You are on page 1of 51

หลักสู ตรสถานศึกษา

โรงเรียนบ้ านคลองยาง พุทธศักราช 2560


กลุ่มสาระอิสลามศึกษา
ระดับประถมศึกษา
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขึ้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากระบี่
กระทรวงศึกษาธิการ

ประกาศ โรงเรียน .........................


เรื่อง ให้ ใช้ หลักสู ตรอิสลามศึกษาโรงเรียน.................................................พุทธศักราช.................
ตามหลักสู ตรแกนกลางก ารศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พุทธศักราช 2560
............ ....................................................................................................................... ...................
........................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................
.................................................................................................................................. .....................
.................................................................................................................................. .....................
.................................................................................................................................. .....................
........................................................................................................................................................
.................................................................................................................................
ดังนั้น หลักสู ตรอิสลามศึกษ าโรงเรียนได้ รับความเห็นชอบจาดคณะกรรมการ
สถานศึกษาขั้นพืน้ ฐาน เมื่อวันที่..........เดือ น........................ พ.ศ. ..............จึงประกาศให้ ใช้
หลักสู ตรอิสลามศึกษาโรงเรียนตั้งแต่ บัดนีเ้ ป็ นต้ นไป

ประกาศ ณ...........................................(วันที่/เดือน/ปี )

………………………………… ………………………………..
( ………………….......................) ( …………………………………
ประธานคณะกรรมการสถานศึกษาขันพื
้ ้นฐาน ผุ้อำนายการ
โรงเรี ยน……………………………..
คำนำ
หลักสูตรอิสลามศึกษาเป็ นหลักสูตรหนึ่งในหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช
2551 ที่เปิ ดสอนให้กบั นักเรี ยนที่นบั ถือศาสนาอิสลาม ซึ่งมีความสำคัญตาอการพัฒนาคุณภาพ
นักเรี ยนให้เจริ ญเติบโต เป็ นมนุษย์ที่สมบูณร์ตามหลักการ และวิธีการของศาสนาให้สามารถ
ดำรงชีวิตอย่างสงบสุ ข การจัดการเรี ยนการสอนตามหลักสูตรอิสลามศึกษามุ่งพัฒนาคุณลักษณะ
นิสยั ค่านิยม เจตคติ พฤติกรรม และการฝึ กปฎิบตั ิศาสนกิจในชีวิตประจำวันของนักเรี ยนให้เกิด
แระโยชน์สูงสุ ดต่อตัวนักเรี ยนเอง ชุมชนและสังคมส่ วมรวม ซึ่งเป็ นหน้าที่หลักของโรงเรี ยน ใน
การจำทำแผนการจัดการเรี ยนรู ้ เพื่อพัฒนาการจัดการเรี ยนการสอน สื่ อ /แหล่งเรี ยนรู ้ การวัด
ประเมินผลการเรี ยนการสอนตรงสภาพการเรี ยนรู ้ของนักเรี ยน โดยครู เป็ นผูจ้ ดั ประสบการณ์
การเรี ยนรู ้ให้กบั นักเรี ยนตามหลักการ จุดมุ่งหมายและแนวทางการจัดการศึกษา
โรงเรี ยนบ้านคลองยางมีนโยบายการจัดการศึกษาทุกระดับให้ยดึ ผูเ้ รี ยนเป็ นสำคัญ มี
การจัดการเรี ยนการสอนด้วยวิธียดื หยุน่ หลากหลาย เน้นการปฎิบตั ิจริ ง เชื่อมโยงความรู ้ไปใช้ใน
ชีวิตจริ ง ตลอดจนการวัดและประเมิณผลได้ตรงตามสภาพการเรี ยนรู ้ที่แท้จริ ง โรงเรี ยนบ้าน
คลองยาง หวังให้เอกสารการจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอนอิสลามศึกษาที่เน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสำคัญ
เป็ นสื่ อช่วยให้วิทยากรได้พฒั นาความรู ้ ความสามารถ และทักษะการสอนตามนโยบายการ
จัดการศึกษาของโรงเรี ยนบ้านคลองยาง จึงได้ท ำเอกสารเล่มนี้ข้ ึน

คณะผูจ้ ดั ทำ
โรงเรี ยนบ้านคลองยาง

สารบัญ
เรื่ อง หน้า
ความนำ.......................................................................................................................................1
วิสยั ทัศน์..................................................................................................................................... 3
สมรรถนะสำคัญของผูเ้ รี ยน.........................................................................................................4
คุณลักษณะอันพึงประสงค์..........................................................................................................5
โครงสร้างเวลาเรี ยนอิสลามศึกษา...............................................................................................6
คำอธิบายรายวิชา.......................................................................................................................13
กิจกรรมพัฒนาผูเ้ รี ยน................................................................................................................21
เกณฑ์การจบการศึกษาตามหลักสู ตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2560........................................23
ขอบเขตการประเมินและตัวชี้วดั ที่แสดงถึงความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
อิสลามศึกษาตอนต้นปี ที่ 1-6 (อิบตีดาอียะฮฺ ).............................................................................24
เอกสารหลักฐานการศึกษา........................................................................................................31
การศึกษาการรายงานผลการเรี ยน..............................................................................................34
สรุ ปผลการเรี ยน........................................................................................................................39
การวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์หลักสูตรอิสลามศึกษา......................................42
รักการอ่านอัล-กรุ อาน…………………………………………………………………………42
รักการละหมาด……………………………………………………………………………......44
รักความสะอาด………………………………………………………………………………..45
มีมารยาทแบบอิสลาม………………………………………………………………………….47
มีความรับผิดชอบ……………………………………………………………………………...50
1

ความนำ
การจัดทำหลักสูตรอิสลามศึกษาของสถานศึกษาโรงเรี ยนบ้านคลองยางเป็ นกระบวนการ
ที่ตอ้ งอาศัยการมีส่วนร่ วมของฝ่ ายต่างๆทั้งฝ่ ายบริ หารผูส้ อน ผูป้ กครอง ชุมชน โดยทัว่ ไปมีการ
ดำเนินการคือ
1. การดำเนินการระดับสถานศึกษา ดำเนินการโดยองค์คณะบุคคลในระดับสถานศึกษา
ได้แก่ คณะกรรมการการศึกษา คณะกรรมการบริ หารหลักสูตร และงานวิชาการ เพื่อจัด
ทำหลักสูตรสถานศึกษา
2. การดำเ นินระดับชั้นเรี ยน ดำเนินการโดยครู ผสู้ อนออกแบบหน่วยการจัดการเรี ยนรู ้และ
การจัดก ารเรี ยนการสอนเพื่อให้สอดคล้องเหมาะสมกับสภาพผูเ้ รี ยนซึ้งอาจมีความแตก
ต่างกั นดังนั้นผูส้ อนรายวิชาเดียวกันระดับชั้นเดียวกันอาจพิจารณาออกแบบหน่วยการ
เรี ยนรู ้ ที่ต่างกันซึ้งขึ้นอยูก่ บั ความต้องการและความสามารถที่แตกต่างกันของผูเ้ รี ยนโดย
กิจกรร มการเรี ยนรู ้หรื องานที่มอบหมายให้ผเู้ รี ยนปฏิบตั ิสื่อการสอนหรื อวิธีการวัดผล
และป ระเมินผลอาจต้องปรับเปลี่ยนให้สอดคล้องเหมาะสมกับผูเ้ รี ยน
ทำ ไมต้ องเรียนอิสลามศึกษา
อิสลามเป็ นวิถีชีวิต หรื อระบอบการดำเนินชีวิตที่มุสลิมทุกคนจะต้องเรี ยนรู ้และปฏิบตั ิ เ
พื่อการดำรงชีวิตประจำวัน ในฐานะปัจเจกบุคคล และการอยูร่ ่ วมกันในสังคม
การเรี ยนรู ้เกี่ยวกับศาสนาอิสลาม หรื ออิสลามศึกษา หรื อศาสตร์ต่าง ๆ เพื่อการดำรงชีพ
อยูใ่ นโลกนี้ อย่างสงบสุ ข ถือเป็ นหน้าที่ของมุสลิมทุกคนที่จะต้องศึกษาและปฏิบตั ิ ตั้งแต่อยูใ่ น
เปลจนถึงหลุมฝังศพ โดยไม่ตอ้ งพะวงถึงปัจจัย ระยะเวลา อุปสรรคและสถานที่ ถึงแม้จะไกล
หรื อยากเพียงใดก็ตอ้ งขวนขวายมาให้ได้ เพราะสรรพสิ่ งที่อลั ลอฮฺ สุบหานะฮุวะตะอาลา ทรง
สร้างไว้ท้งั ปวงนั้น ล้วนเป็ นขุมพลังแห่งความรู ้ที่มากมายมหาศาล ซึ่งประชาชาติท้ งั มวลต้อง
แสวงหา
ดังนั้น การเรี ยนรู ้ศาสตร์ต่าง ๆ ที่อลั ลอฮฺ สุบหานะฮุวะตะอาลา กำหนดไว้ จึงถือเป็ น
ภารกิจของปัจเจกบุคคล และเอกบุคคล ที่จะหลีกเลี่ยงไม่ได้ อันจะก่อให้เกิดการพัฒนาทางด้าน
กาย วาจา และใจของผูศ้ รัทธาให้ด ำรงอยูใ่ นฐานะบ่าวที่ศรัทธาต่ออัลลอฮฺ สุบหานะฮุวะตะอาลา
อย่างมัน่ คง ปฏิบตั ิและมีคุณธรรมจริ ยธรรมที่ก่อให้เกิดความสุ ขแก่ตนเอง และส่ วนรวมตามที่
ศาสนากำหนด
พัฒนาการที่เกิดจากกระบวนการเรี ยนรู ้น้ี จะสร้างความเป็ นภราดรภาพ ความสันติสุขใน
หมู่ประชาชาติของนบีมุฮมั มัด ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิ วะสัลลัม ทุกชาติ ภาษา และเผ่าพันธุ์ ในโลก
ปัจจุบนั และอาคิเราะฮฺอย่างแน่นอน
2

เรียนรู้อะไรในอิสลามศึกษา
สาระการเรี ยนรู ้อิสลามศึกษา ว่าด้วยการดำเนินชีวิตของมนุษย์ให้อยูใ่ นแนวทาง ขอ
งอัลลอฮฺ สุบหานะฮุวะตะอาลา ทั้งโดยส่ วนตัวและส่ วนรวม โดยมีอลั -กุรฺอานเป็ นธรรมนูญ
ชีวิต และนบีมุฮมั มัด ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิ วะสัลลัม เป็ นแบบอย่าง ที่จะก่อให้เกิดคุณธรรม
จริ ยธรรม สามารถอยูร่ ่ วมกันในสังคมได้อย่างมีความสุ ข โดยกำหนดสาระการเรี ยนรู ้ ดังนี้
-หลักศรัทธา ว่าด้วยความเชื่อ การยึดเหนี่ยวทางจิตใจของมนุษย์ตอ่ อัลลอฮฺ สุบหานะฮุวะ ตะ
อาลา มีเจตจำนงอันแน่วแน่ต่ออัลลอฮฺ สุบหานะฮุวะตะอาลา และสิ่ งที่อลั ลอฮฺ สุบหานะฮุ
วะตะอาลา บัญญัติไว้ เพื่อขัดเกลาจิตใจของมนุษย์ให้ปฏิบตั ิในสิ่ งดีงาม มีคุณธรรม จริ ยธรรม
และค่านิยมอันพึงประสงค์
-ศาสนบัญญัติ เป็ นหลักปฏิบตั ิของมนุษย์ ที่ศรัทธาตามบทบัญญัติท้ งั โดยปัจเจกบุคคล
และส่ วนรวมเพื่อให้สามารถดำเนินชีวิตประจำวัน และอยูร่ ่ วมกันอย่างมีความสุ ข
-ศาสนประวัติ เรี ยนรู ้ในชีวประวัติของนบีมุฮมั มัด ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิ วะสัลลัม เศาะห
าบะฮฺ และผูเ้ สี ยสละที่ทรงคุณูปการอย่างเอนกอนันต์ในโลกอิสลาม อาณาจักรและอารยธรรม
ของโลกอิสลามที่เป็ นมรดกโลก เพื่อเป็ นคติเตือนใจและนำคุณลักษณะต่าง ๆ มาเป็ นแบบอย่าง
ในการดำเนินชีวิต
-จริยธรรม เรี ยนรู ้หลักปฏิบตั ิต่อตนเอง ผูอ้ ื่นและสิ่ งแวดล้อมที่บญั ญัติไว้ในอัล-กุรฺอาน
แ ละอัล-หะดีษ เรี ยนรู ้มารยาทต่างๆ ตามแบบอย่างนบีมุฮมั มัด ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิ วะสัลลัม
เพื่ อนำไปปฏิบตั ิในชีวิตประจำวัน อันนำไปสู่ ความดีงามของตนเอง สังคม ชุมชน และปร ะเทศ
ชาติสืบไป
-อั ล-กุรฺอาน มุสลิมทุกคนต้องสามารถอ่านอัล-กุรฺอานได้ เรี ยนรู ้หลักการอ่านพร้อม
ความหมาย และนำหลักคำสอนไปเป็ นแนวทางปฏิบตั ิในชีวิตประจำวัน

วิสัยทัศน์
หลักสูตรอิสลามศึกษาตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
มุง่ พัฒนาผูเ้ รี ยนให้เป็ นคนที่มีศรัทธามัน่ มีความจงรักภักดีต่ออัลลอฮฺ สุบหานะฮุวะตะอาลา มีบุค
ลิกภาพตามแบบอย่างท่านนบีมุฮมั มัด ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิ วะสัลลัม มีความสมดุลทั้งด้านควา มรู ้
คุณธรรม มีจิตสำนึกในความเป็ นพลเมืองไทยและพลโลกที่ดี เพื่อพัฒนาตนเอง ครอบครั ว และ
สังคม ก่อให้เกิดสันติสุขทั้งในโลกนี้ และโลกหน้า
หลักการ
หลั กสูตรอิสลามศึกษาตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช๒๕๕๑
ได้ยดึ หลักก ารของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ดังนี้
3

๑. มุ่งเน้นพัฒนาความรู ้ ความเข้าใจ ยึดมัน่ และปฏิบตั ิตามหลักการของศาสนาอิสลาม


เพื่อเป็ นแนว ทางในการดำรงชีวิต
๒.เป็ นการศึกษาที่มุสลิมทุกคนจะได้รับการศึกษาอย่างเสมอภาคและเท่าเทียมกัน โดย
ให้สงั คมมีส่ว นร่ วมในการจัดการศึกษาที่สอดคล้องกับสภาพและความต้องการของแต่ละท้อง
ถิ่น
๓.ส่ งเสริ มให้ผเู้ รี ยนได้พฒั นาและเรี ยนรู ้ดว้ ยตนเองอย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต สามารถ
พัฒนาต ามธรรมชาติ และเต็มตามศักยภาพ
จุดหมาย
จุดหมายของหลักสูตรอิสลามศึกษาตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธ
ศักร าช๒๕๕๑
ได้ยึ ดจุดหมายของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานที่มุ่งพัฒนาผูเ้ รี ยนให้เป็ นคนดี มี
ปัญญ า มีความสุข มีศกั ยภาพในการศึกษาต่อ และประกอบอาชีพ จึงกำหนดเป็ นจุดหมายเพื่อให้
เกิ ดกับผูเ้ รี ยน เมื่อจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน ดังนี้
๑ . มีความศรัทธาต่ออัลลอฮฺสุบหานะฮุวะตะอาลา และปฏิบตั ิตนตามแบบอย่างของนบีมุ
ฮัมมัด ศ็ อลลัลลอฮุอะลัยฮิ วะสัลลัม ตลอดจนมีคุณธรรม จริ ยธรรมอิสลาม
๒ . มีความรู ้ ความเข้าใจ มีทกั ษะในการอ่านอัล-กุรฺอาน และสามารถนำหลักคำสอนไป
ใช้ในการดำ รงชีวิตประจำวันได้
๓. มีความสามารถในการคิด วิเคราะห์ มีเหตุผลในการวินิจฉัย พิจารณาปัญหาต่าง ๆ
โดยยึดหลักก ารอิสลาม
๔. มีค วามภาคภูมิใจในความเป็ นมุสลิมที่ดี มีระเบียบวินยั มีความซื่อสัตย์ สุ จริ ต
อดทน เสี ยสล ะเพื่อส่ วนรวม เห็นคุณค่าของตนเอง สามารถสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่าง
เพื่อนมนุษย์ให้ อยูร่ ่ วมกันในสังคมด้วยความสันติสุข

สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานและหลักสูตรอิสลามศึกษา ตามหลักสูตรแกนก
ลา งการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ มุ่งให้ผเู้ รี ยนเกิดสมรรถนะสำคัญ ๖ ประการ
ดังนี้
๑. ความสามารถในการสื่ อสาร เป็ นความสามารถในการรับและส่ งสาร มีวฒั นธรรมใน
การใ ช้ภาษาถ่ายทอดความคิด ความรู ้ความเข้าใจ ความรู ้สึก และทัศนะของตนเองเพื่อแลกเ ปลี่
ยนข้อมูลข่าวสารและประสบการณ์อนั จะเป็ นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคม รวมทั้ง
การเจรจาต่อรองเพื่อขจัดและลดปัญหาความขัดแย้งต่าง ๆ การเลือกรับหรื อไม่รับข้อมูล ข่าวสาร
4

ด้วยหลักเหตุผลและความถูกต้อง ตลอดจนการเลือกใช้วิธีการสื่ อสาร ที่มีประสิ ทธิภาพ โดย


คำนึงถึงผลกระทบที่มีต่อตนเองและสังคม
๒. ความสามารถในการคิด เป็ นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การ
คิดอย่าง สร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และการคิดเป็ นระบบ เพื่อนำไปสู่ การสร้างองค์
ความรู ้ห รื อสารสนเทศเพื่อการตัดสิ นใจเกี่ยวกับตนเองและสังคมได้อย่างเหมาะสม
๓.ความสามารถในการแก้ ปั ญหา เป็ นความสามารถในการแก้ปั ญหาและอุปสรรค
ต่างๆที่เผ ชิญได้อย่างถูกต้องเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมูลสารสน
เท ศ เข้าใจความสัมพันธ์และการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ต่าง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู ้ ปร
ะยุกต์ความรู ้มาใช้ในการป้ องกันและแก้ไขปัญหา และมีการตัดสิ นใจที่มีประสิ ทธิภาพโดย
คำนึงถึงผลกระทบที่เกิดขึ้นต่อตนเอง สังคมและสิ่ งแวดล้อม
๔. ความสามารถในการใช้ ทกั ษะชีวติ เป็ นความสามารถในการนำกระบวนการต่างๆ
ไปใช้ใน การดำเนินชีวิตประจำวัน การเรี ยนรู ้ดว้ ยตนเอง การเรี ยนรู ้อย่างต่อเนื่อง การทำงาน
และการอ ยูร่ ่ วมกันในสังคมด้วยการสร้างเสริมความสัมพันธ์อนั ดีระหว่างบุคคล การจัดการปัญหา
และความขั ดแย้งต่าง ๆ อย่างเหมาะสม การปรับตัวให้ทนั กับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและ
สภาพแวดล้อม และการรู ้จกั หลีกเลี่ยงพฤติกรรมไม่พงึ ประสงค์ทส่ี ่งผลกระทบต่อตนเองและผูอ้ น่ื
๕. ความสามารถในการใช้ เทคโนโลยี เป็ นความสามารถในการเลือก และใช้เทคโนโลยี
ด้านต่าง ๆ แ ละมีทกั ษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพือ่ การพัฒนาตนเองและสังคมในด้านการ
เรี ยนรู้ การสื่ อสาร การทำงาน การแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ถูกต้อง เหมาะสม และมีคณ ุ ธรรม
๖. คว ามสามารถในการอ่ านอัล-กุรฺอาน เป็ นความสามารถของผูเ้ รี ยนในการอ่านอัล-กุรฺ
อานตามหลัก การ อันเป็ นพื้นฐานสำคัญในการเรี ยนรู ้ศาสนาอิสลาม เพื่อการพัฒนาตนเองด้าน
การยึดมัน่ ศรัท ธา การปฏิบตั ิศาสนกิจ การมีคุณธรรมจริ ยธรรมอิสลาม และการอยูร่ ่ วมกับผูอ้ ื่น
ในสังคมได้อย่า งเหมาะสมและสันติสุข

คุณลักษณะอัน พึงประสงค์
หลักสูตรอิสลามศึกษา พุทธศักราช ๒๕๕๑ มุ่งให้ผเู้ รี ยนมีความศรัทธามัน่ และปฏิบตั ิ
ตามหลักคำสอนข องอิสลามนำมาพัฒนาตนเอง ครอบครัวและสังคม มีบุคลิกภาพตามแบบ
ฉบับอย่างท่านนบีมู ฮำหมัด (ศ.ล.) ก่อให้เกิดสันติสุขทั้งโลกนี้ และโลกหน้า มุ่งพัฒนา
คุณลักษณะอันพึงปร ะสงค์ดงั นี้ คือ
1. มีความรู ้ค วามเข้าใจหลักการอิสลามและตระหนักถึงความจำเป็ นในการเรี ยนรู ้สาระ
อิสลามศึก ษา
2. ยึดมัน่ และ ปฏิบตั ิตามหลักคำสอนของศาสนาอิสลาม
3. เห็นคุณค่าข องตนเองและมีความภาคภูมิใจในความเป็ นมุสลิม
4. มีทกั ษะและ การปฏิบตั ิตามหลักการอิสลามในชีวิตประจำวันอย่างสม่ำเสมอ
5

5. เป็ นผูใ้ ฝ่ เรี ยนรู ้และพัฒนาตนเองอยูเ่ สมอ


6. เชิญชวนให้ผู้ อื่นทำความดี
7. รู ้จกั สิ ทธิและ หน้าที่ของตนเองและผูอ้ ื่น
8. เป็ นแบบอย่าง ที่ดีตามแนวทางอิสลาม

โครงสร้ างเวลาเรียนอิสลามศึกษา
กรอบโครงสร้างเวลาเรี ยนสำหรับสถานศึกษาที่เปิ ดหลักสูตรอิสลามศึกษา ตามหลักสูตร
แก นกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กำหนดกรอบโครงสร้างเวลาเรี ยน ดังนี้
สาระ ปี ที่ 1 ปี ที่ 2 ปี ที่ 3 ปี ที่ 4 ปี ที่5 ปี ที่ 6
อัล-กุรอ่าน
อัล-หะดิษ
อัล-อะกีดะ ฮ. ( หลัการศรัทธา)
อัล-ฟิ กห์ (ศ าส นบัญญัติ)
อัล-ตารี ค (ศ าส นประวัติ)
อัล-อัคลาก ( จ ริ ยธรรม)
ภาษาอาหรับ
ภาษามลายู/ภ าษาอ าหรับเสริ ม
รวมพืน้ ฐาน
กิจกรรมพัฒนาผู้ เรี ยน
กิจกรรม/รายวิช า เพิ่มเติม
รวมเวลาทั้งปี

โครงสร้ าง หลักสู ตรชั้นปี


เป็ นโ ครงสร้างทึ่แสดงรายละเอียดเวลาเรี ยนของรายวิชาพื้นฐานรายวิชา/กิจกรรมเพิ่มเติม
และกิจกรรม พัฒนาผูเ้ รี ยนในแต่ละชั้นปี สำหรับการจัดโครงสร้างหลักสูตรจำเป็ นต้องมีความ
เข้าใจกับการกำ หนดรายวิชาดังนี้
6

การกำหนดรหัสวิชา
เพื่อให้การนำหลักสูตรอิสลามศึกษา ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขึ้นพื้นฐาน
พุทธศักราช 2551 ดำเนิดการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาสำหรับจัดการเรี ยนรู ้ให้สอดคล้องกับ
วิสยั ทัศของรายวิชาตามหลักสูตรสถานศึกษาเป็ นไปอย่างมีระบบสามารถสื่ อสารได้ถูกต้อง
เข้าใจตรงกันสถานศึกษาได้จดั ทำหลักสู ตรอิสลามศึกษาตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขึ้น
พื้นฐานกำหนดรายวิชาทั้งนี้
รหัสวิชา ระบบรหัสวิชาของหลักสูตรอิสลามศึกษาตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
เป็ นระบบที่ประกอบด้วยตัวอักษรและตัวเลขจำนวณ 6 หลักดังนี้

หลักที่ 1 หลักที่ 2 หลักที่ 3 หลักที่ 4 หลักที่ 5 หลักที่ 6


สาระ ระดับการ ปี ในระดับ ประเภท ลำดับของรายวิชา
ศึกษา การศึกษา ของรายวิชา
ก 1 1 7 01-99
ห 2 2 8
อ 3 3
ฟ 4
ต 5
ล 6


หลักที่ 1 เป็ นรหัสตัวอักษร 1 ตัว แสดงสาระการเรี ยนรู ้หลักสูตรอิสลามศึกษาตามหลักสูตรแกน


กลางการศึกษาขึ้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 คือ
ก.หมายถึงรายวิชาในสาระอัล-กรุ อ่าน
ห.หมายถึงรายวิชาในสาระอัล-หะดิษ
อ.หมายถึงรายวิชาในสาระอัล-อะกีดะฮ์ (หลักการศรัทธา)
7

ฟ.หมายถึงรายวิชาในสาระอัล-ฟิ กฮ์ (ศาสนบัญญิติ)


ต.หมายถึงรายวิชาในสาระอัต-ตารี ค (ศาสนประวัติ)
ล. รายวิชาในสาระอัล-อัคลาค (จริ ยธรรม)
ร.หมายถึงรายวิชาในสาระภาษาอาหรับ
ย.หมายถึงรายวิชาสาระภาษามลายู
ส.หมายถึงรายวิชาในสาระภาษาอาหรับ
หลักที่ 2 เป็ นรหัสตัวเลขแสดงระดับชั้นของรายวิชาซึ้ งสะท้อนระดับความรู ้และทักษะใน
รายวิชาที่ก ำหนดไว้ในแต่ละระดับชั้น คือ
1 หมายถึง รายวิชาสำหรับชั้นอิสลามศึกษาตอนต้น (อิบติดาอียะฮ์)
2 หมายถึง รายวิชาสำหรับระดับชั้นอิสลามศึกษาตอนกลาง (มุตะวัสซิเฏาะ)
3 หมายถึงรายวิชาสำหรับระดับชั้นอิสลามศึกษาตอนปลาย (ษานาวียะฮ์)
หลักที่ 3 เป็ นรหัสตัวเลขแสดงชั้นปี ที่เรี ยนหรื อปฏิบตั ิของรายวิชา ซึ้ งสะท้อนระดับความรู ้และ
ทักษะในรายวิชาที่ก ำหนดไว้ในแต่ละระดับชั้นคือ
1 หมายถึง รายวิชาในชั้นปี ที่ 1
2 หมายถึง รายวิชาในชั้นปี ที่ 2
3 หมายถึง รายวิชาในชั้นปี ที่ 3
4 หมายถึง รายวิชาในชั้นปี ที่ 4
5 หมายถึง รายวิชาในชั้นปี ที่ 5
6 หมายถึง รายวิชาในชั้นปี ที่ 6
หลักที่ 4 เป็ นรหัสตัวเลขแสดงประเภทของรายวิชาคือ
8 หมายถึง รายวิชาพื้นฐาน
9 หมายถึง รายวิชาเพิม่ เติม
หลักที่ 5 และหลักที่ 6 เป็ นรหัสตัวเลขแสดงลำดับของรายวิชาแต่ละสาระ
แนวปฏิบัติในการกำหนดรหัสวิชา
การนำระบบระหัววิชาของหลักสูตรอิสลามศึกษาตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น
พื้นฐานมีแนวปฏิบตั ิดงั นี้
ขั้นที่ 1 พิจารณารายวิชาที่ก ำหนดรหัสว่าเป็ นรายวิชาในสาระใดแล้วนำอักษรรหัสแสดงสาระมา
กำหนดเป็ นรหัสหลักที่ 1 ดังนี้
ก หมายถึงรายวิชาในสาระอัล-กรุ อ่าน
ห หมายถึงรายวิชาในสาระอัล-หะดิษ
อ หมายถึงรายวิชาในสาระอัล-อะกีดะฮ์ (หลักการศรัทธา)
ฟ หมายถึงรายวิชาในสาระอัล-ฟิ กฮ์ (ศาสนบัญญิติ)
ต หมายถึงรายวิชาในสาระอัต-ตารี ค (ศาสนประวัติ)
8

ล รายวิชาในสาระอัล-อัคลาค (จริ ยธรรม)


ร หมายถึงรายวิชาในสาระภาษาอาหรับ
ย หมายถึงรายวิชาสาระภาษามลายู
ส หมายถึงรายวิชาในสาระภาษาอาหรับ
ขั้นที่ 2 พิจารณารายวิชาที่ก ำหนดรหัสว่าเป็ นรายวิชาที่จดั ขึ้นสำหรับระดับใดแล้วนำตัวเลขรหัส
แสดงระดับชั้นมากำหนดเป็ นรหัสหลักที่ 2
1 หมายถึง รายวิชาสำหรับชั้นอิสลามศึกษาตอนต้น (อิบติดาอียะฮ์)
2 หมายถึง รายวิชาสำหรับระดับชั้นอิสลามศึกษาตอนกลาง (มุตะวัสซิเฏาะ)
3 หมายถึงรายวิชาสำหรับระดับชั้นอิสลามศึกษาตอนปลาย (ษานาวียะฮ์)
เมื่อนำไปรวมกับรหัสหลักที่ 1 จะได้รหัส 2 หลัก เช่น
ก 1 หมายถึง รายวิชาอัล-กรุ อ่าน ระดับชั้นอิสลามศึกษาตอนต้น (อิบตีดาอียะฮ์)
ก 2 หมายถึง รายวิชาอัล-กรุ อ่าน ระดับชั้นอิสลามศึกษาตอนกลลาง (มุตะวัสิเฏาะฮ์)
ก 3 หมายถึง รายวิชาอัล-กรุ อ่าน ระดับชั้นอิสลามศึกษาตอนปลาย (ษานาวียะฮ์)
ห 1 หมายถึง รายวิชาอัล-หะดิษ ระดับชั้นอิสลามศึกษาตอนต้น (อิบตีดาอียะฮ์)
ห 2 หมายถึง รายวิชาอัล-หะดิษ ระดับชั้นอิสลามศึกษาตอนกลลาง (มุตะวัสิเฏาะฮ์)
ห 3 หมายถึง รายวิชาอัล-หะดิษ ระดับชั้นอิสลามศึกษาตอนปลาย (ษานาวียะฮ์)

ขั้นที่ 3 พิจารณารายวิชาที่ก ำหนดรหัสว่าเป็ นรายวิชาที่จดั ขึ้นเพื่อให้เรี ยนหรื อปฏิบตั ิในชั้นปี ใน


ของระดับชั้น แล้วนำตัวเลขรหัวแสดงปี ในระดับชั้นมากำหนดเป็ นรหัสหลักที่ 3 ดังนี้
กำหนดเลข 1 สำหรับรายวิชาในชั้นปี ที่ 1
กำหนดเลข 2 สำหรับรายวิชาในชั้นปี ที่ 2
กำหนดเลข 3 สำหรับรายวิชาในชั้นปี ที่ 3
กำหนดเลข 4 สำหรับรายวิชาในชั้นปี ที่ 4
กำหนดเลข 5 สำหรับรายวิชาในชั้นปี ที่ 5
กำหนดเลข 6 สำหรับรายวิชาในชั้นปี ที่ 6
เมื่อนำไปรวมกับรหัสหลักที่ 1 กับหลักที่ 2 แล้วจะได้รหัส 3 หลัก ตามตัวอย่างดังนี้
ก 11 หมายถึง รายวิชาอัล-กรุ อ่าน ระดับชั้นอิสลามศึกษาตอนต้น (อิบตีดาอีช้ นั ปี ที่ 1)
ก 12 หมายถึง รายวิชาอัล-กรุ อ่าน ระดับชั้นอิสลามศึกษาตอนต้น (อิบตีดาอีช้ นั ปี ที่ 2)
ก 13 หมายถึง รายวิชาอัล-กรุ อ่าน ระดับชั้นอิสลามศึกษาตอนต้น (อิบตีดาอีช้ นั ปี ที่ 3)
ห 21 หมายถึง รายวิชาอัล-หะดิษ ระดับชั้นอิสลามศึกษาตอนกลาง (มุตะวัสิเฏาะฮ์ช้ นั ปี ที่ 1)
ห 22 หมายถึง รายวิชาอัล-หะดิษ ระดับชั้นอิสลามศึกษาตอนกลาง (มุตะวัสิเฏาะฮ์ช้ นั ปี ที่ 2)
ห 23 หมายถึง รายวิชาอัล-หะดิษ ระดับชั้นอิสลามศึกษาตอนกลาง (มุตะวัสิเฏาะฮ์ช้ นั ปี ที่ 3)
9

ขั้นที่ 4 พิจารณารายวิชาที่ก ำหนดรหัสว่าเป็ นรายวิชาประเภทใด แล้วนำตัวเลขรหัสแสดง


ประเภทของรายวิชามากำหนดเป็ นรหัสหลักที่ 4 ดังนี้
กำหนดเลข 8 สำหรับรายวิชาพื้นฐาน
กำหนดเลข 9 สำหรับรายวิชาเพิม่ เติม
เมื่อนำไปรวมกับรหัสหลักที่ 1,2 และ 3 แล้วจะได้รหัส 4 หลัก ตามตัวอย่างดังนี้
ก 118 หมายถึง รายวิชาอัล-กรุ อ่าน ระดับชั้นอิสลามศึกษาตอนต้น (อิบตีดาอียะฮ์)
ชั้นปี ที่ 1 รายวิชาพื้นฐาน
ก 119 หมายถึง รายวิชาอัล-กรุ อ่าน ระดับชั้นอิสลามศึกษาตอนต้น (อิบตีดาอียะฮ์)
ชั้นปี ที่ 1 รายวิชาเพิม่ เติม
ขั้นที่ 5 พิจารณารายวิชาที่ก ำหนดรหัสว่าเป็ นรายวิชาลำดับที่เท่าใดของสาระในแต่ละระดับชั้น
แล้วนำตัวเลขรหัสบอกลำดับรายวิชาบอกลำดับรายวิชามากำหนดเป็ นรหัสหลักที่ 5 และหลักที่
6 ตามลำดับโดยกำหนดลำดับตามรายวิชาที่เปิ ดสอนในสถานศึกษา เช่น
กำหนดเลข 01 สำหรับรายวิชาลำดับที่ 1
กำหนดเลข 02 สำหรับรายวิชาลำดับที่ 2
กำหนดเลข 03 สำหรับรายวิชาลำดับที่ 3
เมื่อนำไปรวมกับรหัสหลักที่ 1,2,3 และ 4 แล้ว จะได้รหัส 6 หลัก ตามตัวอย่างดังนี้
ก 11801 หมายถึง รายวิชาอัล-กรุ อ่าน ระดับอิสลามศึกษาตอนต้น (อิบติดาอียะฮ์)
ชั้นปี ที่ 1 รายวิชาพื้นฐาน วิชาอัล-กรุ อ่าน ลำดับที่ 1
ก 11901 หมายถึง รายวิชาอัล-กรุ อ่าน ระดับอิสลามศึกษาตอนต้น (อิบติดาอียะฮ์)
ชั้นปี ที่ 1 รายวิชาเพิ่มเติม วิชาอัล-กรุ อ่าน ลำดับที่ 1
ห 22801 หมายถึง รายวิชาอัล-หะดิษ ระดับอิสลามศึกษาตอนกลาง (มุตะวัสิเฏาะฮ์)
ชั้นปี ที่ 2 รายวิชาพื้นฐาน วิชาอัล-หะดิษ ลำดับที่ 1
ห 22902 หมายถึง รายวิชาอัล-หะดิษ ระดับอิสลามศึกษาตอนกลาง (มุตะวัสิเฏาะฮ์)
ชั้นปี ที่ 2 รายวิชาพื้นฐาน วิชาอัล-หะดิษ ลำดับที่ 2
ฟ 22801 หมายถึง รายวิชาอัล-ฟิ กฮ์ ระดับอิสลามศึกษาตอนกลาง (มุตะวัสิเฏาะฮ์)
ชั้นปี ที่ 2 รายวิชาพื้นฐาน วิชาอัล-ฟิ กฮ์ ลำดับที่ 1
ฟ 22902 หมายถึง รายวิชาอัล-ฟิ กฮ์ ระดับอิสลามศึกษาตอนกลาง (มุตะวัสิเฏาะฮ์)
ชั้นปี ที่ 2 รายวิชาพื้นฐาน วิชาอัล-ฟิ กฮ์ ลำดับที่ 2
ขั้นที่ 6 นำชื่อรายวิชาที่ก ำหนดรหัสพร้อมกับจำนวนชัว่ โมงหรื อหน่วยกิตรวมเข้ากับรหัสที่
กำหนดให้ จะได้รายวิชาที่แสดงส่ วนประกอบที่สมบูรณ์ ตามตัวอย่างดังนี้

การกำหนดชื่อรายวิชา
หลักสู ตรอิสลามศึกษา ตามหลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขึน้ พืน้ ฐาน พุทธศักราช
10

ห 12801 อัล-หะดิษ 20 ชัว่ โมง


หมายถึง รายวิชาอัล-หะดิษ สำหรับระดับชั้นอิสลามศึกษาตอนต้น (อิบติดาอี
ยะฮ์) ชั้นปี ที่ 2 เป็ นรายวิชาพื้นฐาน วิชาอัล-หะดิษ ลำดับที่ 1 เวลาเรี ยน 20 ชัว่ โมง/ปี
ความหมายของรหัสวิชา เพือ่ ความเข้ าใจและสื่ อสารตรงกันดังนี้
ก 12801
ก สาระอัล-กรุ อาน ก
1 ระดับชั้นอิสลามศึกษาตอนต้น(อิบติดาอียะฮ์) 1
2 ชั้นปี ที่ 2 2
8 ประเภทรายวิชาพื้นฐาน 8
0 วิชาอัล-กรุ อาน ลำดับที่ 1 0
1 วิชาอัล-กรุ อานลำดับที่ 1 1

โครงสร้ างเวลาเรียนระดับอิสลามศึกษาตอนต้ น ชั้นปี ที่ 1


รหัสวิชา ชื่อวิชา จำนวนชัว่ โมง
รายวิชาพื้นฐาน
ก 11801 อัล-กรุ อ่าน
ห 11801 อัล-หะดิษ
อ 11801 อัล-อะกีดะฮ์ (หลักศรัทธา)
ฟ 11801 อัล-ฟิ กฮ์ (ศาสนบัญญัติ)
ต 11801 อัต-ตารี ค (ศาสนประวัติ)
ล 11801 อัล-อัคลาค (จริ ยธรรม)
ร 11801 ภาษาอาหรับ
ย 11801 ภาษามลายู
กิจกรรมพัฒนาผูเ้ รี ยน
กิจกรรมแนะแนวและพัฒนาจริ ยธรรมอิสลาม
กิจกรรมนักเรี ยน (ชมรม ชุมนม)
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์
รวมเวลาเรี ยนทั้งสิ้ น
11

คำอธิบายรายวิชา
รายวิชา อิสลามศึกษา รหัสวิชา อส 11201 ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 1 เวลาเรี ยน…….ชัว่ โมง
ศึกษาความหมายของคุณลักษณะของอัลลอฮฺ พระนามตําง ๆ ของพระองค์ และการแต่งตั้งบร
รดานบีและร่ อซูล้ เพื่อให้เกิดความรู ้ความเข้าใจและมีหลักศรัทธาที่ถูกต้อง
ศึกษาเกี่ยวกับหลักการอิสลาม การละหมาด และวิธีการละหมาดขั้นพื้นฐาน ประเภท
ของน้า การอาบน้าละหมาด อิสตินยาอฺ การรักษาร่ างกายให๎สะอาด สภาพแวดล้อมของมุสลิม
และสร้างนิสยั รักความสะอาด เพื่อให้เกิดความรู ้ ความเข้าใจและปฏิบตั ิศาสนกิจได้ถูกต้องตาม
หลักการ
ศึกษาประวัติของท่านนบีอาดัม นบีนูฮฺ นบีอิบรอฮีม นบียซู ุฟ และนบีมูฮมั มัด เพื่อให้มี
ความรู ้ความเข้าใจ และตระหนักในคุณคําของจริ ยธรรม และมารยาทอันงดงาม และนำไปใช๎ใน
ชีวิตปะจำวันได้อย่างถูกต้องและเหมาะสมศึกษาจริ ธรรมเกี่ยวกับมารยาทที่พึงมีต่อตนเอง และผู้
อื่น มารยาทในการรับประทานและดื่ม การพูดจาที่ดี การให้สลามและรับสลาม มารยาทภายใน
บ้านและมารยาทในห้องเรี ยน เพือ่ ให้สามารถนำมารยาทต่าง ๆไปใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่าง
เหมาะสมศึกษาฝึ กอ่านท่องจำหะดีษที่เกี่ยวกับแม่ เพื่อนบ้าน การแบ่งปัน บริ จาคการกล่าวสลาม
การรับประทานอาหาร การดื่ม ความซื่อสัตย์ ความสวยงามและมารยาท เพื่อให้เกิดความรู ้ความ
เข้าใจและนำไปใช๎ในชีวิตประจำวันได้ ศึกษา ฝึ กอํานและท่องจำดุอา ตัสมิยะฮฺ ตะเอาวุซ กะลิ
มะฮฺตอยยิบะฮฺ กะลิมะฮฺชะฮาดะฮฺ สลามอ่านเมื่อตั้งใจจะกระทำสิ่ งหนึ่งสิ่ งใดขอบคุณดุอาอฺ ก่อน
รับประทานอาหาร ดุอาอ.หลังรับประทานอาหาร ดุอาอฺ ก่อนเข้าสุ ขา ดุอาอฺ หลังออกจากสุ ข เพื่อ
ให้เกิดความรู ้ ความเข้าใจและนำไปใช๎ในชีวิตประจำวันผลการเรี ยนรู ้ที่คาดหวัง
๑. รู ้เข้าใจความหมาย , ความสำคัญ , จุดประสงค์
- ‫ )اهلل صفات‬คุณลักษณะต่างๆของอัลลอฮฺ )
- ‫ )والرسول األنبياء‬บรรดานบีและร่ อซูล้ )
๒. ทักษะการเรี ยนรู ้ และทักษะการคิดในเรื่ อง ‫ والرسول األنبياء‬, ‫اهلل صفات‬
๓. ยึดมัน่ เห็นคุณคํา และภาคภูมิใจในอิสลาม
๔. รู ้เข้าใจความเป็ นมา จุดประสงค์ที่อลั ลอฮฺ (‫( تعالى‬ทรงสํงมา, สิ่ งที่ควรนำมาปฏิบตั ิ)
12

คำอธิบายรายวิชาเพิม่ เติม
รายวิชา อิสลามศึกษา รหัสวิชา อส 12201 ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 2 เวลาเรียน.........ชั่วโมง
.....................................................................................................................................................................
ศึกษาความหมายของคุณลักษณะของอัลลอฮฺ พระนามต่าง ๆ ของพระองค์ และการ
แต่งตั้งบรรดานบีและร่ อซูล้ คำสัง่ สอนของบรรดานบีและร่ อซูล้ บรรดามลาอิกะฮฺ ความ
ประเสริ ฐและหน้าที่ของมลาอิกะฮฺกตุ ุบ บรรดาคัมภีร์ ชื่อและความประเสริ ฐของคัมภีร์เพื่อให้
เกิดความรู ้ ความเข้าใจและมีหลักศรัทธาที่ถูกต้อง ศึกษาเกี่ยวกับหลักการอิสลาม การละหมาด
เวลาและวิธีการละหมาด การอาบน้ำละหมาด ความประเสริ ฐของน้ำละหมาด ฟัรฎของน้ำ ู
ละหมาด สาเหตุที่ท ำให้เสี ยน้ำละหมาด การใช้สุขา การอาบน้ำวายิบ เพื่อให้เกิดความรู ้ ความ
เข้าใจและปฏิบตั ิศาสนกิจได้ถูกต้องตามหลักการ ศึกษาความหมายและความสำคัญของประวัติ
บรรดานบี นบีมฮู ำมัด การเผยแผ่ศาสนา การสมรสและการแต่งตั้ง การฮิจเราะฮฺ ชีวิตในมะดี
นะฮฺ และนบีมูซา ชีวิตในอียปิ ต์การได้รับการแต่งตั้ง และนบีอีซา การดำเนินชีวิตของท่านนบี
และนบีอยั ยูบ ความอดทนและการขอบคุณต่ออัลลอฮฺของท่าน และนบีสุลยั มานกับปาฏิหารย์
ของนบีสุลยั มาน เพื่อให้มีความรู ้ความเข้าใจ และตระหนักในคุณค่าของจริ ยธรรม และมารยาท
อันงดงามของบรรดานบี และนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างถูกต้องและเหมาะสมศึกษาจริ
ธรรมเกี่ยวกับมารยาทที่พงึ มีต่อตนเอง และผูอ้ ื่น มารยาทในการรับประทานและดื่ม การพูดจาที่
ดี การให้สลามและรับสลาม มารยาทภายในบ้านและมารยาทในห้องเรี ยน มารยาทที่พึงมีต ่อ
สรรพสิ่ งในโลก อาทิ มารยาทต่อสัตว์เลี้ยง เพื่อให้สามารถนามารยาทต่าง ๆไปใช้ในชีวิตประจำ
วันได้อย่างเหมาะสมศึกษา ฝึ กอ่านท่องจำหะดีษที่เกี่ยวกับการเข้าห้องน้ำ การออกห้องน้ำ บิดา
ของขวัญ อาหาร ความเกลียดชัง การสอดรู ้สอดเห็น สลาม การรับประทานการดื่ม เพื่อให้เกิด
ความรู ้ ความเข้าใจและนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ศึกษา ฝึ กอํานและท่องจำดุอา กะลิมะฮฺตะฮฺ
มีด กะลิมะฮฺเตาฮีด ดุอาอฺ ก่อนนอน ดุอาอฺ ตี่นนอน กะลิมะฮฺร่อดดุล้ กุฟรฺ อีหม่านมุจญมั้ล ดุอาอฺ
เมื่อจาม อีหม่านมุฟัซซ้อล ดุอาอฺ เมื่อได้ยนิ ข่าวดี ดุอาอฺ เมื่อเกิดการสูญเสี ย เพื่อให้เกิดความรู ้
ความเข้าใจและนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้
ผลการเรียนรู้ ที่คาดหวัง
๑. รู ้เข้าใจความหมาย , ความสำคัญ , จุดประสงค์
- ‫ )اهلل صفات‬คุณลักษณะต่างๆของอัลลอฮฺ )
- ‫ )والرسول األنبياء‬บรรดานบีและร่ อซูล้ )
- ‫ )اماللئكة‬บรรดามะลาอิกะ)
- ‫ )اهلل كتب‬บรรดาคัมภีร์ของพระองค์)
๒. ทักษะการเรี ยนรู ้ และทักษะการคิดในเรื่ อง ‫ والرسول األنبياء‬, ‫اهلل صفات‬
๓. ยึดมัน่ เห็นคุณคํา และภาคภูมิใจในอิสลาม
๔. รู ้เข้าใจความเป็ นมา จุดประสงค์ที่อลั ลอฮฺ (‫( تعالى‬ทรงสํงมา, สิ่ งที่ควรน ามาปฏิบตั ิ)
13

คำอธิบายรายวิชาเพิม่ เติม
รายวิชา อิสลามศึกษา รหัสวิชา อส ๑๓๒๐๑ ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๓ เวลาเรียน……ชั่วโมง
.....................................................................................................................................................................
ศึกษาความหมายของคุณลักษณะของอัลลอฮฺ พระนามต่าง ๆ ความยิง่ ใหญ่ของ
พระองค์ และหลักปฏิบตั ิพ้ืนฐานของอิสลาม ความหมาย วัตถุประสงค์ หน้าที่ต่าง ๆของมุสลิม,
ความหมาย ความสำคัญวัตถุประสงค์และผลลัพธ์วนั อาคิเราะฮฺ , ความหมาย ความสำคัญ
วัตถุประสงค์ของกอฎอ กอดัร เพือ่ ให้เกิดความรู ้ความเข้าใจและมีหลักศรัทธาที่ถูกต้อง ศึกษา
เกี่ยวกับหลักการอิสลาม การละหมาด เงื่อนไขของการละหมาด กิบลัต อะซาน การอาบน้ำ
ละหมาด สุ นตั ของน้ำละหมาด ฟัรฎของน้ำละหมาด
ู เมื่อน้ำละหมาดมีความจำเป็ น สาเหตุที่
ทำให้เสี ยน้ำละหมาด การอาบน้ำวายิบ สุ นตั ของการอาบน้ำวายิบ เพื่อให้เกิดความรู ้ ความเข้าใจ
และปฏิบตั ิศาสนกิจได้ถูกต้องตามหลักการ ศึกษาชีวประวัตินบีมูฮ ำมัด การเกิดของท่านนบี วัย
เยาว์ วัยหนุ่ม วัยฉกรรจ์ การสมรส การจากไปของผูใ้ กล้ชิด ชีวิตในมักกะฮฺ การสร้างกะบะฮฺ
สัตยาบันแห่งกะบะฮฺ การค้นหาสัจธรรม รับการแต่งตั้งให้เป็ นร่ อซูล้ การเผยแผ่ศาสนา อิสรออฺ
เมยะรอจ การอพยพไปมะดีนะฮฺ การอพยพไปอบิสิเนีย การตัดความสัมพันธ์เพื่อให้มีความรู ้
ความเข้าใจ และตระหนักในชีวประวัตินบีมูฮ ำมัด และมารยาทอันงดงามของท่านและนำไปใช้
ในชีวิตประจำวันได้อย่างถูกต้องและเหมาะสมศึกษาจริ ธรรมเกี่ยวกับมารยาทที่พึงมีต่อตนเอง
และผูอ้ ื่น มารยาทในการแสวงหาความรู ้ การกล่าวสลาม ความเมตตา การช่วยเหลือคนยากไร้
การให้เกียรติ การพูดความจริ ง การพูดจาที่ดี การให้สลามและรับสลาม มารยาทภายในบ้านและ
มารยาทในห้องเรี ยน มารยาทที่พึงมีต่อสรรพสิ่ งในโลก อาทิ มารยาทต่อสัตว์เลี้ยง มารยาทที่พงึ
มีต่ออัลลอฮฺอาทิ มายาทในมัสยิด เพื่อให้สามารถนำมารยาทต่าง ๆไปใช้ในชีวิตประจำวันได้
อย่างเหมาะสมศึกษา ฝึ กอ่านท่องจำหะดีษที่เกี่ยวกับการหยิบยืม ความโกรธ อัลกุรอ่าน การยิม้
แย้ม การรักษาเกียรติยศของมุสลิม การปลดทุกข์ ความสะอาด การจาม การหาวนอน การ
ขอบคุณ เพื่อให้เกิดความรู ้ ความเข้าใจและนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ ศึกษา ฝึ กอ่านและ
ท่องจำดุอา ดุอาอฺ ก่อนทำน้ำละหมาด ดุอาอฺ ขณะทำน้ำละหมาด ดุอาอฺ หลังอาบน้ำละหมาด ดุอาอฺ
ให้ผเู้ ลี้ยงอาหาร เมื่อเห็นพี่นอ้ งมุสลิมมีความสุ ข ซะนาอฺ ตะชาฮุด ซอลาวาตนบีอิบรอฮีม ดุอาอฺ
หลังซอลาวาต ตัสเบียะฮฺระหว่างรุ ก๊วะ ตัสมี ตะฮฺมีดเกามะฮฺ ตัสเบียะฮฺขณะสุ ญูด ให้สลาม ดุอาอฺ
หลังให้สลามเพื่อให้เกิดความรู ้ ความเข้าใจและนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้
ผลการเรียนรู้ ที่คาดหวัง
๑. รู ้เข้าใจความหมาย , ความสำคัญ , จุดประสงค์
- ‫( اهلل صفات‬คุณลักษณะต่างๆของอัลลอฮฺ )
- ‫ ( والرسول األنبياء‬บรรดานบีและร่ อซูล้ )
14

- ‫( اماللئكة‬บรรดามะลาอิกะ)
- ‫ ( اهلل كتب‬บรรดาคัมภีร์ของพระองค์)
- ‫( اآلخرة‬โลกหน้า)
- ‫( والقدر القضاء‬กำหนดการณ์ความดีและความชัว่ มาจากอัลลอฮฺ )
๒. ทักษะการเรี ยนรู ้ และทักษะการคิดในเรื่ อง ‫ والرسول األنبياء‬, ‫اهلل صفات‬
๓. ยึดมัน่ เห็นคุณค่า และภาคภูมิใจในอิสลาม
๔. รู ้เข้าใจความเป็ นมา จุดประสงค์ที่อลั ลอฮฺ (‫ ) تعالى‬ทรงส่ งมา, สิ่ งที่ควรนำมาปฏิบตั ิ

คำอธิบายรายวิชาเพิม่ เติม
รายวิชา อิสลามศึกษา รหัสวิชา อส 14201 ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 4 เวลาเรียน …..ชั่วโมง
..........................................................................................................................................................................
ศึกษาความหมายของคุณลักษณะของอัลลอฮฺ พระนามต่างๆ ของพระองค์ และความ
เป็ นมา วัตถุประสงค์การแต่งตั้งบรรดานบีและร่ อซูล้ อัลอิสลาม หลักศรัทธาขั้นพื้นฐานและวิธี
การดำเนินชีวิต เพื่อให้เกิดความรู ้ ความเข้าใจและมีหลักศรัทธาที่ถูกต้อง ศึกษาเกี่ยวกับหลักการ
อิสลาม การละหมาด และวิธีการละหมาดขั้นพื้นฐาน เวลาละหมาด เวลาที่หา้ มละหมาด การอาบ
น้ำละหมาด สิ่ งที่เป็ นมันดูบและมักรู ฮฺของน้ำละหมาด การอาบน้ำาฆุสลฺ สิ่ งที่เป็ นมักรู ฮฺและสุ
นัตของการอาบน้ำฆุสลฺ การอาบน้ำฆุสลฺ กรณี ที่เป็ นสุ นตั ตะยัมมุม สาเหตุของการตะยัมมุม เพื่อ
ให้เกิดความรู ้ความเข้าใจและปฏิบตั ิศาสนกิจได้ถูกต้องตามหลักการ ศึกษาประวัติของท่านนบีมู
ฮัมมัด การมาถึงเมืองมะดีนะฮฺ มัสยิดอัลนะบะวี สนธิสญ ั ญากับชาวยิว มุนาฟิ กีนยุคสมัยแห่ง
สงคราม สงครามกับชาวมักกะฮฺ สงครามบดัร สงครามอุฮุด สงครามอุฮุด สงครามอะฮฺ
ซาบ สาสน์ถึงกษัตริ ยต์ ่าง ๆ การล่มสลายของคอยบัร พิชิตมักกะฮฺ สัมพันธภาพกับยิว สงครามฮุ
นัยนฺ สนธิ สัญญาฮุดยั บียะฮฺ เดินทัพสู้ตะบูค ก่อนวะฟาต ฮัจญอาลาวะฟาตนบี เพื่อให้มีความรู ้
ความเข้าใจ และตระหนักในคุณค่าของจริ ยธรรม และมารยาทอันงดงาม และนำไปใช้ในชีวิต
ประจำวันได้อย่างถูกต้องและเหมาะสมศึกษาจริ ธรรมเกี่ยวกับมารยาทที่พึงมีต่อตนเอง และผูอ้ ื่น
การให้อภัย การสัญญา การแต่งกาย ความฟุ่ มเฟื อย การลักขโมย การตั้งฉายา ลิ้น พ่อแม่ เพื่อน
เพื่อให้สามารถนามารยาทต่าง ๆไปใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างเหมาะสมศึกษา ฝึ กอ่าน ท่องจำ
หะดีษที่เกี่ยวกับผูท้ ี่ดีที่สุด การมีมารยาทที่ดี การมีเมตตาต่อผูอ้ ื่น ชักชวนสู้ความดี การซิกรฺ ที่ดี
ที่สุด กุญแจสู่ สวรรค์ ความอิจฉาริ ษยา การทุจริ ต เมื่อเข้าหรื อออกจากบ้าน เพื่อนบ้าน เพื่อให้เกิด
ความรู ้ ความเข้าใจและนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ศึกษา ฝึ กอํานและท่องจำดุอา อะซาน อิก
อมะฮฺดุอาอฺ รับอะซาน ดุอาอฺ กนุ ูต ดุอาอฺ แต่งกาย ดุอาอฺ ส่องกระจก ดุอาอฺ ยามเช้าและยามเย็น ดุ
อาอฺ เมื่อออกจากบ้าน ดุอาอฺ ดื่มน้ำ ดุอาอฺ เดินทาง เพื่อให้เกิดความรู ้ ความเข้าใจและนำไปใช้ใน
ชีวิตประจำวันได้
15

ผลการเรียนรู้ ที่คาดหวัง
๑. รู ้เข้าใจความหมาย , ความสำคัญ , จุดประสงค์
- ‫( اهلل صفات‬คุณลักษณะต่างๆของอัลลอฮฺ )
- ‫( والرسول األنبياء‬บรรดานบีและร่ อซูล้ )
๒. ทักษะการเรี ยนรู ้ และทักษะการคิดในเรื่ อง ‫ والرسول األنبياء‬, ‫اهلل صفات‬
๓. ยึดมัน่ เห็นคุณค่า และภาคภูมิใจในอิสลาม หลักศรัทธาขั้นพื้นฐาน วิธีการดำเนินชีวิต
๔. รู ้เข้าใจความเป็ นมา ชีวประวัติท่านนบี มูฮมั มัด
๕. สามารถบอกเล่าเรื่ องราวต่อไปนี้ ได้การมาถึงเมืองมะดีนะฮฺ มัสยิดอัลนะบะวีสนธิสญ ั ญากับ
ชาวยิว มุนาฟิ กีน ยุคสมัยแห่งสงคราม สงครามกับชาวมักกะฮฺ สงครามบดัร สงครามอุฮุด สง
ครามอะฮฺซาบ สาสน์

คำอธิบายรายวิชา
รายวิชา อิสลามศึกษา รหัสวิชา อส 15201 ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 5 เวลาเรียน ……… ชั่วโมง
..........................................................................................................................................................................
ศึกษาความหมายของคุณลักษณะของอัลลอฮฺ พระนามต่าง ๆ ของพระองค์ และ
คุณลักษณะของ นบีมฮู มั มัด ความสำคัญของมุอฺญิซาต วันกิยามะฮฺ สัญญาณวันกิยามะฮฺ ชีวิตใน
โลกหน้า เหตุการณ์ต่าง ๆข้อคิด สวรรค์และนรก ความบรมสุ ข ความเลวร้าย คุณลักษณะของ
สวรรค์และนรก เพื่อให้เกิดความรู ้ ความเข้าใจและมีหลักศรัทธาที่ถูกต้อง ศึกษาเกี่ยวกับหลัก
การอิสลาม การละหมาด ซุนนะฮฺอบั อ้าดในละหมาด ซุนนะฮฺทวั่ ไปในละหมาดอาด๎าบหรื อ
ระเบียบมารยาทในการละหมาด สิ่ งที่ท ำให้เสี ยละหมาด วิธีการละหมาด สิ่ งสกปรก ประเภท
ของน้ำ กฎเกณฑ์ในเรื่ องของน้ำ ฮะดัส สภาพที่ไม่สะอาดการ อัฏฏอฮาเราะฮฺ มิสวาก ไม่ถูฟัน ฆุ
สลฺ การอาบน้ำวายิบ การอาบน้ำละหมาด ตะยัมมุม การเช็ดคุฟ การเช็ดแผล หรื อเฝื อก เพื่อให้
เกิดความรู ้ ความเข้าใจและปฏิบตั ิศาสนกิจได้ถูกต้องตามหลักการศึกษาความหมายและความ
สำคัญของนบีมูฮ ำมัด ก่อนอิสลามการถือกำเนิด ในวัยเด็ก การเดินทางไปซีเรี ยครั้งแรก วัยหนุ่ม
บูรณะกะบะฮฺ วัยฉกรรจ์ การสมรส ค้นหาสัจธรรม ได้รับการแต่งตั้งให้เป็ นนบีประกาศศาสนา
สองสหายผูซ้ ื่อสัตย์ การทรมานและข่มแหง อพยพไปอบิสซีเนีย ถูกคว่าบาตร การสูญเสี ยเพื่อน
ทั้งสอง สูฏํ ออิฟ เมี๊ยะรอจ สัตยาบันอะกอบะฮฺครั้งที่ ๑ – ๒ อพยพไปมะดีนะฮฺ เพื่อให้มีความรู ้
ความเข้าใจ และตระหนักในคุณค่าของจริ ยธรรม และมารยาทอันงดงามของนบีมูฮมั มัด และนำ
ไปใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างถูกต้องและเหมาะสมศึกษาจริ ธรรมเกี่ยวกับมารยาทที่พงึ มีต่อ
ตนเอง และผูอ้ ื่น มารยาทการเดิน การดูแลตนเอง ละหมาดวันศุกร์ มารยาทในการสนทนา การ
พูดตลก เพื่อนบ้าน เจ้าบ้าน การแบ่งปัน และหน้าที่ของมุสลิมต่อผูอ้ ื่นเพื่อให้สามารถนามารยาท
16

ต่าง ๆไปใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างเหมาะสมศึกษาฝึ กอ่าน ท่องจำหะดีษที่เกี่ยวกับการทำให้พี่


น้องมุสลิมตกใจกลัว การละหมาด การตัดความสัมพันธ์การเริ่ มด้วยข้างขวาการอาบน้ำละหมาด
การทำตามสัญญา การนินทาลับหลัง การนิ่นทาลับหลัง ลิ้น การมีความโอบอ้อมอารี ต่อผูอ้ ื่น
ความโกรธ เพื่อให้เกิดความรู ้ ความเข้าใจและนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ ศึกษา ฝึ กอ่านและ
ท่องจำดุอา ดุอาอฺ เข้ามัสยิด ดุอาอฺ ออกจากมัสยิด ดุอาอฺ เมื่อรู ้สึกเจ็บปวด หรื อทุกข์ร้อนทางกาย ดุ
อาอฺ เมื่อมีไข้ เนียตถือศีลอด ดุอาอฺ ละศีลอด ดุอาอฺ เมื่อละศีลอดที่บา้ นผูอ้ ื่นดุอาอฺ สวมใส่ เสื้ อผ้า
ใหม่ ดุอาอฺ เมื่อเห็นจันทร์เสี้ ยว ดุอาอฺ ส่องกระจก ดุอาอฺ ทานผลไม้ผลแรกในฤดูดุอาอฺ หลังดื่มนม
เพื่อให้เกิดความรู ้ ความเข้าใจและนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้
ผลการเรียนรู้ ที่คาดหวัง
๑. รู ้เข้าใจความหมาย , ความสำคัญ , จุดประสงค์
- ‫ ( اهلل صفات‬คุณลักษณะต่างๆของอัลลอฮฺ )
- ‫( والرسول األنبياء‬บรรดานบีและร่ อซูล้ )
- คุณลักษณะของ นบีมูฮ ำมัด
- ความสำคัญของมุอฺญิซาั ต วันกิยามะฮฺ สัญญาณวันกิยามะฮฺชีวิตในโลกหน้า เหตุการณ์
ต่าง ๆ ข้อคิด สวรรค์และนรก ความบรมสุ ขความเลวร้าย คุณลักษณะฮฺ
๒. ทักษะการเรี ยนรู ้ และทักษะการคิดในเรื่ อง ‫ والرسول األنبياء‬, ‫اهلل صفات‬
๓. ยึดมัน่ เห็นคุณค่า และภาคภูมิใจในอิสลาม
๔. รู ้เข้าใจความเป็ นมาชีวประวัติท่านนบี มูฮมั มัด
๕. .สามารถบอกเล่าเรื่ องราวต่อไปนี้ ได้ก่อนอิสลาม การถือกำเนิด ในวัยเด็ก ไปซีเรี ยครั้งแรก วัย
หนุ่ม,บูรณะกะบะฮฺ วัยฉกรรจ์,แต่งงาน ค้นหาสัจธรรม การแต่งตั้งให้เป็ นนบีประกาศศาสนา
สองสหายผูซ้ ื่อสัตย์การทรมานและข่มเหง อพยพไปอบิสซีเนีย ถูกคว่ าบาตร สูญเสี ยเพื่อนทั้ง
สอง สูฏ้ ออิฟ เมี๊ยะรอจ สัตยาบันอะกอบะฮฺครั้ งที่1-2 อพยพไปมะดีนะฮฺ
๖. รู ้เข้าใจความหมาย , ความสำคัญ , จุดประสงค์
- ‫( اهلل صفات‬คุณลักษณะตํางๆของอัลลอฮฺ )
- ‫( والرسول األنبياء‬บรรดานบีและร่ อซูล้ )
๗. ทักษะการเรี ยนรู ้และทักษะการคิดในเรื่ อง ‫ والرسول األنبياء‬, ‫اهلل صفات‬
๘. ยึดมัน่ เห็นคุณคํา และภาคภูมิใจในอิสลาม หลักศรัทธาขั้นพื้นฐาน วิธีการดำเนินชีวิต
17

คำอธิบายรายวิชา
รายวิชา อิสลามศึกษา รหัสวิชา อส ๑๖๒๐๑ ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๖ เวลาเรียน..........ชั่วโมง
..........................................................................................................................................................................
ศึกษาความหมายของคุณลักษณะของอัลลอฮฺ พระนามต่างๆ ความยิง่ ใหญ่ของ
พระองค์ และกุตุบุลลอฮฺ อัลกุรอ่าน วะฮี การดลใจ มุอฺญิซาต กะรอมะฮฺ อิสติดรอจญฺ เอาลิยาอฺ
เยามุลอาคิร นบีอีซา สัญญาณวันกิยามะฮฺ อีหมํามมะฮฺดี ดัจญาล การลงมาของนบีอีซา ยะญูจ
มะญูจ การทรุ ดตัวของพื้นดินและ 40 วันแห่งหมอกควัน เพื่อให้เกิดความรู ้ ความเข้าใจและมี
หลักศรัทธาที่ถูกต้อง ศึกษาเกี่ยวกับหลักการอิสลาม การละหมาด เงื่อนไขของการละหมาด
กิบลัต อะซาน การอาบน้ำละหมาด สุ นตั ของน้ำละหมาด ฟัรฎของน้ำละหมาด
ู เมื่อน้ำละหมาดมี
ความจำเป็ น สาเหตุที่ท ำให้เสี ยน้ำละหมาด การอาบน้ำวายิบ สุ นตั ของการอาบน้ำวายิบ เพื่อให้
เกิดความรู ้ ความเข้าใจและปฏิบตั ิศาสนกิจได้ถูกต้องตามหลักการ ศึกษาประวัติของท่านนบีมู
ฮัมมัด การมาถึงเมืองมะดีนะฮฺ มัสยิดอัลนะบะวี สนธิสญ ั ญากับชาวยิวมุนาฟิ กีนยุคสมัยแห่ง
สงคราม สงครามกับชาวมักกะฮฺ สงครามบดัร สงครามอุฮุด สงครามอุฮุด สงครามอะฮฺซาบ
สาสน์ถึงกษัตริ ยต์ ่าง ๆ การล่มสลายของคอยบัร พิชิตมักกะฮฺ สัมพันธภาพกับยิว สงครามฮุนยั นฺ
สนธิ สัญญาฮุดยั บียะฮฺ เดินทัพสู้ตะบูค ก่อนวะฟาต ฮัจญอ าลา วะฟาตนบี เพื่อให้มีความรู ้ความ
เข้าใจ และตระหนักในคุณค่าของจริ ยธรรม และมารยาทอันงดงาม และนำไปใช้ในชีวิตประจำ
วันได้อย่างถูกต้องและเหมาะสมศึกษาจริ ธรรมเกี่ยวกับมารยาทที่พึงมีต่อตนเอง และผูอ้ ื่น บาป
ใหญ่ต่าง ๆ การโกหก การนินทา การยุยงปลุกปั่น การอิจฉาริ ษยา การประพฤติดีต่อบิดามารดา
หน้าที่ตอํ บิดามารดา มารยาทต่อบิดามารดา สิ ทธิของบิดามารดา หะดีษความสำคัญของบิดา
มารดา การใช้ค ำพูดกับบิดามารดา ความมีเมตตาต่อบิดามารดาการปฏิบตั ิต่อผูอ้ ื่น มารยาทต่อผู้
อาวุโส มารยาทต่อเพื่อนบ้าน มารยาทต่อวงศ์ตระกูล การปฏิบตั ิต่อญาติการปฏิบตั ิต่อผูอื่น การ
ผูกสัมพันธ์เครื อญาติ ประโยชน์ท้ งั 10 เพือ่ นบ้าน มารยาทในอิสลามการแต่งกายตามซุนนะฮฺ
มารยาทอาภรณ์ มารยาทในการจาม มารยาทในการสลาม มารยาทในการมุศอฟาฮะฮฺซุนนะฮฺใน
ยามค่ำคืน มารยาทในการอิสตินยาอฺ มารยาทในการรับประทานอาหาร เพื่อให้สามารถน า
มารยาทต่างๆไปใช้ในชีวิตประจ าวันได้อย่างเหมาะสม ศึกษา ฝึ กอําน ท่องจำหะดีษที่เกี่ยวกับ
การรักษาลิ้น ความประเสริ ฐของการใช้มือขวา ความสัมพันธ์ระหว่างพี่นอ้ ง อัลกุรอ่าน การถูก
ห้ามจากการได้รับพรอันประเสริ ฐ สิ่ งมึนเมา การเริ่ มด้วยทางขวา การกระทำที่ไร้สาระ คุณค่า
ของมารยาทที่ดี การคุม้ ครองจากอัลลอฮฺ การยุแหย่ พระนามของอัลลอฮฺ เพือ่ ให้เกิดความรู ้
ความเข้าใจและนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ศึกษา ฝึ กอ่านและท่องจำดุอาเยีย่ มผูป้ ่ วย ขณะรู ้ตวั
ว่าจะตาย เยีย่ มกุบูร ในละหมาดญะนาซะฮฺในละหมาดญะนาซะฮฺ ผใู้ หญ่ ในละหมาดญะนาซะฮฺ
18

เด็กผูช้ าย ในละหมาดญะนาซะฮฺเด็กผูห้ ญิง การขออภัยให้ผตู้ าย อายะฮฺที่ควรอ่านขณะกลบหลุม


เมื่อหย่อนมัยยิตลงหลุม อายะฮิที่ควรอ่านหลังกลบหลุม เพือ่ ให้เกิดความรู ้ ความเข้าใจและนำไป
ใช้ในชีวิตประจำวันได้
ผลการเรียนรู้ ที่คาดหวัง
๑. รู ้เข้าใจความหมาย , ความสำคัญ , จุดประสงค์
‫( اهلل صفات‬คุณลักษณะต่างๆของอัลลอฮฺ )
๒. ทักษะการเรี ยนรู ้ และทักษะการคิดในเรื่ อง ‫ والرسول األنبياء‬, ‫اهلل صفات‬
๓. ยึดมัน่ เห็นคุณค่า และภาคภูมิใจในอิสลาม
๔. รู ้เข้าใจความเป็ นมา ชีวประวัติท่านนบี มูฮมั มัด
๕. สามารถบอกเล่าเรื่ องราวต่อไปนี้ ได้การมาถึงเมืองมะดีนะฮฺมสั ยิดอัลนะบะวีสนธิสญ ั ญากับ
ชาวยิวมุนาฟิ กีน ยุคสมัยแห่งสงคราม สงครามกับชาวมักกะฮฺสงครามบดัร สงครามอุฮุด สงครา
มอะฮฺซาบ สาสน์ถึงกษัตริ ยต์ ่าง ๆ การล้มสลายของคอยบัร พิชิตมักกะฮฺสมั พันธภาพกับยิว สง
ครามฮุนยั นฺ สนธิ สัญญาฮุดยั บียะฮ์เดินทัพสู่ ตะบูค ก่อนวะฟาต ฮัจญอาลาวะฟาตนบี

กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
โรงเรี ยนบ้านคลองยางได้จดั ให้ผเู้ รี ยนทุกคนร่ วมกิจกรรมให้เหมาะสมกับวัย วุฒิภาวะ
และความแตกต่างระหว่างบุคคลของผูเ้ รี ยน โดยคำนึงถึงสิ่ งต่อไปนี้
๑. การจัดกิจกรรมต่าง ๆ เช่น กิจกรรมโครงงาน เพื่อเกื้อกูล ส่ งเสริ มการเรี ยนรู ้
๒. จัดกิจกรรมตามความสนใจ ความถนัดตามธรรมชาติและความสามารถ ความต้องการของผู้
เรี ยนและชุมชน
๓. จัดกิจกรรมเพื่อปลูกฝัง อบรมให้ผเู้ รี ยนมีบุคลิกภาพและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ฝึ กการ
ทำงานที่เป็ นประโยชน์ต่อตนเองและส่ วนรวม เช่น กิจกรรมผูบ้ ำเพ็ญประโยชน์
๔. การประเมินผลการปฏิบตั ิกิจกรรมอย่างเป็ นระบบโดยให้ถือว่าเป็ นเกณฑ์ประเมินผลการผ่าน
ช่วงชั้นเรี ยน

วัตถุประสงค์การจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
๑. เพือ่ ให้ผเู้ รี ยนรู ้จกั และเห็นคุณค่าในตนเองและผูอ้ ื่น มีวฒ
ุ ิภาวะอารมณ์ มีกระบวนการคิด มี
ทักษะในการดำเนินชีวิตอย่างมีความสุ ข
19

๒. เพื่อให้ผเู้ รี ยนพัฒนาบุคลิกภาพ เจตคติ ค่านิยมที่ดีในการดำเนินชีวิต เสริ มสร้างคุณธรรม


จริ ยธรรม
กิจกรรมพัฒนาผูเ้ รี ยนเป็ นกิจกรรมที่โรงเรี ยนบ้านคลองยาง จัดให้ผเู้ รี ยนได้พฒั นาความ
สามารถของตนตามศักยภาพ เป็ นการเข้าร่ วมและปฏิบตั ิกิจกรรมที่เหมาะสมร่ วมกับผูอ้ ื่นอย่างมี
ความสุข ผูเ้ รี ยนสามารถเลือกกิจกรรมด้วยตนเองตามศักยภาพ เพื่อให้มีการพัฒนาครบทุกด้าน
ทั้งร่ างกายสติปัญญา อารมณ์และสังคม รวมทั้งมีคุณธรรม และจริ ยธรรม
โรงเรียนได้ จัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ดังนี้
-กิจกรรมศาสนา
-กิจกรรมแนะแนว
กิจกรรมศาสนา
กำหนดให้นกั เรี ยนศึกษาและวิเคราะห์หลักคำสอนจากอัลกุรอาน และวจนะของท่าน
ศาสดา(อัลฮะดิษ) แล้วนำมาวางแผน ดำเนินการจัดกิจกรรมต่างๆ โดยการจัดนิทรรศการ การ
กล่าวคำปราศรัย การอภิปราย การโต้วาที การจัดตั้งชมรม จัดมุมแสดงกิจกรรมเฉพาะเรื่ อง ฯลฯ
เป็ นต้น แล้วสรุ ปผลการจัดกิจกรรมนั้น
กิจกรรมศาสนา ประกอบด้ วย
• การละหมาดญะมาอะห์ร่วมกัน
• การเข้าร่ วมกิจกรรมวันสำคัญทางศาสนา
• การบรรยายธรรมทางศาสนา
กิจกรรมแนะแนว
โรงเรี ยนจัดกิจกรรมแนะแนวเพื่อช่วยเหลือและพัฒนาผูเ้ รี ยนใน 2 รู ปแบบ คือ
๑. จัดกิจกรรมด้วยกระบวนการทางจิตวิทยา ให้แก่ผเู้ รี ยนทั้งรายบุคคล และเป็ นกลุ่ม เพื่อให้ได้
รับการพัฒนาทักษะการดำเนินชีวิต รู ้จกั รักและเห็นคุณค่าในตนเองและผูอ้ ื่น รวมทั้งการสร้าง
คุณธรรม จริ ยธรรม มีความเป็ นไทย รู ้จกั กาลเทศะ เอื้อเฟื้ อเผือ่ แผ่ โอบอ้อมอารี เห็นแก่
ประโยชน์ส่วนรวม
๒. การจัดบริ การแนะแนว ให้ขอ้ มูลข่าวสาร สารสนเทศที่จ ำเป็ นและทันสมัย
20

เกณฑ์ การจบการศึกษาตามหลักสู ตรการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พ.ศ.2560


1. เกณฑ์การจบระดับประถมศึกษา
(๑) ผูเ้ รี ยนเรี ยนรายวิชาพื้นฐาน และรายวิชา/กิจกรรมเพิม่ เติมตามโครงสร้างเวลาเรี ยนที่
หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานกำหนด
(๒) ผูเ้ รี ยนต้องมีผลการประเมินรายวิชาพื้นฐาน ผ่านเกณฑ์การประเมินตามที่สถานศึกษา
กำหนด
(๓) ผูเ้ รี ยนมีผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนในระดับผ่านเกณฑ์ การประเมินตาม
ที่สถานศึกษากำหนด
(๔) ผูเ้ รี ยนมีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในระดับผ่านเกณฑ์การ ประเมินตามที่
สถานศึกษากำหนด
(๕) ผูเ้ รี ยนเข้าร่ วมกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รี ยนและมีผลการประเมินผ่านเกณฑ์การ ประเมินตามที่
สถานศึกษากำหนดเกณฑ์การจบการศึกษา

(๖). ผูเ้ รี ยนเรี ยนรายวิชาตามโครงสร้างเวลาเรี ยนหลักสูตรอิสลามศึกษาตามหลักสู ตรแกนกลาง


การศึกษาขั้นพื้นฐานที่สถานศึกษากำหนด และได้รับการตัดสิ นผลการเรี ยน
(๗). ผูเ้ รี ยนต้องมีผลการประเมินผ่านรายวิชาผ่านเกณฑ์การประเมินตามที่สถานศึกษากำหนด
(๘). ผูเ้ รี ยนมีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ในระดับผ่านเกณฑ์การประเมินตามที่
สถานศึกษากำหนด

ขอบเขตการประเมินและตัวชี้วดั ทีแ่ สดงถึงความสามารถในการอ่ าน คิด


วิเคราะห์ และเขียนอิสลามศึกษาตอนต้ นปี ที่ 1-6 (อิบตีดาอียะฮฺ)
ขอบเขตการประเมิน
การอ่านจากสื่ อสิ่ งพิมพ์ และหรื อสื่ อประเภทต่าง ๆ ที่ให้ความรู ้ ประสบการณ์และ
ข้อมูลสารสนเทศ ที่เอื้อให้ผอู้ ่านนำไปคิดวิเคราะห์ แสดงความคิดเห็น ตัดสิ นใจ แก้ปัญหา และ
ถ่ายทอดโดยการเขียนเป็ นความเรี ยงเชิงสร้างสรรค์ดว้ ยถ้อยคำภาษาที่ถูกต้องชัดเจน
ตัวชี้วดั ความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
21

๑. สามารถอ่านและหาประสบการณ์จากสื่ อที่หลากหลาย
๒. สามารถจับประเด็นสำคัญ ข้อเท็จจริ ง ความคิดเห็นจากเรื่ องที่อ่าน
๓. สามารถอ่านเพื่อหาข้อมูลสารสนเทศเสริ มประสบการณ์จากสื่ อประเภทต่าง ๆ
๔. สามารถเปรี ยบเทียบ เชื่อมโยงความเป็ นเหตุเป็ นผลจากเรื่ องที่อ่าน
๕. สามารถเชื่อมโยงความสัมพันธ์เรื่ องราว เหตุการณ์ของเรื่ องที่อ่าน
๖. สามารถแสดงความคิดเห็นต่อเรื่ องที่อ่านโดยมีเหตุผลสนับสนุน
๗. สามารถถ่ายทอดความเข้าใจ ความคิดเห็น คุณค่าจากเรื่ องที่อ่านโดยการเขียน

การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ หมายถึง คุณลักษณะด้านคุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยม
จิตสำนึก ในความเป็ นมุสลิมที่ดี สามารถอยูร่ ่ วมกับผูอ้ ื่นในสังคมได้อย่างมีความสุ ข ทั้งใน
ฐานะพลเมืองไทยและพลโลก ตามที่หลักสูตรอิสลามศึกษาตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา
ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2560 กำหนด ได้แก่
1. รักการอ่านอัล - กุรฺอาน
2. รักการละหมาด
3. รักความสะอาด
4. มีมารยาทแบบอิสลาม
5. มีความรับผิดชอบ
นอกจากนี้ สถานศึกษาสามารถกำหนดคุณลักษณะอันพึงประสงค์เพิ่มเติมให้สอดคล้อง
กับบริ บทและจุดเน้นของแต่ละสถานศึกษา
การพัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของสถานศึกษาจะบรรลุผลได้น้ ัน ต้องอาศัยการ
บริ หารจัดการและการมีส่วนร่ วมจากทุกฝ่ าย ได้แก่ ผูบ้ ริ หารสถานศึกษา คณะกรรมการสถาน
22

ศึกษา ครู ที่ปรึ กษา ครู ผสู้ อน ผูป้ กครองและชุมชนที่ตอ้ งมุ่งขัดเกลา บ่มเพาะ ปลูกฝังคุณลักษณะ
อันพึงประสงค์ให้เกิดขึ้นแก่ผเู้ รี ยน
การพัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงค์สามารถพัฒนาโดยนำพฤติกรรมบ่งชี้ หรื อ
พฤติกรรมแสดงออกที่วิเคราะห์ไว้ เข้าไปบูรณาการในการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ในสาระการ
เรี ยนรู ้ต่างๆ ในกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รี ยนและโครงการพิเศษต่าง ๆ ที่สถานศึกษาจัดทำขึ้น ทั้งนี้
สถานศึกษาจะต้องจัดกรอบการจัดการเรี ยนรู ้เพื่อบูรณาการคุณลักษณะอันพึงประสงค์ไว้เป็ น
แนวทางในการจัดการเรี ยนรู ้ สำหรับการประเมิน สถานศึกษาควรจัดให้มีการประเมินผลราย
ภาค/รายปี ด้วย เพื่อให้มีการสัง่ สมและการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะการนำไปใช้จริ งใน
ชีวิตประจำวัน และประเมินผลสรุ ปเมื่อจบปี สุ ดท้ายของแต่ละระดับการศึกษา
แนวทางการดำเนินงานการพัฒนาและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
1) แต่งตั้งคณะกรรมการการวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
2) กำหนดคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของสถานศึกษา
3) กำหนดเกณฑ์และแนวทางการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
4) ดำเนินการพัฒนาในห้องเรี ยน/นอกห้องเรี ยน
5) ดำเนินการประเมินผูเ้ รี ยนอย่างต่อเนื่อง
6) รายงานผลการประเมินเป็ นระยะ ๆ
7) สรุ ปผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามเกณฑ์ที่ก ำหนดได้แก่ ดีเยีย่ ม ดี ผ่าน
เกณฑ์ ไม่ผา่ นเกณฑ์
การประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
กิจกรรมพัฒนาผูเ้ รี ยน เป็ นกิจกรรมที่จดั ให้ผเู้ รี ยนได้พฒั นาความสามารถของตนเอง
ตามศักยภาพ มุ่งเน้นเพิ่มเติมจากกิจกรรมที่ได้จดั ให้เรี ยนรู ้ตามสาระการเรี ยนรู ้ท้งั ๘ สาระ
การเข้าร่ วมและการปฏิบตั ิกิจกรรมที่เหมาะสมร่ วมกับผูอ้ ื่นอย่างมีความสุ ขกับกิจกรรมที่เลือก
ด้วยตนเองตามความถนัด และความสนใจอย่างแท้จริ งการพัฒนาที่สำคัญของกิจกรรมพัฒนาผู้
เรี ยน เพื่อการพัฒนาองค์รวมของความเป็ นมนุษย์ให้ครบทุกด้าน ทั้งด้านร่ างกาย สติปัญญา
อารมณ์ และสังคม การปลูกฝังและสร้างจิตสำนึกการทำประโยชน์ต่อสังคม และสนอง
นโยบายในการสร้างเยาวชนของชาติให้เป็ นผูม้ ีคุณธรรม จริ ยธรรม มีระเบียบวินยั และมี
23

คุณภาพ ซึ่งสถานศึกษาต้องดำเนินการจัดกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รี ยนอย่างมีเป้ าหมาย มีรูปแบบและ


วิธีการที่เหมาะสม

การตัดสิ นผลการเรียน และการให้ ระดับผลการเรียน


การวัดและประเมินผลการเรี ยนรู ้ นอกจากจะมีจุดมุ่งหมายเพื่อนำผลไปใช้ในการแก้ไข
และพัฒนาคุณภาพผูเ้ รี ยนให้เรี ยนรู ้อย่างเต็มศักยภาพแล้ว จุดมุ่งหมายสำคัญอีกประการหนึ่งคือ
เพื่อใช้เป็ นข้อมูลสำหรับตัดสิ นความสำเร็ จในการเรี ยนของผูเ้ รี ยนในการเลื่อนชั้นเรี ยนและการ
จบการศึกษาระดับต่าง ๆซึ่งจะทำให้ผเู้ รี ยนได้รับการรับรองความรู ้และวุฒิการศึกษาสามารถนำ
ไปใช้ในการศึกษาต่อ และใช้เป็ นหลักฐานดำเนินการในเรื่ องอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
1. การตัดสิ นผลการเรี ยนในสาระการเรี ยนรู ้
1.1 ผูส้ อนดำเนินการวัดและประเมินผลผูเ้ รี ยนเป็ นรายวิชาตามตัวชี้ วดั ด้วยวิธี
การที่หลากหลาย ให้ได้ผลการประเมินตามความสามารถที่แท้จริ งของผูเ้ รี ยน โดยวัดและ
ประเมินผลไปพร้อมกับการจัดการเรี ยนการสอน ได้แก่ การสังเกตพัฒนาการของผูเ้ รี ยน การ
สังเกตพฤติกรรมการเรี ยน การร่ วมกิจกรรม และการทดสอบหลังเรี ยน ซึ่งผูส้ อนต้องใช้
นวัตกรรมการวัดและประเมินผลที่หลากหลาย เช่น การประเมินสภาพจริ ง การประเมินการ
ปฏิบตั ิงาน การประเมินจากโครงงาน และการประเมินจากแฟ้ มสะสมงาน ไปใช้ในการ
ประเมินผลการเรี ยน ควบคู่ไปกับการใช้แบบทดสอบแบบต่าง ๆ และต้องให้ความสำคัญกับ
การประเมินระหว่างเรี ยนมากกว่าการประเมินปลายปี /ปลายภาค
1.2 การกำหนดเกณฑ์การตัดสิ นผลการเรี ยน สถานศึกษาต้องกำหนดเกณฑ์การตัดสิ นผลการ
เรี ยนเป็ นรายวิชา ซึ่งสามารถอธิบายผลการตัดสิ นว่าผูเ้ รี ยนต้องมีความรู ้ ทักษะ และ
คุณลักษณะโดยรวมอยูใ่ นระดับใด จึงจะยอมรับว่าผ่านการประเมิน โดยให้ใช้ระดับผลการ
เรี ยน ดังนี้
ระดับอิสลามศึกษาตอนต้ น (อิบติดาอียะฮฺ) ปี ที่ 1-6
การตัดสิ นผลการเรี ยนรายวิชาของสาระการเรี ยนรู ้ สถานศึกษาสามารถให้ระดับผลการ
เรี ยน 8 ระดับ หรื อระดับคุณภาพการปฏิบตั ิของผูเ้ รี ยนเป็ นระบบตัวเลข ระบบตัวอักษร ระบบ
ร้อยละ และระบบที่ใช้ค ำสำคัญสะท้อนมาตรฐานกรณี ที่สถานศึกษาให้ระดับผลการเรี ยนด้วย
ระบบต่าง ๆ สามารถเทียบกันได้ดงั นี้
24

ระดับตัวเลข ระดับตัว ระดับร้อย ระบบที่ใช้ค ำสำคัญสะท้อนมาตรฐาน


อักษร ละ
๕ระดับ ๔ ระดับ ๒ ระดับ
๔ A 80-100 ดีเยีย่ ม ดีเยีย่ ม ผ่าน
๓.๕ B+ 75-79 ดี ดี
๓ B 70-74
๒.๕ C+ 65-69 พอใช้
๒ C 60-64 ผ่าน
๑.๕ D+ 55-59 ผ่าน
๑ D 50-55
0 E 0-49 ไม่ผา่ น ไม่ผา่ น ไม่ผา่ น

การเลือ่ นชั้นเรียน
ระดับอิสลามศึกษาตอนต้น (อิบติดาอียะฮฺ )
ผูเ้ รี ยนจะได้รับการพิจารณาเลื่อนชั้นเรี ยน ตามเกณฑ์การพิจารณา ดังนี้
๑. ผูเ้ รี ยนต้องมีเวลาเรี ยนตลอดปี การศึกษาไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ ๘๐ ของเวลาเรี ยนทั้งหมด
๒. ผูเ้ รี ยนต้องได้รับการประเมินทุกตัวชี้ วดั และผ่านตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากำหนด
๓. ผูเ้ รี ยนต้องได้รับการตัดสิ นผลการเรี ยนทุกรายวิชา
๔. ผูเ้ รี ยนต้องได้รับการประเมินและผ่านเกณฑ์การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตาม
เกณฑ์ที่สถานศึกษากำหนด
การเรียนซ้ำชั้น
ผูเ้ รี ยนที่ไม่ผา่ นรายวิชาจำนวนมากและมีแนวโน้มว่าจะเป็ นปัญหาต่อการเรี ยนในระดับ
ชั้นที่สูงขึ้น สถานศึกษาอาจตั้งคณะกรรมการพิจารณาให้เรี ยนซ้ำชั้นได้ ทั้งนี้ให้ค ำนึงถึงวุฒิ
ภาวะและความรู ้ความสามารถของผูเ้ รี ยนเป็ นสำคัญ
การเรี ยนซ้ำชั้น มี ๒ ลักษณะ คือ
๑) ผูเ้ รี ยนมีระดับผลการเรี ยนเฉลี่ยในปี การศึกษานั้นต่ำกว่า ๑.๐๐ และมีแนวโน้มว่าจะเป็ น
ปัญหาต่อการเรี ยนในระดับชั้นที่สูงขึ้น
25

๒) ผูเ้ รี ยนมีผลการเรี ยน ๐, ร, มส เกินครึ่ งหนึ่งของรายวิชาที่ลงทะเบียนเรี ยนในปี การศึกษา


นั้น
ทั้งนี้ หากเกิดลักษณะใดลักษณะหนึ่ง หรื อทั้ง ๒ ลักษณะ ให้สถานศึกษาแต่งตั้งคณะ
กรรมการพิจารณา หากเห็นว่าไม่มีเหตุผลอันสมควรก็ให้ซ้ำชั้น โดยยกเลิกผลการเรี ยนเดิมและ
ให้ใช้ผลการเรี ยนใหม่แทน หากพิจารณาแล้วไม่ตอ้ งเรี ยนซ้ำชั้น ให้อยูใ่ นดุลยพินิจของสถาน
ศึกษา ในการแก้ไขผลการเรี ยน

การเลือ่ นชั้นระหว่ างปี การศึกษาระดับอิสลามศึกษาตอนต้ น (อิบติดาอียะฮฺ)


ในกรณี ที่ผเู้ รี ยนมีหลักฐานการเรี ยนรู ้ที่แสดงว่ามีความสามารถดีเลิศ สถานศึกษาอาจให้
โอกาสผูเ้ รี ยนเลื่อนชั้นกลางปี การศึกษา โดยสถานศึกษาแต่งตั้งคณะกรรมการประกอบด้วย ผู้
อำนวยการสถานศึกษาฝ่ ายวิชาการของสถานศึกษาและผูแ้ ทนของเขตพื้นที่การศึกษาหรื อต้น
สังกัดประเมินผูเ้ รี ยนและตรวจสอบคุณสมบัติครบถ้วนตามเงื่อนไขทั้ง ๓ ประการ ต่อไปนี้
๑. มีผลการเรี ยนปี การศึกษาที่ผา่ นมาและมีผลการเรี ยนระหว่างปี ที่ก ำลังศึกษาอยูใ่ น
เกณฑ์ดีเยีย่ ม
๒. มีวฒ
ุ ิภาวะเหมาะสมที่จะเรี ยนในชั้นที่สูงขึ้น
๓.ผ่านการประเมินผลความรู ้ความสามารถทุกรายวิชาของชั้นปี ที่เรี ยนปัจจุบนั และความ
รู ้ความสามารถทุกรายวิชาในภาคเรี ยนแรกของชั้นปี ที่จะเลื่อนขึ้น
การอนุมตั ิให้เลื่อนชั้นกลางปี การศึกษาไปเรี ยนชั้นสูงขึ้นได้ ๑ ระดับชั้นนี้ ต้องได้รับการ
ยินยอมจากผูเ้ รี ยนและผูป้ กครอง และต้องดำเนินการให้เสร็ จสิ้ นก่อนเปิ ดภาคเรี ยนที่ ๒ ของปี
การศึกษานั้น
การเรียนซ้ำ
ระดับอิสลามศึกษาตอนต้น (อิบติดาอียะฮฺ )
ผูเ้ รี ยนที่ไม่ผา่ นรายวิชาจำนวนมากและมีแนวโน้มว่าจะเป็ นปัญหาต่อการเรี ยน
ในระดับชั้นที่สูงขึ้น สถานศึกษาอาจตั้งคณะกรรมการพิจารณาให้เรี ยนซ้ำชั้นได้ ทั้งนี้ให้ค ำนึง
ถึงวุฒิภาวะและความรู ้ความสามารถของผูเ้ รี ยน
26

ผูเ้ รี ยนที่ไม่มีคุณสมบัติตามเกณฑ์การเลื่อนชั้น สถานศึกษาควรให้เรี ยนซ้ำชั้น ทั้งนี้ สถาน


ศึกษาอาจใช้ดุลยพินิจให้เลื่อนชั้นได้ หากพิจารณาว่าผูเ้ รี ยนมีคุณสมบัติขอ้ ใดข้อหนึ่งดังต่อไปนี้
-มีเวลาเรี ยนไม่ถึงร้อยละ ๘๐ อันเนื่องจากสาเหตุจ ำเป็ น หรื อเหตุสุดวิสยั แต่มีคุณสมบัติ
ตามเกณฑ์การเลื่อนชั้นในข้ออื่น ๆ ครบถ้วน
-ผูเ้ รี ยนผ่านมาตรฐานการเรี ยนรู ้และตัวชี้ วดั ไม่ถึงเกณฑ์ตามที่สถานศึกษากำหนดในแต่ละ
รายวิชา และเห็นว่าสามารถสอนซ่อมเสริ มได้ในปี การศึกษานั้นและมีคุณสมบัติตามเกณฑ์การ
เลื่อนชั้นในข้ออื่น ๆ ครบถ้วน
-ผูเ้ รี ยนมีผลการประเมินรายวิชาในกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้อลั กุรอานและอิสลามศึกษาใน
ระดับผ่าน
-ก่อนที่จะให้ผเู้ รี ยนเรี ยนซ้ำชั้น สถานศึกษาควรแจ้งให้ผปู้ กครองและผูเ้ รี ยนทราบเหตุผล
ของการเรี ยนซ้ำชั้น ระดับอิสลามศึกษาตอนกลาง (มุตตะวัซซีเฏาะฮฺ ) และระดับอิสลามศึกษา
ตอนปลาย (ซานาวียะฮฺ )

เอกสารหลักฐานการศึกษา
ผลการประเมินเป็ นข้อมูลและสารสนเทศที่แสดงถึงพัฒนาการความก้าวหน้าและ
ความสำเร็ จทางการเรี ยนของผูเ้ รี ยน ตลอดจนข้อมูลที่เป็ นประโยชน์ต่อการส่ งเสริ มให้ผเู้ รี ยน
เกิดการพัฒนา และเรี ยนรู ้อย่างเต็มตามศักยภาพ สถานศึกษาโดยครู ผสู้ อนจะต้องจัดทำเอกสาร
หลักฐานไว้ เพือ่ บันทึกข้อมูลและสารสนเทศที่เกิดจากการเรี ยนการสอนรวมถึงการวัดและ
ประเมินผล ซึ่งดำเนินการควบคู่กนั ไป
เอกสารหลักฐานการศึกษาถือเป็ นเอกสารสำคัญที่ผรู้ ับผิดชอบในการจัดการศึกษาจะ
ต้องจัดทำขึ้นเพื่อประโยชน์ดงั ต่อไปนี้
๑. เพื่อบันทึกข้อมูลในการดำเนินการจัดการเรี ยนการสอนและประเมินผลการเรี ยน
เช่น แบบบันทึกผลการเรี ยนประจำวิชา/รายวิชา
๒. เพือ่ ใช้ในการติดต่อสื่ อสาร รายงานข้อมูล และผลการเรี ยนของนักเรี ยน เช่น แบบ
รายงานประจำตัวนักเรี ยน ระเบียนสะสม
27

๓. เพื่อใช้เป็ นหลักฐานแสดงวุฒิและรับรองผลการเรี ยนของนักเรี ยน เช่น ระเบียนแสดง


ผลการเรี ยน ประกาศนียบัตร และแบบรายงานผูส้ ำเร็ จการศึกษา
หลักสูตรอิสลามศึกษาขั้นพื้นฐาน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.
๒๕๖๐ กำหนดเอกสารหลักฐานการศึกษาที่สถานศึกษาจะต้องดำเนินการเป็ น 2 ประเภทได้แก่
-เอกสารหลักฐานการศึกษาที่ควบคุมและบังคับแบบ
-เอกสารหลักฐานการศึกษาที่สถานศึกษากำหนด
เอกสารแต่ละประเภทมีวตั ถุประสงค์ และรายละเอียดในการดำเนินการ ดังนี้
1. เอกสารหลักฐานการศึกษาที่ควบคุมและบังคับแบบ
เอกสารหลักฐานการศึกษาควบคุมและบังคับแบบ เป็ นเอกสารการประเมินผลหลักสูตร
อิสลามศึกษา ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๖ 0 (ปอ.) ที่สำคัญ ซึ่งโรงเรี ยน
จัดทำขึ้นเพื่อการตัดสิ น รับรองผลการเรี ยน และวุฒิการศึกษาของผูเ้ รี ยนหลักสูตรอิสลามศึกษา
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ซึ่งเอกสารเหล่านี้สามารถใช้
เป็ นหลักฐานสำหรับการตรวจสอบ ยืนยัน และรับรองคุณสมบัติทางการศึกษาของนักเรี ยนได้
ตลอดไป โรงเรี ยนต้องใช้แบบพิมพ์ตามที่ก ำหนดไว้ในเอกสารเล่มนี้เท่านั้นเพื่อให้เป็ น
มาตรฐานเดียวกัน
เอกสารหลักฐานการศึกษาควบคุมและบังคับแบบ ประกอบด้วย
๑) ระเบียนแสดงผลการเรี ยน (ปอ.๑) เป็ นเอกสารเพื่อแสดงผลการเรี ยนและรับรอง
ผลการเรี ยนของผูเ้ รี ยนตามสาระการเรี ยนรู ้ ๘ กลุ่มสาระ ผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์
และเขียน ผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของสถานศึกษา และผลการประเมิน
กิจกรรมพัฒนาผูเ้ รี ยน สถานศึกษาต้องจัดทำและออกเอกสารนี้ ให้ผเู้ รี ยนเป็ นรายบุคคล เมื่อผู้
เรี ยนจบการศึกษาระดับอิสลามศึกษาตอนต้น (อิบติดาอียะฮฺ หรื อเมื่อออกจากสถานศึกษาในทุก
กรณี
ระเบียนแสดงผลการเรี ยน (ปอ.๑) สามารถนำไปใช้ประโยชน์ดงั นี้
- แสดงผลการเรี ยนของนักเรี ยนตามโครงสร้างหลักสูตรของสถานศึกษา
- รับรองผลการเรี ยนของนักเรี ยนตามข้อมูลที่บนั ทึกในเอกสาร
- ตรวจสอบผลการเรี ยนและวุฒิการศึกษาของนักเรี ยน
28

- ใช้เป็ นหลักฐานแสดงวุฒิการศึกษาเพื่อสมัครเข้าศึกษาต่อสมัครงานหรื อขอรับสิ ทธิ


ประโยชน์อื่นใดที่พงึ มีพึงได้ตามวุฒิการศึกษานั้น
๒) ประกาศนียบัตร (ปอ.๒) เป็ นเอกสารแสดงวุฒิการศึกษาที่มอบให้ไว้แก่ผจู้ บการศึกษาภาค
บังคับและผูส้ ำเร็ จการศึกษาขั้นพื้นฐานตามหลักสูตรแกนกลางอิสลามศึกษาขั้นพื้นฐานพ.ศ.
๒๕๖๐ เพื่อรับรองศักดิ์และสิ ทธิ์ ของผูจ้ บการศึกษา
หลักฐานแสดงวุฒิการศึกษาประกาศนียบัตร (ปอ.๒) สามารถนำไปใช้ประโยชน์ ดังนี้
- แสดงวุฒิทางการศึกษาของผูเ้ รี ยน
- ตรวจสอบวุฒิทางการศึกษาของผูเ้ รี ยน
- ใช้เป็ นหลักฐานแสดงวุฒิการศึกษา เพือ่ สมัครเข้าศึกษาต่อ สมัครงานหรื อขอรับสิ ทธิ
ประโยชน์อื่นใด ที่พึงมีพงึ ได้ตามวุฒิการศึกษาแห่งประกาศนียบัตรนั้น
๓) แบบรายงานผูส้ ำเร็ จการศึกษา (ปอ.๓) เป็ นเอกสารอนุมตั ิการจบหลักสูตรของผูเ้ รี ยนใน
แต่ละรุ่ นการศึกษา โดยบันทึกรายชื่อและข้อมูลของผูจ้ บการศึกษาระดับอิสลามศึกษาตอนต้น
(อิบติดาอียะฮฺ )
- ผูบ้ ริ หารสถานศึกษา อนุมตั ิการจบการศึกษาแต่ละระดับการศึกษาของผูเ้ รี ยน
- แสดงรายชื่อผูจ้ บหลักสูตรแกนกลางอิสลามศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑ แต่ละ
ระดับการศึกษาที่ได้รับการรับรองวุฒิจากกระทรวงศึกษาธิการ
- รายงานให้สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาเพื่อเก็บรักษาเอกสารใช้สำหรับตรวจสอบ
ค้นหา พิสูจน์ ยืนยันและรับรองวุฒิหรื อผลการศึกษาของผูจ้ บหลักสูตรการศึกษา
๒. เอกสารหลักฐานการศึกษาที่สถานศึกษากำหนด
ในการจัดการศึกษาสถานศึกษาจำเป็ นต้องมีขอ้ มูลเกี่ยวกับผูเ้ รี ยนในด้านต่าง ๆ โดย
เฉพาะอย่างยิง่ ข้อมูลด้านความก้าวหน้าในการเรี ยนรู ้ สถานศึกษาจึงต้องมีเอกสารที่จดั ทำขึ้นเพื่อ
บันทึกผลการประเมินและข้อมูลต่างๆ เกี่ยวกับผูเ้ รี ยน เอกสารเหล่านี้ ได้แก่ แบบบันทึกผลการ
เรี ยนประจำรายวิชา แบบรายงานประจำตัวนักเรี ยน ระเบียนสะสม ใบรับรองผลการเรี ยน และ
เอกสารอื่นๆ ตามที่สถานศึกษาเห็นสมควร
๑) แบบบันทึกผลการเรี ยนประจำรายวิชา
29

เป็ นเอกสารที่สถานศึกษาจัดทำขึ้น เพื่อให้ผสู้ อนใช้บนั ทึกข้อมูลการวัดและการประเมิน


ผลการเรี ยนตามแผนการจัดการเรี ยนการสอนและประเมินผลการเรี ยน และใช้เป็ นข้อมูลในการ
พิจารณาตัดสิ นผลการเรี ยนแต่ละรายวิชา เอกสารนี้ ควรจัดทำเพื่อบันทึกข้อมูลของผูเ้ รี ยนเป็ น
รายห้อง
เอกสารบันทึกผลการเรี ยนประจำรายวิชา นำไปใช้ประโยชน์ดงั นี้
- ใช้เป็ นเอกสารเพื่อการดำเนินงานของผูส้ อนแต่ละคนในการวัดและประเมินผลการ
เรี ยนของผูเ้ รี ยนแต่ละรายวิชา รายห้อง
- ใช้เป็ นหลักฐานสำหรับตรวจสอบ รายงาน และรับรองข้อมูลเกี่ยวกับวิธีการและ
กระบวนการวัดและประเมินผลการเรี ยน
- เป็ นเอกสารที่ผบู้ ริ หารสถานศึกษาใช้ในการอนุมตั ิผลการเรี ยนประจำภาคเรี ยน / ปี

การศึกษาการรายงานผลการเรียน
การรายงานผลการเรี ยน เป็ นการสื่ อสารให้ผปู้ กครองและผูเ้ รี ยนทราบความก้าวหน้าใน
การเรี ยนรู ้ของผูเ้ รี ยน ซึ่งสถานศึกษาต้องสรุ ปผลการประเมินและจัดทำเอกสารรายงานให้ผู้
ปกครองทราบเป็ นระยะๆ หรื ออย่างน้อยภาคเรี ยนละ ๑ ครั้ง
การรายงานผลการเรี ยนสามารถรายงานเป็ นระดับคุณภาพการปฏิบตั ิของผูเ้ รี ยนที่
สะท้อนมาตรฐานการเรี ยนรู ้กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้
๑. จุดมุ่งหมายการรายงานผลการเรี ยน
๑.๑ เพื่อแจ้งให้ผเู้ รี ยน ผูเ้ กี่ยวข้องทราบความก้าวหน้าของผูเ้ รี ยน
๑.๒ เพื่อให้ผเู้ รี ยน ผูเ้ กี่ยวข้องใช้เป็ นข้อมูลในการปรับปรุ ง แก้ไข ส่ งเสริ มและพัฒนา
การเรี ยนของผูเ้ รี ยน
๑.๓ เพื่อให้ผเู้ รี ยน ผูเ้ กี่ยวข้องใช้เป็ นข้อมูลในการวางแผนการเรี ยน กำหนดแนวทางการ
ศึกษา
๑.๔ เพื่อเป็ นข้อมูลให้ผทู้ ี่มีหน้าเกี่ยวข้อง ใช้ด ำเนินการออกเอกสารหลักฐานการศึกษา
ตรวจสอบและรับรองผลการเรี ยน หรื อวุฒิทางการศึกษาของผูเ้ รี ยน
30

๑.๕ เพื่อเป็ นข้อมูลสำหรับสถานศึกษา เขตพื้นที่การศึกษาและหน่วยงานต้นสังกัด


ใช้ประกอบในการกำหนดนโยบาย วางแผนในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา
๒. ข้อมูลในการรายงานผลการประเมินผลการเรี ยน
๒.๑ ข้อมูลการวัดและประเมินผลระดับชั้นเรี ยน ได้แก่ ผลการประเมินความรู ้ ความ
สามารถ พฤติกรรมการเรี ยน ความประพฤติ และผลงานในการเรี ยนของผูเ้ รี ยน เป็ นข้อมูล
สำหรับรายงานให้ผมู้ ีส่วนกับการใช้ขอ้ มูลระดับชั้นเรี ยน ได้แก่ ผูเ้ รี ยน ผูส้ อน พ่อแม่ และผู้
ปกครองได้รับทราบความก้าวหน้า ความสำเร็ จในการเรี ยนของผูเ้ รี ยน นำไปใช้ในการวางแผน
กำหนดเป้ าหมาย และวิธีการในการพัฒนาผูเ้ รี ยน ให้บรรลุเป้ าหมายในการศึกษาของผูเ้ รี ยน
ตามบทบาทหน้าที่ของแต่ละฝ่ าย
๒.๒ ข้อมูลการประเมินผลระดับสถานศึกษา ได้แก่ ผลการประเมินความก้าวหน้าใน
การเรี ยนรู ้รายปี /รายภาคของสถานศึกษา เพื่อใช้เป็ นข้อมูลในการพัฒนาการเรี ยนการสอน และ
คุณภาพของผูเ้ รี ยน ให้เป็ นไปตามตัวชี้วดั / มาตรฐานการเรี ยนรู ้และตัดสิ นการเลื่อนชั้นและซ่อม
เสริ มผูเ้ รี ยนที่มีขอ้ บกพร่ องให้ผา่ นระดับชั้น ได้แก่
๒.๒.๑ ผลการประเมินผลสัมฤทธิ์ ในการเรี ยน ๘ กลุ่มสาระ รายปี /รายภาค
๒.๒.๒ ผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์วิเคราะห์ และเขียน
๒.๒.๓ ผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
๒.๒.๔ ผลการประเมินกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รี ยน
๒.๓ ข้อมูลการประเมินคุณภาพระดับเขตพื้นที่การศึกษา ได้แก่ ผลการประเมินผล
สัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนของผูเ้ รี ยนด้วยแบบประเมินที่ส ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาจัดทำขึ้นใน
สาระการเรี ยนรู ้สำคัญในระดับชั้นที่นอกเหนือจากการประเมินคุณภาพระดับชาติ เป็ นข้อมูลที่ผู้
เกี่ยวข้อง ใช้วางแผนและดำเนินการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาในเขตพื้นที่การ
ศึกษาเพื่อให้เกิดการยกระดับคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของผูเ้ รี ยนและสถานศึกษา
๒.๔ ข้อมูลผลการประเมินคุณภาพระดับชาติ ได้แก่ ผลการประเมินผลสัมฤทธิ์ ทาง
การเรี ยนของผูเ้ รี ยนด้วยแบบประเมินที่เป็ นมาตรฐานระดับชาติในสาระการเรี ยนรู ้ที่ส ำคัญ
ระดับอิสลามศึกษาตอนต้น (อิบติดาอียะฮฺ ) ประเมินในชั้นปี ที่ ๖ ระดับอิสลามศึกษาตอนกลาง
(มุตตะวัซซีเฏาะฮฺ ) ประเมินในชั้นปี ที่ ๓ และระดับอิสลามศึกษาตอนปลาย (ซานาวี
ยะฮฺ)ประเมินในชั้นปี ที่ ๓ ซึ่งดำเนินการโดยหน่วยงานระดับชาติ เป็ นข้อมูลที่ผเู้ กี่ยวข้อง ใช้
31

วางแผนและดำเนินการพัฒนาคุณภาพการศึกษาในส่ วนที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้เกิดการยกระดับ


คุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของผูเ้ รี ยน สถานศึกษา ท้องถิ่น เขตพื้นที่การศึกษา และ
ประเทศชาติ รวมทั้งนำไปรายงานในเอกสารหลักฐานการศึกษาของผูเ้ รี ยน
๓. ลักษณะข้อมูลสำหรับการรายงาน
การรายงานผลการเรี ยน สถานศึกษาสามารถเลือกลักษณะข้อมูลสำหรับการรายงานได้
หลายรู ปแบบ ให้เหมาะสมกับวิธีการรายงาน และสอดคล้องกับการให้ระดับผลการเรี ยนใน
แต่ละระดับการศึกษา โดยคำนึงถึงประสิ ทธิภาพของการรายงานและการนำข้อมูลไปใช้
ประโยชน์ของผูร้ ับรายงานแต่ละฝ่ าย
ลักษณะข้อมูลมีรูปแบบดังนี้
๓.๑ รายงานเป็ นตัวเลข ตัวอักษร คำ หรื อข้อความที่เป็ นตัวแทนระดับความรู ้ ความ
สามารถของผูเ้ รี ยนที่เกิดจากการประมวลผล สรุ ปตัดสิ นข้อมูลผลการเรี ยนรู ้ของผูเ้ รี ยน ได้แก่
๑) คะแนนที่ได้กบั คะแนนเต็ม
๒) คะแนนร้อยละ
๓) ระดับผลการเรี ยน “๐ - ๔” (๘ ระดับ) หรื อตามที่สถานศึกษากำหนดและผล
การเรี ยนที่มีเงื่อนไข “ผ” “มผ” “ร” “มส”
๔) ผลการประเมินคุณภาพ “ดีเยีย่ ม” “ดี” “ผ่านเกณฑ์การประเมิน”
๕) ผลการตัดสิ นผ่านระดับชั้น “ผ่าน” “ไม่ผา่ น”
๓.๒ รายงานโดยใช้สถิติ เป็ นการรายงานจากข้อมูลที่เป็ นตัวเลข ตัวอักษร หรื อ
ข้อความให้เป็ นภาพแผนภูมิหรื อเส้นพัฒนาการ (Profile) ซึ่งจะแสดงให้เห็นพัฒนาการความ
ก้าวหน้าของผูเ้ รี ยนว่าดีข้ ึนหรื อควรได้รับการพัฒนาอย่างไร เมื่อเวลาเปลี่ยนแปลงไป
๓.๓ รายงานเป็ นข้อความ เป็ นการบรรยายพฤติกรรมหรื อคุณภาพที่ผปู้ ระเมินสังเกต
พบ เพื่อรายงานให้ทราบว่าผูเ้ รี ยนมีความสามารถ มีพฤติกรรม ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยน ตาม
มาตรฐาน การเรี ยนรู ้/ตัวชี้วดั และบุคลิกภาพอย่างไร เช่น
-ผูเ้ รี ยนมีความเชื่อมัน่ ในตนเองสูง ชอบแสดงความคิดเห็นและมีเหตุผล
-ผูเ้ รี ยนสนใจอ่านเรื่ องต่าง ๆ หลากหลายประเภท สามารถสรุ ปใจความของเรื่ องได้ถูก
ต้องสมบูรณ์
32

-ผูเ้ รี ยนมีผลการเรี ยนในกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้เป็ นที่น่าพอใจ แต่ควรมีการพัฒนาด้านการ


เขียน โดยได้รับความร่ วมมือจากผูป้ กครองในการฝึ กหรื อส่ งเสริ มให้นกั เรี ยนมีทกั ษะในการ
เขียนสูงขึ้น
๔. เป้ าหมายการรายงาน
การดำเนินการจัดการศึกษา ประกอบด้วยบุคลากรหลายฝ่ ายมาร่ วมมือประสานงานกัน
พัฒนาผูเ้ รี ยนทั้งทางตรงและทางอ้อม ให้มีความรู ้ความสามารถ คุณธรรม จริ ยธรรมและค่า
นิยม อันพึงประสงค์ โดยผูม้ ีส่วนเกี่ยวข้องควรได้รับการรายงานผลการประเมินของผูเ้ รี ยนเพื่อ
ใช้เป็ นข้อมูลในการดำเนินงาน ดังนี้
กลุ่มเป้ าหมาย
การใช้ขอ้ มูล
ผูเ้ รี ยน
- ปรับปรุ ง แก้ไขและพัฒนาการเรี ยน รวมทั้งพัฒนาการทางร่ างกาย อารมณ์ สังคม และ
พฤติกรรม
๕. วิธีการรายงาน
การรายงานผลการประเมินผลการเรี ยนให้ฝ่ายต่างๆ ได้รับทราบ สามารถดำเนินการได้
หลายวิธี จำแนกได้ดงั นี้
๕.๑ การรายงานอย่างเป็ นทางการ เป็ นการรายงานผลการประเมินผลการเรี ยนตามที่ได้มี
ระเบียบ คำสัง่ หรื อแนวปฏิบตั ิต่างๆ กำหนดไว้ ซึ่งส่ วนใหญ่จะมีเอกสารหรื อแบบฟอร์มที่ตอ้ ง
จัดทำประกอบไว้ดว้ ย เช่น
( ระเบียนแสดงผลการเรี ยน (ปอ.๑)
( หลักฐานแสดงวุฒิการศึกษา (ปอ.๒)
( แบบรายงานผูส้ ำเร็ จการศึกษา (ปอ.๓)
( แบบรายงานผลการพัฒนาคุณภาพผูเ้ รี ยนรายบุคคล)
( แบบบันทึกผลการเรี ยนประจำรายวิชา)
( ระเบียนสะสม)
33

( ใบรับรองผลการเรี ยนฯลฯ)
ข้อมูลจากการรายงานด้วยวิธีการนี้ สามารถใช้เป็ นข้อมูลสำหรับอ้างอิงตรวจสอบและ
รับรองผลการเรี ยนของผูเ้ รี ยนได้
๕.๒ การรายงานอย่างไม่เป็ นทางการ เป็ นการรายงานผลการประเมินผลการเรี ยนให้ผู้
เกี่ยวข้องทราบ ตามที่ผปู้ ระเมินหรื อสถานศึกษาเห็นสมควร ซึ่งสามารถรายงานได้หลายวิธี
เช่น
( จัดทำจุลสารของสถานศึกษา)
( จดหมายส่ วนตัว)
( การให้ค ำปรึ กษาหารื อเป็ นรายบุคคล)
( การให้พบครู ที่ปรึ กษาหรื อการประชุมเครื อข่ายผูป้ กครอง)
( การให้ขอ้ มูลทาง Internet ผ่าน Web site ของสถานศึกษา)

๖. การกำหนดระยะเวลาในการรายงาน
การกำหนดช่วงระยะเวลาในการรายงานผลการประเมินผลการเรี ยนแต่ละ
ประเภทที่ได้มีการดำเนินการในโอกาสต่าง ๆ ทั้งการประเมินระดับชั้นเรี ยน การประเมินระดับ
สถานศึกษา การประเมินระดับเขตพื้นที่การศึกษา และการประเมินระดับชาติ สถานศึกษาควร
กำหนดช่วงเวลาในการรายงานให้สอดคล้องกับช่วงระยะเวลาที่ผเู้ รี ยนและผูเ้ กี่ยวข้อง จะใช้
ข้อมูลการรายงานไปดำเนินการปรับปรุ งแก้ไข และส่ งเสริ มการเรี ยนของผูเ้ รี ยน ตามบทบาท
หน้าที่ของแต่ละฝ่ าย โดยยึดหลักการรายงานให้เร็ วที่สุดภายหลังการประเมินผลแต่ละครั้ง เพื่อ
ให้การรายงานเกิดประโยชน์และมีประสิ ทธิภาพในการนำไปใช้สูงสุ ด

สรุปผลการเรียน
๑. จำนวนหน่วยน้ำหนักสาระการเรี ยนรู ้รวมที่เรี ยน....ได้... ให้กรอกตัวเลขจำนวนน้ำหนักรวม
ของสาระการเรี ยนรู ้ทุกรายวิชาที่เรี ยนมาแล้วในระดับชั้นที่เรี ยนกับจำนวนนักเรี ยนรวมของ
สาระการเรี ยนรู ้ที่มีผลการประเมินผ่านเกณฑ์ทุกรายวิชาตามข้อมูลที่ปรากฏในวันจัดทำเอกสาร
34

๒. จำนวนหน่วยน้ำหนัก/หน่วยกิตกิจกรรมที่ปฏิบตั ิ...ได้... ให้กรอกตัวเลขจำนวนน้ำ


หนัก/หน่วยกิตรวมของกิจกรรมผูเ้ รี ยนทุกกิจกรรม ที่นกั เรี ยนปฏิบตั ิมาแล้วทั้งหมดในระดับชั้น
ที่เรี ยน กับจำนวนน้ำหนัก/หน่วยกิตรวมของกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รี ยนที่มีผลการประเมินผ่านเกณฑ์
ทุกกิจกรรมตามข้อมูลที่ปรากฏในวันจัดทำเอกสาร
๓. ผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ให้กรอกระดับผลการประเมินคุณลักษณะอันพึง
ประสงค์ ตามผลการประเมินผ่านระดับชั้น กรณี ออกเอกสารให้นกั เรี ยนที่ลาออกจากโรงเรี ยน
ก่อนจบระดับชั้น ให้ขีดเครื่ องหมาย “ - ”
๔. ผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน ให้กรอกระดับผลการประเมินการอ่าน คิด
วิเคราะห์วิเคราะห์ และเขียน ตามผลการประเมินผ่านระดับชั้น กรณี ออกเอกเอกสารให้
นักเรี ยนที่ลาออกจากโรงเรี ยนก่อนจบระดับชั้น ให้ขีดเครื่ องหมาย “ - ”
๕. การตัดสิ นผ่านระดับชั้น ให้กรอกผลการตัดสิ นระดับชั้นตามเกณฑ์การประเมินผ่านระดับ
ชั้นแต่ละเกณฑ์ที่แสดงในช่อง “สรุ ปผลการเรี ยน” โดยกรอกผลการตัดสิ น ดังนี้
ก. กรอก “ผ่าน” เมื่อเกณฑ์น้ นั ได้รับการตัดสิ นแล้วได้ “ผ่าน”
ข. กรอก “ไม่ผา่ น” เมื่อเกณฑ์น้ นั ได้รับการตัดสิ นแล้วได้ “ไม่ผา่ น”
ค. กรอก “ยังไม่ได้ตดั สิ น” เมื่อเกณฑ์น้ นั ยังไม่มีการตัดสิ น
๖. วันอนุมตั ิการจบระดับชั้น ให้กรอกเลขวันที่ ชื่อเดือน และเลข พ.ศ. ที่โรงเรี ยนอนุมตั ิให้
นักเรี ยนจบระดับชั้นที่เรี ยน ได้แก่ วันที่ผบู้ ริ หารสถานศึกษาลงนามตัดสิ นและอนุมตั ิผลการ
เรี ยนในแบบรายงานผูส้ ำเร็ จการศึกษา (ปอ.๓)กรณี นกั เรี ยนออกจากโรงเรี ยนก่อนจบระดับชั้น
ให้ขีดเครื่ องหมาย “ - ”
๗. วันออกจากโรงเรี ยน ให้กรอกเลขวันที่ ชื่อเดือน และเลข พ.ศ. ที่นกั เรี ยนออกจากโรงเรี ยน
ตาม “วันจำหน่าย” ที่ระบุในทะเบียนนักเรี ยน
๘. สาเหตุที่ออก ให้กรอก ดังนี้
ก. กรณี จบระดับชั้น แต่ไม่ได้ออกจากโรงเรี ยนให้กรอก “ - ”
ข. กรณี นกั เรี ยนออกจากโรงเรี ยน เมื่อจบระดับชั้นอิสลามศึกษาตอนต้นปี ที่ ๖ ให้
กรอก “จบหลักสูตรอิสลามศึกษาตอนต้น”
35

ค. กรณี นกั เรี ยนออกจากโรงเรี ยน เมื่อจบระดับชั้นอิสลามศึกษาตอนกลางปี ที่ ๓ ให้


กรอก “จบหลักสูตรอิสลามศึกษาตอนกลาง”
ง. กรณี นกั เรี ยนออกจากโรงเรี ยน เมื่อจบระดับชั้นอิสลามศึกษาตอนปลายปี ที่ ๓ ให้
กรอก “จบหลักสูตรอิสลามศึกษาตอนปลาย”
จ. นักเรี ยนที่ออกจากโรงเรี ยนกรณี อื่นๆ ให้กรอก“ศึกษาต่อสถานศึกษาอื่น”
๙. ช่องเกณฑ์การจบระดับชั้นของโรงเรี ยน ให้กรอกเกณฑ์การจบระดับชั้น ที่โรงเรี ยนกำหนด
ทั้ง ๕ เกณฑ์ สำหรับระดับชั้นที่ใช้เอกสารนี้ คือ
๑. เรี ยนรายวิชาพื้นฐาน รายวิชาเพิม่ เติม ตามที่หลักสูตรแกนกลางอิสลามศึกษาขั้นพื้น
ฐาน และหลักสูตรสถานศึกษากำหนด
๒. จำนวนหน่วยน้ำหนัก/หน่วยกิต กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้รวม ที่ตอ้ งเรี ยนและต้องได้
(ผ่านเกณฑ์การประเมินตลอดระดับชั้น)
๓. จำนวนหน่วยน้ำหนัก/หน่วยกิต กิจกรรมพัฒนาผูเ้ รี ยนรวมที่ตอ้ งปฏิบตั ิและต้องได้
(ผ่านเกณฑ์การประเมินตลอดระดับชั้น)
๔. เกณฑ์สำหรับตัดสิ นให้ระดับคุณภาพของคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในการประเมิน
ผลการเรี ยนผ่านระดับชั้น
๕. เกณฑ์สำหรับตัดสิ นให้ระดับคุณภาพของความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์
และเขียนในการประเมินผลการเรี ยนผ่านระดับชั้น
๑๐. คำอธิบายเกณฑ์การตัดสิ นการเรี ยนของโรงเรี ยน ให้กรอกระดับผลการเรี ยนหรื อรู ปแบบ
การตัดสิ นผลการเรี ยนที่โรงเรี ยนใช้ในการตัดสิ นผลการเรี ยนรายวิชา
การออกระเบียนแสดงผลการเรี ยนหลักสูตรอิสลามศึกษาตามหลักสู ตรแกนกลางการ
ศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๕๑(ปอ.๑)
การออกระเบียนแสดงผลการเรี ยน (ปอ.๑) โรงเรี ยนต้องจัดทำต้นฉบับ ระเบียนแสดง
ผลการเรี ยน (ปอ.๑) ให้นกั เรี ยนทุกคนโดยใช้แบบพิมพ์ตามที่ก ำหนดพร้อมกับกรอกข้อมูลที่
กำหนดในเอกสารอย่างครบถ้วน แต่ไม่ตอ้ งติดรู ปถ่ายของนักเรี ยน ไม่ตอ้ งลงนามนายทะเบียน
และหัวหน้าสถานศึกษา ให้โรงเรี ยนจัดทำต้นฉบับของเอกสารอย่างถูกต้องครบถ้วน
36

การวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ หลักสู ตรอิสลามศึกษา


ตามหลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พุทธศักราช 2560

รักการอ่านอัล-กุรอาน
คำนิยาม
รักการอ่านอัล-กุรอาน หมายถึง การปฏิบตั ิตนในการอ่านด้วยความศรัทธา เห็นคุณค่า
สม่ำเสมอ และนำไปใช้ในการดำเนินชีวิต
ตัวชี้วดั
-เห็นคุณค่า ศรัทธา
-ปฏิบตั ิอย่างสม่ำเสมอ
ตัวชี้วดั และพฤติกรรมบ่งชี้ ตัวชี้วดั พฤติกรรมบ่งชี้

1.เห็นคุณค่า ศรัทธา 1.1 มีความตั้งใจ


1.2 ปฏิบตั ิดว้ ยความถูกต้องและมีมารยาทในการอ่าน
2.ปฏิบตั ิอย่างสม่ำเสมอ 2.1 อ่านเป็ นประจำทุกวัน กำหนดตารางการอ่านและมีการบันทึก
37

เกณฑ์ การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
ทุกระดับชั้น
ตัวชี้วดั ที่ 1 เห็นคุณค่ า ศรัทธา
พฤติกรรมบ่งชี้ ไม่ผา่ น (0) ผ่าน (1) ดี (2) ดีเยีย่ ม (3)
1.มีความตั้งใจ ไม่ต้ งั ใจอ่านอัล- ตั้งใจ เต็มใจ ใน ตั้งใจ เต็มใจ ตั้งใจ เต็มใจ
กุรฺอาน การอ่านอัล-กุรฺ และมีความ มีความสม่ำเสมอ
อาน สม่ำเสมอในการ และเชิญชวนผู้
อ่านอัล-กุรฺอาน อื่นอ่านอัล-กุรฺ
อาน
2. ปฏิบตั ิดว้ ย ไม่มีน ้ำละหมาด - มีน ้ำละหมาด - มีน ้ำละหมาด - มีน ้ำละหมาด
ความถูกต้องและ ถืออัล-กุรฺอาน - ถืออัล-กุรฺอาน - ถืออัล-กุรฺอาน
มีมารยาทในการ ด้วยมือขวา ด้วยมือขวานัง่ ด้วยมือขวานัง่
อ่าน เรี ยบร้อยและมี เรี ยบร้อยและมี
ความสำรวม ความสำรวม
ขณะที่อ่าน ขณะที่อ่าน
- จัดเก็บอัล-กุรฺ
อานในที่สะอาด
และเหมาะสม
ตัวชี้วดั ที่ 2 ปฏิบัติอย่ างสม่ำเสมอ
พฤติกรรมบ่งชี้ ไม่ผา่ น (0) ผ่าน (1) ดี (2) ดีเยีย่ ม (3)
อ่านเป็ นประจำ ไม่อ่าน อ่านเป็ นบางวัน อ่านประจำทุก อ่านประจำทุก
ทุกวันกำหนด และกำหนด วันและกำหนด วันกำหนดตาราง
ตารางการอ่าน ตารางการอ่าน ตารางการอ่าน การอ่าน และมี
และมีการบันทึก การบันทึก
รักการละหมาด
คำนิยาม
38

รักการละหมาด หมายถึง การมีความกระตือรื อร้นในการละหมาด ตรงต่อเวลาที่ก ำหนด


อย่างสม่ำเสมอ
ตัวชี้วดั
-มีความกระตือรื อร้นและตรงต่อเวลาในการ
-ละหมาดเป็ นประจำอย่างสม่ำเสมอ
ตัวชี้วดั พฤติกรรมบ่งชี้
1. มีความกระตือรื อร้นและตรงต่อเวลาในการ 1.1 เตรี ยมพร้อมก่อนเวลาละหมาด
ละหมาด 1.2 ละหมาดทันทีเมื่อถึงเวลา
2. ละหมาดเป็ นประจำอย่างสม่ำเสมอ 2.2 ละหมาดครบ 5 เวลา เป็ นประจำทุกวัน
ตัวชี้วดั และพฤติกรรมบ่ งชี้

เกณฑ์ การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
ระดับอิสลามศึกษาศึกษาตอนต้ น(อิบตีดาอียะห์ ) ชั้นปี ที่ 1 – ชั้นปี ที่ 6
พฤติกรรมบ่งชี้ ไม่ผา่ น (0) ผ่าน (1) ดี (2) ดีเยีย่ ม (3)
1. เตรี ยมพร้อ ไม่เตรี ยมความ - รวมตัวที่ - อาบน้ำ - อาบน้ำละหมาด
มก่อนเวลาละหมาด พร้อมในการ สถานที่ ละหมาด - รวมตัวที่สถานที่
2. ละหมาดทันทีเ ละหมาด ละหมาดเมื่อ - รวมตัวที่สถาน ละหมาดเมื่อถึงเวลา
มื่อถึงเวลา ถึงเวลา ที่ละหมาดเมื่อ - แต่งกายชุดที่เหมาะสม
ถึงเวลา สำหรับการละหมาด

ตัว ชี้วดั ที่ 1 มีความกระตือรือร้ นและตรงต่ อเวลาในการละหมาด


ตัว ชี้วดั ที่ 2 ละหมาดเป็ นประจำอย่ างสม่ำเสมอ
พ ฤติกรรมบ่งชี้ ไม่ผา่ น (0) ผ่าน (1) ดี (2) ดีเยีย่ ม (3)
1.ละหมาดเป็ น ไม่ละหมาด ละหมาดประจำทุก ละหมาดประจำ - ละหมาดทันที
ประจำทุกวัน วันแต่ละหมาดเพียง ทุกวันแต่ละ เมื่อถึงเวลา
2.ละหมาดครบ 1-2 เวลาหรื อ หมาดเพียง 3-4 ประจำ
5 เวลา ละหมาดไม่ประจำ เวลา - ละหมาดครบ 5
ทุกวัน เวลา
39

รักความสะอาด
คำนิยาม
รักความสะอาด หมายถึง คุณลักษณะที่แสดงออกถึงการรักษาความสะอาดทางด้าน
ร่ างกายและสิ่ งแวดล้อม
ผูท้ ี่รักความสะอาด หมายถึง ผูท้ ี่มีคุณลักษณะที่แสดงออกถึงการรักษาความสะอาดทาง
ด้านร่ างกายและสิ่ งแวดล้อม
ตัวชี้วดั
-เป็ นผูท้ ี่รักษาความสะอาดร่ างกาย
ตัวชี้วดั พฤติกรรมบ่งชี้
1.เป็ นผูท้ ี่รักษาความสะอาดร่ างกาย 1.1 การดูแลรักษาสุ ขภาพร่ างกาย
1.2 การแต่งกายด้วยเสื้ อผ้าที่สะอาด
2.เป็ 2.1 การดูแลรักษาความสะอาดของสิ่ งแวดล้อม
นผูท้ ี่รักษาความสะอาดด้านสิ่ งแวดล้อม
-เป็ นผูท้ ี่รักษาความสะอาดด้านสิ่ งแวดล้อม

เกณฑ์ การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
ทุกระดับชั้น
พฤติกรรมบ่ง ไม่ผา่ น (0) ผ่าน (1) ดี (2) ดีเยีย่ ม (3)
ชี้
1.การดูแล ไม่ดูแลรักษา ดูแลรักษา ดูแลรักษาความ ดูแลรักษาความสะอาด
รักษาสุ ขภาพ ความสะอาด ความสะอาด สะอาดของผิวหนัง ของผิวหนังปาก ฟัน
ร่ างกาย ของปาก ฟัน ของผิวหนัง ปาก ฟัน เล็บมือ เล็บมือ เล็บเท้าและผม
เล็บมือ เล็บ ปาก ฟัน เล็บ เล็บเท้าและผม อย่างสม่ำเสมอ สามารถ
เท้าและผม มือ เล็บเท้าและ อย่างสม่ำเสมอ เป็ นแบบอย่างที่ดีและ
ผมเป็ นครั้ง และสามารถเป็ น แนะนำให้กบั ผูอ้ ื่น
คราว แบบอย่างที่ดีให้ก ั
บผูอ้ ื่น
40

ตัวชี้วดั ที่ 1 เป็ นผู้ที่รักษาความสะอาดร่ างกาย

ตัวชี้วดั ที่2 เป็ นคนที่รักษาความสะอาดด้ านสิ่ งแวดล้ อม


พฤติกรรมบ่ง ไม่ผา่ น (0) ผ่าน (1) ดี (2) ดีเยีย่ ม (3)
ชี้
1. การดูแล ไม่รักษาความ รักษาความ รักษาความสะอาด รักษาความสะอาด
รักษาความ สะอาดบ้าน สะอาดบ้าน บ้าน ห้องเรี ยน บ้าน ห้องเรี ยน
สะอาดสิ่ ง ห้องเรี ยน ห้องเรี ยน ห้องน้ำ ห้องส้วม ห้องน้ำ ห้องส้วม
แวดล้อม ห้องน้ำ ห้อง ห้องน้ำ ห้อง และสาธารณสถาน และสาธารณสถาน
ส้วมและ ส้วมและ ความเต็มใจ อย่าง ด้วยความเต็มใจอย่าง
สาธารณ สาธารณสถาน สม่ำเสมอ ปฏิบตั ิตน สม่ำเสมอ ปฏิบตั ิตน
สถาน ความเต็มใจ เป็ นแบบอย่างที่ดีของ เป็ นแบบอย่าง และ
อย่างสม่ำเสมอ ชุมชน เชิญชวนผูอ้ ื่นเข้าร่ วม
กิจกรรม
มีมารยาทแบบอิสลาม
คำนิยาม
มีมารยาทแบบอิสลาม หมายถึง มีพฤติกรรมในการปฏิบตั ิต่อตนเองและผูอ้ ื่น ตามแบบ
อย่างของท่านนบีมุฮมั มัด ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม
ตัวชี้วดั พฤติกรรมบ่งชี้
1.ปฏิบตั ิตามแบบอย่างของท่านนบีมุฮมั มัด 1.1 มารยาทในการทักทาย
ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม อย่างเป็ นกิจวัตร 1.2 มารยาทในการกินและดื่ม
1.3 การอ่อนน้อมถ่อมตน
1.4 มารยาทในการแต่งกาย
1.5 มีน ้ำใจช่วยเหลือผูอ้ ื่น

เกณฑ์ การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
ทุกระดับชั้น
ตัวชี้วดั ที่ 1 เห็นคุณค่ าของการปฏิบัติตามแบบอย่ างของท่ านนบีมุหัมมัด ศ็อลลัลลอฮุอาลัยฮิวะ
สั ลลัม
41

พฤติกรรมบ่งชี้ ไม่ผา่ น (0) ผ่าน (1) ดี (2) ดีเยีย่ ม (3)


1.1 มารยาทใน - ไม่ให้สลาม - ให้สลามทุก - ให้สลามทุกครั้ง - ให้สลามทุกครั้ง
การทักทาย ครั้ง - เป็ นแบบอย่างที่ดี - เป็ นแบบอย่างที่ดี
- เชิญชวนผูอ้ ื่นให้
สลาม
1.2 มารยาทใน - ยืนหรื อเดิน - นัง่ รับประทาน - นัง่ รับประทาน - นัง่ ขณะรับ
การกินและดื่ม ขณะรับประทาน อาหาร อาหาร ประทานอาหาร
อาหาร - อ่านดุอาอฺ ทุก - อ่านดุอาอฺ ทุกครั้ง - อ่านดุอาอฺ ทุกครั้ง
ครั้ง - เป็ นแบบอย่างที่ดี - เป็ นแบบอย่างที่ดี
- เชิญชวนผูอ้ ื่น
1.3 มารยาทใน - แต่งกายโดยไม่ - แต่งกายโดย - แต่งกายโดย - แต่งกายโดยปกปิ ด
การแต่งกาย ปกปิ ดเอาเราะฮฺ ปกปิ ดเอาเราะฮฺ ปกปิ ดเอาเราะฮฺ เอาเราะฮฺ
- เป็ นแบบอย่างที่ดี - เป็ นแบบอย่างที่ดี
- เชิญชวนผูอ้ ื่น
1.4 การ - ไม่ให้เกียรติ - ให้ความเคารพ - ให้ความเคารพ - ให้ความเคารพ
อ่อนน้อมถ่อม และความเคารพ บุคคล บุคคล บุคคล
ตน บุคคล ผูอ้ ื่น - ให้เกียรติผอู้ ื่น - ให้เกียรติผอู้ ื่น - ให้เกียรติผอู้ ื่น
- เป็ นแบบอย่างที่ดี - เป็ นแบบอย่างที่ดี
- เชิญชวนผูอ้ ื่น
1.5 การมีน ้ำใจ - ไม่ให้ความช่วย - ช่วยเหลือผูอ้ ื่น - ช่วยเหลือผูอ้ ื่น - ช่วยเหลือผูอ้ ื่นตาม
เหลือผูอ้ ื่นตาม ตามกำลังและ ตามกำลังและ กำลังและความ
กำลังและความ ความสามารถ ความสามารถ สามารถ
สามารถ - มีความเอื้อเฟื่ อ - มีความเอื้อเฟื่ อ - มีความเอื้อเฟื่ อเผือ่
เผือ่ แผ่แก่ผอู้ ื่น เผือ่ แผ่แก่ผอู้ ื่นตาม แผ่แก่ผอู้ ื่นตามความ
ตามความเหมาะ ความเหมาะสม เหมาะสม
สม - เป็ นแบบอย่างที่ดี - เป็ นแบบอย่างที่ดี
- เชิญชวนผูอ้ ื่น
42

เกณฑ์ การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
ตัวชี้วดั ที่ 2 ปฏิบัติตนตามแบบอย่ างของท่ านนบีมุหัมมัด ศ็อลลัลลอฮุอาลัยฮิวะสั ลลัมอย่ าง
เป็ นกิจวัตร
พฤติกรรมบ่งชี้ ไม่ผา่ น (0) ผ่าน (1) ดี (2) ดีเยีย่ ม (3)
1. ร่ วมกิจกรรมที่ ไม่เข้าร่ วม เข้าร่ วมกิจกรรม เข้าร่ วมกิจกรรม เข้าร่ วมกิจกรรม
เกี่ยวข้องกับการ กิจกรรมเกี่ยวกับ เกี่ยวกับการ เกี่ยวกับการ เกี่ยวกับการ
ปฏิบตั ิตนตาม การปฏิบตั ิตน ปฏิบตั ิตนตาม ปฏิบตั ิตนตาม ปฏิบตั ิตนตาม
แบบอย่างของ ตามแบบอย่าง แบบอย่างของ แบบอย่างของ แบบอย่างของ
ท่านนบีมุหมั มัด ของท่านนบีมุหมั ท่านนบีมุหมั มัด ท่านนบีมุหมั มัด ท่านนบีมุหมั มัด
ศ็อลลัลลอฮุอะ มัด ศ็อลลัลลอฮุอะ ศ็อลลัลลอฮุอะ ศ็อลลัลลอฮุอะ
ลัยฮิวะสัลลัม ศ็อลลัลลอฮุอะ ลัยฮิวะสัลลัม ลัยฮิวะสัลลัม ลัยฮิวะสัลลัม
ลัยฮิวะสัลลัม และปฏิบตั ิตน และปฏิบตั ิตน ปฏิบตั ิตนตาม
ตามแบบอย่าง ตามแบบอย่าง แบบอย่าง
ตามโอกาส สม่ำเสมอ สม่ำเสมอและ
เป็ นแบบอย่างที่
ดีของที่ดี
2. ปฏิบตั ิตนตาม ไม่ปฏิบตั ิตนตาม ปฏิบตั ิตนตาม ปฏิบตั ิตนตาม ปฏิบตั ิตนตาม
แบบอย่างของ แบบอย่าง แบบอย่างบาง แบบอย่างส่ วน แบบอย่างทุก
ท่านนบีมุหมั มัด ส่ วน ใหญ่ ประการ
ศ็อลลัลลอฮุอะ
ลัยฮิวะสัลลัม
อย่างเคร่ งครัด
3. เป็ นแบบอย่าง ไม่มีพฤติกรรมที่ มีพฤติกรรมที่น ำ มีพฤติกรรมที่น ำ มีพฤติกรรมที่น ำ
ที่ดีเกี่ยวกับ นำมาเป็ นแบบ มาเป็ นแบบอย่าง มาเป็ นแบบอย่าง มาเป็ นแบบอย่าง
ปฏิบตั ิตนตาม อย่างได้ ได้บางส่ วน ได้ส่วนใหญ่ ได้ทุกพฤติกรรม
แบบอย่างของ
ท่านนบีมุหมั มัด
43

ศ็อลลัลลอฮุอะ
ลัยฮิวะสัลลัม

มีความรับผิดชอบ
คำนิยาม
มีความรับผิดชอบ หมายถึง คุณลักษณะที่แสดงออกถึงความเอาใจใส่ จดจ่อ
ตั้งใจ มุ่งมัน่ ต่อหน้าที่การงาน อย่างเต็มความสามารถ เพื่อให้บรรลุผลสำเร็ จตามความมุ่ง
หมายในเวลาที่ก ำหนด
ผูท้ ี่มีความรับผิดชอบ หมายถึง บุคคลที่มีพฤติกรรมแสดงออกถึงความเอาใจใส่
จดจ่อตั้งใจ มุ่งมัน่ ต่อหน้าที่การงาน การศึกษาเล่าเรี ยนและการเป็ นอยูข่ องตนเองและ ผูอ้ ยูใ่ น
ความดูแล ตลอดจนสังคม อย่างเต็มความสามารถเพื่อให้บรรลุผลสำเร็ จตามความมุ่งหมายใน
เวลาที่ก ำหนด
ตัวชี้วดั
1. ปฏิบตั ิภารกิจที่ได้รับมอบหมายอย่างเต็มความสามารถ
2. ตรงต่อเวลา
3. ปฏิบตั ิตามบทบาทหน้าที่ของตน
4. ทำงานโดยคำนึงถึงคุณภาพของงาน
5. ดูแลรักษาสาธารณสมบัติ

ตัวชี้วดั พฤติกรรมบ่งชี้
(1) ปฏิบตั ิภารกิจที่ได้รับมอบหมายอย่างเต็ม - ปฏิบตั ิหน้าที่การงานตามที่ได้รับมอบหมาย
ความสามารถ - ศึกษาหาความรู ้เพิ่มเติม
(2) ตรงต่อเวลา - ทำงานเสร็ จตามเวลาที่ก ำหนด
- มาเรี ยนทันเวลา
44

- ส่ งงานตามกำหนด
- ไม่ผดิ เวลานัดหมาย
(3) ปฏิบตั ิตามบทบาทหน้าที่ของตน - ช่วยงานครอบครัว
- ช่วยกิจกรรมโรงเรี ยน
- ช่วยกิจกรรมชุมชน
- ดูแลสุ ขภาพอนามัยตนเองและครอบครัว
- ปฏิบตั ิตามกฎระเบียบโรงเรี ยน
- ปฏิบตั ิตามกฎระเบียบชุมชน
(4) ทำงานโดยคำนึงถึงคุณภาพของงาน - มีการวางแผนในการทำงาน
- ปฏิบตั ิงานตามแผน
- ยอมรับความคิดเห็นข้อเสนอแนะ แนวทาง
แก้ไขเพื่อปรับปรุ งงานให้ดีข้ ึน
(5) ดูแลรักษาสาธารณสมบัติ - ไม่ท ำลายทรัพย์สินของโรงเรี ยนและชุมชน
- ตักเตือนหรื อห้ามผูอ้ ื่นไม่ให้ท ำลายสาธารณ
สมบัติ
- ร่ วมกิจกรรมดูแลรักษาสาธารณสมบัติ
ตัวชี้วดั และพฤติกรรมบ่ งชี้

เกณฑ์ การให้ คะแนน


ระดับอิสลามศึกษาตอนต้ น (อิบตีดาอียะฮฺ ) ชั้นปี ที่ 1-6
ตัวชี้วดั มีความพยายามปฏิบัติภารกิจ หน้ าที่การงาน การศึกษา หรือหน้ าที่ที่ได้ รับมอบหมาย
อย่ างเต็มความสามารถ
พฤติกรรมบ่งชี้ ไม่ผา่ น ( 0 ) ผ่าน ( ๑ ) ดี ( ๒ ) ดีเยีย่ ม ( ๓ )
-ปฏิบตั ิงานตาม ไม่ปฏิบตั ิภารกิจ ปฏิบตั ิภารกิจที่ ปฏิบตั ิภารกิจที่ ปฏิบตั ิภารกิจที่
ที่ ได้รับมอบ ที่ได้รับมอบ ได้รับมอบหมาย ได้รับมอบหมาย ได้รับมอบหมาย
หมายที่วางไว้จน หมาย ที่วางไว้จนสำเร็ จ ที่วางไว้จนสำเร็ จ
สำเร็ จ และศึกษา
45

-ศึกษาหาความรู ้ หาความรู ้เพิม่


เพิ่มเติม เติม

ระดับอิสลามศึกษาตอนต้ น (อิบตีดาอียะฮฺ ) ชั้นปี ที่ 1-6


ตัวชี้วดั ตรงต่ อเวลา
พฤติกรรมบ่งชี้ ไม่ผา่ น (0) ผ่าน (1) ดี (2) ดีเยีย่ ม (3)
- มาเรี ยนทันเวลา ไม่ตรงต่อเวลา ปฏิบตั ิตนและ ปฏิบตั ิตนและ ปฏิบตั ิตนและ
- ทำงานเสร็ จ ภารกิจที่ได้รับ ภารกิจที่ได้รับ ภารกิจที่ได้รับ
ตามเวลาที่ มอบหมายตาม มอบหมายสำเร็ จ มอบหมายสำเร็ จ
กำหนด เวลาที่ก ำหนด ตามเวลาที่ ตามเวลาที่
-ส่ งงานตาม กำหนด กำหนด และมี
กำหนด การปรับปรุ งงาน
- มาตรงตามเวลา ให้ดีข้ ึน
นัดหมาย

ตัวชี้วดั ปฏิบัติตามบทบาทหน้ าที่ของตนเอง


ระดับอิสลามศึกษาตอนต้ น (อิบตีดาอียะฮฺ ) ชั้นปี ที่ 1-6
พฤติกรรมบ่งชี้ ไม่ผา่ น (0) ผ่าน (1) ดี (2) ดีเยีย่ ม (3)
-ช่วยงานครอบครัว ไม่ปฏิบตั ิตาม ปฏิบตั ิตาม ปฏิบตั ิตาม ปฏิบตั ิตาม
- ช่วยกิจกรรมของ บทบาท บทบาทหน้าที่ บทบาทหน้าที่ บทบาทหน้าที่
โรงเรี ยน หน้าที่ของ ของตนเองตาม ของตนเองตามที่ ของตนเองตามที่
-ช่วยกิจกรรมของ ตนเอง ที่ได้รับมอบ ได้รับมอบหมาย ได้รับมอบหมาย
ชุมชน หมาย จนบรรลุผล จนบรรลุผล
-ดูแลสุ ขภาพอนามัย มีแผนและ สำเร็ จตามเป้ า สำเร็ จตามเป้ า
ของตนเองและ ปฏิบตั ิตามขั้น หมาย หมาย และชื่นชม
ครอบครัว ตอนในการ ผลงานด้วยความ
- ปฏิบตั ิตามกฎของ ทำงาน ภาคภูมิใจ
โรงเรี ยน
- ปฏิบตั ิตามกฎของ
46

ชุมชน
ตัวชี้วดั ทำงานโดยคำนึงคุณภาพของงาน
ระดับอิสลามศึกษาตอนต้ น (อิบตีดาอียะฮฺ ) ชั้นปี ที่ 1-6
พฤติกรรมบ่งชี้ ไม่ผา่ น (0) ผ่าน (1) ดี (2) ดีเยีย่ ม (3)
-มีข้นั ตอนใน ไม่มี มีแผนและปฏิบตั ิ มีแผนและปฏิบตั ิ มีแผนและปฏิบตั ิ
การทำงาน ประสิ ทธิภาพใน ตามขั้นตอนใน ตามขั้นตอนใน ตามขั้นตอนใน
-ปฏิบตั ิงานตาม การทำงาน การทำงาน จน การทำงาน จน การทำงาน จน
ขั้นตอน บรรลุผลสำเร็ จ บรรลุผลสำเร็ จ บรรลุผลสำเร็ จ
-เสนอแนะแนว ตามเป้ าหมาย ตามเป้ าหมาย ตามเป้ าหมาย
ทางแก้ไข และชื่นชมผล และชื่นชมผล
ปรับปรุ งงานให้ งานด้วยความ งานด้วยความ
ดีข้ ึน ภาคภูมิใจ ภาคภูมิใจ
ตัวชี้วดั ดูแลรักษาสาธารณสมบัติ
ระดับอิสลามศึกษาตอนต้ น (อิบตีดาอียะฮฺ ) ชั้นปี ที่ 1-6
พฤติกรรมบ่งชี้ ไม่ผา่ น (0) ผ่าน (1) ดี (2) ดีเยีย่ ม (3)
-ไม่ขีดเขียนหรื อ ไม่สนใจดูแล ดูแลรักษา ดูแลรักษา และเข้าร่ วม
ทำลายทรัพย์สิน รักษาสาธารณ สาธารณสมบัติ สาธารณสมบัติ กิจกรรมดูแล
ของโรงเรี ยน สมบัติโรงเรี ยน โรงเรี ยน ชุมชน โรงเรี ยน ชุมชน สาธารณสมบัติ
และชุมชน และชุมชน และเข้าร่ วม เป็ นครั้งคราว
- ตักเตือนหรื อ ดูแลรักษา กิจกรรมดูแล ดูแลรักษา
ห้ามผูอ้ ื่นไม่ให้ สาธารณสมบัติ สาธารณสมบัติ สาธารณสมบัติ
ทำลายสาธารณ โรงเรี ยนและ เป็ นครั้งคราว โรงเรี ยน ชุมชน
สมบัติ ชุมชน และเข้าร่ วม
-ร่ วมกิจกรรม กิจกรรมดูแล
ดูแลรักษา สาธารณสมบัติ
สาธารณสมบัติ อย่างสม่ำเสมอ
47

เอกสารอ้ างอิง
วิชาการและมาตรฐานการศึกษา, สำนัก. แนวทางการบริหารจัดการหลักสู ตรอิสลามศึกษาตาม
หลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพืน้ ฐานพุทธศักราช 2551.พิมพ์ครั้งที่1. กรุ งเทพฯ:
โรงพิมพ์ชุมชนสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำกัด,2552.
วิชาการมาตรฐานการศึกษา, สำนัก. การจัดการเรียนรู้ อสิ ลามศึกษาตามหลักสู ตรแกนกลาง
การศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551. พิมพ์ครั้งที่1. กรุ งเทพฯ:โรงพิมพ์ชุมชน
สหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำกัด,2553.

You might also like