You are on page 1of 14

ความแตกต่างระหว่างดอกผลธรรมดากับดอกผลนิตินัย

ความหมายของทรัพย์และทรัพย์สิน
“ทรัพย์” หมายความว่า วัตถุมีรูปร่าง
สิ่งที่จะเป็ นทรัพย์
สิ่งที่เป็ นทรัพย์นน
ั ้ จะต้องเป็ นวัตถุสิ่งที่ไม่เป็ นวัตถุเช่น มนุษย์จึงไม่ใช่ทรัพย์
แต่มนุษย์ที่สน
ิ ้ ลมหายใจไปแล้วอาจเป็ นทรัพย์ได้เพราะไม่มีสภาพบุคคล
แล้วนอกจากนีส
้ ิ่งที่จะเป็ นทรัพย์ยังจะต้องเป็ นวัตถุที่มีรูปร่างด้วยคือ
สามารถมองเห็นเป็ นรูปทรงต่างๆได้ด้วยตา หรือสัมผัสจับต้องได้ เช่น
เครื่องคอมพิวเตอร์ มือถือ ปากกา อาคาร รถยนต์ส่วนสิ่งที่ไม่มีรูปร่างไม่
อาจเป็ นทรัพย์ได้จะเป็ นได้เพียงทรัพย์สินเท่านัน

“ทรัพย์สิน” หมายความรวมทัง้ ทรัพย์และวัตถุไม่มีรูปร่างซึ่งอาจ
มีราคาและอาจถือเอาได้
“อาจมีราคา”หมายถึง ราคาที่ซ้อ
ื ขายตามท้องตลาด (Price) และ
รวมถึงราคาในเรื่องคุณค่าด้วย (Value) เช่น อากรแสตมป์
“อาจถือเอาได้” หมายถึง สามารถที่จะเข้าถือเอาเป็ นของตนได้
หรือหวงกันเป็ นของตนแม้จะมิได้อยู่ในมือก็ตาม
กระแสไฟฟ้ าอาจถือเอาได้หรือไม่
ตัวอย่างฎีกา ผู้ขอใช้ไฟเป็ นผูค
้ รอบครองสายไฟฟ้ าในช่วงที่ต่อจากหม้อวัด
ไฟไปยังบ้าน(ฎีกาที่ 1659/2513) แต่ช่วงนอกบ้านหรือถัดจากหม้อวัดไฟ
เป็ นของผู้จำหน่ายกระแสไฟฟ้ า (ฎีกาที่ 478/2523,3354/2527) การ
ไฟฟ้ าส่วนภูมิภาคต้องรับผิด

ดอกผลของทรัพย์
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 148 บัญญัติว่า “ดอก
ผลของทรัพย์ ได้แก่ ดอกผลธรรมดาและดอกผลนิตินัย
ดอกผลธรรมดา หมายความว่า สิ่งที่เกิดขึน
้ ตามธรรมชาติของทรัพย์
ซึง่ ได้มาจากตัวทรัพย์ โดยการมีหรือใช้ทรัพย์นน
ั ้ ตามปกตินิยม และ
สามารถถือเอาได้เมื่อขาดจากทรัพย์นน
ั้
ดอกผลนิตินัย หมายความว่า ทรัพย์หรือประโยชน์อย่างอื่นที่ได้มา
เป็ นครัง้ คราวแก่เจ้าของทรัพย์จากผู้อ่ น
ื เพื่อการที่ได้ใช้ทรัพย์นน
ั ้ และ
สามารถคำนวณและถือเอาได้เป็ นรายวันหรือตามระยะเวลาที่กำหนดไว้”
ดอกผลของทรัพย์ คือ ทรัพย์ที่ก่อเกิดหรือได้มาเพราะการใช้ตัวแม่
ทรัพย์(ทรัพย์หลัก) โดยมีลักษณะงอกเงยจากตัวแม่ทรัพย์นน
ั ้ เอง ไม่ว่าจะ
เป็ นการงอกเงยหรือก่อเกิดขึน
้ ตามธรรมชาติของทรัพย์หรือได้มาโดยผล
ของกฎหมายก็ตาม ทรัพย์ที่เป็ นดอกผลแม้จะแยกออกจากแม่ทรัพย์ ก็ไม่
ได้กระทบกระเทือนหรือมีผลต่อความดำรงอยู่ของแม่ทรัพย์แต่อย่างใด
เช่น แม่วัวคลอดลูกวัวออกมา ลูกวัวถือเป็ นดอกผลเพราะเป็ นทรัพย์ที่ก่อ
เกิดหรืองอกเงยมาจากแม่ทรัพย์(แม่วัว) และการงอกเงยหรือก่อเกิดออก
มานัน
้ ไม่ได้ทำให้แม่วัวต้องตาย เสียอวัยวะหรือกระทบกระเทือนถึงความ
ดำรงอยู่ของแม่วัวแต่อย่างใด หรือนมวัวก็ถือเป็ นดอกผลของแม่วัว แต่
หากเป็ นลิน
้ ขา หางของวัว เช่นนีถ
้ ือเป็ นอวัยวะที่มีมาแต่กำเนิด หากเรา
ตัดทิง้ ไปแล้วอวัยวะเหล่านีไ้ ม่ถือเป็ นดอกผล เพราะเมื่อแยกออกมาแล้วมี
ผลกระทบถึงตัวแม่ทรัพย์ (อีกทัง้ อวัยวะเหล่านีก
้ ็ไม่ถือเป็ นส่วนควบ เพราะ
เป็ นสิ่งที่รวมเข้ากันมาแต่เดิมตามธรรมชาติ ไม่ใช่เป็ นกรณีที่เอาทรัพย์สอง
สิ่งมารวมเข้ากันภายหลัง) แต่ขนสัตว์ถือเป็ นดอกผลเพราะแม้จะตัดไปแล้ว
ก็งอกเงยขึน
้ เองได้ตามธรรมชาติ ไม่ได้กระทบกระเทือนถึงตัวแม่ทรัพย์
“แม่ทรัพย์นน
ั ้ มาตรา 148 ได้กำหนดว่าดอกผลของทรัพย์มี 2 ชนิด คือ
ดอกผลธรรมดา และดอกผลนิตินัย”
1.ดอกผลธรรมดา ความหมายอยู่ในมาตรา 148 วรรคสอง คือ ทรัพย์ที่
เกิดหรืองอกเงยจากแม่ทรัพย์โดยธรรมชาติ หรือโดยการใช้แม่ทรัพย์ตาม
ปกติ และสามารถถือเอาได้เมื่อขาดจากแม่ทรัพย์นน
ั ้ หมายถึงเมื่อทรัพย์ที่
เกิดหรืองอกเงยนัน
้ แยกขาดหรือหลุดออกจากตัวแม่ทรัพย์แล้ว สามารถถือ
กรรมสิทธิ ์ ถือการครอบครองแยกต่างหากจากตัวแม่ทรัพย์ได้(แยกออกไป
เป็ นทรัพย์ใหม่ ไม่เกี่ยวข้องกับตัวแม่ทรัพย์อีก) เช่น ผลมะม่วงที่ติดอยู่กับ
ต้น เมื่อมะม่วงหลุดจากต้นแล้ว ก็กลายเป็ นผลมะม่วงที่แยกต่างหากจาก
ต้น(แม่ทรัพย์) สามารถเข้าถือครองได้ เป็ นเจ้าของกรรมสิทธิผ์ ลมะม่วงนัน

ได้ เป็ นทรัพย์ที่งอกเงยมาจากต้นมะม่วงตามธรรมชาติ ถือเป็ นดอกผล
ธรรมดา เป็ นต้น
หรือที่ดินที่มีเห็ด หัวมันขึน
้ ตามธรรมชาติ เห็ดและหัวมันสามารถหลุดหรือ
ปลดออกได้โดยไม่กระทบกระเทือนถึงที่ดิน ก็อาจถือเป็ นดอกผลของที่ดิน
นัน
้ ได้เช่นกัน แต่ถ้าเป็ นกรณีที่มนุษย์เอามาปลูกไว้ อย่างนีไ้ ม่ใช่กรณีที่เกิด
ขึน
้ เองตามธรรมชาติ ก็ไม่ถือเป็ นดอกผลธรรมดา หรือมีต้นไม้ขน
ึ ้ บนที่ดิน
หากเป็ นไม้ยืนต้นก็อาจถือเป็ นส่วนควบแทนได้ ดังนัน
้ ต้องดูเป็ นกรณีไป

ตัวอย่าง ต้นแอปเปิ ้ ลให้ผล ผล คือ ดอกผลธรรมดา


แม่หมูคลอดลูกหมู ลูกหมู คือ ดอกผลธรรมดา
เมื่อขาดจากตัวทรัพย์แล้วทำให้แม่ทรัพย์ เปลี่ยนแปลงไปจากสภาพเดิม
หรือไม่ ➡ ถ้าแม่ทรัพย์เปลี่ยนแปลงสภาพ ก็ไม่ใช่ดอกผลธรรมดา เช่น
เอาน้องหมูมาชำแหละ แยกส่วนขาย ส่วนที่แยกไม่ใช่ดอกผลธรรมดา
หรือเอาน้องควายมาตัดเขา เขาควายไม่ใช่ดอกผลธรรมดา แต่เป็ นส่วน
หนึง่ ของทรัพย์ด้วย
ข้อสังเกต 1. การจะถือว่าเป็ นดอกผลได้ ต้องได้ความว่าทรัพย์นน
ั้
หลุดหรือแยกออกจากตัวแม่ทรัพย์แล้วด้วย อาจจะเป็ นกรณีที่หลุดหรือ
แยกออกจากตัวแม่โดยธรรมชาติหรือเกิดจากการกระทำของมนุษย์ก็ได้
แต่ถ้ายังติดอยู่กับตัวแม่ทรัพย์ก็ยังไม่เป็ นดอกผล ทัง้ นีเ้ พราะกฎหมาย
กำหนดว่าดอกผลธรรมดานัน
้ จะยึดถือเป็ นเจ้าของทรัพย์นน
ั ้ ได้ก็ต่อเมื่อได้
แยกออกจากแม่ทรัพย์แล้ว เช่นผลมะม่วงที่ยังติดอยู่กับต้น เช่นนีย
้ ังไม่ถือ
เป็ นดอกผลของทรัพย์ เห็ดหรือหัวมันที่เกิดขึน
้ ตามธรรมชาติ ถ้าไม่หลุด
แยกออกจากที่ดินหรือไปขุดขึน
้ มาก็ยังไม่ถือเป็ นดอกผลของทรัพย์ หรือขน
สัตว์ที่ยังไม่ได้ตัด น้ำนมสัตว์ที่ยังไม่ได้รีดจากเต้า รวมไปถึงลูกสัตว์ที่อยู่ใน
ครรภ์แม่สัตว์ ฯลฯ
ข้อสังเกต 2. ทำไมทรัพย์ที่เป็ นส่วนควบจึงไม่อาจเป็ นดอกผลได้
เพราะอย่างที่เราได้ศึกษามาแล้วว่าทรัพย์ส่วนควบไม่อาจแยกออกจากกัน
ได้ เว้นแต่จะทำลาย ทำให้บุบสลายหรือแปรสภาพทรัพย์ไปเป็ นอย่างอื่น
ซึง่ แตกต่างจากดอกผลที่สามารถแยกออกไปได้โดยไม่กระทบกระเทือนถึง
ตัวแม่ทรัพย์ แต่อย่างไรก็ดี ทรัพย์ส่วนควบก็ย่อมมีดอกผลได้ เช่น ทุเรียน
เป็ นไม้ยืนต้นปลูกอยู่ในที่ดิน ทุเรียนย่อมเป็ นส่วนควบกับที่ดินตามมาตรา
145 วรรคหนึ่ง แต่ผลทุเรียนก็ย่อมถือเป็ นดอกผลของต้นทุเรียนได้ ฯลฯ
แต่ในกรณีที่เป็ นพืชล้มลุกหรือธัญชาติที่ขน
ึ ้ ในที่ดินตามธรรมชาติ ซึ่งไม่ถือ
เป็ นส่วนควบตามมาตรา 145 วรรคสอง หากการที่พืชล้มลุกหรือธัญชาติ
ชนิดนัน
้ ๆหลุดจากที่ดินไม่ว่าจะตามธรรมชาติหรือถือมนุษย์ตัดหรือถอนไป
โดยไม่มีผลกระกระเทือนถึงที่ดินนัน
้ ก็อาจถือเป็ นดอกผลได้เช่นเดียวกัน
ซึง่ ต้องพิจารณาเป็ นกรณีไป
ข้อสังเกต 3. โดยหลักแล้วเจ้าของแม่ทรัพย์ย่อมเป็ นเจ้าของดอกผล
ธรรมดาของทรัพย์นน
ั ้ ด้วย
2. ดอกผลนิตินัย ดอกผลชนิดนีไ้ ม่ได้เกิดขึน
้ ตามธรรมชาติเหมือนดอกผล
ธรรมดา แต่เป็ นดอกผลที่กฎหมายรับรองให้เป็ น ดอกผลนิตินับจะเกิดต่อ
เมื่อแม่ทรัพย์ไปอยู่กับผู้อ่ น
ื และเกิดขึน
้ ในระหว่างเวลาที่ผู้อ่ น
ื ได้ใช้แม่
ทรัพย์นน
ั ้ ดอกผลนิตินัยจะไม่เกิดหากแม่ทรัพย์อยู่กับเจ้าของทรัพย์ การ
ถือเอาดอกผลนิตินัยไม่เหมือนกรณีของดอกผลธรรมดาที่ต้องรอให้ทรัพย์
หลุดหรือแยกออกจากตัวแม่ทรัพย์ แม้ตัวแม่ทรัพย์จะยังอยู่กับผู้อ่ น
ื นัน

ก็ตามก็อาจเข้าถือดอกผลนิตินัยได้ โดยให้คำนวณและถือเอาได้รายวัน
หรือภายในระยะเวลาที่กำหนดหลักเกณฑ์ของทรัพย์ที่จะถือว่าเป็ นดอกผล
นิตินัยมีดังนี ้
ก).ดอกผลนิตินัยมีลก
ั ษณะเป็ นสิ่งตอบแทนจากผู้อ่ น
ื อันเนื่องมาจากที่
ผู้นน
ั ้ ได้ใช้แม่ทรัพย์ ไม่ได้มีลักษณะเกิดขึน
้ ตามธรรมชาติแต่เป็ นสิ่งที่
งอกเงยโดยผลของหรือข้อตกลงระหว่างเจ้าของแม่ทรัพย์และผู้ใช้ทรัพย์
ซึง่ ดอกผลนิตินัยแต่เดิมกฎหมายกำหนดไว้คือดอกเบีย
้ กำไร ค่าเช่า ค่า
ปั นผล ลาภอื่นๆที่ได้เป็ นครัง้ คราวจากผู้ใช้ทรัพย์ ซึ่งแม้กฎหมายปั จจุบัน
จะได้เปลี่ยนแปลงไป แต่ก็ยังยึดหลักเดิมไว้ ดอกเบีย
้ ในหนีเ้ งินนัน
้ โดยปกติ
กฎหมายกำหนดว่าถ้าไม่ได้ตกลงกันไว้ว่าจะคิดดอกเบีย
้ กันเท่าใด ก็ให้เจ้า
หนีค
้ ิดได้ในอัตราร้อยละ 7.5 ต่อปี แต่ถ้ามีการตกลงเรื่องดอกเบีย
้ ไว้ก็ให้
เป็ นไปตามนัน
้ เช่น หนีจ
้ ากการกู้ยืมเงินตกลงคิดดอกเบีย
้ ในอัตราร้อยละ
15 ต่อปี (อัตราสูงสุดของกฎหมาย ถ้าเกินกว่านีด
้ อกเบีย
้ เป็ นโมฆะ) หรือใน
กรณีของค่าเช่านัน
้ ก็คือค่าเช่าจากสัญญาเช่านั่นเอง เพียงแต่กรณีของ
สัญญาเช่าแม่ทรัพย์ไม่ใช่เงิน แต่เป็ นทรัพย์สินต่างๆที่ให้เช่า หรือกำไรนัน
้ ก็
เป็ นดอกผลนิตินัยที่เกิดจากการเอาเงินหรือทรัพย์สินไปลงทุนเข้าหุ้นเพื่อ
ดำเนินกิจการจนมีกำไรมาแบ่งปั นระหว่างผู้เป็ นหุ้นส่วน เป็ นต้น
ข้อสังเกต ดอกผลนิตินัยเกิดจากการ “ใช้” ดังนัน
้ ถ้ามีลักษณะเป็ น
ทรัพย์ที่ได้จากการโอนหรือซื้อขายก็ไม่ใช่ดอกผลนิตินัย เช่นชาวนาขาย
ข้าวแล้วได้กำไรสามพันบาท กำไรนัน
้ ไม่ถือเป็ นดอกผลเพราะไม่ใช่ทรัพย์ที่
งอกเงยจากการใช้แม่ทรัพย์ หรือสัญญาจ้างต่างๆเป็ นสัญญาต่างตอบแทน
ที่เอาแรงงานแลกกับทรัพย์สิน ทรัพย์สินที่ได้มาจึงไม่เข้าลักษณะเป็ นดอก
ผลนิตินัย ฯลฯ
ข).ทรัพย์ที่งอกเงยจากแม่ทรัพย์ตกได้แก่เจ้าของแม่ทรัพย์ เป็ นสิทธิ
ของเจ้าของแม่ทรัพย์ที่จะได้ไป จะไม่ตกได้แก่ผู้ใช้ทรัพย์ ซึ่งถ้าพิจารณา
แล้วจะมีลักษณะที่ผู้ใช้ทรัพย์ตอบแทนให้แก่เจ้าของแม่ทรัพย์นั่นเอง การ
ตกได้นม
ี ้ ีลักษณะเป็ นสิทธิเรียกร้อง เจ้าของแม่ทรัพย์อาจยังไม่ได้รับดอก
ผลมาไว้กับตัว แต่มส
ี ิทธิเรียกร้องที่จะเรียกให้ผู้ใช้ทรัพย์ส่งมอบดอกผล
นิตินัยนัน
้ ได้ เช่น ก กู้ยืมเงิน ข ไปหนึ่งหมื่นบาท ตกลงอัตราดอกเบีย
้ ร้อย
ละ 10 ต่อปี ต่อมา ข ผิดนัดไม่ชระเงินต้นและดอกเบีย
้ ดอกเบีย
้ นัน
้ ถือ
เป็ นดอกผลนิตินัยแม้ ข จะยังไม่ได้ชำระให้ ก ก็ตาม แต่ ก ก็มีสิทธิที่จะ
เรียกร้องเอาจาก ข ได้ หรือค่าเช่าในกรณีที่ผู้เช่าไม่ยอมชำระ ผู้ให้เช่าก็
สามารถเรียกร้องค่าเช่านัน
้ ได้
ข้อสังเกต อย่างไรก็ดีดอกผลนิตินัยอาจตกได้ก็ผู้อ่ น
ื ที่ไม่ใช่เจ้าของทรัพย์
ก็ได้ ซึ่งอาจเกิดจากโดยผลของกฎหมายคือมีกฎหมายกำหนดให้ผู้อ่ น
ื ที่
ไม่ใช่เจ้าของแม่ทรัพย์มีสิทธิได้รับดอกผลนัน
้ ได้ หรือมีการตกลงกันโดย
ชัดเจนระหว่างผู้ใช้ทรัพย์และเจ้าของแม่ทรัพย์ ให้ผู้อ่ น
ื เป็ นผู้มีสิทธิได้รับ
ดอกผลนิตินัยนัน

ค).ดอกผลนิตินัยต้องได้เป็ นครัง้ คราว มีกำหนดระยะเวลาที่ผู้ใช้ทรัพย์
จะต้องส่งมอบดอกผลนิตินัยให้แก่เจ้าของแม่ทรัพย์ แต่ไม่จำเป็ นต้องเป็ น
ระยะเวลาที่กำหนดแน่นอนเสมอไปก็ได้ และอย่างที่กล่าวแล้วว่าเจ้าของ
แม่ทรัพย์ไม่จำเป็ นต้องได้รับก่อนจึงจะเรียกว่าเป็ นดอกผลนิตินัย เพราะ
ดอกผลนิตินัยก่อให้เกิดสิทธิเรียกร้องระหว่างผู้ใช้ทรัพย์และเจ้าของแม่
ทรัพย์ ถ้าผู้ใช้ทรัพย์ไม่ยอมให้เจ้าของแม่ทรัพย์ก็เรียกร้องเอาได้
ง).ดอกผลนิตินัยไม่จำเป็ นต้องได้รับเป็ นเงินเสมอไป อาจเป็ น
ทรัพย์สินอย่างอื่นก็ได้ แต่ต้องเจ้าลักษณะของดอกผลนิตินัยตามมาตรา
148 วรรคสาม อย่างค่าเช่าที่ตกลงกันเป็ นทรัพย์สินอื่นแทนเงิน เช่น ให้
เช่าหมูตัวผู้เพื่อไปผสมพันธุ์แล้วส่งลูกหมูที่ได้มาให้ผู้ให้เช่าปี ละ 5 ตัวแทน
ค่าเช่า หรือดอกเบีย
้ สัญญากู้ยืมเงินที่กำหนดกันไว้ว่าให้ส่งข้าวเดือนละ 1
ถังแทนดอกเบีย
้ เป็ นเงิน ฯลฯ
เรื่องส่วนควบ อุปกรณ์และดอกผลนี ้ อาจเป็ นเรื่องซับซ้อนอยู่บ้าง แต่ถ้า
สามารถทำความเข้าใจได้ก็จะก่อให้เกิดประโยชน์อย่างมาก และที่สำคัญ
อาจนำไปใช้ในการเอาตัวรอดจากถูกเอารัดเอาเปรียบจากผู้อ่ น
ื ได้ จึงอยาก
ให้ผู้อ่านทำความเข้าใจไว้ เพื่อประโยชน์แก่ตัวท่านเป็ นสำคัญ
ปพพ.มาตรา 148 ว.ท้าย
อธิบายง่ายๆ ภาษาชาวบ้าน คือ เป็ นดอกผลที่เกิดขึน
้ จากการให้ผู้อ่ น
ื ใช้
แม่ทรัพย์นน
ั ้ ➡ แล้วให้ "ทรัพย์" หรือ "ประโยชน์อ่ น
ื " ตอบแทนเป็ นครัง้
คราว
มีหลักการดังนี ้
ทรัพย์หรือประโยชน์อย่างอื่นที่ได้มาแก่เจ้าของทรัพย์
ดอกเบีย
้ เงินกู้ยืม "เป็ นทรัพย์" คือ ดอกผลนิตินัย ย่อมตกเป็ นของเจ้าของ
ทรัพย์

จ่ายค่าเช่าที่นาเป็ นข้าวเปลือก ถือว่าเป็ น "ประโยชน์อย่างอื่น" คือ


ดอกผลนิตินัย เหมือนกัน

ทรัพย์หรือประโยชน์อย่างอื่นที่ได้มาเป็ นการตอบแทนจากผู้อ่ น
ื เพื่อการได้
ใช้ทรัพย์นน
ั้
"เงินเดือน" ไม่ใช่ดอกผลนิตินัย เพราะแรงงานคน ไม่ใช่ทรัพย์

"ค่าเช่ารถ" เป็ นดอกผลนิตินัย ย่อมตกแก่เจ้าของทรัพย์ ➡ แต่ "ค่า


โดยสาร" เป็ นสัญญาจ้าง

สรุป ความแตกต่างระหว่างดอกผลธรรมดากับดอกผลนิตินัย คือ “ดอก


ผลธรรมดา” เป็ นสิง่ ที่เกิดขึน
้ ตามธรรมชาติของทรัพย์ซึ่งได้มาจากตัว
ทรัพย์ โดยการมีหรือใช้ทรัพย์นน
ั ้ ตามปกตินิยม และสามารถถือเอาได้เมื่อ
ขาดจากทรัพย์นน
ั ้ ส่วน“ดอกผลนิตินัย”ทรัพย์หรือประโยชน์อย่างอื่นที่ได้
มาเป็ นครัง้ คราวแก่เจ้าของทรัพย์จากผู้อ่ น
ื เพื่อการที่ได้ใช้ทรัพย์นน
ั ้ และ
สามารถคำนวณและถือเอาได้เป็ นรายวันหรือตามระยะเวลาที่กำหนดไว้
เช่น ดอกเบีย
้ เงินฝาก
ความแตกต่างระหว่างดอกผลธรรมดา
กับดอกผลนิตินัย

เสนอ
อาจารย์ญาติพิชัย กลิ่นเจริญ

โดย
นายยุทธนา หอมเนียม รหัส
6132412058
ภาค กศ.ป.ป.22/36 สาขา
นิตศ
ิ าสตร์
รายงานชิน
้ นีเ้ ป็ นส่วนหนึ่งของวิชา
กฎหมายลักษณะทรัพย์สิน (LAW 122)
คณะวิทยาลัยการจัดการและพัฒนาท้อง
ถิ่น

ภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2564


มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม

You might also like