You are on page 1of 3

สอบ SU114-162 เทคโนโลยีเปลี่ยนโลก

ภัคพล เปรมประสพโชค 651310124

ข้อ 1 = ด้านการท่องเที่ยว มี 3 ด้าน


1.ความลับ (Confidentiality) ความเสี่ยงคือ ข้อมูลของนักท่องเที่ยวที่ถูกเก็บไว้ อาจจะทาให้ขอ้ มูลนักท่อง
เที่ยงหลุดไปแบบไม่รู้ตวั ถ้าไม่เก็บรหัสผ่านการเข้าถึงให้ดๆี
2. ความถูกต้องสมบูรณ์ (Integrity) ความเสี่ยงคือ การตรวจสอบข้อมูลเกี่ยวกับนักท่องเที่ยว หรื อการจองที่ตอ้ งมีความ
ถูกต้อง จะกระทบเรื่ องของ ข้อมูลที่มีการจองหรื อการทาทุกอย่างโดยที่นกั ท่องเที่ยวมีการส่งข้อมูลไป ถ้าหากข้อมูลชุดนี้
หลุดไป ความส่วนตัวก็จะหายไปด้วย

3. ความพร้อมใช้งาน (Availability) ความเสี่ ยงคือ การรองรับผูใ้ ช้งานักท่องเที่ยวจานวนมาก ผลกระทบคือ หากสมมุติเรามี


เว็บการจองสถานที่ท่องเที่ยว แล้ว user เข้ามาจานวนมากแต่ไม่สามารถเข้าพร้อมกันแบบเยอะๆ ได้ จนทาให้เว็บล่ม ทาให้
นักท่องเที่ยวไม่สามาถรจองได้ หรื อแม้กระทั้ง จะใช้ยืนยันก็ไม่ได้ มันหมายความว่า ความพร้อมใช้งานนั้นไม่มีเลย

ข้อ 2

1. จะโดน SQL Injection จากปุ่ มหน้าเวปที่สามารถ submit ได้ เช่นอันนี้หน้า login


2. โดนโจมตีในรู ปแบบ Man in the middle จากการที่เว็ปไม่มี HTTP ค่อนข้างเป็ นสี่ งที่อนั ตรายมาก
ข้อ 3 = ข้อแตกต่างคือ การเข้ารหัสแบบสมมาตร ใช้ปมเดี ุ่ ยว สาหรับทัง้ การเข้ารหัสและถอดรหัสและ การเข้ารหัสแบบ
อสมมาตร ใช้ Public keys สาหรับการเข้ารหัส และ Private key สาหรับการถอดรหัส.

ข้อ 4 = ใช้งาน Symmetric-key ไปในการใช้ในด้านการท่องเที่ยวคือ ใช้เก็บพวกสัญญาการท่องเที่ยว หรือข้อตกลงระ


หว่าสถานที่กับรัฐ หรือข้อมูลสาคัญๆ ที่จากัดคนในการเข้าถึง

ข้อ 5 = ใช้งาน Asymmetric-key ไปในการใช้ในด้านการท่องเที่ยวคือ ใช้เก็บข้อมูลของนักท่องเที่ยว หรือข้อมูลสาคัญๆ


ของนักท่องเที่ยวคนนัน้ ๆ และชุดข้อมูลเกี่ยวกับสถานที่ โดยให้พนักงานเป็ นคนเก็บ key ไว้

ข้อ 6.1 =

ข้อ 6.2.1 = เป็ นการเข้ารหัสแบบ Asymmetric-key หรือแบบ อสมมาตร

ข้อ 6.2.2 = อลิสส่งข้อมูลใช้ Public key ของ Bob เมือ่ Bob ได้รับข้อมูลที่เข้ารหัสนี ้ เขาสามารถถอดรหัสด้วย Private
key ของเขาเอง เพื่อให้มีเพียงเขาเท่านัน
้ ที่สามารถดูขอ้ มูลที่ละเอียดอ่อนได้
7. = ตัวอย่างในการใช้ Blockchain ในด้าน การท่องเที่ยว

7.1 = เอา Blockchain ไปทางานด้านของการทาธุรกรรมในการจองสถานที่พักในการท่องเที่ยว

7.2 = ประโยชน์คือทาให้ธุรกรรมนัน้ สามารถใช้จ่ายได้อย่างปลอดภัยและอิสระ และยังสามารถจ่ายด้วยเงิน Crypto ได้อีก

7.3 = Public Blockchain เพราะ เรามีการทาธุรกรรมด้วยเงิน Crypto ด้วย ฉะนัน้ ต้องใช้พลังงานจานวนมากในการ


ประมวลผลธุรกรรมเพราะใช้ระบบ Proof of work ในการตรวจสอบธุรกรรม แต่ปัญหาคือ การเปิ ดกว้างเกินไป จึงทาให้
ไม่มีความเป็ นส่วนตัวในการทาธุรกรรมเท่าไร

8. = ไปใช้งานในด้านของการทาธุรกรรมหรือแลกเปลี่ยน โดยการทาธุรกรรมนึงครัง้ ก็คือ 1 บล็อกใน blockchain แล้วมี


การใช้ Hash ในการลิงค์ขอ้ มูลของกล่องแต่ละกล่องเพื่อความถูกต้องในการทาธุรกรรม

9. = อย่างแรกคือเราจะมี Hash ที่ใช้ในการเข้ารหัสที่ได้รหัสแบบปลอดภัยมา แล้วจะเอาไปใช้ใน ระบบกุญแจเข้ารหัสแบบ


สมมาตร ซึ่งจะมีกุญแจรหัส สาหรับเข้าและถอดรหัส 2 ดอก ได้แก่ Public Key กับ Private Key แล้วก็นาไปลงทะเบียน

10. = การขุดก็คือการใช้พวกการ์ดจอหรือพวกเครื่องที่ใช้การสุ่มตัวเลข Nonce แบบ random ในการหาเลข Nonce ที่


ตรงกับ Valid Block Hash แล้วก็จะมีการตรวจสอบกระบวการ Proof of work แล้วหลังจากนัน้ คนตอบถูกจะได้รางวัล
นัน้ เอง

11.การรับส่งนัน้ จะใช้ blockchain เทียบก็คือเป็ นกล่องใหญ่ๆ ในนัน้ จะมี Header ก็คือ Previous Hash และ Height
และอีกอันคือ Transaction ก็คือธุรกรรมที่เราทั้งนัน้ เอง เมื่อเราโอนจากคนนึงไปยังคนนึงข้อมูลเราจะถูกเก็บไว้ในนี ้ และ
เมื่อมีธุรกรรมใหม่เข้ามามันจะเชื่อมไปเรื่อยๆ โดยใช้ตวั Previous hash ในการอ้างอิงที่อนั ก่อน เพื่อให้มีความน่าเชื่อและ
ความปลอดภัยมากขัน้

- ภัคพล เปรมประสพโชค 651310124

You might also like