You are on page 1of 38

วาระที่ 5.

พระราชบ ัญญ ัติโรคติดต่อ พ.ศ. ๒๕๕๘

ดร.สพ.ญ. เสาวพักตร์ ฮิ้ นจ้อย


สํานักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค

1
ความเป็ นมาทีต่ ้ องมี พ.ร.บ. โรคติดต่ อ พ.ศ. ๒๕๕๘

เหตุผลในการประกาศใช้ พระราชบัญญัตฉิ บับนี้


โดยทีพ่ ระราชบัญญัตโิ รคติดต่ อ พ.ศ. ๒๕๒๓ ได้ ใช้ บังคับมาเป็ นเวลานานแล้ ว บทบัญญัติ บางประการ
ไม่ เหมาะสมกับสถานการณ์ ปัจจุบัน ซึ่ งมีการแพร่ กระจายของโรคติดต่ อที่รุนแรงและก่ อให้ เกิดโรคระบาด
มากผิดปกติกว่ าที่เคยเป็ นมา ทั้งโรคติดต่ อที่อุบัติใหม่ และโรคติดต่ อที่อุบัติซํ้า ประกอบกับประเทศไทยได้ ให้
การรับรองและดําเนินการตามข้ อกําหนด ของกฎอนามัยระหว่ างประเทศ พ.ศ. ๒๕๔๘
ในการนี้ จึงต้ องพัฒนาและปรับปรุงมาตรการทางกฎหมายทีเ่ กีย่ วกับการเฝ้ าระวัง การป้องกัน และ
การควบคุมโรคติดต่ อให้ สอดคล้ องกับสถานการณ์ ปัจจุบันและข้ อกําหนด ของกฎอนามัยระหว่ างประเทศ
จึงจําเป็ นต้ องตราพระราชบัญญัตนิ ี้

2
Value Chain ของกระบวนการพ ัฒนากฎหมาย
พ.ร.บ.โรคติดต่อ พ.ศ. 2558
ต้นนํา้ กลางนํา้ ปลายนํา้

Target Group Outcome


Quality/Value

คณะกรรมการ กลุม ี่ ง
่ เสย
ร ัฐมนตรี โรคติดต่อ เฝ้าระว ัง
กลุม
่ ว ัย ประชาชน
แห่งชาติ
ี่ ง
ลดเสย
ป้องก ัน กลุม
่ โรค
ลดโรค

คณะกรรมการ ลดตาย
กรมควบคุมโรค ควบคุม
ด้านวิชาการ
้ ที่
พืน
1 2 กลุม
่ เป้าหมาย

3
Value Chain ของกระบวนการพ ัฒนากฎหมาย
พ.ร.บ. โรคติดต่อ พ.ศ. 2558
ต้นนํา้ กลางนํา้ ปลายนํา้
Quality/Value
เฝ้าระว ัง
คณะกรรมการ Target Group Outcome
ร ัฐมนตรี โรคติดต่อแห่งชาติ

ป้องก ัน กลุม ี่ ง
่ เสย

กลุม
่ ว ัย ประชาชน

ี่ ง
ลดเสย
กลุม
่ โรค
ควบคุม
ลดโรค

กรมควบคุมโรค ลดตาย
คณะกรรมการ
ด้านวิชาการ ้ ที่
พืน
กลุม
่ เป้าหมาย

4
ื่ มโยงโครงสร้างของหน่วยงานตาม พรบ. โรคติดต่อ พ.ศ. ๒๕๕๘
ความเชอ

พ.ร.บ. ป้องก ันและ


ร ัฐมนตรี ผูว้ า
่ ราชการ บรรเทาสาธารณภ ัย  คณะทํางานประจํา
ชอ่ งทางเข้าออก
จ ังหว ัด พ.ศ. ๒๕๕๐
 เจ้าพน ักงานควบคุม
โรคติดต่อประจําด่าน
ควบคุมโรคติดต่อ
คณะกรรมการ  คณะกรรมการโรคติดต่อ ระหว่างประเทศ
โรคติดต่อแห่งชาติ จ ังหว ัด
 คณะกรรมการโรคติดต่อ
กรุงเทพมหานคร

คณะกรรมการ
ด้านวิชาการ กรมควบคุมโรค  หน่วยปฏิบ ัติการ
ควบคุมโรคติดต่อ
ประชาชน
 เจ้าพน ักงาน
ควบคุมโรคติดต่อ
 ความเชอ ื่ มโยงระหว่างฝ่ายนโยบาย กฎอนาม ัย
ฝ่ายปฏิบ ัติ และฝ่ายวิชาการ ระหว่างประเทศ
 สอดคล้องก ับกฎอนาม ัยระหว่างประเทศ
และเชอ ื่ มโยงก ับองค์กรนานาชาติ  เจ้าบ้าน/แพทย์
 เชอื่ มโยงกลไกการจ ัดการสาธารณภ ัย ทีท
่ ําการร ักษา
ของประเทศ องค์กรปกครองท้องถิน ่ และ  สถานพยาบาล
• องค์การอนาม ัยโลก  สถานทีช ่ นสูั ตร
ภาคเอกชนด้านการแพทย์และ
• องค์กรระหว่างประเทศ ทางห้องปฏิบ ัติการ
สาธารณสุข
ด้านการป้องก ันควบคุมโรคติดต่อ  สถานประกอบการ
 สถานทีอ ่ น
ื่ ๆ
5
ระบบเฝ้าระว ัง : การตรวจจ ับโรคติดต่ออ ันตราย /โรคระบาด

คกก.โรคติดต่อแห่งชาติ
-นโยบาย/แผนปฏิบ ัติการ

ร ัฐมนตรี
ออกประกาศ กรมควบคุมโรค คกก.โรคติดต่อจ ังหว ัด
: โรคติดต่อทีต่ อ
้ งเฝ้าระว ัง ระบบเฝ้าระว ังของประเทศ ระบบเฝ้าระว ังของจ ังหว ัด
: โรคติดต่ออ ันตราย

แหล่งข้อมูลต่างๆ
่ งทางเข้าออก
- คณะทํางานประจําชอ
-หน่วยปฏิบ ัติการควบคุมโรคติดต่อ
คกก. วิชาการ -จพง. ควบคุมโรคติดต่อ
-จพง. ควบคุมโรคติดต่อ

สอบสวน/ควบคุมโรค

6
ระบบเฝ้าระว ัง : การตอบสนองตามปกติ ระบบเฝ้าระว ัง : การตอบสนองภาวะฉุกเฉิน

-แหล่งข้อมูล -แหล่งข้อมูล
-การรายงาน -การรายงาน

ประกาศ
กรมควบคุมโรค คกก. จ ังหว ัด กรมควบคุมโรค คกก. จ ังหว ัด
ระดม
โรคระบาด
ทร ัพยากร
ดําเนินการ ภายในจ ังหว ัด
ป้องก ัน /ลด ในการ
ี่ ง
ปัจจ ัยเสย
ภาวะโรค ควบคุมโรค
ตามปกติ
ระบาดรุนแรง
- หน่วยปฏิบ ัติการควบคุม
โรคติดต่อ - หน่วยปฏิบ ัติการ
ควบคุมโรคติดต่อ

-ก.สาธารณสุข
-ก.มหาดไทย
-หน่วยงานอืน
่ ๆ

ระดมทร ัพยากรของประเทศ
ในการควบคุมโรค

7
เก่ า - ใหม่ ต่ างกันอย่ างไร ?

ศูนย์ กฎหมาย กรมควบคุมโรค


เก่า - ใหม่ ต่างก ันอย่างไร ?

ประเภทของโรคติดต่ อ

• แบ่ งเป็ น 3 ประเภท ได้ แก่ • แบ่ งเป็ น ได้ แก่


• - โรคติดต่ อ • - โรคติดต่ อทีต่ ้ องเฝ้ าระวัง
• - โรคติดต่ อต้ องแจ้ งความ • - โรคติดต่ ออันตราย
• - โรคติดต่ ออันตราย • - โรคระบาด

หมายเหตุ : เพื่อให้สอดคล้องกับสถานการณ์ของโรคติดต่อในปั จจุบนั


เก่า - ใหม่ ต่างก ันอย่างไร ?

คณะกรรมการ/คณะทํางาน

• - ไม่มี -
• - คณะกรรมการโรคติดต่อแห่งชาติ
• - คณะกรรมการด้านวิชาการ
• - คณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัด
• - คณะกรรมการโรคติดต่อกทม.
• - คณะทํางานประจําช่องทางเข้าออก
หมายเหตุ : เพื่อให้การกําหนดนโยบาย แผนปฏิบตั ิการ หรื อแนวทางการปฏิบตั ิ ในการเฝ้ าระวัง ป้ องกัน และควบคุมโรคติดต่อ
เป็ นระบบยิง่ ขึ้น
เก่า - ใหม่ ต่างก ันอย่างไร ?

กลไกการเฝ้ าระวังโรคติดต่ อ

• เจ้ าบ้ าน/สถานพยาบาล/สถานทีช่ ันสู ตร • เจ้ าบ้ าน/สถานพยาบาล/สถานทีช่ ันสู ตร/สถาน


ประกอบการ
• แจ้ งพนักงานเจ้ าหน้ าที/่ เจ้ าพนักงานสาธารณสุ ข
• แจ้ งเจ้ าพนักงานควบคุมโรคติดต่ อ

• แจ้ งคณะกรรมการโรคติดต่ อจังหวัด/กทม.

• แจ้ งให้ กรมควบคุมโรคทราบทันที


หมายเหตุ : เพื่อให้การเฝ้ าระวัง ป้ องกัน และควบคุมโรคติดต่อมีประสิ ทธิภาพยิง่ ขึ้น และทัน
ต่อสถานการณ์ของโรค
เก่า - ใหม่ ต่างก ันอย่างไร ?

การประกาศโรคระบาด

• - ไม่ มี - • ให้ อธิบดีมีอํานาจประกาศชื่อ อาการสํ าคัญ และสถานที่


ที่มีการระบาดเกิดขึ้น และมีอํานาจประกาศยกเลิกเมื่อ
สภาวการณ์ ของโรคสงบลง

หมายเหตุ : เพื่อให้การเฝ้ าระวัง ป้ องกัน ควบคุม และการสอบสวนโรคมีความรวดเร็ ว


ทันสถานการณ์ และเป็ นระบบ
เก่า - ใหม่ ต่างก ันอย่างไร ?

เขตติดโรค

• ให้รัฐมนตรี มีอาํ นาจประกาศให้ทอ้ งที่ หรื อเมืองใด • ให้ รัฐมนตรีมอี าํ นาจประกาศให้ ท้องที่ หรือเมืองใด
นอกราชอาณาจักรเป็ นเขตติดโรคติดต่ออันตราย นอกราชอาณาจักรเป็ นเขตติดโรคติดต่ ออันตราย
หรือเขตโรคระบาด

หมายเหตุ : เพือ่ ให้ การเฝ้ าระวัง ป้ องกัน ควบคุม และการสอบสวนโรคมีความรวดเร็ว


ทันสถานการณ์ และเป็ นระบบ
เก่า - ใหม่ ต่างก ันอย่างไร ?

หน่ วยปฏิบัตกิ ารควบคุมโรคติดต่ อ

• - ไม่ มี - • อย่ างน้ อยอําเภอละหนึ่งหน่ วย

หมายเหตุ : เพือ่ ให้ การเฝ้ าระวัง ป้ องกัน ควบคุม และการสอบสวนโรคมีความรวดเร็ว


ทันสถานการณ์ และเป็ นระบบ
เก่า - ใหม่ ต่างก ันอย่างไร ?

หน่ วยงานกลางในการเฝ้ าระวัง ป้ องกัน หรือควบคุมโรคติดต่ อ

• - ไม่ มี - • ให้ กรมควบคุมโรคเป็ นหน่ วยงานกลาง


• ในการเฝ้ าระวั ง ป้ องกั น หรื อควบคุ มโรคติ ดต่ อ และเป็ น
สํ านั กงานเลขานุ การของคณะกรรมการโรคติดต่ อแห่ งชาติ/
กรรมการวิชาการ

หมายเหตุ : เพือ่ ให้ การประสานงานการทํางานของทุกภาคส่ วนมีความชัดเจน เป็ นระบบ และสอดคล้ องกับกฎอนามัยระหว่ างประเทศ
เก่า - ใหม่ ต่างก ันอย่างไร ?

การเปิ ดเผยข้ อมูลส่ วนบุคคล

• - ไมมี • เปิ ดเผยเท่ าทีจ่ าํ เป็ นเพือ่ ประโยชน์ ในการป้ องกันควบคุม


่ -
โรคติดต่ อ ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงือ่ นไขที่
คณะกรรมการโรคติดต่ อแห่ งชาติกาํ หนด

หมายเหตุ : การเปิ ดเผยข้ อมูลส่ วนบุคคลต้ องเป็ นไปเท่ าทีจ่ าํ เป็ น เฉพาะเพือ่ การคุ้มครองป้ องกันสุ ขภาพอนามัยของสาธารณชน
เก่า - ใหม่ ต่างก ันอย่างไร ?

การชดเชยความเสี ยหาย

• - ไม่ มี - • ชดเชยความเสี ยหายทีเ่ กิดขึน้ จากการเฝ้ าระวัง ป้องกัน หรือ


ควบคุมโรคติดต่ อ ตามความจําเป็ น

หมายเหตุ : กรณีเกิดความเสี ยหายจากการเฝ้ าระวัง ป้ องกัน หรือควบคุมโรคติดต่ อ ให้ ทางราชการชดเชยความเสี ยหายทีเ่ กิดขึน้ ตาม
ความจําเป็ น
เก่า - ใหม่ ต่างก ันอย่างไร ?

ด่ านควบคุมโรคติดต่ อระหว่ างประเทศ

• ให้ ช่องทางและด่ านตรวจคนเข้ าเมืองตาม • ให้ รัฐมนตรีเป็ นผู้มอี าํ นาจประกาศให้ ช่องทาง เข้ าออกใด
พระราชบัญญัตคิ นเข้ าเมือง พ.ศ. 2522 เป็ นด่ าน เป็ นด่ านควบคุมโรคติดต่ อระหว่ างประเทศ หรือยกเลิก
ควบคุมโรคติดต่ อระหว่ างประเทศ ด่ านควบคุมโรคติดต่ อระหว่ างประเทศ

หมายเหตุ : เพื่อให้รัฐมนตรี โดยคําแนะนําของคณะกรรมการโรคติดต่อแห่งชาติเป็ นผูพ้ ิจารณาตาม ความเหมาะสม


เก่า - ใหม่ ต่างก ันอย่างไร ?

คณะทํางานประจําช่ องทางเข้ าออก

• - ไม่ มี - • ให้ มคี ณะทํางานประจําช่ องทางเข้ าออก ทุกช่ อง


ทางเข้ าออกทีม่ ดี ่ านควบคุมโรคติดต่ อ ระหว่ างประเทศ

หมายเหตุ : เพือ่ ให้ การประสานงานการทํางานของทุกภาคส่ วนมีความชัดเจน เป็ นระบบ และสอดคล้ องกับกฎอนามัยระหว่ างประเทศ
เก่า - ใหม่ ต่างก ันอย่างไร ?

ผู้บังคับใช้ กฎหมาย

• เจ้ าพนักงานสาธารณสุ ข • เจ้ าพนักงานควบคุมโรคติดต่ อ

หมายเหตุ : เพือ่ ให้ ชื่อตําแหน่ งของเจ้ าหน้ าทีผ่ ู้บังคับใช้ กฎหมายสอดคล้ องกับอํานาจหน้ าทีต่ ามที่กฎหมายบัญญัตไิ ว้
เก่า - ใหม่ ต่างก ันอย่างไร ?

เครื่องแบบ เครื่องหมาย บัตรประจําตัว

• - ไม่ มี - • ให้ มเี ครื่องแบบ เครื่องหมาย และบัตรประจําตัวสํ าหรับ


เจ้ าพนักงานควบคุมโรคติดต่ อเพือ่ แสดงตัวขณะปฏิบัติ
หน้ าที่

หมายเหตุ : เพือ่ ให้ การปฏิบัตหิ น้ าทีข่ องเจ้ าพนักงานควบคุมโรคติดต่ อเป็ นไปอย่ างสะดวกและคล่ องตัว และเพือ่ ให้ ประชาชนเชื่อมัน่ ว่ าผู้
นั้นเป็ นเจ้ าหน้ าทีข่ องรัฐซึ่งมีอาํ นาจหน้ าทีต่ ามกฎหมายจริง
เก่า - ใหม่ ต่างก ันอย่างไร ?

บทกําหนดโทษ

• ตํา่ สุ ด - ปรับไม่เกิน 2,000 บาท • ตํา่ สุ ด - ปรับไม่เกิน ๑0,000 บาท


• สู งสุ ด - จําคุกไม่เกิน 1 ปี • สู งสุ ด - จําคุกไม่เกิน 2 ปี
• หรื อปรับไม่เกิน 50,000 บาท • หรื อปรับไม่เกิน 500,000 บาท

หมายเหตุ : เพื่อให้เหมาะสมกับสถานการณ์ในปั จจุบนั


เก่า - ใหม่ ต่างก ันอย่างไร ?

อํานาจในการเปรียบเทียบบรรดาความผิดตามพระราชบัญญัติ

• - ไม่ มี - • กรณีโทษปรับสถานเดียวหรือโทษจําคุก ไม่ เกินหนึ่งปี


ให้ อธิบดีหรือผู้ซึ่งอธิบดีมอบหมาย มีอาํ นาจเปรียบเทียบได้
ตามหลักเกณฑ์ ทีค่ ณะกรรมการโรคติดต่ อแห่ งชาติ
กําหนด

หมายเหตุ : เพือ่ ให้ เหมาะสมกับสถานการณ์ ในปัจจุบัน


กลไกการเฝ้ าระวังโรคตาม พรบ.กําหนด

เจ้ าบ้ าน /สถานพยาบาล/สถานทีช่ ันสู ตร/สถานประกอบการ


แจ้ ง

เจ้ าพนักงานควบคุมโรคติดต่ อ
แจ้ ง

คณะกรรมการควบคุมโรคติดต่ อจังหวัด/กทม.
แจ้ ง

ให้ กรมควบคุมโรคทราบทันที
กล่ มขับเคลือ่ นภารกิจตามพระราชบัญญัตโิ รคติดต่ อ พ.ศ. 2558 สํ านักโรคติดต่ อทัว่ ไป
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรือ
่ ง ชอ ํ ค ัญของโรคติดต่ออ ันตราย พ.ศ. ....
ื่ และอาการสา

ื่ โรค
ชอ (๑) กาฬโรค (Plague)
(๒) ไข้ทรพิษ (Smallpox)
(๓) ไข้เหลือง (Yellow fever)
(๔) โรคทางเดินหายใจเฉียบพล ันรุนแรง หรือ โรคซาร์ส (Severe Acute
Respiratory Syndrome - SARS)
้ื ไวร ัสอีโบลา (Ebola virus disease - EVD)
(๕) โรคติดเชอ
(๖) โรคทางเดินหายใจตะว ันออกกลาง หรือ โรคเมอร์ส (Middle East
Respiratory Syndrome – MERS)
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรือ
่ ง ชอ ํ ค ัญของโรคติดต่ออ ันตราย พ.ศ. ....
ื่ และอาการสา

ื่ โรค
ชอ ื้ ไวร ัสมาร์บวร์ก (Marburg virus disease)
(๗) โรคติดเชอ
ื้ ไวร ัสเฮนดรา (Handra virus disease)
(๘) โรคติดเชอ
ื้ ไวร ัสนิปาห์ (Nipah virus disease)
(๙) โรคติดเชอ
(๑๐) ไข้ลาสซา (Lassa fever)
(๑๑) ไข้เลือดออกไครเมียนคองโก (Crimean - Congo hemorrhagic fever)
(๑๒) ไข้เวสต์ไนล์ (West Nile fever)
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรือ
่ ง ชอ ํ ค ัญของโรคติดต่ออ ันตราย พ.ศ. ....
ื่ และอาการสา

ชอื่ โรค (๒) ไข้ทรพิษ (Smallpox) มีอาการไข้สูง ปวดตามต ัว ปวดศรี ษะ ปวดหล ัง


อาการสา ํ ค ัญ
อ่อ นเพลีย อาจมีอ าการปวดท้อ งร่ว มด้ว ย ระยะก่อ นทีจ
่ ะมีผ น ้ จะมีอ าการ
ื่ ขึน
คล้ายไข้หว ัดใหญ่ หล ังจากไข้สง
ู แล้วจะปรากฏผืน ้ ต่อมาจะกลายเป็นตุม
่ ขึน ่ ตุม

ใส ตุม ั
่ หนอง และตกสะเก็ ด เป็ นระยะเวลา ๓ - ๔ ส ปดาห์ โดยผืน
่ จะปรากฏที่
บริเวณใบหน้า แขน และขามากกว่าบริเวณลําต ัว โดยเฉพาะบริเวณทีไ่ ด้ร ับการ
ี ดสบ
เสย ี อ
่ ย ๆ แผลทีต
่ กสะเก็ ดเมือ
่ หายแล้วอาจทําให้เกิดแผลเป็นรอยบุ๋ม และ
อาจทําให้เกิดความพิการ จนถึงขนตาบอดได้
ั้
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรือ
่ ง ชอ ํ ค ัญของโรคติดต่อโรคติดต่อทีต
ื่ และอาการสา ่ อ
้ งเฝ้าระว ัง
พ.ศ. ....

ื่ โรค
ชอ
(๑) กามโรคของต่อมและท่อนํา้ เหลือง (๑๖)แผลริมอ่อน (๓๑)โรคบิด
(๒) ไข้กาฬหล ังแอ่น (๑๗)พยาธิทริโคโมแนส (๓๒)โรคพิษสุน ัขบ้า
(๓) ไข้ดา
ํ แดง ิ
(๑๘)เมลิออยโดสส (๓๓)โรคมือเท้าปาก
(๔) ไข้ปวดข้อยุงลาย ื พ ันธุแ
(๑๙)เริมของอว ัยวะสบ ์ ละทวารหน ัก (๓๔)เยือ
่ หุม
้ สมองอ ักเสบจากพยาธิ
(๕) ไข้มาลาเรีย ิ า
(๒๐)ไข้ซก ้ น
(๓๕)โรคเรือ
(๖) ไข้สมองอ ักเสบชนิดญีป
่ ่น
ุ (๒๑)คางทูม (๓๖)โรคลิซมาเนีย
(๗)อีสก
ุ อีใส ิ ิ ลิส
(๒๒)ซฟ ิ
(๓๗)โรคเลปโตสไปโรสส
(๘) ไข้หว ัดนก ื้ ไวร ัส
(๒๓)โรคต ับอ ักเสบจากเชอ (๓๘)โรคสคร ับไทฟัส
(๙) ไข้หว ัดใหญ่ (๒๔)โรคตาแดงจากไวร ัส (๓๙)โรคอุจจาระร่วงเฉียบพล ัน
(๑๐)ไข้ห ัด (๒๕)ไข้เด็งกี่ (๔๐)โรคเอดส ์
(๑๑)ไข้ห ัดเยอรม ัน ื้ สเตร็ปโตคอคค ัสซูอส
(๒๖)โรคติดเชอ ิ (๔๑)โลนทีอ
่ ว ัยวะเพศ
(๑๒)ไข้เอนเทอริค (๒๗)พยาธิทริคเิ นลลา (๔๒)ว ัณโรค
(๑๓)ไข้เอนเทอโรไวร ัส (๒๘)โรคเท้าชา้ ง (๔๓)หนองใน
(๑๔)คอตีบ ิ
(๒๙)โรคบรูเซลโลสส (๔๔)หนองในเทียม
(๑๕)โปลิโอ (๓๐)บาดทะย ัก (๔๕)หูดข้าวสุก
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรือ
่ ง ชอ ํ ค ัญของโรคติดต่อโรคติดต่อทีต
ื่ และอาการสา ่ อ
้ งเฝ้าระว ัง
พ.ศ. ....

ื่ โรค
ชอ

(๔๖)หูดอว ัยวะเพศและทวารหน ัก
ื้ สาเหตุ
(๔๗)ไข้สมองอ ักเสบไม่ระบุเชอ
(๔๘)ไข้ไม่ทราบสาเหตุ
ื้ สาเหตุ
(๔๙)ไวร ัสต ับอ ักเสบไม่ระบุเชอ
(๕๐)เยือ
่ หุม ื้ สาเหตุ
้ สมองอ ักเสบไม่ระบุเชอ
้ อ่อนปวกเปี ยกเฉียบพล ัน
(๕๑)โรคอ ัมพาตกล้ามเนือ
(๕๒)โรคปอดอ ักเสบ
(๕๓)อาการภายหล ังได้ร ับการสร้างเสริมภูมค
ิ ม
ุ ้ ก ันโรค
(๕๔)อาหารเป็นพิษ
(๕๕)อหิวาตกโรค
(๕๖)โรคแอนแทร็คซ ์
๘ กันยายน ๖ มีนาคม ๕ มีตน
้องาคม
ระยะ พ.ร.บ. มีผล จัดทํา
เตรีย
๒๕๕๘
ประกาศ
๒๕๕๙ ๒๕๖๐
อนุ
มกา ในราชกิจจา ๑๘๐ วัน บังคับ ๓๖๕ วัน บัญญัต ิ
ร นุ เบกษา ใช้ แลว
จัดทําแผนงาน / กิจกรรม / ้
งบประมาณ (รายละเอียดตาม กฎกระท เสร็จ
เอกสารประกอบหมายเลข ๑)
ดานนโยบาย
้ รวง
จัดทําอนุ บญ
ั ญัต ิ ๒๒ ฉบับ คณะกรรมการ
(รายละเอียดตามเอกสารประกอบ
แผนปฏิบตั ิ เสนอรัฐมนตรีให้ออกอนุ
การ ประกาศ โรคติดตอจั
่ งหวัด
เตรียมข้อมูลเพือ
่ จัดทําอนุ หมายเลข าเนิ
ตัง้ คณะกรรมการดํ ๒)นงานรับรอง บัญญัต ิ
บัญญัต ิ ด้านวิชาการ
พระราชบัญญัตโิ รคติดตอ ่ พ.ศ.
๒๕๕๘ และคณะอนุ กรรมการ ๔ ระเบียบ
กฎหมาย
คณะกรรมการ
คณะ โรคติดตอกรุ งเทพฯ
นโยบาย ่
ขับเคลือ
่ นสู่
บริหารจัดการ
ภาคปฏิบต ั ิ
เตรียมข้อมูลเพือ
่ จัดทํา ระบบ ประชุมคณะกรรมการโรคติดตอ
่ หน่วยปฏิบต
ั ก
ิ ารควบคุม
จัดทําราง

นโยบาย ระบบ แผนปฏิบต
ั ิ แห่งชาติ ออกอนุ
เพือ
่ โรคติดตอ่ ( SRRT )
แผนปฏิบตั ก
ิ าร และ การ
ตัง้ บัญญัตทิ ี่ ตัง้
แนวทางปฏิบต ั ิ ให้ความ
แนวทางปฏิบต
ั ิ คณะกรรมก อยูใน
่ กรรมการ คณะทํางานประจํา
เห็ นชอบ
ารวิชาการ อํานาจ ผู้ทรงคุณ ช่องทางเข้าออก
จัดทําสื่ อ หน่วยงาน
นโยบาย ของ วุฒ ิ
ประชาสั มพัน ในกรม
หน่วยงาน กรรมการ
ธ์ อืน
่ ส่วนกลาง
เพือ
่ เผยแพร่ ประชาชน ระบบ จัดประชุมเสวนา
สคร. ชีแ
้ จง หน่วยงาน
หน่วยงานใน ภายในกรม
กรมควบคุม แนวทางปฏิบต
ั ิ
โรค จัดทําสื่ อ หน่วยงานของ
สํ านักงานปลัด
กระทรวงฯ / สสจ. ประชาสั มพันธ ์ รัฐอืน
่ ๆ
หน่วยงานใน แผนปฏิบต ั ก
ิ าร
(เสนอ ครม. ให้ เพือ
่ เผยแพร่
กระทรวง กรมการแพทย ์
สาธารณสุข ความเห็ นชอบ)
กรุงเทพมหาน เสนออธิบดีออกประกาศ ประชาชน
กรมอนามัย
จัดประชุม คร
หน่วยงานของ หลักเกณฑ ์ วิธก ี าร และ
เสวนา ชีแ้ จง รัฐอืน่ ๆ กรมวิทยาศาสตรก
์ เงือ
่ นไขการเขาไปในพาหนะ
ารแพทย ์

กฎหมาย (ส่วนกลาง) / อาคาร ติดตามและประเมินผล
สภาวิชาชีพที่
หรือสถานทีใ่ ด
หนเกี ย
่ วของ
่ วยงานของ้ แตงตั่ ง้ เจ้าพนักงานควบคุม
รัฐอืน ่ ๆ (ส่วน โรคติดตอ ่
ภูมภ ิ าค) 30
ผลการประชุมกล่ มุ
เขตสุขภาพที่ 10
ปั ญหาการเชื่อมโยงข้ อมูล
ระหว่ างห้ องปฏิบตั กิ ารกับการเฝ้าระวังโรค

1.ไม่ มีการแจ้ งข้ อมูลโรคจากแพทย์ กรณีทราบผลตรวจทาง


ห้ องปฏิบตั กิ ารแล้ ว
2. ห้ องปฏิบตั กิ ารไม่ ทราบว่ าเป็ นโรคที่ต้องรายงาน
3.แพทย์ ไม่ ได้ วนิ ิจฉัยว่ าเป็ นโรคที่ต้องรายงาน
4.ไม่ ได้ แก้ ผลการวินิจฉัย หากมีการเปลี่ยนแปลง
ปั ญหาการเชื่อมโยงข้ อมูล
ระหว่ างห้ องปฏิบตั กิ ารกับการเฝ้าระวังโรค
5. ห้ องปฏิบัติการไม่ มีรายชื่อโรคที่ต้องรายงานทัง้ 57 โรค จึงรายงาน
เฉพาะบางโรค
6. ไม่ มีการอบรมร่ วมกันระหว่ างเจ้ าหน้ าที่งานเฝ้าระวังและงานชันสูตรโรค
7.ควรให้ ส่วนกลางระหว่ างกรมควบคุมโรคและกรมวิทยาศาสตร์ การแพทย์ มี
การประชาสัมพันธ์ เรื่ องพรบ.โรคติดต่ อ (แนวทางการรายงานโรคและการ
รายงานผลทางห้ องปฏิบตั กิ าร)
ปั ญหาการเชื่อมโยงข้ อมูล
ระหว่ างห้ องปฏิบตั กิ ารกับการเฝ้าระวังโรค

8.เจ้ า หน้ า ที่ ร ะบาดในโรงพยาบาลไม่ ไ ด้ อ ยู่ ใ นคณะกรรมการทบทวนเวช


ระเบียน ทําให้ ไม่ ทราบการแจ้ งเปลี่ยนแปลงการรายงานโรค (ขาด flow ใน
การเชื่อมข้ อมูล)
9.ต้ องมีการเชื่อมข้ อมูล IT ภายในโรงพยาบาล
10.มีโปรแกรมในการรายงานโรคที่หลากหลายต้ องมีการวางโครงสร้ างข้ อมูล
ที่สามารถเชื่อม-ดึงข้ อมูลได้
ปั ญหาการเชื่อมโยงข้ อมูล
ระหว่ างห้ องปฏิบตั กิ ารกับการเฝ้าระวังโรค

11.ควรเพิ่มความเข้ มข้ นในการประสานงานระหว่ างงานเวชกรรมและห้ องปฏิบัตกิ าร


ภายในโรงพยาบาล
12.สสจ.ควรตรวจสอบความถูกต้ องก่ อนรายงานผู้ป่วยให้ แก่ สคร.และสํานักระบาด
วิทยา
13.กรณีโรงพยาบาลมหาวิทยาลัย โรงพยาบาลเอกชน และโรงพยาบาลนอกสังกัด
กระทรวงสาธารณสุข ต้ องเพิ่มการจัดตัง้ ระบบเฝ้าระวังเช่ นเดียวกับโรงพยาบาลสังกัด
กระทรวงสาธารณสุข
ผังการเชื่อมโยงข้ อมูล

ห้ องปฏิบตั กิ าร หอผู้ป่วย

เพิม่ การประสานงาน
เวชกรรม
(การรายงานโรค
เข้ าสู่รง.506)
การแก้ ปัญหาการเชื่อมโยงข้ อมูล
ระหว่ างห้ องปฏิบตั กิ ารกับการเฝ้าระวังโรค
1. ศูนย์ คอม ดึงข้ อมูล ICD10 ของ 506 ทุกวัน
2. จัดทํา flow และแนวทางการรายงานโรคที่ต้องเฝ้าระวัง
3. พัฒนาทีม ฝึ กอบรม การประชุมระหว่ าง
 แพทย์
 ห้ องปฏิบตั กิ าร
 เวชกรรมฯ
 และผู้เกี่ยวข้ อง
4. การสื่อสารพรบ. 2558 ให้ กับผู้เกี่ยวข้ อง ครอบคลุมรพ. ทุกระบบทัง้ ในและนอกกระทรวง
สาธารณสุข
5. แต่ ละแห่ งดําเนินการเชื่อมต่ อตามบริบท
รพ.ศ. HIS  LISML รพ.สุรินทร์ HIS  LISML
Minimum Data Set
1. ข้ อมูลผู้ป่วย
 ID ผู้ป่วย
 ชื่อ-สกุล อายุ อาชีพ
 สัญชาติ สถานภาพ ที่อยู่ เบอร์ โทรติดต่ อ
2. ข้ อมูลการรั กษา
 วันเริ่มป่ วย วันรั กษา วันที่รายงาน
 ผลวินิจฉัย
 สถานภาพผู้ป่วย
 สถานที่รักา
3. ข้ อมูลทางห้ องปฏิบตั กิ าร
 ผลตรวจทางห้ องปฏิบตั กิ ารเพื่อการวินิจฉัย (ขึน้ อยู่กับโรค และอาการ)
 Screening test/ Culture/ PCR/ etc…)

You might also like