You are on page 1of 2

ใบงาน คาราชาศัพท์

ชื่อ-สกุล .................................................... ชั้น ............... เลขที่ ...............


ว ิชา ภาษาไทย ภาคเร ียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๒

คำรำชำศัพท์ หมำยถึง ศัพท์ที่ใช้ในทางราชการเพื่อให้เหมาะสมกับฐานะของบุคคล และบุคคล


ที่ได้รับการยกย่อง เช่น พระมหากษัตริย์ พระบรมวงศานุวงศ์ ขุนนาง ข้าราชการ พระสงฆ์ เป็นต้น
๑. คำนำมรำชำศัพท์
๑) คำนำมรำชำศัพท์ที่สมบูรณ์ หมายถึง คานามที่เป็นคาราชาศัพท์อยู่แล้ว สามารถนาไปใช้ได้ทันที
โดยไม่ต้องเปลี่ยนรูปคา เช่น ................................................................................................................................
๒) คำนำมรำชำศัพท์ที่สร้ำงขึ้น หมายถึง คานามที่เกิดจากการนานามสามัญมาทาให้มีลักษณะเป็น
คาราชาศัพท์ โดยนาคามาประกอบข้างหน้าหรือหลัง เช่น ...................................................................................
..............................................................................................................................................................................
๒. คำสรรพนำมรำชำศัพท์
๑) คำสรรพนำมบุรุษที่ ๑

ผู้ฟัง คำสรรพนำม
พระมหำกษัตริย์
เจ้ำนำยชั้นพระองค์เจ้ำ
หม่อมเจ้ำ

๒) คำสรรพนำมบุรุษที่ ๒

ผู้ฟัง คำสรรพนำม
พระมหำกษัตริย์ สมเด็จพระบรมรำชินีนำถ
พระรำชินี สมเด็จพระบรมโอรสำธิรำช
สมเด็จพระบรมรำชกุมำรี
เจ้ำนำยชั้นเจ้ำฟ้ำ
เจ้ำนำยชั้นพระองค์เจ้ำ
เจ้ำนำยชั้นหม่อมเจ้ำ
๓. คำกริยำรำชำศัพท์
๑) คำกริยำรำชำศัพท์ที่สมบูรณ์ หมายถึง คากริยาที่เป็นคาราชาศัพท์อยู่แล้ว สามารถนาไปใช้ไ ด้
ทันทีโดยไม่ต้องเปลี่ยนรูปคา เช่น .........................................................................................................................
๒) คำกริยำรำชำศัพท์ที่สร้ำงขึ้น หมายถึง คากริยาที่เกิดจากการนาคานามหรือ คากริยามาทาให้มี
ลักษณะเป็นคาราชาศัพท์ โดยนาคาว่า .......................................................... มาประกอบไว้หน้าคา ดังนี้
- เติม “ทรง” หน้าคานามสามัญ เช่น ......................................................................................................
- เติม “ทรง” หน้าคานามราชาศัพท์ เช่น ..............................................................................................
..............................................................................................................................................................................
- เติม “ทรง” หน้าคากริยาสามัญ เช่น ....................................................................................................
- เติม “เสด็จ” หน้าคากริยาสามัญ เช่น ..................................................................................................
- เติม “เสด็จ” หน้าคากริยาราชาศัพท์ เช่น ............................................................................................
- เติม “เสด็จ” หน้าคานามราชาศัพท์ เช่น ..............................................................................................
ข้อสังเกตอื่น ๆ ที่น่ำสนใจเกี่ยวกับกำรใช้คำรำชำศัพท์
๑. เสด็จฯ VS เสด็จ
เสด็จฯ เสด็จ

๒. พระรำชอำคันตุกะ VS อำคันตุกะ
พระรำชอำคันตุกะ อำคันตุกะ

๓. ทูลเกล้ำทูลกระหม่อมถวำย VS น้อมเกล้ำน้อมกระหม่อมถวำย
ทูลเกล้ำฯ ถวำย น้อมเกล้ำฯ ถวำย

*** สมเด็จพระสังฆรำช ใช้คำรำชำศัพท์เสมอเจ้ำนำยชั้นพระเจ้ำวรวงศ์เธอ

You might also like