You are on page 1of 49

ระเบียบ ทบ.ว่าด้ วยการจาหน่าย สป. พ.ศ.

๒๕๕๗

๒๖ – ๒๘ ก.พ. ๕๗

1
กรมส่ งกำลังบำรุงทหำรบก
Directorate of Logistics

ห ัวข้อการบรรยาย

 กล่าวนา
 ปัญหาทีม่ มี าแต่เดิม
 สาระสาค ัญในการปร ับปรุงแก้ไขระเบียบฯ
 การสอบละเมิดและการชดใช ้
 ข้อเน้นยา้
กล่าวนา

 ผบ.ทบ. ได ้อนุมัตย ิ กเลิกระเบียบ ทบ.ว่าด ้วยการ


จาหน่าย สป. พ.ศ. ๒๕๓๙ และได ้อนุมัตใิ ชระเบี ้ ยบ
ทบ.ว่าด ้วยการจาหน่าย สป. พ.ศ. ๒๕๕๗
 รายละเอียดปรากฏตาม หนั งสอ ื กบ.ทบ. ที่ ๐๔๐๔/๑๔๔
ลง ๑๐ ม.ค. ๕๗
 ระเบียบฯ จะมีผลบังคับใช้ เมื่อพ้ นกาหนด ๓๐ วัน นับแต่วนั ที่ประกาศใช้ (๓๑
ม.ค. ๕๗)
ปัญหาทีม
่ ม
ี าแต่เดิม

 หลักเกณฑ์วธิ ป ี ฏิบต
ั ไิ ม่ครอบคลุมเงือ ่ นไขบางกรณี
เชน ่ การจาหน่าย สป.ทีห ่ น่วยยืมจากหน่วยอืน ่
 การควบคุม และตัดยอด สป. ไม่ตรงกันระหว่าง
หน่วยใช ้ และคลัง ภายหลังการจาหน่าย
 การปฏิบต ิ างอย่าง ไม่สอดคล ้องกับระเบียบคาสงั่ ที่
ั บ
เกีย
่ วข ้อง เชน่ ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
หรือระเบียบสานั กนายกรัฐมนตรีวา่ ด ้วยการพัสดุ
พ.ศ. ๒๕๓๕ และทีแ ่ ก ้ไขเพิม่ เติม เป็ นต ้น
สาระสาค ัญในการปร ับปรุงฯ

 กล่าวทั่วไป
 คาจากัดความ
 ลาดับหัวข ้อทีม ่ ก
ี ารปรับปรุง
 การตัดยอด สป.ทีใ่ ชส้ น ิ้ เปลืองไปตามปกติ
 อานาจอนุมัตจิ าหน่าย
 บทเฉพาะกาล
 ขันตอนการจ
้ าหน่าย สป.
กล่าวทวไป
่ั

เพิ่มเติมระเบียบ/หลักเกณฑ์ของหน่วยเหนือ ซึง่ เป็ นที่มาของอานาจหน้ าที่ตามระเบียบฉบับ


นี ้
“เนื่องจากระเบียบกองทัพบกว่าด้ วยการจาหน่ายสิ่งอุปกรณ์ พ.ศ.๒๕๓๙ และที่แก้ ไข
เพิ่มเติมใช้ ปฏิบตั ิมานานไม่เหมาะสมกับสถานการณ์ปัจจุบนั สมควรปรับปรุ งระเบียบ
ดังกล่าวให้ ทนั สมัยเหมาะสมยิ่งขึ ้น และเพื่อให้ การปฏิบตั ิเกี่ยวกับการจาหน่ายสิ่งอุปกรณ์
ในกองทัพบกเป็ นไปในแนวทางเดียวกันและสอดคล้ องกับระเบียบสานักนายกรัฐมนตรี ว่า
ด้ วยการพัสดุ พ.ศ.๒๕๓๕ และที่แก้ ไขเพิ่มเติม รวมทังหลั้ กกฎหมายที่เกี่ยวข้ อง จึงให้ ออก
ระเบียบว่าด้ วยการจาหน่ายสิ่งอุปกรณ์ของกองทัพบกไว้ สาหรับยึดถือเป็ นหลักปฏิบตั ิดงั นี ้”
คาจาก ัดความทีส
่ าค ัญ

การจาหน่าย (เดิม) หมายถึง การจาหน่าย (ใหม่) หมายถึง


การดาเนินกรรมวิธเี พือ ่ ตัดยอด การดาเนินกรรมวิธเี พือ ่ ตัดยอด
สงิ่ อุปกรณ์ ออกจากความรับผิดชอบ สงิ่ อุปกรณ์ ออกจากความรับผิดชอบ
ของกองทัพบก เนือ ่ งจากสูญไป, ของกองทัพบก เนือ ่ งจากสูญไป, สูญ
สน ิ้ เปลืองไป (สงิ่ อุปกรณ์ใชส้ น ิ้ เปลือง), หาย, ชารุดเสย ี หายจนไม่สามารถซอ ่ ม
ชารุดเสย ี หายจนไม่สามารถซอ ่ มคืน คืนสภาพได ้อย่างคุ ้มค่า, เสอ ื่ มสภาพจน
สภาพได ้อย่างคุ ้มค่า, เสอ ื่ มสภาพจนใช ้ ้
ใชการไม่ ได ้, ตาย, ล ้าสมัย หรือ หมด
การไม่ ได ้ หรือสูญหาย, ตาย, เกิน ความจาเป็ นหรือหากใชราชการต่ ้ อไป
ความต ้องการหรือเป็ นของล ้าสมัย หมด จะสน ิ้ เปลืองค่าใชจ่้ ายมาก
ความจาเป็ นไม่ใชราชการต่้ อไป หรือ

หากใชราชการต่ อไปจะสน ิ เปลือง
ค่าใชจ่้ ายมาก หรือครบอายุการใชงาน ้
ตามเกณฑ์ทก ี่ าหนด
คาจาก ัดความทีส
่ าค ัญ
การจาหน่ายเป็ นสูญ (เดิม) หมายถึง การ การจาหน่ายเป็ นสูญ (ใหม่) หมายถึง
จาหน่ายในกรณีทส ี่ งิ่ อุปกรณ์สญ ู ไป โดย การจาหน่ายในกรณีท ี่
ไม่ปรากฏตัวผู ้รับผิดชอบ หรือมีตัวผู ้รับ สงิ่ อุปกรณ์สญู ไปโดยไม่ปรากฏตัวผู ้รับ
ผิดแต่ไม่สามารถชดใชตามระเบี ้ ยบ ผิด หรือมีตวั ผู ้รับผิดแต่ไม่สามารถชดใช ้
กระทรวงการคลังว่าด ้วยความรับผิดทาง ค่าเสย ี หายในทางแพ่งและความรับผิด
แพ่งของเจ ้าหน ้าทีส ่ ว่ นราชการได ้ หรือมี ทางละเมิดได ้ หรือมีสงิ่ อุปกรณ์อยูแ ่ ต่
สงิ่ อุปกรณ์อยูแ ่ ต่ไม่สามารถขาย ไม่สามารถขาย แลกเปลีย ่ น โอน แปร
แลกเปลีย ่ น โอน แปรสภาพ หรือทาลาย สภาพ หรือทาลายได ้
ได ้
เฉพาะในการปฏิบต ั ริ าชการสนาม การสูญไปเฉพาะในการปฏิบต ั ริ าชการ
้ ในกรณีทไี่ ม่สามารถนาซากสงิ่
นัน สนามนัน ้ ในกรณีทไี่ ม่สามารถนาซาก
อุปกรณ์กลับมาได ้ เนือ ่ งจากความจากัด สงิ่ อุปกรณ์กลับมาได ้ เนือ
่ งจากความจา
ของภูมป ิ ระเทศ หรือเนือ ่ งจากการกระทา กัดของภูมป ิ ระเทศ หรือเนือ่ งจากการ
ของข ้าศก ึ ให ้ถือว่าสงิ่ อุปกรณ์นัน ้ สูญไป กระทาของข ้าศก ึ หรือจากการกระทา
ไม่มซ ี ากเหลืออยูใ่ ห ้เห็น และในกรณีท ี่ ของบุคคลภายนอก ให ้ถือว่าสงิ่ อุปกรณ์
ผู ้รับผิดชอบชดใชถึ้ งแก่กรรม เนือ ่ งจาก นัน
้ สูญไป ไม่มซ ี ากเหลืออยูใ่ ห ้เห็น
การปฏิบต ั ริ าชการสนามคราวนัน ้ ให ้ถือว่า
หาผู ้รับผิดชอบชดใชไม่ ้ ได ้
คาจาก ัดความทีส
่ าค ัญ

สงิ่ อุปกรณ์ล ้าสมัย หมายถึง


สงิ่ อุปกรณ์ทใี่ ชราชการมาเป็
้ นเวลานาน หรือมี

อายุการใชงานมาเป็ นเวลานาน หรือไม่มส ี ายการผลิต
หรือปั จจุบน ั มีกลไกการทางานหรือเทคโนโลยีอน ื่ ทีม
่ ี
ประสทิ ธิภาพยิง่ กว่า หรือกรณีอน ื่ ๆ ซงึ่ ทาให ้สงิ่ อุปกรณ์
ดังกล่าวหมดความจาเป็ นในการใชราชการต่ ้ อไป หรือ

หากใชราชการต่ อไปจะสน ิ้ เปลืองค่าใชจ่้ ายมาก และ
กองทัพบกได ้กาหนดให ้สงิ่ อุปกรณ์ดงั กล่าวเป็ นสงิ่
อุปกรณ์ล ้าสมัย
คาจาก ัดความทีส
่ าค ัญ

สป.ถาวรกาหนดอายุ สป.ถาวรไม่กาหนดอายุ

สงิ่ อุปกรณ์ถาวร หมายถึง


สงิ่ อุปกรณ์สาเร็จรูป ซงึ่ มีสภาพและลักษณะ

มั่นคงต่อการใชงาน แต่ยอ ื่ มสภาพ เสอ
่ มเสอ ื่ มราคาไป
ตามวาระ และระยะเวลาแห่งการใชงาน ้
สปช.ทบ.ขอให ้จัดทาอายุ สป.ทุกชนิด เพือ ้
่ ใชในการค านวณต ้นทุน และ กบ.ทบ.ได ้นา
เรียนให ้กรมฝ่ ายยุทธบริการ/กรมฝ่ ายกิจการพิเศษรับผิดชอบดาเนินการกาหนดอายุ สป.
ถาวรไม่กาหนดอายุ ซงึ่ ผบ.ทบ.(ผช.ผบ.ทบ.(๑)รับคาสั่งฯ) ได ้อนุมัตต ื กบ.
ิ ามหนังสอ
ทบ.ที่ กห ๐๔๐๔/๒๑๕ ลง ๓๑ มี.ค. ๕๒
คาจาก ัดความทีส
่ าค ัญ

การตัดยอดสงิ่ อุปกรณ์ออกจากความรับผิดชอบของกองทัพบก
หมายถึง การตัดยอดออกจากบัญชค ี ม
ุ ตามอานาจอนุมต
ั ท
ิ ก
ี่ าหนด
ไว ้ในระเบียบนี้

การตัดยอด หมายถึง
การตัดสงิ่ อุปกรณ์ออกจากบัญชห ี รือทะเบียนคุม ทัง้ นี้ การตัด
ยอดสงิ่ อุปกรณ์อาจเกิดขึน ้ จากกรณีตา่ งๆ เชน ่ การใชส้ น
ิ้ เปลืองไป,
การโอนสงิ่ อุปกรณ์ให ้กับสว่ นราชการ อืน ่ , การแลกเปลีย่ นสงิ่ อุปกรณ์
และการจาหน่ายสงิ่ อุปกรณ์ เป็ นต ้น สาหรับการตัดยอดสงิ่
อุปกรณ์ทใี่ ชส้ น
ิ้ เปลืองไปตามปกติ หรือการโอน หรือกรณีอน ื่ ใด
นอกเหนือจากการจาหน่าย ใชหลั ้ กฐานการดาเนินการแต่ละกรณีเป็ น
หลักฐานการตัดยอด เชน ่ ใชหลั
้ กฐานการเบิกจ่ายเป็ นหลักฐานการตัด
ยอดสงิ่ อุปกรณ์ทใี่ ชส้ น
ิ้ เปลืองไปตามปกติ เป็ นต ้น
คาจาก ัดความทีส
่ าค ัญ

ราคาซอ ื้ หรือได ้มา หมายถึง ื้ หรือได ้มา หมายถึง


ราคาซอ
ราคาทีซ ่ อ ื้ สงิ่ อุปกรณ์นัน
้ มา
ราคาทีซ
่ อ ื้ สงิ่ อุปกรณ์นัน
้ มา หรือ
หรือราคาสงิ่ อุปกรณ์ทไี่ ด ้มา สาหรับสงิ่
ราคาสงิ่ อุปกรณ์ทไี่ ด ้มา สาหรับสงิ่ อุปกรณ์
อุปกรณ์ในโครงการให ้ถือราคาตามใบ
ในโครงการให ้ถือราคาตามใบแจ ้งราคา
แจ ้งราคาและเพิม ่ ขึน ้ อีก ร ้อยละ ๒๐
และให ้รวมค่าใชจ่้ ายทีเ่ กีย
่ วข ้องกับ
สว่ นสงิ่ อุปกรณ์ทก ี่ องทัพบกจัดหา หรือ
ได ้มาโดยวิธอ ี น
ื่ ให ้ถือราคาตามใบเบิก การจัดหาสงิ่ อุปกรณ์นัน
้ ด ้วย สว่ นสงิ่
หรือราคาตามทีก ่ รมฝ่ ายยุทธบริการ อุปกรณ์ทก ี่ องทัพบกจัดหา หรือได ้มาโดย
หรือกรมฝ่ ายกิจการพิเศษ ทีร่ ับผิดชอบ วิธอ ี น
ื่ ให ้ถือราคาตามใบเบิก หรือราคา
ในสงิ่ อุปกรณ์นัน ้ กาหนด ตามทีก ่ รมฝ่ ายยุทธบริการ หรือกรมฝ่ าย
กิจการพิเศษ
ทีร่ ับผิดชอบในสงิ่ อุปกรณ์นัน ้ กาหนด
ลาด ับห ัวข้อ

 ปรับอานาจอนุมตั ิจาหน่าย สป. จากเดิมอยูใ่ นตอนที่ ๔ เป็ น ตอนที่ ๓


 ปรับการดาเนินกรรมวิธข ี ออนุมัตจิ าหน่าย สป. จาก
เดิมอยูใ่ นตอนที่ ๓ เป็ น ตอนที่ ๔

เนือ ่ งจาก เดิม ตอนที่ ๓ ข้ อ ๒๑ อ้ างถึงอานาจอนุมตั จิ าหน่ายในตอนที่ ๔ เห็น


ได้ วา่ มีการอ้ างไปยังข้ อที่ยงั มิได้ กล่าวถึง ซึง่ เป็ นตัวอย่างของการเรี ยงหัวข้ อการ
ปฏิบตั ิที่ไม่เป็ นไปตามลาดับเหตุการณ์
ิ้ เปลือง
การต ัดยอด สป.สน

ระเบียบฯ ข ้อ ๕.๑๓
ฯลฯ ... การตัดยอดสงิ่ อุปกรณ์ทใี่ ชส้ น
ิ้ เปลืองไปตามปกติ
หรือการโอน หรือกรณีอนื่ ใดนอกเหนือจากการจาหน่าย ใช ้
หลักฐานการดาเนินการแต่ละกรณีเป็ นหลักฐานการตัดยอด เชน ่
้ กฐานการเบิกจ่ายเป็ นหลักฐานการตัดยอดสงิ่ อุปกรณ์ทใี่ ช ้
ใชหลั
ิ้ เปลืองไปตามปกติ เป็ นต ้น
สน
ิ้ เปลือง
การต ัดยอด สป.สน

ื กบ.ทบ.ที่ ๐๔๐๔/๑๔๔ ลง ๑๐
หนังสอ
ม.ค. ๕๗
การควบคุมและตัดยอด สป. ใช ้
ิ้ เปลือง ซงึ่ ถูกใชและจะต
สน ้ ิ้ สภาพ
้องหมดสน
ไปตามการใชงาน ้
เมือ
่ ได ้จ่าย สป. นัน
้ ไปในการใชงาน ้
แล ้วให ้ตัดยอดออกจากบัญชค ี ม
ุ โดยไม่ต ้อง
ดาเนินการจาหน่าย
สาหรับซาก สป. ใชส้ น
ิ้ เปลือง
ดังกล่าว ให ้ปฏิบต
ั ต
ิ ามทีก
่ รมฝ่ ายยุทธบริการ
หรือกรมฝ่ ายกิจการพิเศษทีร่ ับผิดชอบ สป.
กาหนด
ิ้ เปลือง
การต ัดยอด สป.สน

หนังสือ กบ.ทบ. ที่ ๐๔๐๔/๑๔๔ ลง ๑๐ ม.ค. ๕๗


การควบคุมและตัดยอดชน ิ้ สว่ นซอ ่ มซงึ่ ใชไปในการซ
้ ่ มบารุง

๑. เมือ ่ ใชช้ น
ิ้ สว่ นซอ ่ มไปในการซอ ่ มบารุง ให ้ตัดยอดชน ิ้ สว่ น
ซอ ่ มดังกล่าวออกจากบัญชค ี มุ โดยไม่ต ้องดาเนินการจาหน่าย
๒. สาหรับชน ิ้ สว่ นซอ ่ มทีช ่ ารุดและถอดออกจาก สป. สาเร็จรูป
ให ้สง่ คืนหรือปฏิบต ั ต
ิ อ ่ ชน ิ้ สว่ นซอ ่ มหรือซากชน ิ้ สว่ นซอ ่ มนัน้
ตามทีก ่ รมฝ่ ายยุทธบริการหรือกรมฝ่ ายกิจการพิเศษที่
รับผิดชอบ สป. กาหนด
๓. หากการชารุดของชน ิ้ สว่ นซอ ่ มนัน ้ เป็ นการชารุดผิดสภาพ
ต ้องปฏิบต ั ต
ิ ามระเบียบ ทบ. ว่าด ้วยการจาหน่ายทีม ่ ผ
ี ลบังคับ
ใชในปั้ จจุบน ั


เพราะใชนานจึ ี
งเสย ้ ดจ
เพราะใชไม่ ี
ี งึ เสย
ิ้ เปลือง
การต ัดยอด สป.สน
ื กบ.ทบ. ที่ ๐๔๐๔/๑๔๔
หนั งสอ
ลง ๑๐ ม.ค. ๕๗

การควบคุมและตัดยอดเครือ ่ งแต่ง
กาย, เครือ ่ งประกอบเครือ ่ งแต่ง
กาย, เครือ ่ งนอน, ของใช ้
ประจาตัว และ สป.อืน ่ ใด ซงึ่
กาหนดให ้จ่ายประจากายทหาร
เมือ
่ จ่าย สป.ดังกล่าวให ้กับทหาร
แล ้วให ้ตัดยอดออกจากบัญชค ี ม

โดยไม่ต ้องดาเนินการจาหน่าย
อานาจอนุม ัติจาหน่าย

 อานาจอนุมัตจิ าหน่าย
ผบ.พล. ๘๐,๐๐๐ บาท -> ๑๕๐,๐๐๐ บาท
มทภ. ๑๖๐,๐๐๐ บาท -> ๓๐๐,๐๐๐ บาท
จก.ฝ่ ายฯ ๓๒๐,๐๐๐ บาท -> ๖๐๐,๐๐๐ บาท
ผบ.ทบ. ไม่จากัดวงเงิน
 อานาจอนุมตั ิจาหน่ายเป็ นสูญ แก้ ไขเฉพาะ
อานาจ ผบ.ทบ. เพิ่มเป็ น ๕๐๐,๐๐๐ บาท
แบบพิมพ์ ๔๐๐ - ๐๖๕

 ตัดประเภท สป.ออก
 ปรับปรุงคาอธิบายวิธเี ขียนแบบพิมพ์
แบบพิมพ์ ๔๐๐ - ๐๖๕
แบบพิมพ์ ๔๐๐ - ๐๖๕
บทเฉพาะกาล

การดาเนินกรรมวิธจ ี าหน่ายสงิ่ อุปกรณ์ใดๆ ที่


หน่วยรายงานได ้เสนอรายงานขออนุมัตจิ าหน่ายมายังผู ้
มีอานาจอนุมัตจิ าหน่าย ตามระเบียบกองทัพบก ว่าด ้วย
การจาหน่ายสงิ่ อุปกรณ์ พ.ศ. ๒๕๓๙ และทีแ ่ ก ้ไข
เพิม ่ เติมทีค ่ ้างพิจารณาอยูก ่ นวันทีร่ ะเบียบนีใ้ ชบั้ งคับ
่ อ
ให ้หน่วยทีเ่ กีย ่ วข ้องดาเนินการ ตามระเบียบกองทัพบก
ว่าด ้วยการจาหน่ายสงิ่ อุปกรณ์ พ.ศ. ๒๕๓๙ และที่
แก ้ไขเพิม ่ เติม จนกว่าจะแล ้วเสร็จ
ทังนี
้ ้ให้ ใช้ วนั ที่ผ้ บู งั คับหน่วยรายงานลงนามในรายงานขออนุมตั ิจาหน่าย
เป็ นหลักในการพิจารณา
บทเฉพาะกาล

ให ้กรมฝ่ ายยุทธบริการและกรมฝ่ ายกิจการพิเศษ


ทีร่ ับผิดชอบในสงิ่ อุปกรณ์ ประกาศรายการสงิ่ อุปกรณ์
ตามข ้อ ๓๔.๓ ซงึ่ ต ้องไม่เกินหนึง่ ปี นับตัง้ แต่วันที่
ระเบียบนีใ้ ชบั้ งคับ
ในระหว่างทีย ่ ังไม่ได ้ประกาศรายการสงิ่ อุปกรณ์
ตามข ้อ ๓๔.๓ ให ้คาสงั่ กองทัพบก(เฉพาะ) ที่ ๑๑๘๘/
๔๓ ลงวันที่ ๑๓ พฤศจิกายน ๒๕๔๓ เรือ ่ ง การกาหนด
รายการสงิ่ อุปกรณ์ทห ี่ น่วยจะต ้องสง่ ซากคืนและไม่ต ้อง
สง่ ซากคืน ยังคงมีผลใชบั้ งคับต่อไปจนกว่าจะมีประกาศ
รายการสงิ่ อุปกรณ์ตามวรรคหนึง่ และให ้หน่วยถือปฏิบต ั ิ
ตามคาสงั่ ดังกล่าวไปพลางก่อน
ขนตอนการจ
ั้ าหน่าย สป.
สายงานสง่ กาลัง แผนผังขัน
้ ตอนการจาหน่าย สป.
เมือ
่ สป.มีสภาพสมควรจาหน่าย
สายงานกาลังพล

หน่วยใช ้ : ให ้รายงานตามสายการบังคับบัญชา หน่วยบังคับบัญชาระดับกอง


พันขึน้ ไป : รายงานตามสาย
กาล ังพลถึง ทบ. (ผ่าน สธน.
หน่วยบังคับบัญชาระดับกองพันขึน
้ ไป : ให ้แต่งตัง้ คณะกรรมการสอบสวนข ้อเท็จจริง ทบ.) เพือ
่ แต่งตัง้
คณะกรรมการสอบข ้อเท็จจริง
ความรับผิดทางละเมิด

คณะกรรมการสอบสวนข ้อเท็จจริง : รายงานผลให ้ผู ้แต่งตัง้ ทราบ

้ ไป : รายงานตามสายการสง่ กาลัง จนถึงผู ้มีอานาจอนุมัตจิ าหน่าย


หน่วยบังคับบัญชาระดับกองพันขึน คณะกรรมการสอบข ้อเท็จจริง
ความรับผิดทางละเมิด :
สอบสวนข ้อเท็จจริง รายงาน
ผู ้มีอานาจอนุมัตจิ าหน่าย : ทบ. และ ทบ. ได ้สงั่ การชดใช/้
๑. พิจารณาอนุมัตจิ าหน่าย และสงั่ การดาเนินการต่อซาก สป. ไม่ต ้องชดใช ้
๒. แจ ้งตามสายการสง่ กาลัง จนถึงหน่วยใช ้
๓. สาเนาให ้ กรมฝ่ ายยุทธบริการ ทราบ
๔. กรณีมกี ารละเมิด ให ้แจ ้งผู ้รับผิดชอบดาเนินการตามที่ ทบ.สงั่ การ

หน่วยใช ้ : ตัดยอด สป.จากบัญช ี กรมฝ่ ายยุทธบริการ : รับทราบและบันทึก ตาบลรวบรวม สป.จาหน่าย : ดาเนินการต่อซาก แล ้ว


คุมของหน่วย และเบิกทดแทน หลักฐานอนุมัตจิ าหน่าย แจ ้งกรมฝ่ ายยุทธบริการทราบภายใน ๓๐ วัน

กรมฝ่ ายยุทธบริการ : รับทราบและตัดยอด สป.


ออกจากบัญชค ี ม
ุ ของ ทบ.
ขนตอนการจ
ั้ าหน่าย สป.

ล ้าสมัย ใชต่้ อไปไม่คุ ้ม


สป.มีสภาพสมควรจาหน่าย
(ระเบียบพัสดุฯ ข ้อ ๑๕๗) ่ มไม่คุ ้มค่า
ชารุด ซอ

หาย (แต่) มีผู ้ชดใช ้

จาหน่ายเป็ นสูญ
(ระเบียบพัสดุฯ ข ้อ ๑๕๙)

กรณีพสั ดุสูญไป กรณีพสั ดุสูญไป กรณียงั มีตวั พัสดุอยู่


โดยไม่มีตวั ผูร้ บั โดยมีตวั ผูร้ บั ผิด แต่ไม่สมควร
ผิด แต่ไม่สามารถชดใช้ จาหน่ายตามระเบียบ
ตามหลักเกณฑ์ความ ข้อ๑๕๗
รับผิดทางแพ่ง
ขนตอนการจ
ั้ าหน่าย สป.

หน่วยเริม
่ รายงาน หน่วยรายงาน
ระเบียบฯ ข้ อ ๑๗.๑ หน่วยขนาดกองร้ อย หรื อ
ระเบียบฯ ข ้อ ๑๘ กองพันหรือ
เทียบเท่า เป็ นหน่วยเริ่ มรายงาน
เทียบเท่าขึน
้ ไป

หน่วยครอบครอง
หน่วยสนับสนุน
ระเบียบฯ ข ้อ ๑๖ , คาอธิบาย ข ้อ ๓
คาอธิบาย ข ้อ ๒
หน่วยสนับสนุนทางการส่งกาลังที่รับผิดชอบ หน่วยระดับกองพันหรือเทียบเท่า
สนับสนุนโดยตรงสิ่งอุปกรณ์ที่จะจาหน่ายให้ แก่ หรือกองร ้อยอิสระขึน ้ ไป ซงึ่ เป็ น
หน่วยใช ้ ทีร่ ับการสนับสนุนสงิ่
หน่วยครอบครอง
อุปกรณ์จากหน่วยสนับสนุนโดยตรง
่ พัน.ร. หรือ ร ้อย.สห.พล. เป็ น
เชน
ต ้น
ขนตอนการจ
ั้ าหน่าย สป.

หน่วยรายงาน
แต่งตัง้ “คณะกรรมการสอบสวนข ้อเท็จจริง”

คณะกรรมการฯ ดาเนินการภายใน ๙๐ วัน

่ ชารุดผิดสภาพ หรือสูญหาย ให ้หน่วย


ถ ้ามีการละเมิด เชน
รายงานดังกล่าว รายงาน ทบ.ผ่านตามสายการบังคับบัญชา
ถึง ทบ.
(เพือ
่ ขอแต่งตัง้ คณะกรรมการสอบข ้อเท็จจริงความรับผิดทาง
ละเมิด)
ขนตอนการจ
ั้ าหน่าย สป.

หน่วยรายงาน

กรณี หน่วยรายงานมิใชห่ น่วยครอบครองทีเ่ บิก สป.มาจาก


หน่วยสง่ กาลังทีใ่ ห ้การสนั บสนุน
่ ยืม, สง่ ซอ
เชน ่ ม, ขนสง่ สป.ให ้หน่วยอืน

ให ้หน่วยรายงาน(ผู ้ยืม) เป็ นหน่วยแต่งตัง้ คณะกรรมการ
สอบข ้อเท็จจริง (ระเบียบฯ ข ้อ ๒๒)
เมือ
่ สอบสวนเสร็จสน ิ้ แล ้ว (รวมทัง้ สอบละเมิด) ให ้สง่
เอกสารให ้หน่วยครอบครองทีเ่ ป็ นผู ้เบิก สป.จากหน่วยสง่
กาลังทีใ่ ห ้การสนับสนุน เพือ ่ ดาเนินการรายงานขออนุมัต ิ
จาหน่ายต่อไป
ขนตอนการจ
ั้ าหน่าย สป.

หน่วยรับรายงาน
ี านาจอนุมัต ิ ให ้สง่ ต่อตามสายการสง่ กาลัง
กรณี ไม่มอ

กรณี มีอานาจอนุมต ั ิ
๑. ให ้ตรวจสอบว่าได ้ดาเนินการเกีย ่ วกับการละเมิดเสร็จสน ิ้ แล ้ว
ใชห ่ รือไม่
๒. ถ ้าใช ่ และ ทบ. สงั่ การชดใช ้ ให ้แจ ้งผู ้ชดใชด้ าเนินการชดใช ้
ตามที่ ทบ. สงั่ การ
๓. สงั่ การปฏิบต ั ติ อ
่ ซาก
๔. สง่ รายงานทีอ ่ นุมต ิ ล ้วกลับตามสายสง่ กาลัง จนถึงหน่วยรายงาน
ั แ
ภายใน ๓๐ วัน
๕. สาเนา ทบ.๔๐๐ – ๐๖๕ ทีอ ่ นุมต ิ ล ้ว ตามสายสง่ กาลัง ให ้กรม
ั แ
ฝ่ ายยุทธบริการ ภายใน ๓๐ วัน
ขนตอนการจ
ั้ าหน่าย สป.

หน่วยรายงาน

่ ทราบผลการอนุมัตจิ าหน่ายแล ้ว ให ้ตัดยอดจากบัญช ี


เมือ
คุมของหน่วย (หน่วยตามสายสง่ กาลัง เชน ่ บชร. ให ้ตัด
ยอดด ้วย เว้ น กรมฝ่ ายยุทธบริการยังไม่ต้องตัดยอด)

ระหว่างขออนุมัตจิ าหน่าย หากจาเป็ นต ้องใช ้ สป.๒ ให ้


เบิกทดแทนไปได ้ โดยใชหลั ้ กฐานทีแ่ สดงว่า สป.๒
ดังกล่าวอยูร่ ะหว่างการจาหน่าย
ขนตอนการจ
ั้ าหน่าย สป.

กรมฝ่ ายยุทธบริการ/กรมฝ่ ายกิจการพิเศษทีร่ ับผิดชอบใน สป.

เมือ
่ ทราบผลการอนุมัตจิ าหน่ายแล ้ว ให ้ตัดยอด สป.จาก
บัญชค ี ม
ุ ของหน่วยใช ้

สาหรับบัญชคี มุ ของกรมฝ่ ายยุทธบริการ ก่อนตัดยอดให ้


พิจารณาดังนี้
๑. กรณี สป.ไม่มซ ี ากเหลืออยู่ หรือได ้ทาลายไปแล ้ว ให ้
ตัดยอดบัญชค ี มุ ได ้
๒. กรณี สป.ยังคงมีซาก เชน ่ สง่ ซากให ้ตาบลรวบรวม
สป.จาหน่าย ให ้บันทึกหลักการอนุมัตจิ าหน่ายในบัญชค ี ม

ของกรมฝ่ ายยุทธบริการ (แต่ยังไม่ตด
ั ยอดจากบัญชค ี ม
ุ )
ขนตอนการจ
ั้ าหน่าย สป.

ตาบลรวบรวม สป.จาหน่าย

ตาบลฯ ทีจ
่ ัดตัง้ โดย มทบ./จทบ. และ บชร. รับ สป./ซาก
สป. ทุกสายยุทธบริการ

ตาบลฯ ทีจ ่ ัดตัง้ โดยกรมฝ่ ายยุทธบริการ/กรมฝ่ ายกิจการ


พิเศษทีร่ ับผิดชอบใน สป. รับเฉพาะ สป./ซาก สป.ใน
ความรับผิดชอบ

ซาก สป.สนิ้ เปลือง ทีก


่ รมฝ่ ายยุทธบริการกาหนดให ้สง่
ซากคืน ก็ให ้ตาบลฯ รับไว ้ดาเนินการด ้วย
ขนตอนการจ
ั้ าหน่าย สป.

ตาบลรวบรวม สป.จาหน่าย

ตาบลฯ ทีจ
่ ัดตัง้ โดย มทบ./จทบ. และ บชร. รับ สป./ซาก
สป. ทุกสายยุทธบริการ

ดาเนินการต่อ สป./ซาก สป. ภายใน ๖ เดือน นับแต่ได ้รับ


หากดาเนินการไม่ทัน ผบ.หน่วยจัดตัง้ ตาบลฯ ขยายได ้อีก
๖ เดือน หากยังไม่แล ้วเสร็จ ให ้รายงาน กบ.ทบ. เพือ่ ขอ
ขยายเวลาดาเนินการ พร ้อมชแ ี้ จงเหตุผลความจาเป็ น และ
ระยะเวลาทีข
่ อขยายด ้วย
ขนตอนการจ
ั้ าหน่าย สป.

ตาบลรวบรวม สป.จาหน่าย

เมือ
่ ดาเนินการต่อ สป./ซาก สป. เรียบร ้อยแล ้ว ให ้รายงาน
กรมฝ่ ายยุทธบริการ/กรมฝ่ ายกิจการพิเศษทีร่ ับผิดชอบใน
สป. ทราบโดยตรง ภายใน ๓๐ วัน
ขนตอนการจ
ั้ าหน่าย สป.

กรมฝ่ ายยุทธบริการ/กรมฝ่ ายกิจการพิเศษทีร่ ับผิดชอบใน สป.

เมือ
่ ตาบลรวบรวม สป.จาหน่าย ได ้ดาเนินการต่อซาก
เรียบร ้อยแล ้ว จึงให ้กรมฝ่ ายยุทธบริการตัดยอดจากบัญช ี
คุมได ้
การสอบละเมิดและการชดใช ้

 พระราชบัญญัตค ิ วามรับผิดทางละเมิดของเจ ้าหน ้าที่


พ.ศ. ๒๕๓๙
 ระเบียบสานั กนายกรัฐมนตรีวา่ ด ้วยหลักเกณฑ์การ
ปฏิบต ั เิ กีย
่ วกับความรับผิดทางละเมิดของเจ ้าหน ้าที่ พ.ศ.
๒๕๓๙
 ข ้อบังคับ กห. ว่าด ้วยการปฏิบต ั เิ มือ ี หาย
่ เกิดความเสย
แก่เงินราชการหรือทรัพย์สน ิ ของทางราชการอัน
เนือ
่ งมาจากการกระทาละเมิดของเจ ้าหน ้าที่ พ.ศ. ๒๕๔๒
 พระราชบัญญัตวิ ธิ ป ี ฏิบต
ั ริ าชการทางปกครอง พ.ศ.
๒๕๓๙
การสอบละเมิดและการชดใช ้

สรุปภาพรวมได ้ดังนี้
การสอบละเมิดและการชดใช ้

๑. เมือ
่ เกิดความเสย ี หายกับหน่วยงานของรัฐ และหัวหน ้าหน่วยงาน
ของรัฐมีเหตุอน ั ควรเชอื่ ว่าเกิดจากการกระทาของเจ ้าหน ้าทีข ่ อง
หน่วยงาน ให ้หัวหน ้าหน่วยงานแต่งตัง้ คณะกรรมการสอบข ้อเท็จจริง
ความรับผิดทางละเมิด มีจานวนไม่เกิน ๕ คนโดยแต่งตัง้ จาก
เจ ้าหน ้าทีข
่ องหน่วยงานของรัฐแห่งนัน ้ หรือหน่วยงานของรัฐอืน ่
ตามทีเ่ ห็นสมควร เพือ ่ พิจารณาเสนอความเห็นเกีย ่ วกับผู ้ต ้องรับผิด
และจานวนค่าสน ิ ไหมทดแทนทีผ ้ ต ้องชดใช ้
่ ู ้นัน

๒. ในกรณีความเสย ี หายไม่ได ้เกิดการจากกระทาของเจ ้าหน ้าทีแ ่ ละ


ไม่แต่งตัง้ คณะกรรมการสอบข ้อเท็จจริงความรับผิดทางละเมิด ต ้อง
รายงานให ้ปลัดกระทรวง รัฐมนตรีทก ี่ ากับดูแลเพือ
่ พิจารณาอีกครัง้
การสอบละเมิดและการชดใช ้

๓. คณะกรรมการสอบข ้อเท็จจริงความรับผิดทางละเมิด จะเป็ นผู ้


ตรวจสอบข ้อเท็จจริงโดยการรวบรวมพยานหลักฐานทัง้ หมด ให ้
โอกาสผู ้เกีย่ วข ้องทุกฝ่ ายมีสท ิ ธิชแ ี้ จงแสดงพยานหลักฐาน แล ้ว
พิจารณาว่าความเสย ี หายเกิดขึน ้ จากการปฏิบต ั ห
ิ น ้าทีห
่ รือไม่ หาก
ความเสย ี หายเกิดจากการปฏิบต ั หิ น ้าที่ ให ้พิจารณาต่อไปว่าเป็ นการ
จงใจหรือประมาทเลินเล่ออย่างร ้ายแรงหรือไม่ หากเป็ นการกระทาที่
จงใจหรือประมาทเลินเล่ออย่างร ้ายแรงก็ต ้องรับผิดตาม
พระราชบัญญัตค ิ วามรับผิดทางละเมิดของเจ ้าหน ้าที่ พ.ศ. ๒๕๓๙
หากพิจารณาแล ้วเห็นว่าเป็ นความประมาทเลินเล่อแต่ไม่ถงึ ขัน ้
ร ้ายแรง เจ ้าหน ้าทีผ ้ ไม่ต ้องรับผิดและไม่ต ้องชดใชค่้ าเสย
่ ู ้นัน ี หาย
ให ้กับหน่วยงานของรัฐแต่อย่างใด
การสอบละเมิดและการชดใช ้

๔. ในกรณีทวี่ น
ิ จ
ิ ฉัยแล ้วเห็นว่า ความเสยี หายไม่ได ้เกิดจากการ
ปฏิบตั ต
ิ ามหน ้าทีก
่ ็ต ้องรับผิดตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
กล่าวคือ รับผิดอย่างลูกหนีร้ ว่ มและต ้องรับผิดเต็มจานวน หักสว่ นที่
เกิดจากความบกพร่องของหน่วยงานของรัฐไม่ได ้
การสอบละเมิดและการชดใช ้

๕. เมือ
่ คณะกรรมการสอบข ้อเท็จจริงความรับผิดทางละเมิดมีมติ
อย่างไรแล ้วให ้เสนอความเห็นต่อผู ้แต่งตัง้ คณะกรรมการฯ ว่ามีผู ้ต ้อง
รับผิดหรือไม่ หากมีผู ้ต ้องรับผิด ต ้องรับผิดจานวนเท่าใดและผู ้
แต่งตัง้ คณะกรรมการฯ เป็ นผู ้วินจ ิ ฉั ยสงั่ การว่ามีผู ้ต ้องรับผิดหรือไม่
หากมีผู ้ต ้องรับผิด ต ้องระบุวา่ ต ้องชดใชค่้ าเสย ี หายจานวนเท่าใด แต่
ยังมิต ้องแจ ้งการสงั่ การให ้ผู ้ทีเ่ กีย
่ วข ้องทราบ แล ้วให ้สง่ สานวนการ
สอบสวนไปยังกระทรวงการคลังเพือ ่ ตรวจสอบ (เว ้นแต่เป็ นเรือ ่ งที่
กระทรวงการคลังประกาศกาหนดว่าไม่ต ้องรายงาน)
การสอบละเมิดและการชดใช ้

สาหรับในสว่ นของ ทบ. การสอบละเมิดเป็ นอานาจของ ผบ.ทบ. ซงึ่


มอบให ้ ผช.ผบ.ทบ.(สายงานกาลังพล) ซงึ่ กบ.ทบ. ได ้สอบถาม
สธน.ทบ. แล ้ว มีแนวทางการดาเนินการดังนี้
การสอบละเมิดและการชดใช ้

๑. เมือ
่ หน่วยรายงาน (หน่วยระดับกองพัน หรือเทียบเท่าขึน
้ ไป) ได ้
แต่งตัง้ คณะกรรมการสอบสวนข ้อเท็จจริงและผลการสอบสวนเห็นว่า
น่าจะมีการละเมิดเกิดขึน
้ โดย สป. มีการชารุดผิดสภาพหรือสูญหาย
แล ้ว

๒. หน่วยจะต ้องรายงานตามสายการบังคับบัญชา (ผ่านฝ่ ายกาลังพล


ของหน่วย) จนถึง นขต.ทบ. และ นขต.ทบ. รายงาน ทบ.(ผ่าน สธน.
ทบ.)

๓. สธน.ทบ. จะตรวจสอบและพิจารณานาเรียน ผบ.ทบ.(ผ่าน กพ.


ทบ.) เพือ
่ ขออนุมต
ั แ
ิ ต่งตัง้ คณะกรรมการสอบข ้อเท็จจริงความรับผิด
ทางละเมิด
การสอบละเมิดและการชดใช ้

๔. เมือ
่ คณะกรรมการสอบข ้อเท็จจริงความรับผิดทางละเมิดสอบสวน
แล ้วพบว่าจะต ้องมีผู ้รับผิดชอบชดใช ้ คณะกรรมการฯ ก็จะสรุปผล
การสอบสวนรายงาน ทบ. (ผ่าน สธน.ทบ.)

่ พิจารณาในสว่ นทีเ่ กีย


๕. สธน.ทบ. จะหารือ สปช.ทบ. เพือ ่ วข ้องกับ
การเงินและงบประมาณ เชน่ การผ่อนชาระ เป็ นต ้น

๖. หากผู ้รับผิดชอบชดใชยิ้ นยอมทีจ ่ ะดาเนินการชดใช ้ สธน.ทบ. ก็


จะเสนอ ทบ. เพือ ่ อนุมต
ั สิ งั่ การ แต่ถ ้าหากไม่ยนิ ยอมชดใชก็้ จะต ้อง
ฟ้ องร ้องทางแพ่งให ้ได ้ข ้อยุตต ิ อ
่ ไป

๗. กรณีคณะกรรมการสอบข ้อเท็จจริงความรับผิดทางละเมิด
สอบสวนแล ้วพบว่าไม่ต ้องมีผู ้รับผิดชอบชดใช ้ คณะกรรมการฯ ก็จะ
สรุปผลการสอบสวนเสนอ ทบ.(ผ่าน สธน.ทบ.) เพือ ่ ให ้ สธน.ทบ.
ดาเนินการต่อไป
การสอบละเมิดและการชดใช ้

๘. เมือ่ ทบ. อนุมตั ใิ ห ้ดาเนินการตามข ้อเสนอของคณะกรรมการสอบ


ข ้อเท็จจริงความรับผิดทางละเมิด ซงึ่ รวมถึงรายละเอียดว่าจะต ้อง
ชดใชหรื ้ อไม่อย่างไรแล ้ว สธน.ทบ. จะแจ ้งผลการพิจารณาให ้กับ
นขต.ทบ. ซงึ่ เป็ นหน่วยต ้นสงั กัดของหน่วยรายงานทราบ

่ นขต.ทบ. ซงึ่ เป็ นหน่วยต ้นสงั กัดของหน่วยรายงาน ได ้รับ


๙. เมือ
ทราบผลการสอบสวนฯ และการสงั่ การเกีย ้ อไม่
่ วกับการชดใชหรื
ดังกล่าวแล ้ว ให ้แจ ้งให ้หน่วยรายงานทราบ และให ้หน่วยรายงาน
ดาเนินการขออนุมต ั จ ิ าหน่ายตามระเบียบฯ ต่อไป
การสอบละเมิดและการชดใช ้

้ นเงิน สปช.ทบ. จะเป็ นหน่วยรับผิดชอบในการ


สาหรับการชดใชเป็
หารือกระทรวงการคลัง ดังนัน ั สามารถสอบถาม สปช.
้ หากมีข ้อสงสย
ทบ.
ข้อเน้นยา้

่ ะต ้องสง่ ซาก/
กรมฝ่ ายยุทธบริการ : กาหนดรายการ สป.ทีจ
ไม่ต ้องสง่ ซาก

หน่วยทีจ่ ัดตัง้ ตาบลรวบรวม สป.จาหน่าย : ออกระเบียบฯ


โดยดูตวั อย่างจากระเบียบฯ ของ พธ.ทบ.

ปัญหา - ข้อสงสย

You might also like