You are on page 1of 6

ในปัจจุบนั ของไทยจะมี 2 ร่าง คือ ร่างพ.ร.บ.

คู่ชีวิต ของกรมคุม้ ครองสิทธิและเสรีภาพ และร่างของการสมรสเท่าเทียม ของ


สส.ก้าวไกล โดยผศ.ดร.เอมผกาจะกล่าวถึงทัง้ สองร่างในเชิงวิชาการ
โดยในแง่สิทธิมนุษยชนแล้วจะมีประเด็นเกี่ยวข้องที่หลากหลายมาก แต่ในวันนีจ้ ะขอกล่าวถึงสิทธิในแง่ของการสร้างครอบครัว

 ในประเด็นความเป็ นมาของร่าง พ.ร.บ.คู่ชีวิต เริ่มต้นในปี พ.ศ.2556 มีค่รู กั ชายกับชายคู่หนึ่ง คือ คุณนนที่


ไปขอจดทะเบียนสมรสกับคู่รกั แต่กลับถูกหน่วยงานรัฐปฏิเสธ เนื่องจากใน ป.พ.พ.
ยังไม่รองรับการจดทะเบียนสมรสระหว่างชายกับชาย จึงมีการยื่นขอร้องเรียนต่อสภา
กรมคุม้ ครองสิทธิและเสรีภาพจึงถูกเชิญจากทางสภาเพื่อเข้าไปร่วมร่างกฎหมาย เรียกว่า พระราชบัญญัติการจดทะเบียนคู่ชีวิต
ซึ่งมีเพียง 15 มาตรา ต่อมามีการยุบสภา การพิจารณาเรื่องดังกล่าวจึงถูกพักไป

ปี ต่อมา กระทรวง
เสนอคณะกรรมการพิจารณากฎหมายของกระทรวงและได้รบั ขอเสนอแนะให้ทาการศึกษาเพิ่มเติมในกลุม่ ความหลากหลายทางเพศ
กลุม่ ทางศาสนาเพราะอาจขัดกับศาสนาบางศาสนาได้ และศึกษาเปรียบเทียบกฎหมายที่เป็ นกฎหมายคู่ชีวิตในหลายๆประเทศ
เพื่อสนับสนุนในการร่างพระราชบัญญัติ จึงทาให้เกิดการร่วมกับ UNDP และมีการเชิญบุคคลที่เป็ น LGBTQ
มาร่วมปรึกษาเพื่อประกอบในการร่างกฎหมายตัวนี ้

จนสุดท้ายก็เริ่มเสนอต่อสภาในร่างกฎหมายดังกล่าวในปี 2561 และมีมติเห็นชอบที่ 44 มาตรา


และส่งต่อไปในชัน้ คณะกรรมการกฤษฎีกา ออกมาเป็ นร่างพระราชบัญญัติค่ชู ีวิต (ฉบับที่ ครม. เห็นชอบตามที่เป็ นข่าววันที่ 8
กรกฎาคม ล่าสุด) โดยมี 4 หมวด 46 มาตรา และยังมีการร่างแก้ไข ป.พ.พ. 3 มาตราสาคัญ คือ
1.เรื่องการจดทะเบียนสมรสซ้อนที่รวมถึงการจดทะเบียนคู่ชีวิตด้วย
2.เรื่องเหตุฟ้องหย่า
3.การสิน้ สุดในค่าเลีย้ งชีพ
ในปัจจุบนั ร่างพระราชบัญญัติค่ชู ีวิตนีอ้ ยู่ระหว่างการพิจารณาของสภาผูแ้ ทนราษฎร
2558 ก็ได้มีการแต่งตัง้ กรรมการภายใน

1. ประเด็นบทบาทของกรมคุม้ ครองสิทธิและเสรีภาพและพัฒนาการของการร่าง พ.ร.บ.คู่ชีวิต


กรมคุม้ ครองสิทธิและเสรีภาพนัน้ เป็ นคนละหน่วยงานกับกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติท่เี ป็ นองค์กรอิสระ
ส่วนเราอยู่ภายใต้สงั กัดกระทรวงยุติธรรม เป็ นหน่วยงานกลางด้านสิทธิท่กี ว้างขวาง
จึงมีการผลักดันพระราชบัญญัติค่ชู ีวิตผ่านทางกระทรวงยุติธรรมให้เกิดการสมรสให้เท่าเทียม และยังสนับสนุนในกลุม่ LGBTQ
ในการจัดกิจกรรมรณรงค์เพื่อเผยแพร่ความรูใ้ ห้แก่ประชาชน และให้ความรูแ้ ก่เจ้าหน้าที่ในการบังคับใช้กฎหมาย เช่น
การจับบุคคลที่เป็ นเพศที่สามโดยที่ไม่ได้กระทาความผิด ก็มีการให้ความรูแ้ ก่เจ้าหน้าที่ และยังดูไปถึงบุคคลที่เป็ น LGBTQ
ที่อยู่ในเรือนจาโดยให้ขอ้ เสนอแนะเพื่อให้
2. ประเด็นบทบาทของกรมคุม้ ครองสิทธิมนุษยชนของการร่าง พ.ร.บ.คู่ชีวิต
ประเด็นทัศนคติของสังคมไทยต่อ LGBTQ เราต้องยอมรับก่อนว่า ในกลุม่ ชายหรือหญิงเองนัน้ ก็มีความหลากหลายมาก
ในผูม้ ีความหลากหลายทางเพศก็เช่นเดียวกัน อัตลักษณ์เหล่านีล้ ว้ นมีบทบาทมากขึน้ ในสังคม การเมือง การศึกษา
การจัดการนัน้ การให้ความรูท้ ่ดี ีขนึ ้ การใช้ชีวิตร่วมกันในสังคม และต้องยอมรับว่ากลุม่ ความหลากหลายทางเพศนีไ้ ม่เหมือนกัน
มีความคิดที่แตกต่างกันในเชิงอัตลักษณ์ท่อี ยากได้พนื ้ ที่หรืออยากได้สิทธิท่ไี ม่เหมือนกัน ซึ่งสะท้อนออกมาในผลของการร่างทัง้
พ.ร.บ.คู่ชีวิต และการสมรสที่เท่าเทียม ก็แสดงให้เห็นได้ถึงความแตกต่างในความต้องการในสิทธิของกลุม่ ความหลากหลายทางเพศ
โดยคาตอบที่สมบูรณ์แบบยังไม่มีในตอนนี ้ สังคมต้องเรียนรูก้ นั ต่อไป

You might also like