You are on page 1of 54

กฎหมายทร พ

ั ยส ิ
์ น
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ลาวัณย์ ถนัดศิลปกุล
ประเด็ น

 ความหมายและล ักษณะของ

สงหาริ ั
มทร ัพย์และอสงหาริ
มทร ัพย์
 ล ักษณะและความสำค ัญของสว
่ นควบ
 ล ักษณะและความสำค ัญของเครือ
่ ง
อุปกรณ์ และดอกผล
 การได้มาซงึ่ ทร ัพยสท
ิ ธิโดยทางนิตก
ิ รรม
และโดยทางอืน ่ นอกจากนิตก ิ รรม
 ี สดงออกซงึ่ การทรงทร ัพยสท
วิธแ ิ ธิ
ประเด็ น

 ้ ท
การใชส ิ ธิของผูม
้ ก ิ ธิใ์ นทร ัพย์สน
ี รรมสท ิ
 ั ษฐานอ ันเป็นประโยชน์รว่ มก ันของ
ข้อสนนิ
เจ้าของทีด
่ น
ิ ติดก ัน
 ทางจำเป็นและภารจำยอมโดยกฎหมายที่
เจ้าของทีด
่ น
ิ ต้องร ับโดยสภาพ
 ิ ธิครอบครอง องค์ประกอบ
ผลของการมีสท
และผลของการครอบครองปรปักษ์
ความหมายของทร พ ั ยแ
์ ละ
ทร พ
ั ยส ิ
์ น

 ทร ัพย์ มาตรา
137
หมายความว่า ว ัตถุม ี
รูปร่าง

 ทร ัพย์สน มาตรา 138
หมายความรวมทงั้
ทร ัพย์และว ัตถุไม่มรี ป

ร่าง ซงึ่ อาจมีราคาและ
ประเภทของทร พ
ั ย์
 ั
อสงหาริ มทร ัพย์ มาตรา 139 ทีด ่ นิ และทร ัพย์อ ันติดก ับทีด่ น

มีล ักษณะถาวร ประกอบเป็นอ ันหนึง่ อ ันเดียวก ับทีด ่ น
ิ รวม
ทงทร
ั้ ิ ธิอ ันเกีย
ัพยสท ่ วก ับทีด
่ น
ิ และทร ัพย์อ ันติดก ับทีด ่ น

หรือประกอบเป็นอ ันเดียวก ับทีด ่ นิ
 ั
สงหาริ
มทร ัพย์ มาตรา 140 ทร ัพย์ทน ี่ อกเหนือจาก

อสงหาริ ิ ธิอ ันเกีย
มทร ัพย์ รวมถึงสท ิ นนด้
่ วก ับทร ัพย์สน ั้ วย
 ทร ัพย์แบ่งได้ มาตรา 141 ทร ัพย์อ ันอาจแยกออกจากก ัน
่ นๆ แต่ละสว
เป็นสว ่ นมีรป
ู บริบร
ู ณ์ลำพ ังต ัว
 ทร ัพย์แบ่งไม่ได้ มาตรา 142 ทร ัพย์อ ันจะแยกออกจากก ัน
ไม่ได้ นอกจากเปลีย ่ นแปลงภาวะของทร ัพย์ รวมทงที
ั้ ่
กฎหมายบ ัญญ ัติวา ่ แบ่งไม่ได้ดว้ ย
 ทร ัพย์นอกพาณิชย์ มาตรา 143 ทร ัพย์ทไี่ ม่สามารถถือเอา
ได้และทร ัพย์ทโี่ อนแก่ก ันไม่ได้โดยชอบด้วยกฎหมาย
ประเภทของทร พ
ั ย์


 อสงกมะทร ัพย์

 สงกมทร ัพย์
 โภคยทร ัพย์

ส งหาร ม
ิ ทร ัพย ์

 สงหาริ
มทร ัพย์พเิ ศษ
มาตรา 1302 เรือมีระวาง 5
ั พาหนะ
ต ัน แพ สตว์
 ให้นำมาตรา 1299, 1300,
้ ังค ับด้วย
1301 มาใชบ
ส งั หาร ม
ิ ทร พ
ั ย์

 ทรัพย์ ซึ่งเคลือ่ นทีไ่ ด้ โดยไม่ เสี ยรูป


 รวมทั้งกำลังแรงแห่ งธรรมชาติทถี่ อื เอาได้ และมีราคา
 อันอาจถือเอาได้
 และอาจมีราคาได้
 รวมทั้งสิ ทธิท้งั หลายอันเกีย่ วกับสั งหาริมทรัพย์ ด้วย
 ไม้ ล้มลุกและธัญพืชอันเก็บรวงได้ คราวหนึ่ง หรือหลาย
คราวต่ อปี ม. 108
อส งั หาร ม
ิ ทร พ
ั ย์

 ทีด
่ น

 ทร ัพย์อ ันติดอยูก
่ ับทีด
่ น

 หรือประกอบเป็นอ ันเดียวก ับทีด
่ น

ิ ธิอ ันเกีย
 รวมถึงสท ิ ธิ์
่ วก ับกรรมสท
ในทีด
่ นิ ด้วย กรรมสท ิ ธิ สท ั
ิ ธิอาศย
ิ ธิเก็บกิน สท
สท ิ ธิจำนอง ภาร
จำยอม
ส ่ว นควบ
 สว่ นควบ มาตรา 144 หมายความว่า สว่ นซงึ่
 โดยสภาพแห่งทร ัพย์ หรือ
 โดยจารีตประเพณีแห่งท้องถิน
่ เป็น
 สาระสำค ัญในความเป็นอยูข
่ องทร ัพย์นน
ั้
และ
 ไม่อาจแยกจากก ันได้นอกจาก
 ทำลาย ทำให้บบ ุ สลาย หรือ ทำให้ทร ัพย์นน
ั้
เปลีย
่ นแปลงรูปทรงหรือสภาพไป
ส ่ว นควบ
 มาตรา 145 ไม้ยนื ต้นเป็นสว่ นควบก ับทีด
่ น

ทีไ่ ม้นนอยู
ั้ ่
 แต่ไม่ลม้ ลุกหรือธีญชาติอ ันจะเก็บเกีย
่ ง
รวงผลได้คราวหนึง่ หรือหลายคราวต่อปี
ไม่เป็นสว่ นควบก ับทีด
่ น

 มาตตรา 146 ทร ัพย์ซงึ่ ติดก ับทีด ่ น
ิ หรือ
ติดก ับโรงเรือนชว่ ั คราว ไม่ถอ ื ว่าเป็นสว่ น
ควบก ับทีด่ น
ิ หรือโรงเรือนนน ั้ รวมทงใช ั้ ้
ส ่ว นควบ
 ่ ก ัน
เป็นทร ัพย์ชนิดหนึง่ เชน
 ั
อาจเป็นสงหาริ ั
มทร ัพย์ หรือ อสงหาริ
มทร ัพย์
ก็ได้
 มีล ักษณะทีไ่ ม่อาจจะแยกออกจากก ันได้โดย
ปกติมท ี ร ัพย์สองสว่ น
 สภาพแห่งทร ัพย์
 จารีตประเพณีแห่งท้องถิน
่ ในการพิจารณาว่า
เป็นสว่ นควบหรือไม่
 ผูใ้ ดเป็นเจ้าของทร ัพย์ซงึ่ มีสว่ นควบย่อมเป็น
ความส ำ ค ญ
ั และข อ

ยกเว น ้
 ใครเป็ นเจ้ าของทรัพย์ อนั ใดทีม่ สี ่ วนควบย่ อมมีกรรมสิ ทธิ์ในบรรดา
ส่ วนควบทั้งหลายของทรัพย์ น้ัน ส่ วนควบของอสั งหาริมทรัพย์
ย่ อมเป็ นอสั งหาริมทรัพย์ ไปด้ วยตามความหมายของมาตรา 139
 ยกเว้ นแต่ กฎหมายจะกำหนดไว้ เป็ นอย่ างอืน่ ข้ อยกเว้ น
 มาตรา 1310 บุคคลใดสร้ างโรงเรือนในทีด่ นิ ของผู้อนื่ โดยสุ จริต
เจ้ าของทีด่ นิ เป็ นเจ้ าของโรงเรือนแต่ ต้องใช้ ค่าแห่ งทีด่ นิ ทีเ่ พิม่ ขึน้
หรือ หากเจ้ าของทีด่ นิ ไม่ ได้ ประมาทจะบอกปัดไม่ รับโรงเรือนและ
เรียกให้ ผู้สร้ างรื้อถอนไปและทำทีด่ นิ ให้ เป็ นไปตามเดิม หากมีค่าใช้
จ่ ายมากเกินไปให้ ผู้สร้ างโรงเรือนซื้อทีด่ นิ ทั้งหมดหรือบางส่ วน
ตามราคาตลาดได้
ขอ
้ ยกเว น ่ งส ่ว นควบ
้ เร ือ
 มาตรา 1311 ผู้ใดสร้ างโรงเรือนเข้ าไปในทีด่ นิ ผู้อนื่ โดยไม่ สุจริต ต้ องทำทีด่ นิ ให้ เป็ น
ไปตามเดิมแล้ วส่ งคืนเจ้ าของ
 เว้ นแต่ เจ้ าของจะเลือกให้ ส่งคืนตามทีเ่ ป็ นอยู่ แล้ วใช้ ราคาโรงเรือน หรือใช้ ค่าทีด่ นิ ที่
เพิม่ ขึน้
 มาตรา 1312 ว 1 ผู้ใดสร้ างโรงเรือนรุกล้ำเข้ าไปในทีด่ นิ ของผู้อนื่ โดยสุ จริต บุคคล
นั้นเป็ นเจ้ าของโรงเรือนทีส่ ร้ างแต่ ต้องใช้ ราคาให้ แก่ เจ้ าของทีด่ นิ และจดทะเบียน
สิ ทธิภารจำยอมจนกว่ าโรงเรือนสลายไป เจ้ าของทีด่ นิ จะเรียกให้ เพิกถอนทะเบียน
ได้
 มาตรา 1312 ว 2 ผู้ใดสร้ างโรงเรือนรุกล้ำทีด่ นิ ของผู้อนื่ โดยไม่ สุจริต ผู้สร้ างโรง
เรือนต้ องรื้อถอนโรงเรือนและทำทีด่ นิ ให้ เป็ นไปตามเดิมโดยผู้สร้ างเป็ นผู้ออกค่ าใช้
จ่ าย
ขอ
้ ยกเว น ่ งส ่ว นควบ
้ เร ือ
 มาตรา 1314 ให้ใช ้ มาตรา 1310, 1311, 1313 ใชบ
้ ังค ับก ับ
การก่อสร้างใดๆ ซงึ่ ติดทีด
่ น
ิ และ การเพาะปลูกต้นไม้
หรือ ธ ัญชาติโดยอนุโลม
 แต่ขา้ ว หรือ ธ ัญชาติอย่างอืน ่ อ ันจะเก็บเกีย ่ วรวงผลได้
ในคราวหนึง่ หรือหลายคราวต่อปี เจ้าของทีด ่ น
ิ ต้องยอม
ให้บค
ุ คลผูก ้ ระทำการโดยสุจริต หรือผูเ้ ป็นเจ้าของทีด ่ น

โดยมีเงือ่ นไขซงึ่ ได้เพาะปลูกลงไว้นน ั้ คงครองทีด ่ น

จนกว่าจะเสร็จการเก็บเกีย ่ วโดยใชเ้ งินคำนวณตาม
เกณฑ์คา่ เชา ่ ทีด
่ น
ิ นน
ั้ หรือ เจ้าของทีด ่ น
ิ จะเข้าครอบ
ครองในท ันทีโดยใชค ้ า่ ทดแทนให้แก่อก ี ฝ่ายหนึง่ ก็ได้
 มาตรา 1315 บุคคลใดสร้ างโรงเรือน หรือทำการก่อสร้ างอย่ างอืน่ ซึ่งติดทีด่ นิ
หรือ เพาะปลูกต้ นไม้ หรือ ธัญญชาติในทีด่ นิ ของตนด้ วยสั มภาระของผู้อนื่
บุคคลนั้นเป็ นเจ้ าของสั มภาระ แต่ ต้องใช้ ค่าสั มภาระ
ขอ
้ ยกเว น ่ งส ่ว น
้ เร ือ
ควบ
 ั
มาตรา 1316 เอาสงหาริ มทร ัพย์ของบุคคลหลายๆ
คนมารวมก ันเข้าก ันจนแบ่งแยกไม่ได้ บุคคลเหล่า
นนเป
ั้ ็ นเจ้าของรวมแห่งทร ัพย์นน ่ น
ั้ แต่ละคนมีสว
ตามราคาแห่งทร ัพย์ของตนในเวลาทีร่ วมเข้าก ับ
ทร ัพย์อน
ื่
 ถ้าทร ัพย์อ ันหนึง่ อาจเป็นทร ัพย์ประธานได้
เจ้าของทร ัพย์นนเป ั้ ็ นเจ้าของทร ัพย์ทรี่ วมเข้าก ัน
้ งงใชร้ าคาแห่งทร ัพย์อน
แต่ผเู ้ ดียว แต่ตอ ื่ ๆ (ทีม
่ า
รวมเข้าก ันนน) ั้
 มาตรา 1317 บุคคลใดใชส ้ มภาระของบุ
ั คคลอืน่ ทำ
สงิ่ ใดขึน ั
้ ใหม่ เจ้าของสมภาระเป ็ นเจ้าของสงิ่ นนั้
โดยมิตอ ั
้ งคำนึงว่าสมภาระน นจะกล
ั้ ับคืนตามเดิม
เคร อ
ื ่ งอุป กรณ์
 มาตรา 147 เครือ่ งอุปกรณ์ หมายความว่า

สงหาริมทร ัพย์ ซงึ่ โดยปกตินย ิ มเฉพาะถิน ่ หรือ

โดยเจตนาชดแจ้ งของเจ้าของทร ัพย์ทเี่ ป็น
ประธาน เป็นของใชป ้ ระจำอยูก ่ ับทร ัพย์ทเี่ ป็น
ประธานเป็นอาจิณเพือ ่ ประโยชน์แก่การจ ัด
้ อย หรือร ักษาทร ัพย์ทเี่ ป็นประธาน
ดูแล ใชส
และเจ้าของทร ัพย์ได้นำมาสูท ่ ร ัพย์ทเี่ ป็น
ประธานโดยการนำมาติดต่อ หรือ ปร ับเข้าไว้
หรือทำโดยประการอืน ่ ใดในฐานะเป็นของใช ้
ประกอบก ับทร ัพย์ทเี่ ป็นประธานนน ั้
 อุปกรณ์ทแ
ี่ ยกออกจากทร ัพย์ทเี่ ป็นประธาน
เคร ือ
่ งอุ ป กรณ์

 เครือ
่ งอุปกรณ์ หากเป็น
ประเภทอสงหาริั มทร ัพย์
จะเป็นเครือ่ งอุปกรณ์
ึ้ อยูก
หรือไม่ขน ่ ับเจตนา
ของเจ้าของทร ัพย์ หรือ
ประเพณีแห่งท้องถิน ่
เคร ือ
่ งอุ ป กรณ์

 จะต้องมีทร ัพย์ประธานจะเป็น

อสงหาริ ั
มทร ัพย์ หรือ สงหาริ
มทร ัพย์ก็ได้
 ต ัวเครือ ่ งอุปกรณ์ตอ ั
้ งเป็นสงหาริ มทร ัพย์
เท่านน ั้ และสามารถแยกออกจากต ัวทร ัพย์
ประธานได้โดยปกติโดยไม่ทำให้ทร ัพย์
ประธานเสน ี หายหรือบุบสลายหรือ
เปลีย่ นแปลงรูปทรง และ เครือ ่ งอุปกรณ์จะ
ต้องเป็นเจ้าของเดียวก ันก ับทร ัพย์ประธาน
 จะต้องเป็นของใชป ้ ระจำอยูก ่ ับต ัวทร ัพย์
ประธานเป็นอาจิณ มิใชช ่ ว่ ั ครงชั้ ว่ ั คราว
และใชเ้ พือ
่ จ ัดดูแล ใชส ้ อย หรือร ักษา
ทร ัพย์ประธาน ทงนี ั้ โ้ ดยพิจารณาจากปกติ
เคร ือ
่ งอุ ป กรณ์

 การใชเ้ ครือ ่ งอุปกรณ์ตามปกติเป็นประจำ


นนเกิ
ั้ ดจากเจ้าของทร ัพย์ประธานนำมา
ติดต่อหรือปร ับเข้าไว้ หรือทำโดยประการ
อืน
่ ในฐานะเป็นเครือ ้ ระกอบประกอบ
่ งใชป
ก ับต ัวทร ัพย์ประธาน
 แม้แยกจากต ัวทร ัพย์เครือ ่ งอุปกรณ์ออก
จากทร ัพย์ประธานชว่ ั คราวก็ไม่ทำให้
ทร ัพย์นนขาดจากการเป
ั้ ็ นเครือ่ งอุปกรณ์
ของทร ัพย์ประธาน
 เมือ
่ เป็นเครือ่ งอุปกรณ์แล้วใครเป็นเป็น
เจ้าของทร ัพย์ประธานก็ยอ ่ มได้กรรมสทิ ธิ์
ในเครือ ่ งอุปกรณ์ดว้ ย เว้นแต่จะตกลงก ัน
ดอกผล
 มาตรา 148 ดอกผลของทร ัพย์ ได้แก่ดอกผล
ธรรมดา และ ดอกผลนิตน
ิ ัย
 ดอกผลธรรมดา หมายความว่า สงิ่ ทีเ่ กิดขึน

ตามธรรมชาติของทร ัพย์ซงึ่ ได้มาจากต ัวทร ัพย์
้ ร ัพย์นนตามปกติ
โดยการมี หรือ การใชท ั้ นย ิ ม
และ สามารถถือเอาได้เมือ
่ ขาดจากทร ัพย์นน ั้
 ดอกผลนิตน ิ ัย หมายความว่า ทร ัพย์ หรือ
ประโยชน์อย่างอืน ่ ทีไ่ ด้มาเป็นครงคราวแก่
ั้
เจ้าของทร ัพย์จากผูอ ้ น
ื่ เพือ ้ ร ัพย์
่ การทีไ่ ด้ใชท
นน ั้ และ สามารถคำนวฯและถือเอาได้เป็นราย
ว ัน หรือ ตามระยะเวลาทีก ่ ำหนด
ดอกผล

 ดอกผลมีสองชนิด

 ดอกผลธรรมดา

 ดอกผลนิตน
ิ ัย
 ดอกผลตกได้แก่เจ้าของ
ทร ัพย์
ดอกผล
 ั
ดอกผลเป็นสงหาริ มทร ัพย์สองชนิดคือ ดอกผลธรรมดา
และ ดอกผลนิตน
ิ ัย
 ดอกผลธรรมดา ได้แก่สงิ่ ทงปวงซ
ั้ งึ่ ได้มาเพราะใชข ้ อง
นนอ ้ โดยธรรมชาติของม ันโดยไม่ทำให้แม่
ั้ ันเกิดขึน
ทร ัพย์เปลีย
่ นสภาพไปจากเดิม และไม่ได้เกิดจากการก
ระทำของมนุษย์ จะเป็นดอกผลได้ก็ตอ ่ เมือ
่ ขาดหรือตก
จากแม่ทร ัพย์แล้วโดยการใชแ ้ ม่ทร ัพย์ตามปกติธรรมดา
 ดอกผลนิตน ิ ัยเป็นสงิ่ ทีผ
่ เู ้ ป็นเจ้าของแม่ทร ัพย์ได้จาก
การยอมให้บค ุ คลอืน
่ ใชแ ้ ม่ทร ัพย์และเป็นสงิ่ ทีก่ ฎหมาย
ร ับรองให้เป็นดอกผลซงึ่ จะต้องเป็นทร ัพย์ และได้มาเป็น
ครงคราว
ั้ โดยดิคดำนวนได้ตามรายว ัน ไม่ใชไ ่ ด้มาครงั้
คราวเดียว เชน ่ ราคาซอ ื้ ขาย ราคาจ้าง เป็นต้น
แดนกรรมส ทิ ธ ิแ
์ ละการ
้ รรมส ท
ใช ก ิ ธ ิ์
 มาตรา 1335 แดนกรรมสท ิ ธิแ ิ ธิก
์ ห่งกรรมสท ์ น
ิ ทงั้
้ ดินและใต้พน
เหนือพ้นพืน ื้ ดินด้วย
 มาตรา 1336 การใชก ้ รรมสท ิ ธิ์ เจ้าของมีสท
ิ ธิใชส ้ อย
และจำหน่ายทร ัพย์สน ิ ของตนและได้ซงึ่ ดอกผลแห่ง
ิ ก ับทงมี
ทร ัพย์สน ิ ธิตด
ั้ สท ิ ตามและเอาคืนซงึ่ ทร ัพย์สน ิ
ของตนจากบุคคลผูไ้ ม่มส ี ทิ ธิจะยึดถือไว้และมีสท ิ ธิข ัด
ขวางมิให้ผอ ู้ น
ื่ สอดเข้าเกีย ่ วข้องก ับทร ัพย์สน ิ นนโดย
ั้
มิชอบด้วยกฎหมาย
 มาตรา 1360 เจ้าของรวมคนหนึง่ ๆมีสท ิ ธิใชท้ ร ัพย์สน

้ นต้
ได้ แต่การใชน ิ ธิแห่งเจ้าของรวม
ั้ องไม่ข ัดต่อสท
คนอืน่ ๆ
้ รรมส ท
การใช ก ิ ธ ิ์
 มาตรา 666 เมือ ิ ซงึ่ ฝากนน
่ คืนทร ัพย์ ถ้ามีดอกผลเกิดแต่ทร ัพย์สน ั้
เท่าใด ผรั้ ับฝากจำต้องสง ่ มอบทร ัพย์สน
ิ นนด้
ั้ วย
 มาตรา 810 เงินและทร ัพย์สน ิ อย่างอืน่ บรรดาทีต ่ ัวแทนได้ร ับไว้
เกีย่ วด้วยการเป็นต ัวแทนนน ั้ ท่านว่าต ัวแทนต้องสง ่ มอบให้แก่
ต ัวการจงสน ิ้ อนึง่ สท
ิ ธิทงหลายที
ั้ ต
่ ัวแทนขวนขวายได้มาในนาม
ตนเองแต่โดยฐานทีท ่ ำการแทนต ัวการนน ั้ ต ัวแทนก็ตอ ้ งโอนให้แก่
ต ัวการจงสน ิ้
 มาตรา 415 บุคคลผูไ้ ด้ร ับทร ัพย์สน ิ ไว้โดยสุจริตย่อมจะได้ดอกผล
อ ันเกิดแต่ทร ัพย์สนิ นนตลอดเวลาที
ั้ ย
่ ังคงสุจริตอยู่ ถ้าผูท
้ ไี่ ด้ร ับไว้
จะต้องคืนทร ัพย์สน ิ นนเมื
ั้ อ
่ ใด ให้ถอื ว่าผูน
้ นตกอยู
ั้ ใ่ นฐานะทุจริต
จำเดิมแต่เวลาทีเ่ รียกคืนนน ั้
 มาตรา 1376 ถ้าจะต้องสง ่ ทร ัพย์สน
ิ คืนแก่บค
ุ คลผูม
้ ส ิ ธิเอาคืน ให้
ี ท
นำ มาตรา 412 – 418 เกีย
่ วก ับลาภมิควรได้มาใชด ้ ว้ ย,
้ รรมส ท
การใช ก ิ ธ ิ์
 มาตรา 537 เชา ่ ทร ัพย์สน ิ นน ั
ั้ คือ สญญาซ งึ่ บุคคล
คนหนึง่ เรียกว่าผูใ้ ห้เชา ่ ตกลงให้บค ุ คลอีกคนหนึง่
เรียกว่าผูใ้ ห้เชา่ ได้ใช ้ หรือได้ร ับประโยชน์ใน
ทร ัพย์สนิ อย่างใดอย่างหนึง่ ชว่ ั ระยะเวลาอ ันจำก ัด
และผูเ้ ชา่ ตกลงจะให้คา่ เชา ่ เพือ่ การนน ั้
 มาตรา 271, 272 บุรม ิ ธิ
ิ สท
 มาตรา 721 จำนองไม่ครอบไปถึงดอกผลแห่ง
ิ ซงึ่ จำนองเว้นแต่ในเมือ
ทร ัพย์สน ่ ผูร้ ับจำนองได้
บอกกล่าวแก่ผจ ู ้ ำนองหรือผูร้ ับโอนแล้วว่าตน
จำนองจะบ ังค ับจำนอง
 มาตรา 761 ถ้ามิได้กำหนดไว้เป็นอย่างอืน
่ ใน

สญญา หากมีดอกผลนิตน ิ ัยงอกจากทร ัพย์สนิ นน
ั้
ทร พ ิ ธ ิ และ บุ ค คลส ท
ั ยส ท ิ ธิ

ิ ธิ สท
 ทร ัพยสท ิ ธิเหนือทร ัพย์ โดยผล
ของกฎหมาย 1298 ทร ัพยสท ิ ธิกอ
่ ตงั้
ขึน ั
้ ได้แต่ดว้ ยอาศยอำนาจแห่งปพพ
หรือ กฎหมายอืน ่
 370, 722, 1417,

ิ ธิ ยกเว้น 1329- 1332


 1336 แดนกรรมสท

ิ ธิ สท
 บุคคลสท ิ ธิเหนือบุคคล สท
ิ ธิเรียก
ความแตกต่า งระหว่า งทร พ ั ย
ิ ธแ
สท ิ ธิ
ิ ละบุ ค คลส ท

ิ ธิ
ทร ัพยสท ิ ธิ
บุคคลสท
ิ ธิเป็น
ว ัตถุแห่งสท ิ ธิ
ว ัตถุแห่งสท

ทร ัพย์สน เป็นการกระทำ งด
เว้นกระทำการ สง ่
้ โดยผล
เกิดขึน มอบทร ัพย์ หรือ
ของกฎหมาย สทิ ธิเรียกร้อง

อ้างได้ก ับคน ้ โดยผลของ


เกิดขึน

ทว่ ั ไป นิตก
ิ รรม นิตเิ หตุ
อ้างได้เฉพาะ
ล ักษณะคงทน
บุคคลนน
ั้
บ่อ เก ด
ิ และประเภท
ของทร พ ั ยส ิ
์ น
ิ ธิ
 บ่อเกิดของทร ัพยสท
โดยผลของกฎหมาย
เท่านน
ั้
้ ต่อเมือ
 เกิดขึน ่ มีต ัว
ิ เท่านน
ทร ัพย์สน ั้
ิ ธิ
 ประเภท กรรมสท
ิ ธิ
และ ทร ัพยสท
ประเภทของทร พ ิ ธิ
ั ยส ท
กรรมสทิ ธิและ ทร ัพยสทิ ธิทม
ี่ าต ัดรอน
บริวารสทิ ธิ ิ ธิกรรมสท
สท ิ ธิ์
ิ ธิผร
 สท ู ้ ับจำนอง

ิ ธิ์
กรรมสท ิ ธิผร
 สท ู ้ ับจำนำ

ิ ธิยด
 สท ึ หน่วง
ิ ธิครอบ
สท  บุรม ิ ธิ
ิ สท

ครอง ิ ธิอน
 ทร ัพยสท ื่ ๆ


ิ ธิอาศย
 ภารจำยอม สท

ิ ธิเก็บกิน สท
 สท ิ ธิเหนือ
้ ดิน
พืน
 ภารติดพ ันใน

อสงหาริ
มทร ัพย์
การแสดงออกซ ึง ่ การทรง
ทร พ ิ ธิ
ั ยส ท
ล ักษณะทว
่ ั ไป
ิ ธิเป็นสท
ทร ัพยสท ิ ธิ
เด็ดขาด
การทรงทร ัพยสท ิ ธิ

ในสงหาริ มทร ัพย์
หล ก
ั เกณฑ เ์ ก ี ย
่ วก บ
ั การได ้
มาซ ึ ง
่ ทร พ ิ ธิ
ั ยส ท

 การได้มาซงึ่ ทร ัพยสท
ิ ธิโดยทางนิตก ิ รรม
จะสมบูรณ์เพียงใดขึน ้ อยูก
่ ับประเภททร ัพย์
และประเภทนิตก ิ รรม
 การได้มาซงึ่ ทร ัพยสทิ ธิโดยทางอืน ่
นอกจากนิตก ิ รรมจะสมบูรณ์เพียงใด
้ อยูก
ขึน ่ ับประเภททร ัพย์ทไี่ ด้มาและ
เงือ
่ นไขของกฎหมาย
 การได้มาซงึ่ ทร ัพยสท
ิ ธิจะต้อง
แสดงออกซงึ่ การเป็นทร ัพยสท ิ ธิโดย
หล ก
ั เกณฑ เ์ ก ีย่ วก บ
ั การ
ได ม้ าซ ึ ง
่ ทร พ ิ ธิ
ั ยส ท

 วิธกี ารได้มาซงึ่ ทร ัพยสท


ิ ธิอาจเป็นสงิ่
กำหนดวิธก ี ารแสดงออกซงึ่ การทรงทร ัพย
สทิ ธิได้
 หล ักผูร้ ับโอนไม่มส ิ ธิดก
ี ท ี ว่าผูโ้ อนเป็นหล ัก
กฎหมายทว่ ั ไปทีใ่ ชแ ้ ก่กรณีการตดทอด
กรรมสท ิ ธิในทร ัพย์สน ิ ซงึ่ ต้องมีการผ่อน
คลายหล ักการนี้ เพือ ่ ให้ความเป็นธรรมแก่
ผูส
้ จ
ุ ริต
 ี ารแสดงออกซงึ่ การทรงทร ัพยสท
วิธก ิ ธิท ี่
กฎหมายกำหนดไว้แตกต่างก ันตาม
ประเภททร ัพย์และประเภทการได้ทร ัพย์มา
้ าซ ึ ง
การได ม ่ ทร พ ิ ธ โิ ดย
ั ยส ท
ทางน ต ิ ก
ิ รรม

 สั งหาริมทรัพย์
 นิตกิ รรมทีท่ ำให้ ได้ มาซึ่งสั งหาริมทรัพย์ อาจจะมี
แบบหรือไม่ มแี บบก็ได้ ซึ่งขึน้ อยู่กบั ประเภทของ
สั งหาริมทรัพย์ และประเภทของนิตกิ รรม การไม่ ทำ
ตามแบบของนิตกิ รรมตามทีก่ ฎหมายกำหนดย่ อม
ทำให้ นิตกิ รรมนั้นเป็ นโมฆะและจะต้ องแยกออก
ระหว่ างแบบของนิตกิ รรม กับการแสดงออกซึ่งการ
ทรงทรัพยสิ ทธิตามมาตรา 1299 วรรคแรก
้ าซ ึ ง
การได ม ่ ทร พ ิ ธ โิ ดย
ั ยส ท
ทางน ต ิ ก
ิ รรม

 อสั งหาริมทรัพย์
 นิตกิ รรมทีท่ ำให้ ได้ มาซึ่งอสั งหาริมทรัพย์ มักจะมีแบบเสมอ
หากไม่ ทำตามแบบ นิตกิ รรมการได้ มาซึ่งอสั งหาริมทรัพย์
ย่ อมเป็ นโมฆะ ส่ วนในกรณีทกี่ ฎหมายมิได้ กำหนดแบบของ
นิตกิ รรมไว้ การได้ มานั้นจะสมบูรณ์ เป็ นทรัพยสิ ทธิได้ กต็ ่ อ
เมือ่ ได้ มกี ารแสดงออกซึ่งการได้ มาโดยทางทะเบียนแล้ ว และ
นิตกิ รรมนั้นได้ ทำเป็ นหนังสื อแล้ ว ทั้งนีต้ ามบทบัญยัตขิ อง
มาตรา 1299 วรรคแรก
้ าซ ึ ง
การได ม ่ ทร พ ั ยส ท ิ ธ โิ ดย
ทางอ ื น ่ ใิ ช ่ น ต
่ ท ีม ิ ก
ิ รรม
 ได้แก่การได้มาซงึ่ ทร ัพยสท
ิ ธิโดยล ักษณะต่างๆ เชน

การได้มาโดยสภาพของทร ัพย์สน ิ โดยการครอบ
ครอง โดยทางมรดก และอาจจะโดยอำนาจกฎหมาย
ซงึ่ มีรายละเอียดแตกต่างก ันไป
 การได้มาซงึ่ ทร ัพยสท ิ ธิโดยทางอืน ่ นอกจากนิตก ิ รรม
นน ั้ ถ้าเกีย ั
่ วก ับอสงหาริ ั
มทร ัพย์ หรือ สงหาริ มทร ัพย์
บางประเภทก็จะต้องจดทะเบียนสท ิ ธิทไี่ ด้มา ไม่เชน่
น ันผูไ้ ด้มาอาจเสย ี สทิ ธิบางประการตามมาตรา 1299
วรรคสอง
 การได้มาซงึ่ ทร ัพยสท ิ ธิโดยทางอืน่ นอกจากนิตก ิ รรม
ในกรณีถา้ เกีย ั
่ วก ับสงหาริ มทร ัพย์อน
ื่ การได้มานนจะ
ั้
่ ผูไ้ ด้มาแสดงออกซงึ่ การได้มา โดยการ
สมบูรณ์เมือ
ครอบครอง
วธ ี สดงออกซ ึง
ิ แ ่ การ
ทรงทร พ ิ ธิ
ั ยส ท
 ั
สงหาริ
มทร ัพย์
 แสดงออกโดยการครอบครอง
 ั
สงหาริ มทร ัพย์บางประเภทต้องแสดงออกซงึ่ การทรง
ทร ัพยสท ิ ธิโดยทางทะเบียน เชน ั
่ สงหาริ มทร ัพย์ตาม
มาตรา 1302 และตามกฎหมายอืน ่ เชน่ เครือ
่ งจ ักร และต้อง
ขึน ้ อยูก
่ ับประเภทของการได้มาด้วย ถ้าได้มาโดยทาง
นิตก ิ รรมก็ตอ ้ งแสดงออกทางทะเบียน ถ้าได้มาโดยทางอืน ่
ปกติไม่ตอ ้ งแสดงออกทางทะเบียนแต่อาจจะเส ย ี สท
ิ ธิ ตาม
มาตรา 1299 วรรคสอง
 การแสดงออกทางทะเบียนต้องเป็นเรือ ่ งการได้มา การ
เปลีย
่ นแปลง การระง ับ และการกล ับคืนมาแห่งทร ัพยสทิ ธิ
 ถ้าไม่ได้แสดงออกซงึ่ การทรงทร ัพยสท ิ ธิตามกฎหมาย
สทิ ธินนไม่
ั้ เป็นทร ัพยสท ้ า้ งได้แก่บค
ิ ธิทใี่ ชอ ุ คลทว่ ั ไป
วธ ี สดงออกซ ึง
ิ แ ่ การ
ทรงทร พ ิ ธิ
ั ยส ท
 ั
อสงหาริ
มทร ัพย์
 แสดงออกซงึ่ การทรงทร ัพยสท
ิ ธิโดยทางทะเบียน
 ิ ธิโดยทางอืน
การได้ทร ัพยสท ่ กฎหมายไม่บ ังค ับให้
แสดงออกโดยทางทะเบียน แต่ถา้ ไม่แสดงออกทาง
ทะเบียนอาจจะเสย ี สท
ิ ธิบางประการตามาตรา 1299
วรรคสอง
 การแสดงออกในทร ัพยสท ิ ธิรวมถึงการได้มา การ
เปลีย่ นแปลง การระง ับ และการกล ับคืนมาแห่งทร ัพย
สทิ ธิดว้ ย
 ถ้าไม่แสดงออกซงึ่ การทรงทร ัพยสท ิ ธิตามกฎหมาย
กำหนด สท ิ ธินนอาจไม่
ั้ เป็นทร ัพยสท ้ า้ งแก่
ิ ธิทใี่ ชอ
บุคคลทว่ ั ไปได้
หล ก
ั ผู ร้ บ ั โอนไม่ม ส ิ ธิ
ี ท
ดก ี ว่า ผู โ้ อน
 หล ักผูร้ ับโอนไม่มสี ทิ ธิดกี ว่าผูโ้ อนเป็นหล ักกฎหมายทว่ ั ไปทีใ่ ช ้
แก่กรณีการตดทอดกรรมสท ิ ธิในทร ัพย์สนิ ซงึ่ ต้องมีการผ่อน
คลายหล ักการนี้ เพือ ่ ให้ความเป็นธรรมแก่ผส ู้ จ ้ ไี่ ม่ใช ่
ุ ริต ผูท
เจ้าของ หรือไม่มส ี ทิ ธิจะโอนทร ัพย์สน ิ จะโอนโดยชอบด้วย
กฎหมาย ผูร้ ับโอนก็ไม่มส ิ ธิใดๆ ในทร ัพย์สน
ี ท ิ นน ั้ มาตรา 1303,
1330-1332
 หล ักการนีใ้ ชไ้ ด้ก ับอสงหาริ
ั ั
มทร ัพย์ หรือ สงหาริ มทร ัพย์ ใชก้ ับ
การได้มาโดยทางนิตก ิ รรม หรือ โดยทางอืน ่ ต
่ ทีไ่ ม่ใชน ิ ก
ิ รรม
การเพิกถอนนิตก ั
ิ รรมในอสงหาริ มทร ัพย์ ตามมาตรา 1336 (การ
้ รรมสท
ใชก ิ ธิ)์
 เพือ
่ คุม
้ ครองผูส
้ จ
ุ ริตมิให้ตอ ี หาย กฎหมายจึงกำหนดวิธ ี
้ งเสย
ผ่อนคลายความเด็ดขาดของหล ักผูร้ ับโอนไม่มส ิ ธิดก
ี ท ี ว่าผูโ้ อน
ได้แก่ กรณี มาตรา 1303, และ มาตรา 1329-1332 ใชไ้ ด้ก ับอสงั

หาและสงหาริ มทร ัพย์
หล ก
ั ผู ร้ บ ั โอนไม่ม ส ิ ธิ
ี ท
ดก ี ว่า ผู โ้ อน
 การเรียกร้องสท ั
ิ ธิในอสงหาริ มทร ัพย์อ ันเดียวก ัน ตาม
มาตรา 1300 นนแตกต่
ั้ างจากมาตรา 1329-1330 และ
มาตรา 1332 ทีม ่ าตรา 1300 นนใช ั้ ไ้ ด้ก ับกรณีโอน
เปลีย
่ นแปลง ระง ับและ กล ับคืนสท ิ ธิ และใชก ้ ับ
กรรมสท ิ ธิ์ และ ทร ัพยสท ิ ธิอน
ื่ ด้วย
 นอกจากนีก ้ ารใชส้ ท ิ ธิตามมาตรา 1300 เป็นกรณีทผ ี่ ใู ้ ช ้
สทิ ธิมใิ ชเ่ จ้าของทร ัพย์สน ิ แต่เป็นบุคคลทีอ ่ ยูใ่ นฐานะอ ัน
จะให้จดทะเบียนสท ิ ธิของตนได้อยูก ่ อ่ น และเป็นการขอ
เพิกถอนทะเบียน และเมือ ่ เพิกถอนทะเบียนแล้วสท ิ ธิจะ
ตกอยูแ ่ ก่ใครเป็นอีกเรือ ่ งหนึง่ เพราะถ้าเป็นกรณีทผ ี่ ร
ู้ อ
้ ง
เป็นเจ้าของทร ัพย์สน ิ แล้วก็สามารถใชส ้ ท
ิ ธิตามมาตรา
1336 ได้โดยตรง ถ้าเป็นสงหาริ ั มทร ัพย์ก็ใชม ้ าตรา 1303

เพราะสงหาริ มทร ัพย์ไม่ตอ ้ งจดทะเบียน จึงใชก ้ ารครอบ
ครองเป็นเครือ ่ งต ัดสน ิ แทนการเพิกถอนทางทะเบียน
การใช ้ส ท
ิ ธข
ิ องผู ม
้ กี รรม
ิ ธ ใิ นทร พ
สท ั ยส ์ นิ

 ผู้มกี รรมสิ ทธิต้องใช้ สิทธิตามมาตรา 1336 แต่ อาจจะใช้ สิทธิไม่ ได้ ตาม
มาตรา 1299 วรรคสอง มาตรา 1303 , 1320-1332 และตามกฎหมายอืน่
ผู้มกี รรมสิ ทธิจะได้ รับความคุ้มครองจากกฎหมายโดยสมบูรณ์ จะต้ อง
แสดงออกซึ่งการทรงทรัพยสิ ทธิอย่ างถูกต้ องด้ วย
 การใช้ สิทธิในฐานะเจ้ าของกรรมสิ ทธิ์ต้องไม่ ก่อให้ ผู้อนื่ เดือดร้ อน ไม่ ว่า
เจ้ าของสั งหา หรือ อสั งหาริมทรัพย์ ตามมาตรา 1337 ต่ างจาก มาตรา
420 421 ซึ่งกินความกว้ างกว่ า ส่ วนมาตรา 1337 นั้นเป็ นการใช้ สิทธิใน
ฐานะเจ้ าของกรรมสิ ทธิเท่ านั้นและผู้ได้ รับความคุ้มครองก็เป็ นเจ้ าของ
กรรมสิ ทธิเท่ านั้น
การใช ส ้ ท
ิ ธ ใิ นฐานะ
เจ า
้ ของกรรมส ท ิ ธิ

้ ท
 การใชส ิ ธิในฐานะเจ้าของ
ิ ธิตอ
กรรมสท ้ งเป็นไปตาม
กฎหมายและโดยสุจริต
้ ท
 การใชส ิ ธิในฐานะเจ้าของ
กรรมสท ิ ธิโดยก่อให้บค ุ คลอืน

เสย ้ ท
ี หาย ผูใ้ ชส ิ ธิอาจจะต้องร ับ
ผิดต่อบุคคลทีเ่ สยี หายด้วย
เจ า
้ ของท ีด
่ น
ิ ตด
ิ กน

 การทีเ่ จ้าของทีด
่ นิ ติดก ันสองราย
อาจเกิดข้อโต้แย้งในเรือ ่ งการใช ้
ิ ธิได้โดยง่าย กฎหมายจึงต้องหา
สท
ทางป้องก ันไว้กอ ่ นโดยกำหนดข้อ
ั ษฐานไว้ในเบือ
สนนิ ้ งต้น
 ั ษฐานอ ันเป็นประโยชน์รว่ ม
ข้อสนนิ
ก ันของเจ้าของทีด
่ น
ิ ติดก ันนนเป
ั้ ็ น
ั ษฐานทีน
ข้อสนนิ ่ ำสบ ื ห ักล้างได้
ขอ ้ สนั นษิ ฐานอ นั เป็ นประโยชน ์
ร่ ว มก นั ของเจ า
้ ของท ี ด
่ น
ิ ตด
ิ กน

 เป็ นข้ อกำหนดของกฎหมายเพือ่ ป้ องกันการขัดแย้ ง


หรือโต้ เถียงในเรื่องสิ ทธิในทีด่ นิ ของเจ้ าของทีม่ ี
อาณาเขตทีด่ นิ ติดต่ อกัน แต่ เป็ นข้ อสิ นนิษฐานเบือ้ ง
ต้ น พิสูจน์ หักล้างได้
 ใช้ สันนิษฐานเฉพาะกรณีทดี่ นิ ติดกันเท่ านั้นไม่ รวม
ถึงอสั งหาริมทรัพย์ อนื่ และเฉพาะทีบ่ ัญยัตไิ ว้ ใน
มาตรา 1344-1348 เท่ านั้น
ทางจำเป็ น

ึ้ เพือ
 ทางจำเป็นมีขน ่
คุม
้ ครองผูท ้ เี่ ดือดร้อน
จากทำเลทีต ่ งของที
ั้ ด
่ น

แต่ก็ตอ้ งให้ความเป็น
ธรรมก ับเจ้าของทีด ่ น
ิ ที่
ถูกบ ังค ับให้มท ี างจำเป็น
ทางจำเป็ น

 ทางจำเป็นเป็นกรณีให้ความชว ่ ย
เหลือแก่เจ้าของทีด
่ น
ิ แปลงทีถ่ กู ทีด
่ น

แปลงอืน
่ ล้อมอยูจ
่ นไม่มที างออกถึง
ทางสาธารณะได้ ซงึ่ จะต้องเป็นไป
ตามหล ักเกณฑ์ของมาตรา 1349-
1350
 การใชส ้ ท
ิ ธิด ังกล่าวของเจ้าของ
ทีด
่ น
ิ นนไม่
ั้ ตอ ้ งมีการจดทะเบียนสท ิ ธิ
เพราะเป็นการได้สท ิ ธิโดยอำนาจ
ของกฎหมาย แต่อาจต้องเสย ี ค่า
ภารจำยอม

 ภารจำยอมโดยกฎหมาย
มีขน ึ้ เพือ่ ป้องก ันการโต้
แย้งสท ิ ธิในการใชท ้ ด
ี่ น

ซงึ่ อยูต ่ ดิ ก ัน แต่อาจ
เปลีย ่ นแปลงได้โดย
นิตก ิ รรม
ภารจำยอม

 เจ้ าของทีด่ นิ ทุกคนต้ องยอมรับภารจำยอมโดย


กฎหมาย ทั้งนีโ้ ดยภารจำยอมนั้นเกิดจากสภาพทาง
ธรรมชาติ แต่ กจ็ ำกัดเฉพาะทีบ่ ัญยัตไิ ว้ ในมาตรา
1339-1349 เท่ านั้น
 ภารจำยอมโดยสภาพหนี้ ไม่ จำเป็ นต้ องจดทะเบียน
และหากจะแก้ไขก็จะต้ องดำเนินการตามหลักเกณฑ์
ของมาตรา 1338 เท่ านั้น
ิ ธค
สท ิ รอบครอง
 การทีบ
่ ค ิ ธิครอบครอง บุคคลนนย่
ุ คลใดมีสท ิ ธิ
ั้ อมได้สท
ตามทีก่ ฎมายกำหนดไว้
 การครอบครองปรปักษ์ ผูค ้ รอบงครองจะได้สทิ ธิใน
ิ ก็ตอ
ทร ัพย์สน ่ เมือ
่ การครอบครองนนเข้
ั้ าหล ักเกณฑ์ท ี่
กฎหมายกำหนดไว้
 สท ั
ิ ธิอาศยจำก ัดเฉพาะสท ั
ิ ธิอาศยในโรงเรื อนบุคคลอืน

และมิใชเ่ พือ
่ การค้า โดยผูท ิ ธิไม่ตอ
้ รงสท ี ค่า
้ งเสย
ตอบแทน
 สทิ ธิเหนือพืน ้ ดินทำให้ผท ู ้ รงสท ิ ธิมก
ี รรมสท ิ ธิใน
ทร ัพย์สน ิ บางอย่างบนทีด ่ น ิ ของบุคคลอืน ่ ภายในระยะ
เวล่ทก ี่ ำหนด กรรมสท ิ ธิในทีด ่ น
ิ ย ังคงเป็นของเจ้าของ
ทีด่ น
ิ แต่ทร ัพย์สน ิ บนทีด่ น
ิ เป็นกรรมสท ิ ธิข
์ องบุคคลที่
เป็นผูท ้ รงสทิ ธิเ์ หนือพืน
้ ดิน
ผลของการม ส ิ ธิ
ี ท
ครอบครอง
 ผลของการมีสิทธิครอบครอง
 ขอให้ ปลดเปลือ้ งการรบกวนการครอบครองโดยมิชอบด้ วยกฎหมาย
มาตรา 1374 ใช้ สิทธิโดยพลการ แต่ ถ้าผู้รบกวนขัดขืนหรือโต้ แย้ งสิ ทธิผู้
มีสิทธิครอบครองต้ องใช้ สิทธิทางศาล
 เรียกร้ องเอาการครอบครองคืนจากผู้ทแี่ ย่ งการครอบครองโดยมิชอบ
มาตรา 1375
 ได้ ดอกผล มาตรา 415, 1376
 โอนสิ ทธิครอบครอง มาตรา 1378, 1379-1380
 สละสิ ทธิครอบครอง มาตรา 1377
การครอบครองปรปัก ษ ์
 ต้ องมีการครอบครองทรัพย์ สิน
 ทรัพย์ สินทีค่ รอบครองต้ องเป็ นของผู้อนื่ และมีกรรมสิ ทธิได้ ตามกฎหมาย
 ผู้เข้ าครอบครองต้ องมีเจตนาเป็ นเจ้ าของทรัพย์ สินนั้น
 ต้ องครอบครองโดยความสงบ เปิ ดเผย
 ต้ องครอบครองติดต่ อกันตามระยะเวลาทีก่ ฎหมายกำหนด
 ถ้ าเป็ นอสั งหาริมทรัพย์ หรือ สั งหาริมทรัพย์ บางชนิดจะต้ องจดทะเบียนการได้ มา
ตรมมาตรา 1299 วรรคสอง
 การได้ กรรมสิ ทธิ์ในทรัพย์ สินตามมาตรา 1389 เป็ นกรณีทตี่ ้ องคำนึงถึงหลักเกณฑ์
ของมาตรา 1382 เว้ นแต่ ในเรื่องอายุความ
 ิ ธิครอบครอง
สท
 1367, 1374, 1375, 1377-1378
 การได้มาซงึ่ ทร ัพยสท
ิ ธิ โดยทาง
นิตก
ิ รรม 1299 วรรค 1
 การได้ทร ัพยสทิ ธิมาโดยทางอืน ่ ใิ ช ่
่ ทีม
นิตก
ิ รรม 1299 ว 2
 1334, 1382, 1388
 1318,1304 (3), 1325 ว 2, 1328
 107,118, 1394, 1395, 717, 1364
 ่ อกพาณิชย์
1305, 1598, 1700 ไม่ใชน
 106, 107
ขอบคุณ

You might also like