You are on page 1of 21

การตลาดที่พักตากอากาศ

บทที่ 5

Crest Resort & Pool Villas ภูเก็ต


Keemala Resort, Phuket

• มุมมองการตลาดท่องเที่ยวมุ่งเน้ นประเด็นการตลาดรี สอร์ ทด้ วยรูปลักษณ์เฉพาะ เริ่ มจากการตลาดเกี่ยวกับ


ที่ตงั ้
• รี สอร์ ทขนาดเล็กต้ องใส่ใจช่องทางการจัดจาหน่ายของอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
• รี สอร์ ทมีผลิตภัณฑ์เป็ นประสบการณ์ การจะได้ มาถึงการเป็ นศูนย์กลางของผู้บริ โภคให้ มากที่ สดุ ทางรี สอร์ ท
ต้ องมีความร่วมมือกันของทุกๆ หน่วยงานภายในรี สอร์ ท
Soneva Kiri Koh Kood

การตลาดเกี่ยวกับที่ต้งั

• รี สอร์ ททัว่ ไปจะขายสถานที่หรื อแหล่งท่องเที่ยวผูกติด กับผลิตภัณฑ์


หรื อประสบการณ์เกี่ยวกับวัฒนธรรมท้ องถิ่น
• ผู้ที่คาดว่าจะมาเยี่ยมชมจะแบ่งกลุม่ ของรี สอร์ ทเป็ นหมวดย่อย
• เข้ าถึงโดยมีรูปแบบการขนส่งที่แตกต่างกัน
• รูปแบบของสถานที่พกั อาศัยแตกต่างกัน
• เป้าหมายการตลาด
• การให้ รายละเอียดและแรงจูงใจ
เป้าหมายการตลาด

การตลาดเกี่ยวกับที่ต้ งั นักท่องเที่ยว
องค์ประกอบทางการตลาด

ผู้ลงทุน
คอตเลอร์ แ ละคณะได้ ร ะบุถึ งการตลาดเกี่ ย วกับ สถานที่ ป ระกอบด้ ว ย 4 และผู้เข้ า
ประชุม
กิจกรรม คือ กลุม่ การวางแผนท้ องถิ่น

1. การออกแบบผสมผสานที่ถกู ต้ องของลักษณะชุมชนและการบริ การ


ประชากรแผนการ ประชาชน
2. การจัดสถานที่ให้ ดงึ ดูด สิง่ ดึงดูด
ตลาดเกี
gx่ยวกับ
3. การนาเสนอสถานที่และการบริ การอย่างมีประสิทธิภาพและเข้ าถึงง่าย สถานที่
รัฐบาลท้ องถิ่น/
4. โฆษณาถึงคุณค่าของสถานที่และภาพลักษณ์ ชุมชนธุรกิจ
รัฐบาลภูมภิ าค
เพื่ อ ให้ เ กิ ด ความส าเร็ จ ในกิ จ กรรมทัง้ 4 ต้ อ งค านึ ง ถึ ง 3 ขั น้ ตอนของ ผู้พกั อาศัย ผู้ผลิต
ใหม่
การตลาดเกี่ยวกับสถานที่ตงั ้
1. กลุม่ การวางแผนท้ องถิ่น ภาพลักษณ์และ
คุณภาพชีวติ
2. องค์ประกอบทางการตลาด
สานักงานใหญ่ของ
3. เป้าหมายทางการตลาด องค์กร
ศิลาวดี พูล สปา รี สอร์ ท

ทฤษฎีการตลาดการรวมกลุ่ม

• ข้ อ ได้ เ ปรี ย บในการบริ ห ารงานอย่ า งเป็ น ระบบ ได้ รั บ การดูแ ลจากการ


รวมกลุม่ หรื อเข้ ามาในตลาดพร้ อมกัน
• การมององค์กรหรื อธุรกิจเหมือนการรวมกลุม่ แสดงให้ เห็นถึงโอกาสของการ
พัฒนาประสานกันและความสัมพันธ์
• การรวมกลุม่ เพื่อสร้ างข้ อได้ เปรี ยบสามารถทาได้ 3 ทาง คือ

1. เพิ่มผลผลิตองค์ประกอบของธุรกิจ
2. เพิม่ ความสามารถขององค์ประกอบธุรกิจเพื่อสร้ างสรรค์สงิ่ ใหม่ๆ
3. กระตุ้นให้ เกิดรูปแบบใหม่ๆ

เดอะ ธนา อะไลน์ รี สอร์ ท


ผลิตภัณฑ์ (Product)
... ทุกสิง่ ที่นาเสนอให้ แก่ลกู ค้ าและตลาด เพื่อตอบสนอง
ความสาคัญของการเปลี่ยนผลิตภัณฑ์ ความต้ องการทังในด้ ้ านของความสนใจในด้ านการบริการ การใช้ สอย
การบริโภค โดยมีการซื ้อ-ขายแลกเปลี่ยนกันในลักษณะของสินค้ า ที่เป็ น
ได้ ทงั ้ สินค้ าที่มีตวั ตน (tangible goods) ที่ผ้ ซู ื ้อสามารถที่จะครอบครองเป็ น
เจ้ าของในตัวสินค้ าได้ และสินค้ าที่ไม่มีตวั ตน (intangible goods) ที่ผ้ ซู ื ้อ
• ยุคโรมันและยุคกลาง ความสาคัญ คือ สุขภาพที่สมบูรณ์ของกายและใจ ยุคนั น้ รี สอร์ ท ไม่สามารถสามารถครอบครองเป็ นเจ้ าของสินค้ าได้
จะให้ บริการกับข้ าราชการระดับสูง
• ธุรกิจรี สอร์ ทยังคงดารงอยู่และเจริ ญก้ าวหน้ าได้ โดยการเปลี่ยนแปลงตามกาลเวลา ซึ่ง
ทุกวันนี ้ธุรกิจรีสอร์ ทให้ บริการกับบุคคลทัว่ ไปที่ต้องการการพักผ่อน
• รี ส อร์ ท มี ห้ อ งพัก เป็ นผลิ ต ภัณ ฑ์ ห ลัก ที่ ใ ห้ บ ริ ก าร ที่ ส ามารถที่ จ ะสร้ างคุณ ค่ า และ
มูลค่าเพิ่มได้ โดยการนาเสนอห้ องพักที่มีรูปแบบที่แตกต่าง เพื่อสนองต่อความต้ องการ
ของลูกค้ าเป้าหมาย
• แนวความคิดของรี สอร์ ทได้ มีการเปลี่ยนแปลง คือ ผลิตภัณฑ์ถกู เปลี่ยนให้ เป็ นกิจกรรม
และความบันเทิงของบุคคลมากขึ ้น (Butlin&Dacre,2002 ;Rothman,1998)
ความสาคัญของการเปลี่ยนผลิตภัณฑ์

• เมื่อรู ป แบบของผลิ ต ภัณ ฑ์ แ ละผู้บ ริ โภคมีการเปลี่ยนแปลง จุด ยืนการโฆษ ณาต้ อ ง


เปลี่ยนแปลงตาม
• การเป็ นรีสอร์ ทที่โดดเด่นต้ องอาศัยการทาการตลาดอย่างชัดเจน โดยการแสดงถึงความ
โอ่อา่ และความน่าตื่นเต้ นจากสิ่งที่รีสอร์ ทนาเสนอ
• ปั จ จุบัน ความมี เ สน่ ห์ แ ละปั จ จัย สิ่ ง แวดล้ อ มของรี ส อร์ ท สามารถเข้ า ถึ ง กลุ่ ม ลูก ค้ า
เป้าหมายได้ โดยผ่านทางอินเตอร์ เน็ต
การเปลี่ยนการตลาดตามฤดูกาล

• ความท้ าทายของรีสอร์ ทที่ขึ ้นอยูก่ บั ฤดูกาล คือ ต้ องทาการปรับปรุงแก้ ไขภาพลักษณ์ให้


มีความสอดคล้ องกับฤดูกาลที่เปลี่ยนแปลงไป
• รีสอร์ ทชายทะเลอยูเ่ ขตโซนร้ อนมีการเปลี่ยนแปลงฤดูกาลตามอุณหภูมิ
• สกีรีสอร์ ทจะเน้ นภาพลักษณ์ทางด้ านความตื่นเต้ นของกีฬาฤดูหนาวในระยะเวลา 2-3
เดือน ส่วนเดือนที่ไม่ใช่ฤดูกาลเล่นสกี รี สอร์ ทที่ตงอยู
ั ้ ่ตามภูเขาต้ องทาการโฆษณาให้
แตกต่างจากกิจกรรมทางกีฬา
• รีสอร์ ทที่เป็ นแหล่งท่องเที่ยวหลายๆ แห่งที่เปิ ดให้ บริการตามฤดูกาล ต้ องทาการโฆษณา
และทาการตลาดตามฤดูกาล เพื่อเน้ นจุดขายที่รีสอร์ ทมีการบริการที่แตกต่างกันตามแต่
ละช่วงฤดูกาล
ตราสิ นค้า

• ตราสินค้ า คือ ขันตอนการสร้


้ างชื่อเสียง
• ชื่อเสียงของตราสินค้ าเป็ นจุดอ้ างอิงในความคิดของผู้บริโภคในการกล่าวถึงรีสอร์ ท
• ตราสินค้ าหรื อส่วนใดส่วนหนึ่งของตราสินค้ า เช่น ชื่อหรื อโลโก้ สามารถเปลี่ยนไปเป็ น
เครื่องหมายทางการค้ าที่มีการปกป้องด้ วยกฎหมาย
• ประโยชน์อย่างหนึ่งในการนาเสนอตราสินค้ า คือ การทาให้ ภาพลักษณ์ มีความชัดเจน
ขึ ้น
• สิ่ ง ที่ เ กี่ ย วข้ อ งอย่า งใกล้ ชิ ด กับ ภาพลัก ษณ์ คื อ การก าหนดต าแหน่ ง ธุ ร กิ จ ภายใน
ความคิดของลูกค้ า ตราสินค้ ากระตุ้นให้ คนเลือกสินค้ าและเห็นภาพลักษณ์ ที่สาคัญของ
รีสอร์ ท
• การที่จะสร้ า งภาพลักษณ์ และกาหนดตาแหน่งให้ ประสบความสาเร็ จในทางการค้ า
สามารถใช้ ประโยชน์จาก 4P’s ที่เป็ นส่วนประสมทางการตลาดแบบดังเดิ
้ ม หรือ 7P’s
ตลาดบริ การและการจัดการ

• ตราสินค้ าจะทางานอย่างมีประสิทธิภาพเมื่อรี สอร์ ทมองสิ่งที่ตราสินค้ าได้ ให้ สญ


ั ญา
ไว้ ที่เรียกว่า “Brand Promise” ให้ กบั ลูกค้ า
• องค์ ป ระกอบทัง้ หมดขององค์ ก รจะต้ องส่งเสริ มตราสิน ค้ า และควรแน่ใ จว่า จุด ที่
สาคัญที่สดุ และส่วนประกอบอื่นๆ ของธุรกิจทางานไปพร้ อมๆ กัน
• เบอรรี่ แ ละพาราสุม านเป็ น ผู้ บุก เบิ ก การวิ จัย ตลาดบริ ก าร โดยที่ จุด ส าคัญ ของ
การตลาดบริการ คือ การแสดง
• เบอรรี่มีการแนะนาเกี่ยวกับธุรกิจบริการ ในหนังสือ “On Great Service” ไว้ วา่
• ให้ ความสาคัญกับบุคคลในการนาเสนอผลิตภัณฑ์
• เน้ นถึงปั จจัยความเชื่อใจ
• สนับสนุนในการศึกษาความเป็ นผู้นา
• สนับสนุนคนที่เหมาะสม
• รี สอร์ ทต้ องให้ การสนับสนุนตราสินค้ าการตลาดภายนอก พร้ อมกับเพิ่มการตลาด
ภายในและการเตรียมความพร้ อมของพนักงาน
กลยุทธ์ 7P’s
Product
Price
Places
Promotion
People
มาตรฐานความสะอาดปลอดภัย
ป้ องกันโรค Covid - 19

Physical
Environment
Process
คุณภาพการบริ การ

• กรอนรอสส์ ไ ด้ ใ ห้ ค วามหมายของคุณ ภาพ (Quality) และการบริ ก าร (Service


Quality) ไว้ ดงั นี ้
• คุณภาพ คือ สิ่งที่เกิดจากลูกค้ ารับรู้
• คุณภาพบริ การ คือ แนวคิดการพัฒนา “สิ่งที่ลกู ค้ าได้ รับจากการบริ การ” ให้
เหนื อความคาดหวังของลูกค้ า เพื่อทาให้ ลูกค้ า เกิ ดความพึงพอใจด้ วยการ
พัฒนาคุณภาพการบริการทัง้ 5 ด้ าน ประกอบด้ วย
• ลักษณะทางกายภาพ
• ความน่าเชื่อถือและไว้ วางใจ
• ความมัน่ ใจ
• การตอบสนองลูกค้ า
• การดูแลเอาใจใส่
แนวโน้มความต้องการของโลก

การเพิ่มขึ ้นของรายได้ และมาตรฐานการครองชีพ ส่งผลให้ อานาจในการ


ตัดสินใจของเวลาและรายได้ เพิ่มมากขึ ้น แนวโน้ มหลักของผู้บริ โภคที่ ถูกนามา
ปรับใช้ กบั อุตสาหกรรมรี สอร์ ท มีดงั ต่อไปนี ้
• ความสามารถใหม่
• การพักผ่อนหรือการผ่อนอารมณ์
• ความตื่นเต้ นและความสนุกสนาน
• สุขภาพและความมีสขุ ภาพดี
• การตระหนักถึงสิ่งแวดล้ อม
• การลงทุนของบุคคล
การพิจารณาอุปทาน

• การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีการเดินทาง
• การตลาดอินเตอร์ เน็ต
• เทคโนโลยีก่อให้ เกิดผลิตภัณฑ์
• ความสามารถในการจัดการ
• การแข่งขัน

You might also like