You are on page 1of 16

59

บทที่ ๔
การวิเคราะห์ข้อมูล

การวิเคราะห์ข้อมูลโครงการวิจัยเรื่องน้ำหมักหยอดยางพารา
จากสับปะรด ผู้จัดทำโครงการวิจัยได้นำเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล
ตามลำดับดังนี ้
๑. สัญลักษณ์ที่ใช้ในการนำเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล
๒. ลำดับขัน
้ ตอนในการนำเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล
๓. ผลการวิเคราะห์ข้อมูล

สัญลักษณ์ที่ใช้ในการนำเสนอผลการวิเคราะห์ขอ
้ มูล
เพื่อให้การนำเสนอข้อมูลเป็ นที่เข้าใจตรงกันในการแปลความ
หมายผู้จัดทำโครงการวิจัยได้กำหนดสัญลักษณ์ที่ใช้ในการนำเสนอผล
การวิเคราะห์ข้อมูล ดังนี ้
x แทน คะแนนเฉลี่ย
S.D. แทน ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน

ระดับเกณฑ์การให้คะแนนแบบสำรวจความพึงพอใจในการ
บริการมีดังนี ้
๕ = มากที่สุด
๔ = มาก
๓ = ปานกลาง
๒ = น้อย
๑ = น้อยที่สุด
60

ลำดับขัน
้ ตอนในการนำเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล
ผู้จัดทำโครงการได้นำเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูลตามลำดับดัง
ต่อไปนี ้
ตอนที่ ๑ แบบสอบถามข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับสภาพทั่วไปของผู้ตอบ
แบบสำรวจ ได้แก่ อายุ เพศ รายได้
ตอนที่ ๒ แบบสำรวจความพึงพอใจของเกษตรกรสวนยางพาราบ้าน
หลังเขา เป็ นแบบสอบถามเชิงสำรวจแบบมาตราส่วนประมาณค่าที่มี
ระดับ ๕ ระดับ

ผลการวิเคราะห์ข้อมูล
ตอนที่ ๑ ข้อมูลทั่วไปของเกษตรสวนยางพารา บ้านหลังเขา อายุ
เพศ รายได้

ตารางที่ ๑ ข้อมูลเพศของผู้ตอบแบบสำรวจ

ที่ รายการ Frequenc Perce Valid Cumulativ


61

ประเมิน y nt Percent e Percent


๑ เพศชาย ๑๘ ๖๐.๐ ๖๐.๐ ๖๐.๐
๒ เพศหญิง ๑๒ ๔๐.๐ ๔๐.๐ ๑๐๐.๐
ค่าเฉลี่ยรวม ๓๐ ๑๐๐.๐ ๑๐๐.๐

จากตารางที่ ๑ พบว่า ประชากรที่ทำแบบทดสอบส่วนใหญ่เป็ น


เพศชาย (ร้อยละ๖๐) รองลงมาเป็ นเพศหญิง (ร้อยละ๔๐)

ตารางที่ ๒ ข้อมูลอายุของผู้ตอบแบบสำรวจ

ที่ รายการ Freque Perce Valid Cumulativ


ประเมิน ncy nt Percent e Percent
๑ 18 – 30 ปี ๑ ๓.๓ ๓.๓ ๓.๓
๒ 31 – 40 ปี ๓ ๑๐.๐ ๑๐.๐ ๑๓.๓
๓ 41 – 49 ปี ๙ ๓๐.๐ ๓๐.๐ ๔๓.๓
๔ 50 ปี ขึน
้ ไป ๑๗ ๕๖.๗ ๕๖.๗ ๑๐๐.๐
ค่าเฉลี่ยรวม ๓๐ ๑๐๐. ๑๐๐.๐

62

จากตารางที่ ๒ พบว่าอายุส่วนใหญ่อยู่ที่ 5 ๐ ปี ขึน


้ ไป (ร้อยละ
๕๖.๗) รองลงมาเป็ นอายุ 4 ๑ – 49 ปี (ร้อยละ๓๐) อายุ 31 – 40
ปี (ร้อยละ ๑๐) และ อายุ 18 – 30 ปี (ร้อยละ ๓.๓)

ตารางที่ 3 ข้อมูลรายได้ของผู้ตอบแบบสำรวจ (เฉลี่ยต่อเดือน)

ที่ รายการ Frequen Perce Valid Cumulati


ประเมิน cy nt Percent ve
Percent
๑ ต่ำกว่า 5,000 ๑ ๓.๓ ๓.๓ ๓.๓
๒ 5,001 – ๓ ๑๐.๐ ๑๐.๐ ๑๓.๓
10,000
๓ 10,001 – ๑๐ ๓๓.๓ ๓๓.๓ ๔๖.๗
20,000
๔ 20,001 บาท ๑๖ ๕๓.๓ ๕๓.๓ ๑๐๐.๐
ขึน
้ ไป
ค่าเฉลี่ยรวม ๓๐ ๑๐๐. ๑๐๐.๐

63

จากตารางที่ ๔ ส่วนใหญ่รายได้อยู่ที่ 20,001 บาทขึน


้ ไป(ร้อย
ละ๕๓.๓) รองลงมาคือรายได้ 10,001 – 20,000 (ร้อยละ๓๓.๓) ราย
ได้ 5,001 – 10,000 (ร้อยละ ๑๐.๐) และรายได้ ต่ำกว่า 5,000 (ร้
อยละ ๓.๓)

ตอนที่ ๒ ความคิดเห็นของผู้ตอบแบบสำรวจที่มีต่อการดำเนินการ

ตารางที่ 4 สามารถนำไปขยายผลและต่อยอดผลิตภัณฑ์ได้อย่าง
สร้างสรรค์

ที่ รายการ Freque Perce Valid Cumulati


ประเมิน ncy nt Percent ve
Percent
๑ ปานกลาง ๑ ๓.๓ ๓.๓ ๓.๓
๒ มาก ๑๗ ๕๖.๗ ๕๖.๗ ๖๐.๐
๓ มากที่สุด ๑๒ ๔๐.๐ ๔๐.๐ ๑๐๐.๐
ค่าเฉลี่ยรวม ๓๐ ๑๐๐. ๑๐๐.๐

64

จากตารางที่ 4 พบว่า ผู้ตอบแบบสำรวจส่วนใหญ่มีความพึง


พอใจอยู่ในระดับ มาก ร้อยละ ๕๖.๗ รองลงมา มากที่สุดร้อยละ
๔๐.๐ และปานกลางร้อยละ ๓.๓ ตามลำดับ

ตารางที่ 5 ช่วยประหยัดค่าใช้จ่ายในให้กับเกษตรกร

ที่ รายการ Freque Perce Valid Cumulati


ประเมิน ncy nt Percent ve
Percent
๑ ปานกลาง ๑ ๓.๓ ๓.๓ ๓.๓
๒ มาก ๑๖ ๕๓.๔ ๕๓.๔ ๕๖.๗
๓ มากที่สุด ๑๓ ๔๓.๓ ๔๓.๓ ๑๐๐.๐
ค่าเฉลี่ยรวม ๓๐ ๑๐๐. ๑๐๐.๐

จากตารางที่ 5 พบว่าผู้ตอบแบบสำรวจส่วนใหญ่มีความพึง
พอใจอยู่ในระดับมาก ร้อยละ ๕๓.๔ รองลงมาคือระดับมากที่สุด
๔๓.๓ และระดับปานกลาง ร้อยละ ๓.๓ ตามลำดับ
65

ตารางที่ 6 การเลือกใช้ทรัพยากรได้อย่างเหมาะสม

ที่ รายการ Freque Perce Valid Cumulati


ประเมิน ncy nt Percent ve
Percent
๑ ปานกลาง ๑ ๓.๓ ๓.๓ ๓.๓
๒ มาก ๑๐ ๓๓.๓ ๓๓.๓ ๓๖.๗
๓ มากที่สุด ๑๙ ๖๓.๓ ๖๓.๓ ๑๐๐.๐
ค่าเฉลี่ยรวม ๓๐ ๑๐๐. ๑๐๐.๐

จากตารางที่ 6 พบว่าผู้ตอบแบบสำรวจส่วนใหญ่มีความพึง
พอใจอยู่ในระดับมากที่สุด ร้อยละ ๖๓.๓ รองลงมาคือระดับมาก
ร้อยละ ๓๓.๓ และระดับปานกลาง ร้อยละ ๓.๓ ตามลำดับ
66

ตารางที่ 7 มีประสิทธิภาพในการใช้ได้จริง

ที่ รายการ Freque Perce Valid Cumulati


ประเมิน ncy nt Percent ve
Percent
๑ ปานกลาง ๒ ๖.๗ ๖.๗ ๖.๗
๒ มาก ๕ ๑๖.๗ ๑๖.๗ ๒๓.๓
๓ มากที่สุด ๒๓ ๗๖.๗ ๗๖.๗ ๑๐๐.๐
ค่าเฉลี่ยรวม ๓๐ ๑๐๐. ๑๐๐.๐

จากตารางที่ 7 พบว่าผู้ตอบแบบสำรวจส่วนใหญ่มีความพึง
พอใจอยู่ในระดับมากที่สุด ร้อยละ ๗๖.๓ รองลงมาคือระดับมาก
ร้อยละ ๑๖.๗ และระดับปานกลาง ร้อยละ ๖.๗ ตามลำดับ

ตารางที่ 8 น้ำยางพาราแข็งตัวได้ดี

ที่ รายการ Freque Perce Valid Cumulati


67

ประเมิน ncy nt Percent ve


Percent
๑ มาก ๑๒ ๔๐.๐ ๔๐.๐ ๔๐.๐
๒ มากที่สุด ๑๘ ๖๐.๐ ๖๐.๐ ๑๐๐.๐
ค่าเฉลี่ยรวม ๓๐ ๑๐๐. ๑๐๐.๐

จากตารางที่ 8 พบว่าผู้ตอบแบบสำรวจส่วนใหญ่มีความพึง
พอใจอยู่ในระดับมากที่สุด ร้อยละ ๖๐.๐ รองลงมาคือระดับมาก
ร้อยละ ๔๐.๐ ตามลำดับ

ตารางที่ 9 ไม่เป็ นอันตรายต่อต้นยางพาราและผู้ใช้

ที่ รายการ Freque Perce Valid Cumulati


ประเมิน ncy nt Percent ve
Percent
๑ ปานกลาง ๓ ๑๐.๐ ๑๐.๐ ๑๐.๐
๒ มาก ๙ ๓๐.๐ ๓๐.๐ ๔๐.๐
68

๓ มากที่สุด ๑๘ ๖๐.๐ ๖๐.๐ ๑๐๐.๐


ค่าเฉลี่ยรวม ๓๐ ๑๐๐. ๑๐๐.๐

จากตารางที่ 9 พบว่าผู้ตอบแบบสำรวจส่วนใหญ่มีความพึง
พอใจอยู่ในระดับมากที่สุด ร้อยละ ๖๐.๐รองลงมาคือระดับมาก ร้อย
ละ ๓๐.๐ และระดับปานกลาง ร้อยละ ๑๐.๐ ตามลำดับ

ตารางที่ 10 มีการนำเสนอแนวคิดที่เป็ นการนำทรัพยากรในชุมชน


มาใช้ให้เกิดประโยชน์

ที่ รายการ Freque Perce Valid Cumulati


ประเมิน ncy nt Percent ve
Percent
๑ ปานกลาง ๕ ๑๖.๗ ๑๖.๗ ๑๖.๗
๒ มาก ๑๕ ๕๐.๐ ๕๐.๐ ๖๖.๗
๓ มากที่สุด ๑๐ ๓๓.๓ ๓๓.๓ ๑๐๐.๐
ค่าเฉลี่ยรวม ๓๐ ๑๐๐. ๑๐๐.๐

69

จากตารางที่ ๑ 0 พบว่าผู้ตอบแบบสำรวจส่วนใหญ่มีความพึง
พอใจอยู่ในระดับมาก ร้อยละ๕๐.๐ รองลงมาคือระดับมากที่สุด ร้อย
ละ ๓๓.๓ และระดับปานกลาง ร้อยละ ๑๖.๗ ตามลำดับ

ตารางที่ ๑ 1 สร้างองค์ความรู้ใหม่เป็ นประโยชน์ต่อชุมชน

ที่ รายการ Freque Perce Valid Cumulati


ประเมิน ncy nt Percent ve
Percent
๑ ปานกลาง ๒ ๖.๗ ๖.๗ ๖.๗
๒ มาก ๑๖ ๕๓.๓ ๕๓.๓ ๖๐.๐
๓ มากที่สุด ๑๒ ๔๐.๐ ๔๐.๐ ๑๐๐.๐
ค่าเฉลี่ยรวม ๓๐ ๑๐๐. ๑๐๐.๐

70

จากตารางที่ ๑ 1 พบว่าผู้ตอบแบบสำรวจส่วนใหญ่มีความพึง
พอใจอยู่ในระดับมาก ร้อยละ ๕๓.๓ รองลงมาคือระดับมากที่สุด
ร้อยละ ๔๐.๐ และระดับปานกลาง ร้อยละ ๖.๗ ตามลำดับ

ตารางที่ ๑ 2 สอดคล้องในการดูแลหน้ายางพาราและดูแลสุขภาพ
ของผู้ใช้

ที่ รายการ Freque Perce Valid Cumulati


ประเมิน ncy nt Percent ve
Percent
๑ ปานกลาง ๔ ๑๓.๓ ๑๓.๓ ๑๓.๓
๒ มาก ๑๑ ๓๖.๗ ๓๖.๗ ๕๐.๐
๓ มากที่สุด ๑๕ ๕๐.๐ ๕๐.๐ ๑๐๐.๐
ค่าเฉลี่ยรวม ๓๐ ๑๐๐. ๑๐๐.๐

จากตารางที่ ๑ 2 พบว่าผู้ตอบแบบสำรวจส่วนใหญ่มีความพึง
พอใจอยู่ในระดับมากที่สุด ร้อยละ ๕๐.๐รองลงมาคือระดับมาก ร้อย
ละ ๓๖.๗ และระดับปานกลาง ร้อยละ ๑๓.๓ ตามลำดับ
71

ตารางที่ ๑ 3 ประสิทธิภาพเทียบเท่ากรดฟอร์มิก

ที่ รายการ Freque Perce Valid Cumulati


ประเมิน ncy nt Percent ve
Percent
๑ ปานกลาง ๒ ๖.๗ ๖.๗ ๖.๗
๒ มาก ๙ ๓๐.๐ ๓๐.๐ ๓๖.๗
๓ มากที่สุด ๑๙ ๖๓.๓ ๖๓.๓ ๑๐๐.๐
ค่าเฉลี่ยรวม ๓๐ ๑๐๐. ๑๐๐.๐

จากตารางที่ ๑ 3 พบว่าผู้ตอบแบบสำรวจส่วนใหญ่มีความพึง
พอใจอยู่ในระดับมากที่สุด ร้อยละ ๖๓.๓ รองลงมาคือระดับมาก
ร้อยละ ๓๐.๐ และระดับปานกลาง ร้อยละ ๖.๗ ตามลำดับ
72

ต า ร า ง ท ี่ 14 ค ่า เ ฉ ล ี่ย (Mean) แ ล ะ ส ่ว น เ บ ี่ย ง เ บ น ม า ต ร ฐ า น


(Standard Deviation)

รายการ x S.D. ระดับความ


พึงพอใจ
1 สามารถนำไปขยายผลและ ๔.๓๗ ๐.๕๖ มาก
ต่อยอดผลิตภัณฑ์ได้อย่าง
สร้างสรรค์
2 ช่วยประหยัดค่าใช้จ่ายให้กับ ๔.๔๐ ๐.๕๖ มาก
เกษตรกร
3 เลือกใช้ทรัพยากรได้อย่าง ๔.๖๐ ๐.๕๖ มากที่สุด
เหมาะสม
4 มีประสิทธิภาพในการใช้ได้ ๔.๗๐ ๐.๕๐ มากที่สุด
จริง
๕ น้ำยางพาราแข็งตัวได้ดี ๔.๖๐ ๐.๖๘ มากที่สุด
๖ ไม่เป็ นอันตรายต่อต้น ๔.๕๐ ๐.๖๙ มากที่สุด
ยางพาราและผู้ใช้
๗ มีการนำเสนอแนวคิดที่ ๔.๑๗ ๐.7 ๐ มาก
เป็ นการนำทรัพยากร
ในชุมชนมาใช้ให้เกิด
ประโยชน์
๘ สร้างองค์ความรู้ใหม่เป็ น ๔.๓๓ ๐.๖๑ มาก
ประโยชน์ต่อชุมชน
๙ สอดคล้องในการดูแลหน้า ๔.๓๗ ๐.๗๒ มาก
73

ยางพาราและดูสุขภาพของผู้
4.36 0.69 มาก
ใช้
10 ประสิทธิภาพเทียบเท่ากรด
ฟอร์มิก
ค่าเฉลี่ยรวม ๔.๔๖ ๐.๖๒ มาก

จากตารางที่ 14 แสดงว่าความพึงพอใจของเกษตรกรสวน
ยางพารา ภาพรวมทุกด้านอยู่ในระดับ x = ๔.๔๖ และเมื่อพิจารณา
เป็ นรายการประเมินแบบสำรวจความพึงพอใจของเกษตรกรชาวสวน
ยางพารา พบว่าผู้ตอบแบบสำรวจความพึงพอใจส่วนใหญ่มีระดับ
ความพึงพอใจกับประสิทธิภาพในการใช้ได้จริง x = ๔.70 ,S.D. =
๐.50 รองลงมาคือการเลือกใช้ทรัพยากรได้อย่างเหมาะสม x = ๔.๖๐
,S.D. = ๐.50 และน้ำยางพาราแข็งตัวได้ดี x = ๔.60 ,S.D. = ๐.๕๐
รองลงมาคือไม่เป็ นอันตรายต่อต้นยางพาราและผู้ใช้ x =
๔.50 ,S.D.= ๐.69 รองลงมาคือช่วยประหยัดค่าใช้จ่ายให้กับ
เกษตรกร x = ๔.4 ๐, S.D. = ๐.56 รองลงมาคือสามารถนำไปขยาย
ผลและต่อยอดผลิตภัณฑ์ได้อย่างสร้างสรรค์ x = ๔.37, S.D. = ๐.72
และสอดคล้องในการดูแลหน้ายางพาราและดูแลสุขภาพของผู้ใช้ x =
๔.๓ 7, S.D. = ๐.72 รองลงมาคือประสิทธิภาพเทียบเท่ากรดฟอร์มิก
x = ๔.36 ,S.D. = ๐.๖ 9 รองลงมาคือสร้างองค์ความรู้ใหม่เป็ น
ประโยชน์ต่อชุมชน x = ๔.33, S.D. = ๐.๖ 1 รองลงมาคือมีการนำ
เสนอแนวคิดที่เป็ นการนำทรัพยากรในชุมชนมาใช้ให้เกิดประโยชน์ x
= ๔.17, S.D. = ๐.70 และเมื่อพิจารณาเป็ นรายการประเมิน พบ
74

ว่า ทุกรายการประเมิน อยู่ในระดับมาก โดยความพึงพอใจในการ


ทดลองใช้น้ำหมักหยอดยางพาราจากสับปะรด โดยมีค่าเฉลี่ยมาก
ที่สุด ( x = ๔.70) และค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด ( x = ๔.17)

You might also like