ที่กระทำให้ วตั ถุอีกอันหนึง่ มีการเปลี่ยนแปลงสภาวะการ

เคลื่อนหรื อเปลี่ยนแปลงรูปร่างของวัตถุเมื่อถูกแรงกระทำ

แรงกระทำกับวัตถุ
ระบบแรงสามารถแบ่งออกเป็ น 2 ระบบ คือ
1.2.1 ระบบแรง 2 มิติ คือ แรงหรื อระบบของแรงทุกแรงที่กระทำกับวัตถุจะอยูบ่ นระนาบเดียวกัน
ดังแสดงในรูป

ระบบแรง 2 มิติ
1.2.2 ระบบแรง 3 มิติ คือ แรงหรื อระบบของแรงทุกแรงที่กระทำกับวัตถุจะไม่อยูบ่ นระนาบ
เดียวกันดังแสดงในรูป

ระบบแรง 3 มิติ
การแตกแรง หมายถึง การจำแนกแรงที่กระทำต่อจุดใด ๆ บนวัตถุให้ อยูใ่ นแนวเดียวกัน เช่น อยูใ่ น
แนวแกน x หรื อแกน y ซึง่ แบ่งออกได้ ดงั นี ้
2.3.1 การแตกแรงลงบนแกนที่ตงั ้ ฉากกัน

การแตกแรง F ลงบนแกนที่ตงั ้ ฉากกัน


และจาก

เมื่อ F x คือ แรงย่อยตามแนวแกน x


F y คือ แรงย่อยตามแนวแกน y
2.3.2 การแตกแรงลงบนแกนที่ไม่ ตงั ้ ฉากกัน

การแตกแรง F ลงบนแกนที่ไม่ ตงั ้ ฉากกัน

หรื อ
ย้ ายข้ างสมการที่ 2.3 จะได้

หรื อ

ย้ ายข้ างสมการที่ 2.5 จะได้


การรวมแรง หมายถึง การนำแรงในแนวแกน x และ แกน y ที่เกิดจากแรงหลาย ๆ แรงรวมเข้ าด้ วย
กันโดยพิจารณาตามเครื่ องหมายบวกหรื อลบตามทิศทางของแรงนัน้ ๆ
แรงลัพธ์ หมายถึง ค่าของแรงที่เกิดจากการรวมแรงย่อยต่าง ๆ ซึง่ มีวิธีในการหาแรงลัพธ์อยูด่ ้ วยกัน
หลาย ๆ วิธีดงั นี ้
2.5.1 การหาแรงลัพธ์ โดยการเขียนรูป การหาแรงลัพธ์โดยการเขียนรูปนันมี ้ วิธีการ คือ นำเอา
แรงย่อยทุก ๆ แรงมาเรี ยงต่อกันตามสัดส่วนและทิศทางเดิมของแรงนัน้ ๆ “แบบหางต่ อหัว” โดยเริ่ มจาก
แรงย่อยลำดับแรกก่อน แล้ วนำหางของแรงย่อยที่สองมาต่อกับหัวของแรงย่อยตัวแรก หางของแรงย่อยที่
สามมาต่อกับหัวของแรงย่อยตัวที่สอง ทำอย่างนี ้ไปจนครบของแรงย่อยทุก ๆ แรง หลังจากนันให้ ้ ลากเส้ น
จากจุดเริ่ มต้ นไป (หางของแรงย่อยตัวแรก) ไปยังหัวของแรงย่อยตัวสุดท้ าย นัน่ คือ แรงลัพธ์ ซึง่ หาขนาด
และทิศทางของแรงลัพธ์ได้ จากการวัด
2.5.4 การหาแรงลัพธ์ โดยใช้ กฎของไซน์ และโคไซน์

การหาแรงลัพธ์ โดยใช้ กฎของไซน์ และโคไซน์


จากรูป กำหนดให้ แรง F1 และแรง F2 เป็ นแรงย่อย ซึง่ หลังจากใช้ วิธีหาแรงลัพธ์โดยการเขียนรูป
แล้ วก็จะได้ แรงลัพธ์ R ดังแสดงในรูป ซึง่ ในการหาขนาดของแรงลัพธ์สามารถหาได้ โดยใช้ กฎของไซน์และ
โคไซน์ ดังนี ้
1. กฎของไซน์ (Law of Sines) จะได้ วา่

2. กฎของโคไซน์ (law of cosines) จะได้ วา่

หรื อ
แรงนอกจากจะพยายามทำให้ วตั ถุเคลื่อนที่ไปในทิศทางของแรงที่มากระทำแล้ ว แรงยังพยายาม
ทำให้ วตั ถุที่ถกู แรงกระทำนันหมุ
้ นรอบจุดหมุนหรื อรอบแกน ๆ หนึง่ ซึง่ แกนนันต้
้ องไม่ตดั ผ่านแนวการกระ
ทำของแรงและไม่ขนานกับแนวของแรงด้ วย เรี ยกความพยายามนี ้ว่า โมเมนต์ของแรง (Moment of a
force) หรื อ แรงบิด (Torque) นัน่ เอง

แรงที่ทำให้ เกิดโมเมนต์
ค่าของโมเมนต์ของแรงหาได้ จากผลคูณของแรงกับระยะทางตังฉากจาดจุ
้ ดหมุนหรื อแกนหนุนถึง
แนวแรง ซึง่ สามารถเขียนเป็ นสมการได้ ดงั นี ้คือ
M = Fd ………….. 2.13
เมื่อ M คือ โมเมนต์ของแรง มีหน่วยเป็ น นิวตัน–เมตร (N.m)
F คือ ขนาดของแรง มีหน่วยเป็ น นิวตัน (N)
d คือ ระยะตังฉากจากจุ
้ ดหมุนหรื อแกนหมุนถึงแนวแรง เรี ยกว่า แขนโมเมนต์ มีหน่วยเป็ น เมตร
(m)

You might also like