You are on page 1of 7

แบบฝึ กหัด วิชาภาษาไทย (ท๒๑๑๐๒)

เรื่อง โคลงโลกนิติ
*****************************************************************
****************
คำชีแ
้ จง ให้นักเรียนอ่านโคลงที่กำหนดให้ แล้วค้นหาความหมายของคำ
ศัพท์ พร้อมบอกว่าโคลงที่กำหนดให้ตรงสำนวน อะไร
๑. รู้น้อยว่ามากรู้ เริง กลกบ = …………………… ตรงกับสำนวน
ใจ …... ..............................
กลกบเกิดอยู่ใน สระ สระจ้อย = ……………… .........
จ้อย ………… ..............................
ไปเห็นชเลไกล ชเล = ……………………… .........
กลางสมุทร …..
ชมว่าน้ำบ่อน้อย มาก
ล้ำลึกเหลือ
๒. เสียสินสงวนศักดิไ์ ว้ เสียสิน = ………………… ตรงกับสำนวน
วงศ์หงส์ …….. ..............................
เสียศักดิส์ ู้ประสงค์ สงวน = ......................... .........
สิ่งรู้ ............... ..............................
เสียรู้เร่งดำรง วงศ์หงส์ = .................... .........
ความสัตย์ ไว้นา ....................
เสียสัตย์อย่าเสียสู้ ชีพ
ม้วยมรณา
๓. พระสมุทรสุดลึกล้น พระสมุทร = ................. ตรงกับสำนวน
คณนา ...................... ..............................
สายดิ่งทิง้ ทอดมา คณนา = ....................... .........
หยั่งได้ ................. ..............................
เขาสูงอาจวัดวา สายดิ่ง = ….................... .........
กำหนด ................
จิตมนุษย์นีไ้ ซร้
ยากแท้หยั่งถึง
๔. เพื่อนกินสิน
้ ทรัพย์แล้ว แหนงหนี = ตรงกับสำนวน
แหนงหนี …………………………. ..............................
หาง่ายหลายหมื่นมี ถ่ายแทน = .........
มากได้ …………………………. ..............................
เพื่อนตายถ่ายแทนชี ชีวาอาตม์ = .........
วาอาตม์ …………………………..
หายากฝากฝี ไข้
ยากแท้จักหา
๕. ตีนงูงูไซร้หาก หัน = ตรงกับสำนวน
เห็นกัน ……………………………. ..............................
นมไก่ไก่สำคัญ เห็นเล่ห์ = .........
ไก่รู้ ....................................... ..............................
หมู่โจรต่อโจรหัน ....... .........
เห็นเล่ห์ กันนา เชิง =
เชิงปราชญ์ฉลาดกล่าวผู้ .......................................
ปราชญ์ร้เู ชิง- .......

กัน
๖. ความรู้ผู้ปราชญ์นัน
้ รักเรียน = ตรงกับสำนวน
รักเรียน …………........................... ..............................
ฝนทั่งเท่าเข็มเพียร .... .........
ผ่ายหน้า ทั่ง = ..............................
คนเกียจเกลียดหน่าย ....................................... .........
เวียน วนจิต ........
กลอุทกในตะกร้า ผ่ายหน้า =
ปี่ ยมล้นฤามี .......................................
.........

๗. หิ่งห้อยส่องก้นสู้ ปั ด = ตรงกับสำนวน
แสงจันทร์ ....................................... ..............................
ปั ดเทียบเทียมรัตน์อัน .......... .........
เอี่ยมข้า เอี่ยมข้า = ..............................
ทองเหลืองหลู่สุวรรณ ....................................... .........
ธรรมชาติ ...........
พาลว่าตนเองอ้า สุวรรณ =
อาจล้ำเลยกวี .......................................
...........

๘. ถึงจนทนสู้กัด แล่เนื้อเถือพวกพ้อง = ตรงกับสำนวน


กินเกลือ ….................................... ..............................
อย่าเที่ยวแล่เนื้อเถือ .......... .........
พวกพ้อง สงวนศักดิ ์ = ..............................
อดอยากเยี่ยงอย่าเสือ ....................................... .........
สงวนศักดิ ์ ...........
โซก็เสาะใส่ท้อง โซ =
จับเนื้อกินเอง ………………………………..
๙. เหมหงส์เลีย
้ งชีพด้วย เหมหงส์ = ตรงกับสำนวน
สาคร ....................................... ..............................
ช้างพึ่งพนาดร .......... .........
ป่ าไม้ พนาดร = ..............................
ภุมราบุษบากร ....................................... .........
ครองร่าง ตนนา ..........
นักปราชญ์เลีย
้ งตัวได้ บุษบากร =
เพื่อด้วยปั ญญา ……………………………….
แบบทดสอบ วิชาภาษาไทย ( ท ๒๑๑๐๒ )
เรื่อง โคลงโลกนิติ
*****************************************************************
****************
คำชีแ
้ จง ให้นักเรียนเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคำตอบเดียว
๑. ใครคือผู้แต่งโคลงโลกนิติ
ก. กรมพระยาเดชาดิศร ข. กรมพระยานริศรานุวัติ
วงศ์
ค. กรมพระยาดำรงราชานุภาพ ง. สมเด็จพระพุทธ
เลิศหล้านภาลัย
๒. คัมภีร์โลกนิติที่ร้จ
ู ักกันอย่างกว้างขวางตัง้ แต่สมัยใด
ก. สมัยสุโขทัย ข. สมัยอยุธยา
ค. สมัยธนบุรี ง. สมัยรัตนโกสินทร์
๓. ข้อใดมิใช่งานประพันธ์ของผู้แต่งโคลงโลกนิติ
ก. กาพย์ดุษฎีสังเวย ข. โคลง
ปราบดาภิเษก
ค. คำฉันท์กล่อมพระเศวต ง. นิราศไปทัพเมือง
เวียงจันทร์
๔. ข้อใดคือหลักที่สำคัญที่สุดของการประเมินค่าวรรณคดี
ก. ซาบซึง้ ในรสวรรณคดี ข. เข้าใจสังคมมาก
ขึน
้ เนื่องจากสะท้อนสังคม
ค. นำคติที่ได้ไปประยุกต์ใช้ในการดำเนินชีวิต ง. เข้าใจแนว
เรื่อง การแต่ง และถ้อยคำสำนวน
๕. รัชกาลที่ ๓ โปรดเกล้าฯให้นำโคลงโลกนิติที่ชำระแล้วไปจารึกที่ใด
ก. วัดอรุณราชวราราม ข. วัดพระ
ศรีรัตนศาสดาราม
ค. วัดราชบพิธสถิตหาสีมาราม ง. วัดพระเชตุพน
วิมลมังคลาราม
๖. ข้อใดคือจุดประสงค์ของการแต่งโคลงโลกนิติ
ก. ใช้เป็ นสุภาษิตสอนใจประชาชน ข. มุ่งให้เป็ น
วรรณคดีมรดกชัน
้ สูงของชาติ
ค. ใช้ประดับตกแต่งพระอารามวัดโพธิ ์ ง. เป็ นสรรพ
วิชาที่ครอบคลุมศาสตร์ทุกแขนง
๗. “ความรู้ดูยิ่งล้ำ สินทรัพย์
คิดค่าควรเมืองนับ ยิ่งไซร้
เพราะเหตุจักอยู่กับ กายอาต – มานา
โจรจักเบียนบ่ได้ เร่งรู้เรียนเอา”
คำโคลงข้างต้นตรงกับสำนวนใด
ก. รู้อะไรไม่สู้ร้ว
ู ิชา ข. รู้ไว้ใช่ว่าใส่บ่า
แบกหาม
ค. รู้หลบเป็ นปี ก รู้หลีกเป็ นหาง ง. รักดีหามจั่ว รักชั่ว
หามเสา

อ่านคำประพันธ์ต่อไปนี ้ แล้วตอบคำถามข้อ ๘ – ๑๐
“คุณแม่หนักเพีย
้ ง พสุธา
คุณบิดรดุจอา- กาศกว้าง
คุณพีพ
่ ่างศิขรา เมรุมาศ
คุณพระอาจารย์อ้าง อาจสู้สาคร
๘. โคลงบทนีม
้ ุ่งสอนเรื่องใดเป็ นสำคัญ
ก. ความกตัญญู ข. ความดี ความชั่ว
ค. ลำดับของผู้มีพระคุณ ง. การอุปถัมภ์ค้ำชูผู้มี
พระคุณ
๙. จากคำประพันธ์ ข้อใดกล่าวเปรียบเทียบไม่ถูกต้อง
ก. พระคุณแม่เปรียบดังผืนแผ่นดิน ข. พระคุณพ่อ
เปรียบดังมหาสมุทร
ค. พระคุณพี่เปรียบดังขุนเขาสูงใหญ่ ง. พระคุณครู
อาจารย์เปรียบดังมหาสมุทร
๑๐. คำศัพท์ในข้อใดที่มีความหมายเหมือนกัน
ก. เพีย
้ ง – สาคร ข. พสุธา – สาคร
ค. พสุธา – เมรุมาศ ง. เพีย
้ ง – ดุจ - พ่าง

You might also like