You are on page 1of 7

1

SU114-162 เทคโนโลยีเปลี่ยนโลก

Cryptocurrency Technology

วัตถุประสงค์การเรียนรู้

เพื่อให้เข้าใจถึงรูปแบบพื้นฐานและขั้นตอนของระบบ Cryptocurrency

ผู้สอน อาจารย์รักชนก สุขะกาลนันท์


2

1. ความแตกต่างระหว่างสกุลเงินปกติกับสกุลเงินดิจิทัล

- ดอลลาร์ หยวน บาท เป็นสกุลเงินปกติ (Normal Currency) ธนาคารกลางของรัฐผลิตออกมาในรูปของธนบัตร


หรือเหรียญ นามาใช้ทาธุรกรรมในลักษณะการใช้เงินสด หรือรูปแบบ Digital Payment เช่น PromptPay, True
Wallet

- ตัวอย่างเช่น Bitcoin คือ สกุลเงินดิจิทัล Cryptocurrency เกิดมูลค่าเมื่อเครือข่ายผู้คนให้มูลค่าเปรียบเสมือน


สินทรัพย์ทั่วไป เช่น อัญมณี ทอง ทรัพยากรธรรมชาติ และอื่นๆ ทีเ่ ครือข่ายผู้คนสร้างมูลค่าขึ้นมาเอง และไม่มี
ตัวกลางในการควบคุม

โดยที่ Cryptocurrency จะแปรผันตาม Demand และ Supply และจะถูกกาหนดราคากลางด้วยกลไกล


ของระบบการตลาด ในปัจจุบัน Cryptocurrency ยังไม่ถือเป็นสกุลเงินตราตามกฎหมาย

สกุลเงินตราที่ได้รับการยอมรับตามกฎหมาย จะต้องถูกกาหนดโดยรัฐเท่านั้น เช่น ธนบัตร และเหรียญ


กษาปณ์สกุลเงินต่างๆ ของแต่ละประเทศที่ใช้กันในปัจจุบัน

Cryptocurrency สามารถแลกเปลี่ยนเป็นสกุลเงินปกติได้ โดยจะมีอัตราค่าธรรมเนียมในการแลกเปลี่ยน


และจะต้องแลกเปลี่ยนผ่านหน่วยงานที่ได้รับใบอนุญาตจากสานักงานคณะกรรมการกากับหลักทรัพย์และตลาด
หลักทรัพย์ (ก.ล.ต.)

Cryptocurrency ที่ได้รับความนิยมในปัจจุบัน ที่ได้รับการรับรองจาก ก.ล.ต. ของประเทศไทย เช่น


Ethereum, Litecoin, Bitcoin Cash, Ripple, Binance Coin, Cardano, Ripple (XRP) และอื่นๆ

“Cryptocurrency คือ สินทรัพย์ดิจิทัลประเภทหนึ่งที่ต้องอาศัยการเข้ารหัส โดยคาว่า "Crypto"


หมายถึง การเข้ารหัส ส่วนคาว่า "Currency" หมายถึง สกุลเงิน ทาให้คริปโตเคอร์เรนซีเป็นเงินดิจิทัลที่
หลายฝ่ายมองว่าเป็นสกุลเงินในอนาคต ที่จะเข้ามามีบทบาทในการซื้อขายแลกเปลี่ยนสินค้าและบริการ
ระหว่างสินทรัพย์ดิจิทัลด้วยกัน”
2. Cryptocurrency กรณีศึกษา Bitcoin
- Bitcoin เป็นสินทรัพย์ดิจิทัลอย่างหนึ่ง โดยมีการแลกเปลี่ยนซื้อขายได้บนตลาดออนไลน์
3

- Bitcoin ได้รับความนิยมและเป็นที่รู้จักมากที่สุด เป็น Cryptocurrency แรกที่เกิด ปี 2009 โดยใช้


Blockchain Technology + Cryptography โดยไม่มหี น่วยงานสถาบันกลางง หรือธนาคาร

3. วิธีการทาธุรกรรม Cryptocurrency มีหลักการอย่างไรบ้าง

3.1 Cryptocurrency ใช้หลักการของ Blockchain

อธิบายแบบง่าย

การใช้การจัดเก็บข้อมูลแบบ Decentralized โดยทุกๆ เครื่องคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายทุกเครื่องจัดเก็บ


รายการข้อมูลธุรกรรมที่เกิดขึ้นบนเครือข่าย ซึ่งทุกเครื่องคอมพิวเตอร์มีรายการข้อมูลธุรกรรมเหมือนกันทุกเครื่อง

Ref: https://www.youtube.com/watch?v=GmXxSfh85ZY
4

อธิบายเชิงระบบ

1 Blockchain ประกอบด้วย

1)Header คือ Previous Hash และ Height(ลาดับของ Block)

2)Transaction คือ รายการที่ทาธุรกรรม เช่น รายการโอนเงิน รายการรับเงิน

Double Hashing by SHA-256


5

3.2 ตัวอย่างการทางานของ Bitcoin

1)การหาเลข Nonce แบบ Random เรียกว่า การทา Mining

Miner ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ทาการ Ramdom หาเลข Nonce


6

2)นา Valid Block ไป Boardcast ไปยังคอมพิวเตอร์บนเครือข่าย

- คอมพิวเตอร์ส่วนตัวของคนในเครือข่ายจะมี Public Key เปรียบเสมือนเลขที่บัญชี และ Private Key


เปรียบเสมือนการเข้ารหัส หรือลายนิ้วมือ ซึ่งจะมีแค่เจ้าของเท่านั้นที่มี

-เราจะต้องใช้ Private Key เพื่อเข้าสู่บัญชีของตัวเอง แล้วระบุจานวนเหรียญ เพื่อโอนไปยัง Public Key ของผู้รับ


ซึ่งข้อมูลทั้งหมดนี้จะถูกบันทึกลง Blockchain แล้วเข้ารหัสด้วยวิธี Hash Function และส่งสัญญาณประกาศให้
คนทั้งเครือข่ายรับรู้ และรับรองความถูกต้องของธุรกรรม

-ต้องมีการตรวจสอบความปลอดภัย และความถูกต้องโดยนักขุด (Miner) โดยใช้กระบวนการ Proof of Work คือ


นักขุดต้องเดาคาตอบของการถอดรหัส Hash Function ให้ถูกต้อง แต่ถ้ามีนักขุดหาคาตอบได้มากกว่า 1 คาตอบ
ก็จะยึดคาตอบส่วนมากของคอมในเครือข่ายเป็นอันที่ถูก และมีรางวัลเป็นเงินดิจิทัลนั่นเอง
7

Ref : https://thomasthailand.co/investment/cryptocurrency/

You might also like