You are on page 1of 20

เขียนแบบไฟฟ้า

(Electrical Drawing)
รหัสวิชา 20104-2001

หมวดวิชาสมรรถนะวิชาชีพ กลุ่มสมรรถนะวิชาชีพเฉพาะ
ประเภทวิชาอุตสาหกรรม สาขาวิชาช่างไฟฟ้ากำ�ลัง
หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2562
สำ�นักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (สอศ.) กระทรวงศึกษาธิการ

เรียบเรียงโดย
บัญชา ศรีสุธรรม
เขียนแบบไฟฟ้า
(Electrical Drawing)
ISBN 978-616-211-998-9

จัดพิมพ์และจัดจ�ำหน่ายโดย...
บริษัทวังอักษร จ�ำกัด
69/3 ถนนอรุณอมรินทร์ แขวงวัดอรุณ เขตบางกอกใหญ่ กรุงเทพฯ 10600
Tel. 0-2472-3293-5 Fax 0-2891-0742 Mobile 08-8585-1521
e-Mail : wangaksorn9@gmail.com Facebook : ส�ำนักพิมพ์ วังอักษร
ID Line : @wangaksorn http://www.wangakson.com

พิมพ์ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2562 จ�ำนวนที่พิมพ์ 3,000 เล่ม


สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537


โดยบริษัทวังอักษร จ�ำกัด ห้ามน�ำส่วนใดส่วนหนึ่งของหนังสือเล่มนี้ไปท�ำซ�้ำ
ดัดแปลง หรือเผยแพร่ต่อสาธารณชน ไม่ว่ารูปแบบใด ๆ นอกจากได้รับอนุญาต
เป็นลายลักษณ์อักษรล่วงหน้าจากทางบริษัทฯ เท่านั้น
ชื่อและเครื่องหมายการค้าอื่น ๆ ที่อ้างอิงในหนังสือฉบับนี้
เป็นสิทธิโดยชอบด้วยกฎหมายของเจ้าของแต่ละราย
โดยบริษัทวังอักษร จ�ำกัด มิได้อ้างความเป็นเจ้าของแต่อย่างใด
เขียนแบบไฟฟ้า
(Electrical Drawing)
รหัสวิชา 20104-2001
จุดประสงค์รายวิชา เพื่อให้
1. เข้าใจเกี่ยวกับหลักการเขียนแบบตามมาตรฐานสากล
2. มีทกั ษะเกีย่ วกับการอ่านแบบและเขียนแบบระบบไฟฟ้าแสงสว่าง ระบบไฟฟ้าก�ำลังและระบบสือ่ สาร
3. มีความตระหนักและเห็นคุณค่าเกี่ยวกับการอ่านแบบและเขียนแบบ

สมรรถนะรายวิชา
1. แสดงความรู้เกี่ยวกับหลักการเขียนแบบตามมาตรฐานสากล
2. อ่านแบบและเขียนแบบงานโครงสร้าง แปลนพื้นงานอาคาร งานระบบไฟฟ้าก�ำลังและสื่อสาร
3. จัดท�ำตารางโหลด (Load Schedule)
4. อ่านแบบและเขียนแบบไฟฟ้าทั่วไป แบบส�ำหรับงานติดตั้งและงานจริง แบบงานควบคุมทางไฟฟ้า

ค�ำอธิบายรายวิชา
ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับสัญลักษณ์ที่ใช้ในงานเขียนแบบไฟฟ้าและงานอาคารตามมาตรฐานสากลการเขียนแบบงาน
โครงสร้าง แปลนพื้นงานอาคาร งานระบบไฟฟ้าและสื่อสาร ไดอะแกรมเส้นเดี่ยว (Single Line Diagram) ไดอะแกรมแนวดิ่ง
(Riser Diagram) ตารางโหลด (Load Schedule) เขียนแบบไฟฟ้าทั่วไปเขียนแบบส�ำหรับงานติดตั้งและแบบงานติดตั้งจริง
เขียนแบบงานควบคุมทางไฟฟ้า เขียน Schematic Diagram, Wiring Diagram และ Pictorial Diagram, One Line Diagram
ตารางวิเคราะห์สมรรถนะรายวิชา
ท - ป - น 0 - 4 - 2 จ�ำนวน 4 คาบ / สัปดาห์ รวม 72 คาบ
แสดงความรู ้ เ กี่ ย วกั บ
หลั ก การเขี ย นแบบตาม

อ่านแบบและเขียนแบบ

อ่านแบบและเขียนแบบ
งานอาคาร งานระบบ

จัดท�ำสตารางโหลด (Load

ไฟฟ้าทั่วไป แบบส�ำหรับ
งานติ ด ตั้ ง และงานจริ ง
งานโครงสร้างแปลนพื้น

แบบงานควบคุมทางไฟฟ้า
ไฟฟ้า ก�ำ ลั งและสื่ อ สาร

สมรรถนะรายวิชา
มาตรฐานสากล

บทที่
Schedule)

บทที่ 1 สัญลักษณ์ที่ใช้ในงานเขียนแบบไฟฟ้าและงานอาคาร ✓
ตามมาตรฐานสากล
บทที่ 2 การเขียนแบบงานโครงสร้างและแปลนพื้นงานอาคาร ✓ ✓
บทที่ 3 การเขียนแบบระบบไฟฟ้าและสื่อสาร ✓ ✓
บทที่ 4 การเขี ย นแบบวงจรไฟฟ้ า แสงสว่ า งและวงจรไฟฟ้ า ✓ ✓
ก�ำลังมาตรฐาน DIN และ ANSI
บทที่ 5 การเขียนแบบไฟฟ้าที่เกี่ยวข้องกับไดอะแกรม ✓ ✓
บทที่ 6 การเขียนแบบส�ำหรับงานติดตั้งและแบบงานติดตั้งจริง ✓ ✓
บทที่ 7 การเขี ย นแบบไฟฟ้ า ทั่ ว ไปและการเขี ย นแบบงาน ✓ ✓
ควบคุมทางไฟฟ้า
ค�ำน�ำ
วิชาเขียนแบบไฟฟ้า รหัสวิชา 20104-2001 จัดอยู่ในหมวดวิชาสมรรถนะวิชาชีพ กลุ่มสมรรถนะ
วิชาชีพเฉพาะ ประเภทวิชาอุตสาหกรรม สาขาวิชาช่างไฟฟ้ากำ�ลัง ตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ
พุทธศักราช 2562 สำ�นักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (สอศ.) กระทรวงศึกษาธิการ ผู้เขียนได้บริหารสาระ
การเรียนรู้แบ่งเป็น 7 บทเรียน ได้จัดแผนการจัดการเรียนรู้/แผนการสอนที่เน้นฐานสมรรถนะ (Competency
Based) และการบูรณาการ (Integrated) ตรงตามจุดประสงค์รายวิชา สมรรถนะรายวิชา คำ�อธิบายรายวิชา
ในแต่ละบทเรียนมุ่งให้ความสำ�คัญส่วนที่เป็นความรู้ ทฤษฎี หลักการ กระบวนการ ตัวอย่าง แบบฝึกปฏิบัติ
และคำ�ถามเพือ่ การทบทวน เพือ่ ฝึกทักษะประสบการณ์ เร่งพัฒนาบทบาทของผู้เรียนเป็นผู้จัดการแสวงหา
ความรู้ (Explorer) เป็นผู้สอนตนเองได้สร้างองค์ความรูใ้ หม่ และบทบาทของผูส้ อนเปลีย่ นจากผูใ้ ห้ความรูเ้ ป็น
ผูช้ แ้ี นะ (Teacher Role) จัดสิง่ แวดล้อมเอือ้ อำ�นวยต่อความสนใจเรียนรูแ้ ละเป็นผูร้ ว่ มเรียนรู้ (Co - Investigator)
จัดห้องเรียนเป็นสถานที่ทำ�งานร่วมกัน(Learning Context) จัดกลุ่มเรียนรู้ให้รู้จักทำ�งานร่วมกัน (Grouping)
ฝึกความใจกว้าง มุ่งสร้างสรรค์คนรุ่นใหม่ สอนความสามารถที่นำ�ไปใช้งานได้ (Competency) สอนความรัก
ความเมตตา (Compassion) ความเชือ่ มัน่ ความซือ่ สัตย์ (Trust) เป้าหมายอาชีพอันยังเป็นประโยชน์ (Productive
Career) และชีวิตที่มีศักดิ์ศรี (Noble Life) เหนือสิ่งอื่นใด เป็นคนดี ทั้งกาย วาจา ใจ มีคุณธรรม จรรยาบรรณ
ทางธุรกิจและวิชาชีพ
ส่งเสริมสนับสนุนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบคุณวุฒิวิชาชีพ (Vocational Qualification System)
สอดคล้องตามมาตรฐานอาชีพ (Occupational Standard) สร้างภูมิคุ้มกัน เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน
ของประเทศ กำ�ลังแรงงาน การพัฒนามาตรฐานการปฏิบัติงานระดับชาติ (National Benchmarking) และการ
วิเคราะห์หน้าที่การงาน (Functional Analysis) เพื่อให้เกิดผลสำ�เร็จในภาคธุรกิจ อุตสาหกรรม ทุกสาขาอาชีพ
เป็นการเตรียมความพร้อมเข้าสู่ประชาคมอาเซียน
ขอขอบพระคุณท่านอาจารย์ผู้สอน ผู้ประสาทวิชาความรู้ เอกสาร หนังสือที่ใช้ประกอบในการเรียบเรียงไว้
ณ โอกาสนี้

บัญชา ศรีสุธรรม
บทที่ 1 สัญลักษณ์ที่ใช้ในงานเขียนแบบไฟฟ้าและ
สารบัญ
งานอาคารตามมาตรฐานสากล 1
บทน�ำ 2
สัญลักษณ์ที่ใช้ในการเขียนแบบควบคุมเครื่องกลไฟฟ้า 3
สัญลักษณ์ระบบดิจิตอลและคอมพิวเตอร์ 4
สัญลักษณ์อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ 5
สัญลักษณ์ไฟฟ้ามาตรฐาน DIN 6
สัญลักษณ์งานติดตั้งไฟฟ้ามาตรฐาน DIN 9
สัญลักษณ์ไฟฟ้ามาตรฐาน ANSI 13
สัญลักษณ์ในการเขียนแบบแปลนพื้นอาคาร 16
แบบทดสอบและกิจกรรมการฝึกทักษะ 21

บทที่ 2 การเขียนแบบงานโครงสร้างและแปลนพื้น
งานอาคาร 29
บทน�ำ 30
การเขียนแบบงานโครงสร้าง 31
การเขียนแบบแปลนพื้นงานอาคาร 45
แบบทดสอบและกิจกรรมการฝึกทักษะ 55

บทที่ 3 การเขียนแบบระบบไฟฟ้าและสื่อสาร 67
การเขียนแบบระบบไฟฟ้า 68
การเขียนแบบระบบสื่อสาร 72
แบบทดสอบและกิจกรรมการฝึกทักษะ 78

บทที่ 4 การเขียนแบบวงจรไฟฟ้าแสงสว่างและ
วงจรไฟฟ้าก�ำลังมาตรฐาน DIN และ ANSI 84
แบบทางไฟฟ้า 85
การเขียนแบบไฟฟ้ามาตรฐาน DIN 86
การเขียนแบบไฟฟ้ามาตรฐาน ANSI 97
แบบทดสอบและกิจกรรมการฝึกทักษะ 100
บทที่ 5 การเขียนแบบไฟฟ้าที่เกี่ยวข้องกับไดอะแกรม 107
บทน�ำ 108
พิกทอเรียลไดอะแกรมและสกีแมติกไดอะแกรม 108
ไรเซอร์ไดอะแกรม 112
ไวริงไดอะแกรม 114
ซิงเกิลไลน์ไดอะแกรม วันไลน์ไดอะแกรมและตารางโหลด 117
แบบทดสอบและกิจกรรมการฝึกทักษะ 122

บทที่ 6 การเขียนแบบส�ำหรับงานติดตั้งและ
แบบงานติดตั้งจริง 132
บทน�ำ 133
วงจรไฟฟ้าแสงสว่าง 134
วงจรไฟฟ้าก�ำลัง 135
วงจรอุปกรณ์ป้องกัน 136
แผงจ่ายไฟฟ้าย่อย 137
การเขียนแบบแสดงการติดตั้งและติดตั้งจริง 146
การเขียนผังวงจรติดตั้งมาตรฐาน DIN 149
แบบทดสอบและกิจกรรมการฝึกทักษะ 151

บทที่ 7 การเขียนแบบไฟฟ้าทั่วไปและการเขียน
แบบงานควบคุมทางไฟฟ้า 162
การเขียนแบบไฟฟ้าทั่วไป 163
การเขียนแบบงานควบคุมทางไฟฟ้า 169
แบบทดสอบและกิจกรรมการฝึกทักษะ 173

ค�ำถามเพื่อการทบทวน 180
ค�ำศัพท์ 183
บรรณานุกรม 186
สัญลักษณ์ทใี่ ช้ในงานเขียนแบบไฟฟ้า
บทที่ 1 และงานอาคารตามมาตรฐานสากล

แนวคิด
สัญลักษณ์ที่นิยมใช้ในงานเขียนแบบไฟฟ้ามี 2 มาตรฐาน คือ มาตรฐานประเทศสหรัฐอเมริกา (ANSI) และ
มาตรฐานประเทศเยอรมัน (DIN)
สัญลักษณ์การเขียนแบบแปลนพืน้ อาคาร เหมาะส�ำหรับอาคารทีพ่ กั อาศัย มีองค์ประกอบของอาคารในแนวระนาบ
ที่อ่านแบบแล้วสามารถเข้าใจได้ง่ายและสื่อความหมายไปในทิศทางเดียวกัน

สาระการเรียนรู้
1. สัญลักษณ์ที่ใช้ในการเขียนแบบควบคุมเครื่องกลไฟฟ้า
2. สัญลักษณ์ระบบดิจิตอลและคอมพิวเตอร์
3. สัญลักษณ์อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์
4. สัญลักษณ์ไฟฟ้ามาตรฐาน DIN
5. สัญลักษณ์งานติดตั้งไฟฟ้ามาตรฐาน DIN
6. สัญลักษณ์ไฟฟ้ามาตรฐาน ANSI
7. สัญลักษณ์ในการเขียนแบบแปลนพื้นอาคาร

สมรรถนะประจ�ำบท
1. ระบุสัญลักษณ์ที่ใช้ในงานเขียนแบบไฟฟ้าและงานอาคารตามมาตรฐานสากลได้
2. เขียนสัญลักษณ์ที่ใช้ในงานเขียนแบบไฟฟ้าและงานอาคารตามมาตรฐานสากลได้ถูกต้อง

จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
1. จ�ำแนกสัญลักษณ์ที่ใช้ในงานเขียนแบบไฟฟ้าและอาคารตามมาตรฐานสากล
2. ปฏิบัติการเขียนแบบควบคุมเครื่องกลไฟฟ้า
3. เขียนแบบสัญลักษณ์ระบบดิจิตอลและคอมพิวเตอร์
4. อ่านแบบสัญลักษณ์อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์
5. ปฏิบัติการเขียนแบบสัญลักษณ์ไฟฟ้ามาตรฐาน DIN
6. อ่านแบบสัญลักษณ์งานติดตั้งไฟฟ้ามาตรฐาน DIN
7. ตรวจสอบสัญลักษณ์ไฟฟ้ามาตรฐาน ANSI
8. ปฏิบัติการเขียนแบบแปลนพื้นอาคารและที่พักอาศัย
2
บทที่ 1 สัญลักษณ์ที่ใช้ในงานเขียนแบบไฟฟ้าและงานอาคารตามมาตรฐานสากล

บทที่ 1

สัญลักษณ์ที่ใช้ในงานเขียนแบบไฟฟ้า
และงานอาคารตามมาตรฐานสากล
บทน�ำ

สัญลักษณ์ที่นิยมใช้ในงานเขียนแบบไฟฟ้ามี 2 มาตรฐาน คือ มาตรฐานประเทศสหรัฐอเมริกา (ANSI)


กับมาตรฐานประเทศเยอรมัน (DIN) เนือ่ งจากในสมัยก่อนระบบไฟฟ้าของประเทศไทยถูกติดตัง้ โดยชาวสหรัฐอเมริกา
เครื่องจักรต่าง ๆ จะน�ำเข้าจากต่างประเทศโดยเฉพาะประเทศเยอรมัน ดังนั้น งานเขียนแบบไฟฟ้าทั้ง ANSI และ
DIN จึงนิยมใช้งานอย่างแพร่หลาย นอกจากนี้ยังมีมาตรฐานไฟฟ้าต่าง ๆ อีก สรุปได้ดังนี้
1. ANSI (American National Standard Institute) เป็นมาตรฐานประเทศสหรัฐอเมริกา
2. DIN (Deutsches Institute for Normung) เป็นมาตรฐานประเทศเยอรมัน
3. IEC (International Electrotechnical Commission) เป็นมาตรฐานสากลทางไฟฟ้านานาชาติ
4. JIS (Japan Industrial Standard) เป็นมาตรฐานอุตสาหกรรมประเทศญี่ปุ่น
สั ญ ลั ก ษณ์ ที่ ใ ช้ ใ นงานเขี ย นแบบอาคาร ในที่นี้จะกล่าวถึงสัญลักษณ์การเขียนแบบแปลนพื้นอาคาร
ซึง่ การเขียนแบบดังกล่าว เหมาะส�ำหรับอาคารทีพ่ กั อาศัย มีองค์ประกอบของอาคารในแนวระนาบทีอ่ า่ นแบบแล้ว
สามารถเข้าใจได้ง่ายและสื่อความหมายไปในทิศทางเดียวกัน
3
บทที่ 1 สัญลักษณ์ที่ใช้ในงานเขียนแบบไฟฟ้าและงานอาคารตามมาตรฐานสากล

สัญลักษณ์ที่ใช้ในการเขียนแบบควบคุมเครื่องกลไฟฟ้า

ตารางที่ 1.1 สัญลักษณ์การเขียนแบบควบคุมเครื่องกลไฟฟ้า

ชนิดอุปกรณ์ ANSI DIN IEC JIS


รีแอคเตอร์ หรือ
หม้อแปลงไฟฟ้าแบบแยก หรือ หรือ หรือ
หรือ
ขดลวด
หม้อแปลงไฟฟ้าแบบออโต หรือ หรือ หรือ หรือ

หรือ หรือ
หม้อแปลงกระแสไฟฟ้า

หรือ หรือ
หม้อแปลงแรงดันไฟฟ้า

เครื่องปลดวงจร 3 ขั้ว
มีฟิวส์

เครื่องปลดวงจร 3 ขั้ว

ขดลวดแม่เหล็กไฟฟ้า หรือ
หรือรีเลย์

รีเลย์โหลดเกิน หรือ
ปลดด้วยความร้อน

หน้าสัมผัสปกติเปิด =

หน้าสัมผัสปกติปิด =
4
บทที่ 1 สัญลักษณ์ที่ใช้ในงานเขียนแบบไฟฟ้าและงานอาคารตามมาตรฐานสากล

ตารางที่ 1.1 สัญลักษณ์การเขียนแบบควบคุมเครื่องกลไฟฟ้า (ต่อ)

ชนิดอุปกรณ์ ANSI DIN IEC JIS

แตร, ฮอร์น

กระดิ่งไฟฟ้า
ไซเรน

หลอดไฟฟ้าสัญญาณ
ต่อลงดิน

สัญลักษณ์ระบบดิจิตอลและคอมพิวเตอร์

ตารางที่ 1.2 สัญลักษณ์ระบบดิจิตอลและคอมพิวเตอร์

ชนิดอุปกรณ์ ANSI DIN IEC JIS


แอนด์เกต &
(AND Gate)
ออร์เกต ≧1
(OR Gate)
นอตเกต =1
(NOT Gate)
แนนด์เกต &
(NAND Gate)
นอร์เกต ≧1
(NOR Gate)
เอกซ์ - ออร์เกต =1
(EX - OR Gate)
เอกซ์ - นอร์เกต =1
(EX - NOR Gate)
5
บทที่ 1 สัญลักษณ์ที่ใช้ในงานเขียนแบบไฟฟ้าและงานอาคารตามมาตรฐานสากล

สัญลักษณ์อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์

ตารางที่ 1.3 สัญลักษณ์อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์

ชนิดอุปกรณ์ ANSI DIN IEC JIS


ตัวต้านทาน R

ตัวต้านทานปรับค่าได้

ตัวเหนี่ยวน�ำไฟฟ้า หรือ
L
ตัวเหนี่ยวน�ำไฟฟ้า
แบบแบ่งค่า
ตัวเก็บประจุไฟฟ้า
ตัวเก็บประจุไฟฟ้า
แบบแบ่งค่า
ตัวเก็บประจุไฟฟ้า + + +
แบบอิเล็กทรอไลต์

ไดโอด หรือ หรือ

บริดจ์ไดโอด 1 เฟส

ไทริสเตอร์

เจเฟตชนิดเอ็น
6
บทที่ 1 สัญลักษณ์ที่ใช้ในงานเขียนแบบไฟฟ้าและงานอาคารตามมาตรฐานสากล

สัญลักษณ์ไฟฟ้ามาตรฐาน DIN

ตารางที่ 1.4 สัญลักษณ์ไฟฟ้ามาตรฐาน DIN

ชนิดอุปกรณ์ แบบงานติดตั้ง แบบงานส�ำเร็จ แบบงานควบคุม

หลอดไฟฟ้าแบบไส้

หลอดไฟฟ้าแบบ
ฟลูออเรสเซนต์
บัลลาสต์

สตาร์ตเตอร์

ฟิวส์
ตัวต้านทาน
ขดลวดความร้อน

สวิตช์ขั้วเดียว

สวิตช์ 2 ทาง 3 ขั้ว


หรือสวิตช์บันได

สวิตช์ 2 ขั้ว

สวิตช์ 3 ขั้ว
7
บทที่ 1 สัญลักษณ์ที่ใช้ในงานเขียนแบบไฟฟ้าและงานอาคารตามมาตรฐานสากล

ตารางที่ 1.4 สัญลักษณ์ไฟฟ้ามาตรฐาน DIN (ต่อ)

ชนิดอุปกรณ์ แบบงานติดตั้ง แบบงานส�ำเร็จ แบบงานควบคุม

สวิตช์อนุกรม
หรือสวิตช์อันดับ

สวิตช์กากบาท
หรือสวิตช์ 4 ทาง

อิมพัลซ์สวิตช์
(รีเลย์)

สวิตช์ปุ่มกด

หลอดไฟฟ้าสัญญาณ

เต้ารับ 1 เฟส 2 สาย

เต้ารับ 1 เฟส 2 สาย


พร้อมสายกราวด์ (PE)

เต้ารับ 1 เฟส 2 สาย


มีฝาครอบเป็นฉนวน

เต้ารับ 1 เฟส 2 สาย


พร้อมสายกราวด์ (PE)
มีฝาครอบเป็นฉนวน 3

กระดิ่งไฟฟ้า
กระแสตรง
8
บทที่ 1 สัญลักษณ์ที่ใช้ในงานเขียนแบบไฟฟ้าและงานอาคารตามมาตรฐานสากล

ตารางที่ 1.4 สัญลักษณ์ไฟฟ้ามาตรฐาน DIN (ต่อ)

ชนิดอุปกรณ์ แบบงานติดตั้ง แบบงานส�ำเร็จ แบบงานควบคุม


กระดิ่งไฟฟ้า ~ ~ ~
กระแสสลับ

กลอนประตูไฟฟ้า

หม้อแปลงไฟฟ้า

คอนแทกเตอร์

V
โวลต์มิเตอร์ V V

A
แอมมิเตอร์ A A

W
วัตต์มิเตอร์ W W

กล่องต่อแยกสาย

เซลล์ไฟฟ้า
9
บทที่ 1 สัญลักษณ์ที่ใช้ในงานเขียนแบบไฟฟ้าและงานอาคารตามมาตรฐานสากล

สัญลักษณ์งานติดตั้งไฟฟ้ามาตรฐาน DIN

ตารางที่ 1.5 สัญลักษณ์งานติดตั้งไฟฟ้ามาตรฐาน DIN

ไฟฟ้าแสงสว่าง สวิตช์

หลอดไฟฟ้าทั่วไป สวิตช์ขั้วเดียว

5 x 60 W
หลอดไฟฟ้าขนาด 60 W 5 หลอด สวิตช์ 2 ขั้ว

หลอดไฟฟ้ามีสวิตช์ สวิตช์ 3 ขั้ว

ไฟฟ้าปลอดภัย สวิตช์อนุกรม

หลอดไฟฟ้าหลายหลอดแยกวงจรกัน สวิตช์ 2 ทาง 3 ขั้ว

หลอดไฟฟ้าแบบฟลูออเรสเซนต์ สวิตช์กากบาท

เต้ารับ (ปลั๊ก) สายไฟฟ้าเข้า

เต้ารับเดี่ยว ไฟฟ้าเข้าจากข้างล่าง

เต้ารับมีสายกราวด์ สายไฟฟ้าลงล่าง

เต้ารับคู่มีสายกราวด์ สายไฟฟ้าขึ้นบน

เต้ารับมีสวิตช์ควบคุม สายไฟฟ้าจากข้างบน

สายไฟฟ้าเข้าทั้งสองทาง
10
บทที่ 1 สัญลักษณ์ที่ใช้ในงานเขียนแบบไฟฟ้าและงานอาคารตามมาตรฐานสากล

ตารางที่ 1.5 สัญลักษณ์งานติดตั้งไฟฟ้ามาตรฐาน DIN (ต่อ)

เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน เครื่องท�ำความเย็น

เครื่องล้างจาน เครื่องท�ำความเย็น

เครื่องเป่าลมร้อน ตู้เย็น

เครื่องซักผ้า ตู้แช่แข็ง

เตาไฟฟ้า M มอเตอร์

หม้อทอดไฟฟ้า เครื่องท�ำความร้อนและเครื่องปรับอากาศ

เตาไฟฟ้าใช้ถ่านได้ เครื่องท�ำความร้อนในห้อง

ถังน�้ำร้อน เครื่องเก็บความร้อน

เครื่องปรุงอาหารด้วยไอน�้ำ เครื่องเก็บความร้อนมีพัดลมเป่าอากาศ

เครื่องใช้ไฟฟ้าทั่วไป หลอดอินฟราเรด

เครื่องใช้ไฟฟ้ามีสวิตช์ พัดลมเป่าอากาศ

เตาอบไมโครเวฟ เครื่องปรับอากาศ

เตาอบ
11
บทที่ 1 สัญลักษณ์ที่ใช้ในงานเขียนแบบไฟฟ้าและงานอาคารตามมาตรฐานสากล

ตารางที่ 1.5 สัญลักษณ์งานติดตั้งไฟฟ้ามาตรฐาน DIN (ต่อ)

เสาอากาศวิทยุและโทรทัศน์ การเคลื่อนที่

เสาอากาศ ด้วยมือ

เครื่องขยายเสียง กด

ล�ำโพง ดึง

เครื่องรับวิทยุ หมุนหรือบิด

เครื่องรับโทรทัศน์ ตะแคง

อุปกรณ์ป้องกันและตัดตอน ด้วยเท้า

ฟิวส์ ตัวชน (ลูกเบี้ยว)

เซอร์กิตเบรกเกอร์ ท�ำงานด้วยแรงกล

เซอร์กิตเบรกเกอร์ตัดวงจรเมื่อมีการรั่วลงดิน ขับด้วยลูกสูบ

เซอร์กิตเบรกเกอร์ตัดวงจรด้วยความร้อน

อุปกรณ์ตัดตอนป้องกันสาย
I
12
บทที่ 1 สัญลักษณ์ที่ใช้ในงานเขียนแบบไฟฟ้าและงานอาคารตามมาตรฐานสากล

ตารางที่ 1.5 สัญลักษณ์งานติดตั้งไฟฟ้ามาตรฐาน DIN (ต่อ)

การเดินสายไฟฟ้า
สายไฟฟ้าทั่วไป สายไฟฟ้าต่อแยก

สายนิวทรัล จุดต่อแบบถาวร

สายไฟฟ้าที่โยกย้ายได้ จุดต่อไม่ถาวร

สายไฟฟ้าที่เพิ่มเติมขึ้นใหม่ ตลับแยกสาย

สายไฟฟ้าป้องกันส�ำหรับกราวด์
สายไฟฟ้าเดินบนปูน
(Protective Earth; PE)
สายสัญญาณทั่วไป สายไฟฟ้าเดินในปูนหรือฝังพื้น

สายสัญญาณโทรทัศน์ สายไฟฟ้าเดินใต้พื้นปูน

สายสัญญาณวิทยุ สายไฟฟ้าเดินในท่อ

สายไฟฟ้าทีใ่ ช้สำ� หรับจุดประสงค์ สายไฟฟ้าเดินใต้ดิน


พิเศษ เช่น ไฟฟ้าฉุกเฉิน
(t) สายไฟฟ้าส�ำหรับที่แห้ง
ไฟฟ้ากระพริบและสวิตช์กลางคืน
เดินสายไฟฟ้าหลายเส้น (f) สายไฟฟ้าส�ำหรับที่เปียกชื้น

จ�ำนวนสายไฟฟ้า (ดูตัวเลข) (k) สายไฟฟ้าเคเบิลภายนอก

สายไฟฟ้ารวมกัน (สายเคเบิล) 12 34 ขั้วต่อสายไฟฟ้า

สายไฟฟ้าตัดผ่าน (ไม่ต่อ) ต่อลงดิน

สายไฟฟ้าหลายเส้นตัดผ่าน
(ไม่ต่อ)
13
บทที่ 1 สัญลักษณ์ที่ใช้ในงานเขียนแบบไฟฟ้าและงานอาคารตามมาตรฐานสากล

สัญลักษณ์ไฟฟ้ามาตรฐาน ANSI

ตารางที่ 1.6 สัญลักษณ์ไฟฟ้ามาตรฐาน ANSI

ไฟฟ้าแสงสว่าง

โคมไฟฟ้าหลอดไส้ติดเสมอผิวผนัง โคมไฟฟ้าฟลูออเรสเซนต์แบบเปลือย

โคมไฟฟ้าฟลูออเรสเซนต์ติดเสมอผิว
ขั้วยึดหลอดไฟฟ้าชนิดติดเพดาน
หรือแขวน

S โคมไฟฟ้ากิ่งมีสวิตช์ดึง R โคมไฟฟ้าฟลูออเรสเซนต์ติดซ่อน

ไฟฟ้าทางออกติดเสมอผิวหรือแขวน โคมไฟฟ้าฟลูออเรสเซนต์ติดเสมอผิว
หรือแขวนยาวตลอดแนว
ไฟฟ้าทางออกติดผนัง

รหัส E หมายถึง โคมไฟฟ้าต่อกับระบบ R โคมไฟฟ้าฟลูออเรสเซนต์ติดซ่อนยาว


E ไฟฟ้าฉุกเฉิน ถ้ารหัส E เขียนอยูข่ า้ งนอก ตลอดแนว
หมายถึง ควบคุมด้วยสวิตช์
สวิตช์
S สวิตช์ขวั้ เดียว ST สวิตช์ปอ้ งกันโหลดเกินด้วยความร้อน

S2 สวิตช์สองขัว้ SWP สวิตช์ทนอากาศ

S3 สวิตช์สามทาง SCB สวิตช์ตดั ตอนอัตโนมัติ

S4 สวิตช์สที่ าง SWCB สวิตช์ตดั ตอนอัตโนมัตทิ นอากาศ

SK สวิตช์กญ
ุ แจ SMC สวิตช์หมุนแบบสัมผัส

SP สวิตช์และไพล็อต SRC สวิตช์ควบคุมระยะไกล

SD สวิตช์ประตูอตั โนมัติ
14
บทที่ 1 สัญลักษณ์ที่ใช้ในงานเขียนแบบไฟฟ้าและงานอาคารตามมาตรฐานสากล

ตารางที่ 1.6 สัญลักษณ์ไฟฟ้ามาตรฐาน ANSI (ต่อ)

เต้ารับ
ไม่ต่อสายดิน ต่อสายดิน

G เต้ารับเดี่ยว

G เต้ารับคู่

G
สามเต้ารับ

G
เต้ารับคู่แบบแยกสายไฟฟ้า

G
เต้ารับวัตถุประสงค์พิเศษแบบเดี่ยว

G
เต้ารับวัตถุประสงค์พิเศษแบบคู่

R RG
เต้ารับใช้ไฟฟ้าหุงต้ม

เต้ารับ

S สวิตช์และเต้ารับเดี่ยว เต้ารับโทรศัพท์ติดผนัง

S สวิตช์และเต้ารับคู่ เต้ารับโทรศัพท์ติดพื้น

WP เต้ารับชนิดทนอากาศ เต้ารับสายอากาศโทรทัศน์

เต้ารับชนิดติดพื้น R TV เต้ารับวิทยุหรือโทรทัศน์

เต้ารับชนิดก�ำหนดขั้วและ
3P 30A ขนาดกระแสไฟฟ้า

You might also like