You are on page 1of 11

เฉลยแบบฝึกหัดครั้งที่ 1

n2 (n + 1)2
1. จงแสดงว่า 3 3 3
1 + 2 + 3 + ... + n = 3
4
สำหรับทุกๆจำนวนเต็มบวก n
2 2
พิสูจน์ ให้ P (n) : 13 + 23 + 33 + ... + n3 = n (n4+ 1)
(1) เพราะว่า
(1)2 (1 + 1)2 4
= =1
4 4
2 2
ดังนั้น P (1) คือ 1 = (1) (14+ 1) เป็นจริง
(2) ให้ k เป็นจำนวนนับใดๆ ซึ่ง P (k) เป็นจริง นั่นคือ
k 2 (k + 1)2
13 + 23 + 33 + ... + k 3 =
4
(1)

จะต้องแสดงว่า P (k + 1) เป็นจริง นั่นคือ จะแสดงว่า


(k + 1)2 (k + 2)2
13 + 23 + 33 + ... + k 3 + (k + 1)3 =
4

โดยการบวก (k + 1)3 เข้าในสมการ (1) จะได้


k 2 (k + 1)2
13 + 23 + 33 + ... + k 3 + (k + 1)3 = + (k + 1)3
4
k 2 (k + 1)2 + 4(k + 1)3
=
4
k 2 (k + 1)2 + 4(k + 1)2 (k + 1)
=
4
2 2
(k + 1) [k + 4(k + 1)]
=
4
(k + 1)2 [k 2 + 4k + 4)]
=
4
(k + 1) (k + 2)2
2
=
4

ดังนั้น P (k + 1) เป็นจริง
โดยหลักการอุปนัยทางคณิตศาสตร์ สรุปได้ว่า P (n) เป็นจริงทุกจำนวนเต็มบวก n

Page 1
2. จงแสดงว่า 1 1· 2 + 2 1· 3 + 3 1· 4 + ... + n(n1+ 1) = n +
n
1
สำหรับทุกๆจำนวนเต็มบวก n
พิสูจน์ ให้ P (n) : 1 1· 2 + 2 1· 3 + 3 1· 4 + ... + n(n1+ 1) = n +
n
1
(1) เพราะว่า
1 1
(1)(2)
=
2
(2)
1
=
1+1
(3)

ดังนั้น P (1) คือ 1 1· 2 = 1 +1 1 เป็นจริง


(2) ให้ k เป็นจำนวนนับใดๆ ซึ่ง P (k) เป็นจริง นั่นคือ
1 1 1 1 k
+ +
1·2 2·3 3·4
+ ... +
k(k + 1)
=
k+1
(4)

จะต้องแสดงว่า P (k + 1) เป็นจริง นั่นคือ จะแสดงว่า


1 1 1 1 1 k+1
+ + + ... + + =
1·2 2·3 3·4 k(k + 1) (k + 1)(k + 2) k+2
1
โดยการบวก (k + 1)(k + 2)
เข้าในสมการ (4) จะได้
1 1 1 1 1 k 1
+ + + ... + + = +
1·2 2·3 3·4 k(k + 1) (k + 1)(k + 2) k + 1 (k + 1)(k + 2)
k(k + 2) + 1
=
(k + 1)(k + 2)
k 2 + 2k + 1
=
(k + 1)(k + 2)
(k + 1)(k + 1)
=
(k + 1)(k + 2)
k+1
=
k+2

ดังนั้น P (k + 1) เป็นจริง
โดยหลักการอุปนัยทางคณิตศาสตร์ สรุปได้ว่า P (n) เป็นจริงทุกจำนวนเต็มบวก n
 
n3 − 1
3. จงแสดงว่าลำดับ 2n เป็นลำดับลู่เข้าหรือลู่ออก กรณีที่เป็นลำดับลู่เข้าให้หาลิมิตของลำดับด้วย
วิธีทำ จากโจทย์ an = n 2n− 1
3

พิจารณา
n −1 3
lim
n→∞
an = lim
n→∞ 2n
n3
− 1
= lim
n→∞
n
2n
n

n
n2 − 1
= lim n
n→∞ 2

Page 2
∞−0
= =∞
2
n n3 − 1 o
ดังนั้น 2n
เป็นลำดับลู่ออก

n
4. จงแสดงว่าลำดับ 2n + 1 เป็นลำดับเพิ่มหรือลำดับลด หรือไม่เป็นลำดับทางเดียว
วิธีทำ จากโจทย์ an = 2nn+ 1
จะได้ an+1 = 2(nn++1)1+ 1 = 2n
n+1
+3
พิจารณา
   
n+1 n
an+1 − an = −
2n + 3 2n + 1
(n + 1)(2n + 1) − n(2n + 3)
=
(2n + 3)(2n + 1)
(2n + n + 2n + 1) − (2n2 + 3n)
2
=
(2n + 3)(2n + 1)
1
= > 0 ∵ (2n + 3) > 0, (2n + 1) > 0
(2n + 3)(2n + 1)
 
n
ดังนั้น 2n + 1
เป็นลำดับเพิ่ม
 
en
5. จงแสดงว่าลำดับ 4n
เป็นลำดับเพิ่มหรือลำดับลด หรือไม่เป็นลำดับทางเดียว
n
วิธีทำ จากโจทย์ an = 4en , n∈N
n+1
จะได้ an+1 = 4en+1
พิจารณา
an+1 en+1 4n
= n+1 · n
an 4 e
e
= <1
4
 
en
ดังนั้น 4n
เป็นลำดับลด

6. อนุกรมที่กำหนดต่อไปนี้เป็นอนุกรมลู่เข้าหรือลู่ออก กรณีเป็นอนุกรมลู่เข้า ให้หาผลบวกของอนุกรมด้วย


√ !
X

n4 + 1
n=1
3n2 + 1

n4 + 1
วิธีทำ เนื่องจาก an = 3n2 + 1
,n ∈ N
พิจารณา

n4 + 1
lim an = n→∞
n→∞
lim 3n2 + 1

Page 3
q
1
n4 (1 + n4
)
= lim 1
n→∞ n2 (3 + )
q n2
1
n2 (1 + n4
)
= lim 1
n→∞ n2 (3 + )
q n2

(1 + n14 )
= lim 1
n→∞ 3+ n2
1
= ̸= 0
3
√ !
X
∞ 4
n +1
ดังนั้น อนุกรม 3n2 + 1
เป็นอนุกรมลู่ออก (ตามทฤษฎีบท 3.2)
n=1

7. อนุกรมที่กำหนดต่อไปนี้เป็นอนุกรมลู่เข้าหรือลู่ออก กรณีเป็นอนุกรมลู่เข้า ให้หาผลบวกของอนุกรมด้วย


X∞  
1 (−1)n
n
+
n=0
2 5n
n
วิธีทำ กำหนดให้ an = 21n และ bn = (−1)
5n
,n ∈ N
∞ 
X 
1
จะเห็นว่า 2n
เป็นอนุกรมเรขาคณิต ซึ่งมี a = 1 และ r = 12
∞  
n=0
X 1 1
ดังนั้น จากทฤษฎีบท 3.4 จะได้ว่า เป็นอนุกรมลู่เข้า และมีผลบวกคือ =2
2n 1− 1
2
∞   n=0
X (−1)n
และจะเห็นว่า 5n
เป็นอนุกรมเรขาคณิต ซึ่งมี a = 1 และ r = − 15
∞  
n=0
X (−1)n 1 5
ดังนั้น จากทฤษฎีบท 3.4 จะได้ว่า เป็นอนุกรมลู่เข้า และมีผลบวกคือ 1 =
5n 1 − (− 5 ) 6
∞  
n=0
X 1 (−1)n
เพราะฉะนั้น อนุกรม 2n
+
5n
เป็นอนุกรมลู่เข้า และมีผลบวกคือ 2 + 65 = 17
6
n=0

∞ 
X 
1
8. จงทดสอบว่าอนุกรม √ เป็นอนุกรมลู่เข้าหรืออนุกรมลู่ออก โดยวิธีอินทิกรัล (Integral Test)
n=1
n+5
วิธีทำ ให้ an = √ 1 , n ∈ N
n+5
1
ให้ f (x) = √ , x≥1
x+5
พิจารณาว่าฟังก์ชัน f (x) เป็นฟังก์ชันลดและต่อเนื่องสำหรับ x ≥ 1 หรือไม่?
โดยพิจารณาจาก f (x) < 0 จะได้

′ 1
f (x) = − (x + 5)− 2
3

2
1 √
=− √ <0 ∵ (x + 5) > 0, x+5>0
2(x + 5) x + 5
1
นั่นคือ f (x) = √ , x ≥ 1 เป็นฟังก์ชันลด
x+5
ต่อไปจะพิจารณาว่าฟังก์ชัน f (x) เป็นฟังก์ชันต่อเนื่องสำหรับ x ≥ 1 จะได้
Page 4
1. f (1) หาค่าได้
1 1
f (1) = √ =√
1+5 6
2. x→1
lim f (x) หาค่าได้
1 1 1
lim f (x) = lim √ =√ =√
x→1 x→1 x+5 1+5 6
3. f (1) = lim f (x) นั่นคือ 1. = 2.
x→1

ดังนั้น f (x) เป็นฟังก์ชันต่อเนื่องที่ x = 1


และไม่ต่อเนื่องที่ x = −5 เพราะ f (−5) หาค่าไม่ได้
ต่อไปจะพิจารณา
Z ∞ Z ∞
1
f (x)dx = √ dx
x+5
1
Z1 ∞
(x + 5)− 2 dx
1
=
1
Z b
= lim (x + 5)− 2 dx
1

b→∞ 1
 
(x + 5) 2 x=b
1

= lim 1
b→∞ x=1
2
√ x=b 

= lim 2 x + 5
b→∞ x=1
√ √ 
= lim 2 b + 5 − 2 1 + 5
b→∞
√ √
=2 ∞+5−2 6

=∞−2 6
=∞
∞ 
X 
1
ดังนั้น √ ลู่ออก
n=1
n+5

X

1
9. จงทดสอบว่าอนุกรม √
3
เป็นอนุกรมลู่เข้าหรืออนุกรมลู่ออก โดยวิธีเปรียบเทียบ (The Comparison Test)
n=1
n +1
1
วิธีทำ an = √ ; n ∈ N, เลือก bn = √1 3 เราจะได้ว่า an ≤ bn
n3
+1 n
X∞
และอนุกรม √1 3 เป็นอนุกรมลู่เข้า เพราะเป็นอนุกรมพี ซึ่ง p = 23 > 1
n=1 n
X∞
ดังนั้น อนุกรม √ 31 เป็นอนุกรมลู่เข้า
n=1
n +1

Page 5
X

1
10. จงทดสอบว่าอนุกรม √
1+ n
เป็นอนุกรมลู่เข้าหรืออนุกรมลู่ออก
n=1
โดยวิธีเปรียบเทียบลิมิต (The Limit Comparison Test)
X

วิธีทำ an = 1 + √n ; n ∈ N, เลือก bn = √n (ทราบว่า √1n ลู่ออก เนื่องจากอนุกรมพี ซึ่ง p = 21 )
1 1
n=1
lim ab n จะได้ว่า
พิจารณา n→∞
n

1
√ √
an 1+ n n
lim
n→∞ b
= lim
n→∞ 1
= lim
n→∞ 1 +
√ =1>0
n
n

n
X

1
ดังนั้น อนุกรม √
1+ n
เป็นอนุกรมลู่ออก
n=1

X

n!
11. จงทดสอบว่าอนุกรม (2n + 1)!
เป็นอนุกรมลู่เข้าหรืออนุกรมลู่ออก
n=1

วิธีทำ an = (2nn!+ 1)! ; n ∈ N จะได้ว่า an+1 = (2(n(n++1)1)!+ 1)!



an+1
lim a จะได้ว่า
พิจารณา n→∞
n

an+1 (n + 1)! (2n + 1)!
lim = lim ·
n→∞ an n→∞ (2(n + 1) + 1)! n!
(n + 1) · n! (2n + 1)!
= lim ·
n→∞ (2n + 3)(2n + 2)(2n + 1)! n!
(n + 1)
= lim
n→∞ (2n + 3)(2n + 2)
n+1
= lim 2
n→∞ 4n + 10n + 6

=0<1

X

n!
ดังนั้นโดยการทดสอบแบบอัตราส่วน อนุกรม (2n + 1)!
เป็นอนุกรมลู่เข้า
n=1

∞ 
X n
5n + 2
12. จงทดสอบว่าอนุกรม 3n − 1
เป็นอนุกรมลู่เข้าหรืออนุกรมลู่ออก
 n=1 n
5n + 2
วิธีทำ ให้an =
3n − 1
;n ∈ N
p
พิจารณา n→∞
lim n |an| จะได้ว่า
s  
p 5n + 2 n
n
lim n
|an | = lim
n→∞ n→∞ 3n − 1
5n + 2
= lim
n→∞ 3n − 1
5
= >1
3

Page 6
∞ 
X n
5n + 2
ดังนั้นโดยการทดสอบแบบรากที่ n จะได้ว่า อนุกรม 3n − 1
เป็นอนุกรมลู่ออก
n=1

X

1
13. จงแสดงว่าอนุกรม (−1)n+1
n2
เป็นอนุกรมลู่เข้าหรืออนุกรมลู่ออก
n=1

วิธีทำ ในที่นี้ an = n12 โดยที่ n ∈ N, an+1 =


1
(n + 1)2

an+1 1 n2
= × n 2
= <1
an (n + 1)2 (n + 1)2

จะได้ว่า aan+1 < 1 นั่นคือ an เป็นลำดับลด


n

1
lim
n→∞
an = lim
n→∞ (n)2
=0

X

1
จาก an เป็นลำดับลด และ n→∞
lim an = 0 โดย Leibnitz’s Theorem จะได้ว่า (−1)n+1
n2
เป็นอนุกรมลู่เข้า
n=1

X
∞  n n
14. จงแสดงว่าอนุกรม (−1) n+1
10
เป็นอนุกรมลู่เข้าหรืออนุกรมลู่ออก
n=1  n n
วิธีทำ ในที่นี้ an = (−1)n+1 10
โดยที่ n ∈ N
พิจารณา p  n n
lim
n→∞
n
|an | = lim
n→∞ 10
 x x
กำหนดให้ y=
10
โดยที่ x ∈ N จะได้ว่า
 x x
y=
10
 x x
ln y = ln 10
x
lim ln y = x→∞
x→∞
lim x ln 10
lim ln y = ∞
x→∞

lim y = e∞ = ∞
x→∞

p X
∞  n n
นั่นคือ n→∞
lim n
|an | > 1 แล้วจะได้ว่า (−1)n+1
10
เป็นอนุกรมลู่ออกโดยการทดสอบโดยใช้รากที่ n
n=1

Page 7
X
∞  
15. จงแสดงว่าอนุกรม (−1) n+1 tan−1 n เป็นอนุกรมลู่เข้าแบบสัมบูรณ์ อนุกรมลู่เข้าแบบมีเงื่อนไข หรืออนุกรมลู่
n=1
n2 + 2
ออก  −1  X ∞  
X∞
tan n tan −1
n
วิธีทำ (−1)n+1 =
n2 + 2 n2 + 2
n=1 n=1
tan−1 n โดยที่ n ∈ N และ b 1 X∞
1
ให้ an =
n2 + 2
n =
n2
จะเห็นได้ว่า n2
เป็นอนุกรมพี ซึ่ง p = 2 เป็นอนุกรมลู่เข้า
n=1

ดังนั้น
tan−1 n
an n2 + 2
lim
n→∞ b
= lim
n→∞ 1
n
n2
tan−1 n × n2
= lim 2 ; (อยู่ในรูปแบบไม่กำหนด

)
n→∞ n + 2 ∞
กำหนดให้ f (x) = (x )(x2tan
2 −1
x)
+2
, x≥1 จะได้่ว่า
1
(tan−1 x)(2x) + (x2 )( )
lim f (x) = x→∞
lim x2 +1
x→∞ 2x
x2
2x tan−1 x + 2
= lim x +1
x→∞ 2x  
x
= lim (tan
x→∞
−1
x) + lim
x→∞ 2
2x + 2
π
=
2

lim tan
−1
lim ab n = n→∞
เพราะฉะนั้น n→∞ 2
n
n +2
π
× n2 = > 0
2
n
X∞
1
เนื่องจาก n2
เป็นอนุกรมลู่เข้า ดังนั้นโดยการทดสอบแบบเปรียบเทียบลิมิต(The comparison test)
n=1
X

tan−1 n
n2 + 2
เป็นอนุกรมลู่เข้าด้วย
n=1
X∞  −1 
ดังนั้น จึงสรุปได้ว่า (−1) n+1 tan n เป็นอนุกรมลู่เข้าแบบสัมบูรณ์
n=1
n2 + 2

X
∞ √ √ 
16. จงแสดงว่า อนุกรม (−1)n+1 n+1− n เป็น อนุกรมลู่ เข้า แบบสัมบูรณ์ อนุกรมลู่ เข้า แบบมี เงื่อนไข หรือ
n=1
อนุกรมลู่ออก
∞ √
X √  X
∞ 
√ √ 
วิธีทำ (−1)n+1
n+1− n = n+1− n
n=1
√ √
n=1 √ 
√  n+1+ n 1
จากโจทย์จะได้ว่า an = n+1− n × √ √ =√ √ ;n ∈ N
n+1+ n n+1+ n

Page 8
และให้ bn = √1n เป็นอนุกรมพี ซึ่ง p = 12 เป็นอนุกรมลู่ออก พิจารณา
1
√ √
an n+1+ n
lim = n→∞
n→∞ bn
lim 1

n

n 1
= lim √ √ = >0
n→∞ n+1+ n 2
∞ √
X √ 
ดังนั้น (−1)n+1
n+1− n เป็นอนุกรมลู่ออก
n=1
X
∞ √ √ 
พิจารณาการลู่เข้าของ (−1) n+1− n
n+1

√
n=1 √ √ 
√  n+1+ n 1
ในที่นี้ an = n + 1 − n × √ √ =√ √ ;n ∈ N จะเห็นได้ว่า an เป็นลำดับลด
n+1+ n n+1+ n
ต่อไปพิจารณาว่า lim an จะได้ว่า
n→∞

√ √ 
lim an = n→∞
n→∞
lim n + 1 − n
√ √ √ 
√  n+1+ n
= lim n+1− n × √ √
n→∞ n+1+ n
n+1−n
= lim √ √
n→∞ n+1+ n
1
= lim √ √ =0
n→∞ n+1+ n

จาก an เป็นลำดับลด และ n→∞


lim an = 0 โดย Leibnitz’s Theorem
X
∞ √ √ 
จะได้ว่า n+1
(−1) n+1− n เป็นอนุกรมลู่เข้า
n=1
X
∞ √ √ 
ดังนั้น อนุกรม (−1)n+1 n+1− n ลู่เข้าแบบมีเงื่อนไข
n=1

Page 9
17. จงหารัศมีของการลู่เข้า และช่วงของการลู่เข้าของอนุกรมที่กำหนดให้
X

(−1)n n2 xn
n=1

วิธีทำ ให้ an(x) = (−1)nn2xn


จาก an+1(x) = (−1)n+1(n + 1)2xn+1 ทำให้ได้ว่า

an+1 (x)
= lim (n + 1) |x|
2 n+1
lim
n→∞ an (x) n→∞ n2 |x|n
n2 + 2n + 1
= lim |x|
n→∞ n2
n2
+ n2 + n12
= |x| lim n2
n2
n→∞
n2

= |x|

แสดงว่า ลู่เข้าที่ |x| < 1 นั่นคือ −1 < x < 1


และรัศมีของการลู่เข้า คือ 1

จากนั้นพิจารณาจุดปลายทั้งสอง
X
∞ X
∞  
x=1: (−1)n n2 1n = (−1)n n2 ลู่ออก โดยการทดสอบ n→∞
lim an ̸= 0
n=1 n=1
X
∞ X
∞ X
∞  
x = −1 : (−1)n n2 (−1)n = (−1)2n n2 = n2 ลู่ออก โดยการทดสอบ n→∞
lim an ̸= 0
n=1 n=1 n=1

ดังนั้นช่วงของการลู่เข้าคือ (−1, 1) นั่นคือ −1 < x < 1 และรัศมีของการลู่เข้า คือ 1

18. จงหาอนุกรมเทย์เลอร์ f (x) = e−6x รอบจุด x = −4 โดยกระจาย 4 พจน์แรกของอนุกรม


วิธีทำ ถ้า f (x) = e−6x จะได้ว่า
f (x) = e−6x , f (−4) = e24
f ′ (x) = −6e−6x , f ′ (−4) = −6e24
f ′′ (x) = (−6)2 e−6x , f ′′ (−4) = (−6)2 e24
f ′′′ (x) = (−6)3 e−6x , f ′′′ (−4) = (−6)3 e24

ดังนั้น
f ′′ (−4) f ′′′ (−4)
P3 (x) = f (−4) + f ′ (−4) (x + 4) + (x + 4)2 + (x + 4)3
2! 3!
(−6)2 24 (−6)3 24
= e24 − 6e24 (x + 4) + e (x + 4)2 + e (x + 4)3
2! 3!

Page 10
 
1+x
19. จงหาอนุกรมแมคลอรินสำหรับ f (x) = ln 1−x
x 2 x3 (−1)n xn+1 X∞ n n+1
เมื่อกำหนดให้ ln |1 + x| = x − 2 + 3 − . . . + n + 1 + . . . = (−1) n+1
x
, −1 < x ≤ 1
n=0
2 3 n n+1
วิธีทำ เนื่องจาก ln |1 + x| = x − x2 + x3 − . . . + (−1)
n+1
x
+ ...
2
(−x)3 (−1)n (−x)n+1
ทำให้ได้ว่า ln |1 − x| = ln |1 + (−x)| = (−x) − (−x)
2
+
3
− ... +
n+1
+ ...
พิจารณา
 
1+x
ln 1−x
= ln(1 + x) − ln(1 − x)
   
x2 x3 x 2 x3
= x− + − . . . − −x − − − ...
2 3 2 3
 
x 3 x5
=2 x+ + + ···
3 5
X∞
x2n−1
=2
n=1
2n − 1
  X∞
1+x x2n−1
ดังนั้น ln 1−x
=2
2n − 1
n=1

20. จงหาอนุกรมกำลังของ f (x) = (1 + 3x)−6 โดยใช้สูตรอนุกรมทวินามกระจาย 4 พจน์แรก


วิธีทำ ใช้สูตรอนุกรมทวินาม แทน k = −6 จะได้สัมประสิทธิ์ทวินามเป็น
!
−6 −6(−7) . . . (−6 − n + 1)
= ,n ≥ 1
n n!

ดังนั้น
f (x) = (1 + 3x)−6
!
X

−6
= (3x)n
n=0 n
(−6)(−7) (−6)(−7)(−8)
= 1 + (−6)(3x) + (3x)2 + (3x)3 + · · ·
2! 3!
= 1 − 18x + 189x − 1512x + · · ·
2 3

Page 11

You might also like