You are on page 1of 21

บทที่ 6

โมเมนตัมเชิงเส้นและการชน

Serway Jewett 6th edition Serway Jewett 6th edition


ผศ.ดร.เรวัตร ใจสุทธิ
6.1 โมเมนตัมเชิงเส้น ☐
É

ti tr
ti Vf Serway Jewett 6th edition
F- →
m
/ ✗f

ti

p  mv kg Mls

กรณีการเคลื่อนที่ 3 มิติ

p = pxiˆ + p y ˆj + pz kˆ

p = mvx iˆ + mv y ˆj + mvz kˆ
เมื่อวัตถุมีการเปลี่ยนแปลงโมเมนตัม Vi
f- of

-1
- -

D
m ;
--> ความเร็วของวัตถุมีค่าเปลี่ยนแปลง
6h40AM blooms won ( EF ) ≠ 0 Wino :ñ

p = mv
nsÑ
/
di demit die
=
= m =
MÑ =É
dt dt
df
9wnoÑ EÉ 0
'

nsnd
p'
=

i. =

di # ↓
= =
0
off uÑnmooyonw%bwwÑN
Ñ;=Ñf
Pi
Ex.6.1 วัตถุมวล 6.0 kg เคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็ว 4.0 m/s ไปบนพื้นลื่นที่ไม่มีความฝืด ในทิศ +x
เมื่อเคลื่อนไปถึงจุดหนึ่งวัตถุได้แตกออกเป็นสองส่วน ชิ้นที่หนึ่งมวล 2.0 kg เคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็ว
8.0 m/s ไปในทิศทาง +x จงหาว่าชิ้นที่สอง จะเคลื่อนที่ไปในทิศทางใด ด้วยอัตราเร็วเท่าไร
5011 m, =

2kg

i.
My =
4kg
i
i. In'Ññonwwonmno:ñiñuñnqworm
Initial '
final
m.mg I nsrii

i.
D=
Vj=4 Mls → +×
I Ñ =
8m Is P; =

Pf →
Milli Milk -1
Mzvz
=
,

M
! My m2 the ? ÑWWÑTÑ % bAÑ"owÑÑNnwomf✗ )
Mri
=

MM , +
Mak
(6×4) =

(2×8)+(4-42)
4% =
24-16

E- = 2m15

i.
Noam
,
bnÑᵈowÑÑNnNVaÑooÑMM6Éo 2 Mls #
6.2 การดลและแรงดล
แรงดล (Impulse force) → แรงที่กระทาต่ออนุภาคในช่วงเวลาสั้น ๆ
แรงมีค่าเปลี่ยนไปตามเวลา
จากกฎข้อ 2 ของนิวตัน tf

d§ Ff Fi =L Edt
É
-

ti
=


dt
DF=mrbNÑuWbbNDÑWbNWÑw
Pf tf

fdp =
fÉdt ñ•n↓mrn•( impulse ,I )
ti
Pi
1-2
§ Pf

Pi
=

LÉ .dt
ti
tf

Ñf Fi
-
= I =

LÉ .
dt

↓ ti
.

sp

Éav =
I
=
☐ Ñ
st
At
Serway Jewett 6th edition

Serway Jewett 6th edition


Ex.6.2 ลูกบอลมวล 0.4 kg เคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็ว 30 m/s กระทบกาแพงและกระดอนกลับ
ทางเดิมด้วยอัตราเร็ว 20 m/s จงหา
ก. การดลของแรงสุทธิที่กระทาต่อลูกบอลในระหว่างการชนของลูกบอลกับกาแพง
ข. ถ้าลูกบอลสัมผัสกาแพงนาน 0.01 s จงหาแรงดลเฉลี่ยที่กาแพงกระทาต่อลูกบอลใน
⑨ ⑧ Éav=É
ระหว่างการชนนั้น [ =sÑ= PI Fi - m/s
At
=

20kg
0.01s
-

So / I m=ofkgᵗ¥°M$ Bp MAUI ) Mft;)


.im/sj
=

2000kg
=
-

D
MY
=

+
+
MY :

01m10s
M 02=20 Mls
Crf Vi )
=

☒É÷•i
+

0.4 (20-120)
=

20kg Mls
=
.



rosato
6.3 การชน
1. การชนแบบยืดหยุ่น ( ÑÑmiqNiÑuwÑmw )
การอนุรักษ์โมเมนตัม :{
&.
= ≤
Er
การอนุรักษ์พลังงานจลน์ :
EEK ;
=

Ekf
Ex n' owns matures
%
Up
%

U2

M Ma ,
,
My M2
→ tx

1.) Epi =

EPI 2) SEKI =

EEKF
My Up Mzfllz ) My f- 9) +
Mzltz
=

IMY ? -112MHz 12mn92 12m24


'd
=
-1
2. การชนแบบไม่ยืดหยุ่น

การอนุรักษ์โมเมนตัม

ไม่อนุรักษ์พลังงานจลน์
Ex.6.3 มวล 0.5 kg เคลื่อนที่ไปทางขวาด้วยอัตราเร็ว 2.0 m/s เข้าชนมวล 0.1 kg ซึ่งกาลัง
เคลื่อนที่ไปทางซ้ายด้วยอัตราเร็ว 1.5 m/s หลังจากชนกันมวลทั้งสองเคลื่อนที่ติดกันไป จงหา
ก. ความเร็วของมวลทั้งสองหลังการชน
ข. พลังงานจลน์ที่สูญเสียไปเนื่องจากการชน
Ex.6.4 ลูกปืนมวล m1 ถูกยิงออกไปในแนวระดับด้วยความเร็ว v พุ่งเข้าชนแท่งไม้มวล
m2 ที่แขวนอยู่ในแนวดิ่งด้วยเชือกมวลเบา ลูกปืนฝังเข้าไปในเนื้อไม้และแกว่งขึ้นไปความ
สูง h จากระดับเดิม จงหาความเร็วของลูกปืนก่อนชนกับแท่งไม้
6.4 จุดศูนย์กลางมวล
พิจารณาระบบอนุภาค ประกอบด้วยมวล m1 และ m2

m1 m2

จุดศูนย์กลางมวล
พิจารณาในระบบพิกัดฉาก
m1
m2
m3
กรณีระบบอนุภาคมีมวลกระจายอย่างสม่าเสมอ
Ex.6.5 จงหาจุดศูนย์กลางมวลของระบบอนุภาค ดังรูป กาหนดให้ m1 = 1kg m2 = 2 kg
m3 = 3 kg และ m4 = 4kg

2 m2 m3

0 m1 m4
0 2
Ex.6.6 ระบบหนึ่งประกอบด้วยอนุภาคมวล 2 kg และ 3 kg วางห่างกัน 10 cm จงหา
จุดศูนย์กลางมวลของระบบนี้
Ex.6.7 แท่งโลหะยาว 2 m มีมวลกระจายอย่างสม่าเสมอ โดยมีมวลต่อหน่วยความยาว
 = 3 kg/m ถ้าแท่งโลหะนี้วางตัวตามแนวแกน x โดยปลายด้านหนึ่งอยู่ที่ x = 0 จงหา
จุดศูนย์กลางมวลของแท่งโลหะนี้

You might also like