You are on page 1of 26

(เฉลย) เตรียมสอบ O-NET | คณิตศาสตร์ ม.

3 ปีการศึกษา 2566

(เฉลยขอสอบ) : สาระที่ 2 การวัดและเรขาคณิต


ค 2.1 ม.2/1 ประยุกตใชความรูเรื่องพื้นที่ผิวของปริซึมและทรงกระบอกในการแกปญหา คณิตศาสตรและปญหาใน
ชีวิตจริงและปญหาในชีวิตจริง
ค 2.1 ม.3/1 ประยุกตใชความรูเรื่องพื้นที่ผิวของพีระมิด กรวย และทรงกลมในการแกปญหาคณิตศาสตรและปญหา
ในชีวิตจริง
ขอที่ เหตุผล
1 ตอบ ขอ 4) 2.5 เมตร
วิธีคิด

2x x

2x
2x

1
พื้นที่ผิวพีระมิด = x รอบรูป x สูงเอียง( ) **หาสูงเอียง ( )**
2
1
จะได้ x รอบรูป x สูงเอียง = 25 5
2 2x
1
x 8x x 5 x = 25 5
2
= + x
4 5 x 2 = 25 5
25 5 = +
x2 =
4 5
5 =
X=
2
X = 2.5 = x
ดังนัน ท่อน้้าสูง 2.5 เมตร

Facebook : SanookKID คณิตศาสตร์


(เฉลย) เตรียมสอบ O-NET | คณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2566

ขอที่ เหตุผล
2 ตอบ ข้อ 4) 748 ตารางนิ้ว
เพราะ หา r จากสูตร ปริมาตรของทรงกระบอก = r h
2

22 2
1,540 = (10)
7 r
1,540  7
r
2
=
22  10
r
2
= 49
r = 7

หา พื้นที่ผิวทั้งหมด = 2r 2 h + 2r 2


= 2  22  7 10  2  22  7
2

7 7
= 440 + 308
= 748 ลูกบาศ์กนิ้ว
ดังนั้น แท่งเหล็กนี้มีพื้นที่ผิวทั้งหมดประมาณ 748 ลูกบาศ์กนิ้ว
3 ตอบขอ 2) 17 แผน
วิธีคิด บัตรคอนเสิร์ต 1 ใบ ใช้กระดาษ 5 x 15 = 75 ตารางเซนติเมตร
บัตรคอนเสิร์ต 1,000 ใบ ใช้กระดาษ 1,000 x 75 = 75,000 ตารางเซนติเมตร
กระดาษโปสเตอร์แผ่นใหญ่ 1 แผ่น มีพื้นที่ 50 x 90 = 4,500 ตารางเซนติเมตร
แสดงว่า ต้องใช้กระดาษโปสเตอร์แผ่นใหญ่ 75,000 ÷ 4,500 = 16.6666.. หรือ 17 แผ่น
ดังนั้น จะต้องซื้อกระดาษโปสเตอร์จากร้านค้ามาใช้อย่างน้อยที่สุด 17 แผ่น
4 ตอบ ขอ 2) 36 ตารางเซนติเมตร
เพราะ พื้นที่ผิวมีทั้งหมด 6 ด้าน ซึ่งแต่ละด้าน มีพื้นที่ผิวเท่ากัน
ดังนั้น หาเพียง 1 ด้าน แล้วคูณด้วย 6 ก็จะทราบค้าตอบ
ฉะนั้น 6 X 6 = 36 ตารางเซนติเมตร
ดังนั้น พื้นที่ผิวของรูปทรงตันนั้นมีพื้นที่ 36 ตารางเซนติเมตร
5 ตอบ ขอ 1) 4 ลูก เพราะ มีเพียง 4 ลูกบาศ์ก ที่ถูกทาสีแดงเพียงหน้าเดียว

Facebook : SanookKID คณิตศาสตร์


(เฉลย) เตรียมสอบ O-NET | คณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2566

ขอที่ เหตุผล
6 ตอบ ข้อ 3) 132 ตารางเซนติเมตร
1 
เพราะ หาพื้นที่ผิวของฐานรูปปริซึมฐานเหลี่ยม = 2    °  Ê
2 
1 
= 2    3 4
2 
= 12 ตารางเซนติเมตร
หาพื้นที่ผิวข้างด้านที่ 1 = ก X ย
= 5 X 10
= 50 ตารางเซนติเมตร
หาพื้นที่ผิวข้างด้านที่ 2 = ก X ย
= 4 X 10
= 40 ตารางเซนติเมตร
หาพื้นที่ผิวข้างด้านที่ 3 = ก X ย
= 3 X 10
= 30 ตารางเซนติเมตร
รวมพื้นที่ผิวทั้งหมด = 12 + 50 +40 +30
= 132 ตารางเซนติเมตร
ดังนั้น พื้นที่ผิวทั้งหมดของปริซึมเท่ากับ 132 ตารางเซนติเมตร
7 ตอบ 248 ตาราเซนติเมตร เพราะ
พื้นที่ Δ ACD = x AC x DO

x8x3
=

12 ตารางเซนติเมตร
=

12 ตารางเซนติเมตร
พื้นที่ Δ ACB = พื้นที่ Δ ACD =

12 + 12 ตารางเซนติเมตร
พื้นที่สี่เหลี่ยม ABCD =

24 ตารางเซนติเมตร
=

Facebook : SanookKID คณิตศาสตร์


(เฉลย) เตรียมสอบ O-NET | คณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2566

ขอที่ เหตุผล

พื้นที่หัว + พื้นที่ท้ายของปริซึม=24 + 24 ตารางเซนติเมตร


= 48 ตารางเซนติเมตร .............. ( 1 )
ปริซึมสูง 10 เซนติเมตร
พื้นที่ด้านข้างแต่ละด้าน = กว้าง x ยาว

5 x 10
=

50 ตารางเซนติเมตร
=
4 x 50 ตารางเซนติเมตร
พื้นที่ด้านข้าง 4 ด้าน =

200 ตารางเซนติเมตร .............. ( 2 )


=
จาก ( 1 ) และ ( 2 )
พื้นที่ผิวทั้งหมด = 48 + 200 ตารางเซนติเมตร = 248 ตารางเซนติเมตร
8 ตอบ ขอ 2) 440 ตารางเมตร
1 
เพราะ หาพื้นที่ผิวข้างครึ่งเดียว =   2rh 
2 
=  1  2  22  7  20
2 7 
= 440 ตารางเซนติเมตร
ดังนั้น จะต้องใช้ผ้าใบท้าหลังคาอย่างน้อย 440 ตารางเซนติเมตร

Facebook : SanookKID คณิตศาสตร์


(เฉลย) เตรียมสอบ O-NET | คณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2566

ขอที่ เหตุผล
9 ตอบ ขอ 3) 13.20 ตารางเมตร

3 เมตร

ทรงกระบอก
พื้นที่ฐาน = r 2
22 2
1.54 = r
7
r 2 = 0.49
r = 0.7 ม.
พื้นที่ผิวข้างเท่ากับ 2  rh
22
= 2 x ( ) x (0.7) x (0.3)
7
= 13.20 ตารางเมตร
ดังนั้น จะต้องทาสีประมาณ 13.20 ตารางเมตร
10 ตอบ ขอ 1) 64  ตารางเซนติเมตร
4
สูตรปริมาตรทรงกลม = r 3
3
สูตรพื้นที่ผิวข้างทรงกลม = 4 r 2
ปริมาตรรวม = ปริมาตรรูปที่ 1 + ปริมาตรรูปที่ 2
4 4
252 = r13 + r23
3 3
4
252 =  ( 53  r23 )
3
189 = 125 + r23
r23 = 64
r2 =4
ดังนั้น พื้นที่ผิวข้างลูกที่ 2 = 4 (4) 2
= 64

Facebook : SanookKID คณิตศาสตร์


(เฉลย) เตรียมสอบ O-NET | คณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2566

ขอที่ เหตุผล
11 ตอบ ขอ 2) 300 ตารางเมตร
แม่น้า
X

X + 13

ให้ X เป็นด้านกว้างของที่ดิน
X + X + X + 13 = 49
3X + 13 = 49
3X = 36
X = 12
ที่ดินมีความกว้าง 12 เมตร
แสดงวา ที่ดินแปลงนี้มีความยาว X + 13 = 12 + 13
= 25 เมตร
ดังนั้น ที่ดินแปลงนี้มีพื้นที่ 12 x 15 = 300 ตารางเมตร
12 ตอบ ขอ 4. 360 ตารางเมตร

l=9

r=7

h=4

พื้นที่ผิว
22
กรวย = rl = x 7 x 9 = 198
7
22
ทรงกระบอก = 2 rh = 2 x x 7 x 4 = 176
7
แสดงวา พื้นที่ผิวรวม เท่ากับ 198 + 176 = 374 ตารางเมตร
ดังนั้น ต้องซื้อพลาสติกประมาณ 374 – 14 = 360 ตารางเมตร

Facebook : SanookKID คณิตศาสตร์


(เฉลย) เตรียมสอบ O-NET | คณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2566

ค 2.1 ม.2/2 ประยุกตใชความรูเรื่องปริมาตรของปริซึมและทรงกระบอกในการแกปญหา คณิตศาสตรและปญหาใน


ชีวิตจริงและปญหาในชีวิตจริง

ค 2.1 ม.3/2 ประยุกตใชความรูเรื่องปริมาตรของพีระมิด กรวย และทรงกลมในการ แกปญหาคณิตศาสตรและ

ปญหาในชีวิตจริง

ขอที่ เหตุผล
1 ตอบ ข้อ 2) 3 นิ้ว
วิธิคิด ปริมาตรทรงสี่เหลี่ยม – ปริมาตรทรงกระบอก = ปริมาตรแท่งใช้คอนกรีตหล่อ
(กว้าง x ยาว x สูง) - r 5h = 750
22
(8 x 21 x 8) - r 2 (21) = 750
7
2
1,344 - 66 r = 750
1,344 – 750 = 66 r 2
594 = 66 r 2
594 2
=r
66
9 = r2
3=r
ดังนั้น รัศมีของทรงกระบอกยาว 3 นิ้ว
2 ตอบ ข้อ 1) 8 เซนติเมตร
1
เพราะ หาปริมาตรทรงกรวย = r h
2

3
3.14  5 2  12
=
3
= 314 ลบ.ซม.
หาปริมาตรทรงกระบอก = r 2 h
= 3.14  52 12
= 942 ลบ.ซม.
จะได้ปริมาตรน้้า = 942 – 314
= 628 ลบ.ซม.
หาความสูงของน้้าจากปริมาตรทรงกระบอก = r 2 h
628 = 3.14  52  h

Facebook : SanookKID คณิตศาสตร์


(เฉลย) เตรียมสอบ O-NET | คณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2566

ขอที่ เหตุผล
628
h =
3.14  5 2
h = 8 ซม.
ดังนั้น ความสูงของระดับน้้าในทรงกระบอกเท่ากับ 8 เซนติเมตร
3 ตอบ ข้อ 4) 770 ลูกบาศก์นิ้ว
เพราะ หาปริมาตรทรงกระบอก = r 2 h
22  7 2  5
=
7
= 770 ลบ.ซม.
4 ตอบ ขอ 4) 48 ลูกบาศกเชนติเมตร
เพราะ พีระมิดฐานสี่เหลี่ยมจัตุรัสมีพื้นที่ 36 ตร.ซม.
ดังนั้น มีความยาวด้านละ 6 ซม. มีความยาวด้านครึ่งหนึ่ง คือ 3 ซม.
สูงตรงของพีระมิดมีความยาว 4 ซม..
1
หาปริมาตรพีระมิดฐานสี่เหลี่ยมจัตุรัส =  ด2  ส
3
1 2
= 6 4
3
= 48 ลบ.ซม.
ดังนั้น พีระมิดนี้จะมีปริมาตร 48 ลูกบาศก์เซนติเมตร
5 ตอบ ขอ 2) 160 ลูกบาศกนิ้ว
1
เพราะ หาปริมาตรพีระมิดฐานสี่เหลี่ยมผืนผ้า =  ก  ย  ส
3
1
=  6  8  10
3
= 160 ลบ.นิ้ว
ดังนั้น พีระมิดนี้มีปริมาตร 160 ลูกบาศก์นิ้ว
6 ตอบ ขอ 2) 154 ลูกบาศกเซนติเมตร
1
เพราะ หาปริมาตรทรงกรวย = r h
2

3
22  3.5 2  12
=
3 7
= 154 ลบ.ซม.
ดังนั้น เติมน้้าจนเต็มถ้วยจะได้น้าปริมาตร 154 ลูกบาศก์เซนติเมตร

Facebook : SanookKID คณิตศาสตร์


(เฉลย) เตรียมสอบ O-NET | คณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2566

ขอที่ เหตุผล
7 ตอบ ขอ 3) 1,848 ลูกบาศกนิ้ว
เพราะ หาปริมาตรทรงกระบอก = r 2 h
22  7 2  12
=
7
= 1,848 ลบ.นิ้ว
8 ตอบ ขอ 3) 18,000 ลูกบาศกเมตร
เพราะ หาปริมาตรทรงปริซึม = ก x ย x ส
= 2 x 3 x 2.5
= 15 ลบ.ม./วินาที
1 นาที น้้าไหลผ่านเป็น ปริมาตร = 15 x 60
= 900 ลบ.ม./นาที
20 นาที น้้าไหลผ่านเป็น ปริมาตร = 900 x 20
= 18,000 ลบ.ม.
ดังนั้น ปริมาตรของน้้าเต็มท่อที่ไหลออกในเวลา 20 นาทีเป็น 18,000 ลูกบาศก์เมตร
9 ตอบ 1.5 ฟุต
เพราะ หาปริมาตรของปริซึมฐานสามเหลี่ยม = กว้าง × ยาว × สูง
30 = 𝑥 × 10 × 2
30 = 20𝑥
30
𝑥=
20
3
𝑥=
2
𝑥 = 1.5
ดังนั้น ถังเก็บน้้านี้ยาว 1.5 ฟุต
10 ตอบ ขอ 2) 420 ลูกบาศกเซนติเมตร
1
เพราะ หาปริมาตรของปริซึมฐานสามเหลี่ยม =  ฐ  ส  ส
2
1
=  5  12  14
2
= 420 ลบ.ซม.
ดังนั้น ปริซึมสามเหลี่ยมที่ได้มีปริมาตร 420 ลูกบาศก์เซนติเมตร

Facebook : SanookKID คณิตศาสตร์


(เฉลย) เตรียมสอบ O-NET | คณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2566

ขอที่ เหตุผล
11 ตอบ 6 เทา

“ 1 รูปสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน = 2 รูปสามเหลี่ยมด้านเท่า”
ปริมาตรปริซึม = พื้นที่ฐาน x สูง
1
ปริมาตรพีระมิด = x พื้นที่ฐาน x สูง
พื้นที่ฐาน x สูง 3
ดังนั้น ปริมาตรปริซึม =
ปริมาตรพีระมิด x พื้นที่ฐาน x สูง
2
=
1
x1
3

= 6 เท่า

Facebook : SanookKID คณิตศาสตร์


(เฉลย) เตรียมสอบ O-NET | คณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2566

ขอที่ เหตุผล
12 33
ตอบ ขอ 4) ลูกบาศกเมตร
7

จากภาพจะเห็นได้ว่า รัศมี(r)ของฐานอ่างบัว มีความยาวเท่ากับความยาวแต่ละด้านของฐานถังน้้า


หารัศมีของฐานอางบัว
ดังนั้น ปริมาตรของถังน้้า = พื้นที่ฐาน X สูง
24 = r x r x 3r **3r คือ ความสูง// สูงเป็น 3 เท่า
3
24 = 3r
8 = r3
2 = r **รัศมีเท่ากับ 2
หาปริมาตรอางบัว
3 2 1 3 22 1
x r x = x x2x2x
4 2 4 7 2
33
=
7
33
ดังนั้น ความจุของน้้ามากที่สุดที่ฐานอ่างบัวจะรองรับได้ ลูกบาศก์เมตร
7

Facebook : SanookKID คณิตศาสตร์


(เฉลย) เตรียมสอบ O-NET | คณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2566

ค 2.2 ม.1/2 เขาใจและใชความรูทางเรขาคณิตในการวิเคราะหหาความสัมพันธระหวาง รูปเรขาคณิตสองมิติและ


รูปเรขาคณิตสามมิติ
ขอที่ เหตุผล
1 ตอบ ข้อ 1) เพราะ ข้อ ก ถูก ข้อ ข ถูก ข้อ ค ถูก
2 ตอบ ข้อ 2) เพราะ

3 ตอบ ข้อ 1 , 2 ) เพราะ 1. ภาพด้านหน้าของรูป A และ B เหมือนกัน


2. ภาพด้านข้างของรูป A และ B เหมือนกัน
4 ตอบ ข้อ 2 13 รูป
5 ตอบ ข้อ 2) เพราะ

6 ตอบ ข้อ 2) เพราะ

7 ตอบ ข้อ 4) เพราะ

8 ตอบ ข้อ 3) เพราะ มี 10 ลูก


9 ตอบ ข้อ 2)

Front view เดิม Front view ใหม

Facebook : SanookKID คณิตศาสตร์


(เฉลย) เตรียมสอบ O-NET | คณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2566

ค 2.2 ม.2/2 นําความรูเกี่ยวกับสมบัติของเสนขนานและรูปสามเหลี่ยมไปใชในการแกปญหา คณิตศาสตร

ค 2.2 ม.2/4 เขาใจและใชสมบัติของรูปสามเหลี่ยมที่เทากันทุกประการในการแกปญหา คณิตศาสตรและปญหา

ในชีวิตจริง
ขอที่ เหตุผล
1 ตอบ ขอ 4) 81 ตารางเซนติเมตร
วิธีคิด

สามเหลี่ยมใหญ่ a 9
= =
สามเหลี่ยมเล็ก 8 4
9x8
a=
4
a = 18
1
แสดงว่า พื้นที่ของรูปสามเหลี่ยม TRP = x ฐาน x สูง
2
1
= x 9 x 18
2
= 81
ดังนั้น รูปสามเหลี่ยม TRP มีขนาด 81 ตารางเซนติเมตร

Facebook : SanookKID คณิตศาสตร์


(เฉลย) เตรียมสอบ O-NET | คณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2566

ขอที่ เหตุผล
2 ตอบ ขอ 4) 1.88 กิโลเมตร
วิธีคิด

4y+200 4y+200
x x

โรงเรียน y y วัด

บ้านแอนห่างจากวัด = 4y+200
= (4 x 420) + 200
= 1,680 + 200
= 1,880 เมตร หรือ 1.88 กิโลเมตร
ดังนั้น บ้านแอนห่างจากวัด 1.88 กิโลเมตร
3 ตอบ ข้อ 4) รูปสามเหลี่ยม ที่บอกขนาดของมุมทั้งสามมุม
เพราะ ความสัมพันธ์รูปสามเหลี่ยมเท่ากันทุกประการ
1. ด้าน – มุม – ด้าน ( ด.ม.ด )
2. มุม – ด้าน – มุม ( ม.ด.ม. )
3. มุม – มุม – ด้าน ( ม.ม.ด. )
4 ตอบ ข้อ 3) 540 องศา เพราะ
a + ก = 180 ……1
ข + c = 180 ......2
ค + d = 180 ......3
น้า 1 + 2 + 3
a + ก + ข + c + ค + d = 540
a + b + c + d = 540

Facebook : SanookKID คณิตศาสตร์


(เฉลย) เตรียมสอบ O-NET | คณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2566

ขอที่ เหตุผล
5 ตอบ ขอ 3) ตองแบงครึ่งสวนของเสนตรง 3 ครั้ง จะสามารถแบงเปน 4 สวนเทาๆ กันได
เพราะ 1. เมื่อแบ่งครึ่งมุมป้านอาจจะได้มุมป้าน 2 มุมมีขนาดเท่ากัน ได้มุมแหลม
2. การแบ่งมุมออกเป็น 3 มุม ขนาดเท่กัน ท้าได้โดยใช้การแบ่งครึ่งมุม ผิด
3. ต้องแบ่งครึ่งส่วนของเส้นตรง 3 ครั้ง จะสามารถแบ่งเป็น 4 ส่วนเท่าๆ กันได้ ถูก
4. ไม่มีรูปสามเหลี่ยมหน้าจั่วที่เป็นสามเหลี่ยมมุมฉาก ผิด
6 ตอบ ขอ 2) ขอ ก ถูก ขอ ข ผิด
เพราะ รูป ก ได้ 8 รูป ข ได้ 5

7 ตอบ ขอ 4) มีสองดานที่ยาวรวมกันได 27 เซนติเมตร


เพราะ รูปสามเหลี่ยมมีอัตราส่วนความยาวรอบรูป 3+4+5 = 12
มีความยาวรอบรูปจริง 36 ซม.
ดังนั้น 12 ส่วน = 36 ซม.
ถ้า 1 ส่วน = 3 ซม.
จะได้ว่า มีด้านที่ 1 ยาว 3 x 3 = 9 ซม.
จะได้ว่า มีด้านที่ 2 ยาว 4 x 3 = 12 ซม.
จะได้ว่า มีด้านที่ 3 ยาว 5 x 3 = 15 ซม.
8 ตอบ ข้อ 4) เพราะ ADB = ADC = 120 องศา
9 ตอบ ข้อ 1) 8 หนวย
เพราะ หา ด้าน AD จาก c 2  a 2  b 2
a 2  132  5 2
a = 12
หา ด้าน DC จาก c2  a2  b2

a 2  152  122
a = 8 ซม.
10 ตอบ ขอ 4) มีสองดานที่มีความยาวรวมกัน 21 นิ้ว
เพราะ รูปสามเหลี่ยม ABC มีความยาวรอบรูป 2+3+4 = 9 นิ้ว
ซึ่ง รูปสามเหลี่ยม ABC เป็น รูปสามเหลี่ยมคล้าย DEF
ดังนั้น อัตราส่วนความยามรอบรูป 9 : 36

Facebook : SanookKID คณิตศาสตร์


(เฉลย) เตรียมสอบ O-NET | คณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2566

ขอที่ เหตุผล
ถ้า 1 ส่วน จะ เท่ากับ 3 นิ้ว
จะได้ว่า มีด้านที่ 1 ยาว 2 x 3 = 6 นิ้ว
จะได้ว่า มีด้านที่ 2 ยาว 3 x 3 = 9 นิ้ว
จะได้ว่า มีด้านที่ 3 ยาว 4 x 3 = 12 นิ้ว
11 ตอบ ขอ 4) 25 นิ้ว
เพราะ หา ด้าน AE จาก c 2  a 2  b 2
= 82  6 2
= 10
เทียบ อัตราส่วน ด้าน AE : EC กับ ด้าน AC : DC
10 AC
จะได้ว่า 
6 15
10  15
จะได้ว่า  AC
6
AC = 25 นิ้ว
ดังนั้น AC ยาว 25 นิ้ว
12 ตอบ 220 เพราะ
ก = 30
ข = 70 – 30
= 40
ค = 40
X + y = 180 + 40
= 220

13 ตอบ ขอ 3) 70 องศา

Facebook : SanookKID คณิตศาสตร์


(เฉลย) เตรียมสอบ O-NET | คณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2566

ขอที่ เหตุผล
มุม ˆ + BGH
ABG ˆ = 180
ˆ + 110 = 180
ABG
ˆ = 70
ดังนั้น ABG
14 ตอบ ขอ 1) 5 หนวย

ตรงข้ามมุม 1 ขีด ตรงข้ามมุม 2 ขีด


x 6
=
10 x7
x(x + 7) = 60
x 2 + 7x = 60
x 2 + 7x -60 = 0
(x + 12)(x – 5) =
X = (-12, 5)
ดังนั้น x ยาว 5 หน่วย

Facebook : SanookKID คณิตศาสตร์


(เฉลย) เตรียมสอบ O-NET | คณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2566

ขอที่ เหตุผล
15 ตอบ ขอ 2) 12 ฟุต

20-x

x x
x 30-x
AEG EFB
20  x x
ดังนั้น =
x 30  x
X = 600-50x+ X 2
2

50x = 600
X = 12
ดังนั้น EF เท่ากับ 12 ฟุต
16 ตอบ 15
R

a หาความ ยาวดาน RP
x
c 2  a2  b 2
S
Q 20 P
มุม P เป็นมุมร่วมของสามเหลี่ยมคล้าย 202  a2  (10 3) 2
x 10 2
= 400 = a + 300
10 3 20
10 2
x = 10 3 x 100 = a
20
x =5 3 10 = a
ดังนั้น 3 ของความยาวด้าน RS เท่ากับ 3 x 5 3 = 15

Facebook : SanookKID คณิตศาสตร์


(เฉลย) เตรียมสอบ O-NET | คณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2566

ค 2.2 ม.2/3 เขาใจและใชความรูเกี่ยวกับการแปลงทางเรขาคณิตในการแกปญหา คณิตศาสตรและปญหาในชีวิตจริง

ขอที่ เหตุผล
1 ตอบ ข้อ 3) เพราะ เลื่อนรูปต้นแบบขนานแกน ขึ้นไป 4 หน่วยแล้วสะท้อนภาพที่ได้ โดยมีแกน y
เป็นเส้นสะท้อน
2 ตอบ ข้อ 3) เพราะ สะท้อนรูปต้นแบบโดยมีแกน X เป็นเส้นสะท้อน แล้วสะท้อนภาพที่ได้โดยมีแกน
Y เป็นเส้นสะท้อน
3 ตอบ ข้อ 1) เพราะ เลื่อนไปทางซ้าย 3 หน่วย
4 ตอบ ขอ 1) (-1 , -2)

A’(-2,1)

A”(-1,-2)

5 ตอบ ขอ 1)
A(1, 2)
2
1 x

-2
A’(1, -2)

Facebook : SanookKID คณิตศาสตร์


(เฉลย) เตรียมสอบ O-NET | คณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2566

ค 2.2 ม.2/5 เขาใจและใชทฤษฎีบทพีทาโกรัสและบทกลับในการแกปญหาคณิตศาสตรและปญหาในชีวิตจริง


ค 2.2 ม.3/2 เขาใจและใชความรูเกี่ยวกับอัตราสวนตรีโกณมิติในการแกปญหาคณิตศาสตรและปญหาในชีวิตจริง

ขอที่ เหตุผล
1 ตอบ ขอ 2) 6 เซนติเมตร

ดังนั้น (16-x ) 2 = x 2 + 8 2
a2 = 20 2 - 162
a = 12 ซม. 256-32x+ x 2 = x 2 + 64

32x = 192

X =6

ดังนั้น DA ยาว 6 เซนติเมตร

Facebook : SanookKID คณิตศาสตร์


(เฉลย) เตรียมสอบ O-NET | คณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2566

2 ตอบ ขอ 4) 20 3

3 ตอบ ขอ 3) 60 3 - 60 เมตร

Facebook : SanookKID คณิตศาสตร์


(เฉลย) เตรียมสอบ O-NET | คณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2566

4 ตอบ ขอ 1) 3 เมตร


วิธีคิด

บันได ก้าแพง

x
ข้าม
sin 30 =
ฉาก
1 x
=
2 6
1
x6=x
2
3=x
ดังนั้น ปลายอีกด้านของบันไดอยู่ห่างจากฐานก้าแพง 3 เมตร

Facebook : SanookKID คณิตศาสตร์


(เฉลย) เตรียมสอบ O-NET | คณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2566

ค 2.2 ม.3/3 เขาใจและใชทฤษฎีบทเกี่ยวกับวงกลมในการแกปญหาคณิตศาสตร

ขอที่ เหตุผล
1 
ตอบ ขอ 2) หน่วย
2

60
30

60
ส่วนโค้ง AB = x 2 r
360
1 3
= x 2x  x
6 2

=
2

ดังนั้น ส่วนโค้ง AB ยาว หน่วย
2

2 ตอบ 125 องศา

Facebook : SanookKID คณิตศาสตร์


(เฉลย) เตรียมสอบ O-NET | คณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2566

มาจาก 120 = 60
2

60 o

มุม BDE = DCE + CED


= 60 + 65
= 125

Facebook : SanookKID คณิตศาสตร์


(เฉลย) เตรียมสอบ O-NET | คณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2566

3 ตอบ 128

ก้าหนดให้ w = พื้นที่สี่เหลี่ยมผืนผ้า, y = พื้นที่สามเหลี่ยม, z = พื้นที่วงกลม


พื้นที่สี่เหลี่ยมผืนผ้า (w) = 4a x 2a
w = 8 a2
w = 8(7)
w = 56
1
พื้นที่สามเหลี่ยม(y) = x 2a x 2a x 2
2
1
= x 4 a2 x 2
2
= 4(7)
= 28
พื้นที่วงกลม (z) = r 2
22
= x7x2
7
= 44
ดังนั้น พื้นที่โดยประมาณของส่วนที่แรเงาเท่ากับ 56 + 28 + 44 = 128

Facebook : SanookKID คณิตศาสตร์


(เฉลย) เตรียมสอบ O-NET | คณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2566

4 ตอบ ขอ 4) 176 เซนติเมตร


วิธีคิด

7 ซม.

1 นาที หมุน 1 รอบ ; 4 นาที หมุน 4 รอบ


เส้นรอบวงกลม = 2 r
หมุน 4 รอบ = 8 r
22
=8x x7
7
= 176
ดังนั้น เมื่อเวลาผ่านไป 4 นาที จุดตรงปลายเข็มวินาทีจะหมุนเป็นระยะทางประมาณ 176 เซนติเมตร

Facebook : SanookKID คณิตศาสตร์

You might also like