You are on page 1of 116

บทที่ 1

สถิติและการวิเคราะหขอมูลเบื้องตน
กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร 1 คณิตศาสตรเสริม 6
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6

บทที่ 1
สถิติและการวิเคราะหขอมูลเบือ้ งตน

สถิติ (Statistic) เปนศาสตรที่ใชเปนเครื่องมือชวยในการตัดสินใจอยางมีเหตุผล การแกปญหาตางๆที่


เกี่ยวของกับชีวิตประจําวัน สวนใหญมีความจําเปนที่ตองใชขอมูล สารสนเทศ และกระบวนการทางสถิติมาชวย
ในการสรุปผล และการตัดสินใจ เชน การสํารวจความคิดเห็นหรือโพล (Poll) การควบคุมคุณภาพสินคา
การทดสอบประสิทธิผลของยารักษาโรค เปนตน

1.1 ความหมายและประเภทของสถิติ
สถิติ (Statistics) เปน ศาสตรที่วาด วยการเก็บรวบรวมและการวิเคราะหขอมูลเพื่อหาขอสรุปจาก
ขอมูลที่เกี่ยวของแลวนํ ามาอธิบายปรากฏการณหนึ่ งหรือตอบคําถามหรือประเด็นป ญหาที่สนใจ โดยอาศัย
ขอมูลที่ไดจากการเกิดซ้ําๆ ของปรากฏการณนั้นๆ
พิจารณาโดยรวมแลวกลาวไดวา สถิติศาสตรครอบคลุมเรื่องของขอมูลและการเชื่อมโยงกับปญหา
รวมทั้งการสรางวิธีวิเคราะหขอมูล อาจกลาวไดวาสถิติศาสตรครอบคลุมองคประกอบดังตอไปนี้
1. การเก็บรวบรวมขอมูล (Collection of data) เปนขั้นตอนที่มีความสําคัญมาก เมื่อไดขอมูลที่มี
คุณภาพดีมาวิเคราะห ผลสรุปที่ไดรับจะมีคุณภาพดีไปดวย วิธีเก็บรวบรวมขอมูลอาจทําไดหลายวิธี เชน
การสอบถาม การสังเกต การทดลอง เปนตน
2. การวิเคราะหขอมูล (Analysis of data) เปนการหาขอสรุปจากขอมูลที่มี เพื่ออธิบายหรือ
ตอบคําถามที่ตองการ
3. การนําเสนอขอสรุป (Interpretation of data) การนําเสนอขอสรุปในรูปแบบที่เขาใจงาย
และชัดเจน หรือการเชื่อมโยงขอสรุปที่ไดจากวิธีวิเคราะหไปตอบคําถามหรือปญหาที่ตั้งไว

ประเภทของสถิติ
ในวิชาสถิติ แบงสถิติออกเปน 2 ประเภทใหญๆ คือ สถิตเิ ชิงพรรณนา และสถิติเชิงอางอิง
1. สถิติเชิงพรรณนา (Descriptive statistics) หรือเรียกอีกอยางหนึ่งวา “สถิติบรรยาย” เปนสถิติ
ที่มุงศึกษาเพื่ออธิบายเรื่องราวตางๆ ของกลุมประชากร (Population) กลุมใดกลุมหนึ่งโดยเฉพาะ อาจเปน
กลุมใหญ หรือกลุมเล็กก็ได โดยเก็บรวบรวมขอมูลจากสมาชิกทุกหนวยในกลุมประชากรนั้น ผลการศึกษาใช
อธิบ ายหรือสรุปเกี่ยวกับเรื่องราวของกลุมที่ศึกษาเทานั้น เชน ฝ ายแนะแนวของโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
สํารวจขอมูลเกี่ยวกับระดับสติปญญา (I.Q.) ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 ทุกคน ไดคาเฉลี่ยเทากับ 120
ซึ่งเปนคาเฉลี่ยของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 ของโรงเรียนนี้เทานั้น จะนําไปสรุปวานักเรียนชั้นมัธยมศึกษา
ปที่ 6 ของโรงเรียนอื่นหรือของจังหวัดอื่น มีระดับสติปญญาเฉลี่ยเทากับ 120 ดวยไมได เปนตน
กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร 2 คณิตศาสตรเสริม 6
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6

สถิติเชิงพรรณนา มีหลายชนิด ไดแก


1.1 สถิติพื้นฐาน เชน ความถี่ สัดสวน รอยละ
1.2 การวัดตําแหนง เชน อันดับที่ ควอไทล เดไซล เปอรเซ็นไทล
1.3 การวัดแนวโนมเขาสูสวนกลาง เชน ฐานนิยม มัธยฐาน คาเฉลี่ยเลขคณิต คาเฉลี่ยเรขาคณิต
1.4 การวัดการกระจาย เชน พิสัย สวนเบี่ยงเบนควอไทล สวนเบี่ยงเบนเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ความแปรปรวน สัมประสิทธิ์กระจาย
1.5 การวัดความสัมพันธ เชน สัมประสิทธิ์ถดถอย
คาตางๆ ที่คํานวณไดจากขอมูลที่เก็บรวบรวมจากสมาชิกทุกๆ หนวยของกลุมประชากร เรียกวา
คาแท หรือคา พารามิเตอร (Parameter) มีคุณสมบัติเปนคาคงที่ (Constant)
2. สถิติเชิงอางอิง (Inferential statistics) หรือที่เรียกอีกอยางหนึ่งวา สถิติเชิงอนุมาน เปนสถิติที่
มุงศึกษาเพื่อหาขอสรุปเรื่องราวของประชากร โดยเก็บรวบรวมขอมูลจากกลุมยอยที่เรียกวา กลุมตัวอยาง
(Sample) แลวนําผลการศึกษาไปสรุปอางอิงถึงกลุมใหญที่เรียกวา กลุมประชากร (Population) ซึ่งเปน
กลุม เปาหมายที่ตองการศึกษา คาตาง ๆ ที่คํานวณไดจากขอมูลที่เก็บรวบรวมจากกลุมตัวอยาง เรียกวา
คาสถิติ (Statistic) มีคุณสมบัติเปนตัวแปร (Variable)
สถิติอางอิงแบงออกเปน 2 ประเภท คือ การประมาณคาและการทดสอบสมมติฐาน
2.1 การประมาณคา (Estimation) เปนการประมาณคาแทของประชากร เรียกวาคาพารามิเตอร
(Parameter) โดยใชคาสถิติ (Statistic) ที่ไดจากกลุมตัวอยาง
2.2 การทดสอบสมมติฐาน (Testing Statistical Hypothesis) เปนการทดสอบสมมติฐานทางสถิติ
เพื่อสรุป อางอิงคาสถิติตางๆ ไปยังกลุมประชากร กลาวไดอีกอยางหนึ่งวา เปนการทดสอบความมีนัยสําคัญ
ทางสถิติ
แผนภูมิแสดงมโนทัศนเกี่ยวกับสถิติเชิงพรรณนาและสถิติเชิงอางอิง

สถิติเชิงพรรณนา

ประชากร วัดคาตัวแปร พารามิเตอร


(Population) (Parameter)

สุมตัวอยาง
ตัวอยาง วัดคาตัวแปร คาสถิติ (Statistic)
(Sample) เชน x , s, s2
สถิติเชิงอางอิง
กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร 3 คณิตศาสตรเสริม 6
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6

1.2 ขอมูลและการเก็บรวบรวมขอมูล

ความหมายของขอมูล
ขอมูล เปนขอความจริงหรือสิ่งที่บงบอกถึงสภาพ สถานการณหรือปรากฏการณใดปรากฏการณหนึ่ง
โดยที่ขอมูลอาจเปนตัวเลขหรือขอความก็ได

ประเภทของขอมูล
1. การจําแนกขอมูลตามวิธีการเก็บรวบรวมขอมูลแบงได 2 ประเภท คือ
1.1. ขอมูลปฐมภูมิ (Primary data) คือขอมูลที่ผูใชจะตองเก็บรวบรวมจากผูใหขอมูลหรือ
แหลงที่มาของขอมูลโดยตรง ทําได 2 วิธี คือ การสํามะโน (Census) และการสํารวจจากกลุมตัวอยาง
(Sample survey)
1.2. ขอมูลทุติยภูมิ (Secondary data) คือขอมูลที่ผูใชไมตองเก็บรวบรวมจากผูใหขอมูลหรือ
แหลงที่มาของขอมูลโดยตรง แตไดจากขอมูลที่มีผูอื่นเก็บรวบรวมไวแลว เชน รายงานและบทความตาง ๆ ของ
หนวยงานราชการหรือเอกชน นอกจากนี้หนังสือพิมพรายวันหรือสื่ออื่นๆ ก็จะมีขอมูลทุติยภูมิประกอบ
บทความหรือรายงานดวย
2. การจําแนกประเภทของขอมูลตามลักษณะของขอมูลจําแนกได 2 ลักษณะ คือ
2.1. ขอมูลเชิงปริมาณ (Quantitative data) คือ ขอมูลที่ใชแทนขนาดหรือปริมาณซึ่งวัด
ออกมาเปนจํานวนที่สามารถนํามาใชเปรียบเทียบกันไดโดยตรง
2.2. ขอมูลเชิงคุณภาพ (Qualitative data) คือ ขอมูลที่ไมสามารถวัดออกมาเปนจํานวนได
โดยตรง แตอธิบายลักษณะหรือคุณสมบัติในเชิงคุณภาพได เชน เพศ สถานภาพ หรือความคิดเห็นของ
ประชาชน การวิเคราะหขอมูลประเภทนี้สวนใหญทําโดยการนับจํานวนจําแนกตามลักษณะเชิงคุณภาพหรือวัด
ออกมาเปนลําดับที่หรือตําแหนงที่ก็ได เชน ความชอบ ความคิดเห็น ประสิทธิภาพในการทํางาน ฯลฯ เมื่อนํา
ขอมูลไปวิเคราะหจะตองแทนตําแหนงที่หรือลําดับที่ของขอมูลเชิงคุณภาพนี้ดวยตัวเลข
กรณีที่ขอมูลเชิงคุณภาพใดไมสามารถวัดออกมาเปนลําดับที่หรือตําแหนงที่ได เชน สถานภาพ (โสด
สมรส) เพศ (ชาย หญิง) หากมีความจําเปนตองกําหนดเปนจํานวน อาจใช เลข 0 แทน ชาย หรือ 1 แทนหญิง
จํานวนที่ใชแทนขอมูลเชิงคุณภาพเหลานี้ไมสามารถนําไปตีความหมายในเชิงปริมาณไดเปนเพียงสัญลักษณที่ใช
แทน “กลุม” ตาง ๆ เทานั้น
กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร 4 คณิตศาสตรเสริม 6
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6

วิธีเก็บรวบรวมขอมูล
1. วิธีเก็บรวบรวมขอมูลทุติยภูมิ สวนใหญมักจะอยูในหนังสือ รายงาน บทความ หรือเอกสารตาง
ๆ ควรดําเนินการดังนี้
(1) พิจารณาตัวบุคคล วาเปนผูมีความรูและมีความเชี่ยวชาญในเรื่องที่เขียนถึงขั้นที่จะเชื่อถือได
หรือไม การเขียนอาศัยเหตุผลและหลักวิชาการมากนอยเพียงใด ขอมูลที่นํามาใช ควรเก็บรวบรวมมาเอง
โดยตรง ไมควรใชขอมูลที่ผูเขียนนํามาจากแหลงขอมูลอื่น เนื่องจากอาจมีคลาดเคลื่อนจากขอมูลที่ควรจะเปน
จริงไดมาก
(2) ถาขอมูลที่ตองการเก็บรวบรวมสามารถหาไดจากหลาย ๆ แหลงเพื่อใชในการเปรียบเทียบวา
ขอมูลที่ตองการมีความผิดพลาดเนื่องจากการลอกผิด พิมพผิด หรือเขาใจผิดหรือไม
(3) พิจารณาจากลักษณะของขอมูลที่ตองการเก็บรวบรวมขอมูลวาเปนขอมูลที่เปนความจริง หรือ
ขอมูลที่ไดจากทะเบียน ขอมูลที่เปนความคิดเห็นหรือเจตคติ สวนใหญมักจะมีความถูกตองเชื่อถือไดสูง แตถา
เปน ขอมูลประเภทความลับหรือขอมูลซึ่งผูตอบอาจเสียประโยชนจากการตอบ สวนใหญมักจะไมถูกตอง
เชื่อถือไดนอย
(4) ถาขอมูลที่เก็บรวบรวมไดมาจากการสํารวจจากกลุมตัวอยาง หรือตองผานขั้นตอนการวิเคราะห
โดยใชวิธีการทางสถิติมากอน ควรจะตองตรวจสอบวิธีการที่ใชในการเลือกกลุมตัวอยาง ขนาดกลุมตัวอยาง
และวิธีการวิเคราะหวาเหมาะสมที่จะใชหรือไม

2. วิธีเก็บรวบรวมขอมูลปฐมภูมิ การเก็บรวบรวมขอมูลปฐมภูมิอาจทําไดโดยการสํามะโน (census)


และ การสํารวจจากกลุมตัวอยาง ( sample survey ) ซึ่งมีวิธีที่นิยมใชกันทั่ว ๆ ไป 5 วิธี คือ
(1) การสัมภาษณ
(2) การสอบถามทางไปรษณีย
(3) การสอบถามทางโทรศัพท
(4) การสังเกต
(5) การทดลอง
กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร 5 คณิตศาสตรเสริม 6
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6

1.3 การวิเคราะหขอมูลเบื้องตน (Analysis of Data)

การวิเคราะหขอมูลเบื้องตนเปนการวิเคราะหขอมูลเพื่อทราบลักษณะโดยรวมของขอมูลเกี่ยวกับเรื่อง
นั้น ๆ การวิเคราะหขอมูลเบื้องตนเกี่ยวของกับเรื่องการแจกแจงความถี่ของขอมูล การวัดคากลางของขอมูล
(Central value) การวัดตําแหนงที่ของขอมูล และการวัดกระจายของขอมูล ซึ่งเปนวิธีหรือเครื่องมือที่สําคัญ
ในการวิเคราะหขอมูลทุกระดับ

ระดับของขอมูล
ประชากร (Population) หมายถึง กลุมของขอมูลที่ไดจากหนวยทุกหนวยที่ตองการศึกษา เชน
ถาหนวยที่ตองการศึกษา คือ คนอายุ 15 ปขึ้นไปในจังหวัดหนึ่ง ประชากร คือ กลุมที่ประกอบดวยขอมูลที่ได
จากสมาชิกที่เปนคนมีอายุ 15 ปขึ้นไปทุกคนในจังหวัดนั้น เปนตน
ประชากรที่มีจํานวนสมาชิกเปนจํานวนที่สามารถนับไดครบถวน เรียกวา ประชากรจํากัด (Finite
population) เชน จํานวนนักเรียนในหองเรียน สวนประชากรที่มีจํานวนสมาชิกเปนจํานวนที่ไมสามารถนับได
ครบถวน เรียกวา ประชากรอนันต (Infinite population) เชนจํานวนเมล็ดขาวที่เก็บเกี่ยวไดในแตละป
ตัวอยาง (Sample) หมายถึง กลุมยอยของประชากรที่ประกอบดวยสมาชิกที่เปนหนวยที่ถูกเลือก
ขึ้นมาจากประชากรเพื่อเปนตัวแทนในการใหขอมูลที่ตองการศึกษา นั่นคือทุกหนวยของตัวอยางเปนหนวยของ
ประชากรดวย ถาขนาดตัวอยางใหญพอและการเลือกตัวอยางทําอยางถูกตองตามหลักวิชาการแลว ผลสรุปที่ได
จากตัวอยางสามารถนําไปใชอางอิงประชากรได
วัตถุประสงคในการวิเคราะหขอมูลจะทําใหทราบวา จะตองวิเคราะหเพื่อทราบภาพโดยรวมหรือ
ลักษณะกวาง ๆ ของขอมูลโดยใชสถิติเชิงพรรณนา(Descriptive statistics) หรือโดยใชสถิติเชิงอนุมาน
(Inferential statistics)

การนําเสนอขอมูล
Graphical Methods for Describing Data
ขอมูลที่เก็บรวบรวมมาได และยังมิไดมีการจัดหมวดหมู ขอมูลชนิดนี้เรียกวา ขอมูลดิบ (Raw Data)
ขอมูลดิบเหลานี้ถามีจํานวนมากเราจะไมสามารถมองเห็นลักษณะของขอมูลไดจึงตองมีการจัดเตรียมขอมูลดิบ
ใหเปนหมวดหมู ถาขอมูลดิบมีจํานวนนอย ก็ใชวิธีเรียงขอมูลจากมากไปหานอย หรือจากนอยไปหามาก ขอมูล
ที่เรียงลําดับแบบนี้ เรียกวา Ungrouped Data แตถาขอมูลดิบมีจํานวนมาก ตองใชวิธี การแจกแจงความถี่
(Frequency Distribution) ซึ่งเปนการจัดเรียงลําดับขอมูลดิบที่เก็บรวบรวมมาได โดยจัดใหเปนหมวดหมู แลว
หาจํานวนของขอมูลในแตละหมู ขอมูลที่หาไดโดยวิธีการนี้ เรียกวา ขอมูลที่เปนหมวดหมู (Grouped Data)
รูปแบบของการแจกแจงความถี่ สามารถทําได 2 รูปแบบ คือแบบใชตาราง และแบบใชแผนภูมิหรือกราฟ
กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร 6 คณิตศาสตรเสริม 6
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6

การแจกแจงความถี่แบบตาราง ไดแก
• ตารางแจกแจงความถี่ (Frequency Distribution)
• ตารางแจกแจงความถี่สะสม (Cumulative Frequency Distribution)
• ตารางแจกแจงความถี่สัมพัทธ (Relative Frequency Distribution)
• ตารางแจกแจงความถี่สะสมสัมพัทธ (Relative Cumulative Frequency Distribution)
การแจกแจงความถี่แบบใชแผนภูมิหรือกราฟ ไดแก
• ฮิสโทแกรม (Histogram)
• รูปหลายเหลี่ยมของความถี่ (Frequency Polygon)
• โคงความถี่ (Frequency Curves)
• โคงความถี่สะสม (Cumulative Frequency หรือ Ogive Curve)
• แผนภาพตน-ใบ (Stem-and-Leaf Plot หรือ Stem Plot)

1. การแจกแจงความถี่แบบตาราง (Frequency Distribution)


การแจกแจงความถี่ เปนขั้นตอนแรกของการวิเคราะหขอมูลเบื้องตน ที่ใชในการจัดขอมูลที่มีอยูหรือที่
เก็บรวบรวมมาไดใหอยูเปนพวกๆ เพื่อความสะดวกในการนําเสนอขอมูลและวิเคราะหขอมูลเบื้องตนเหลานั้น

ขั้นตอนการสรางตารางการแจกแจงความถี่

1) หาความกวางอันตรภาคชั้น ( I ) หรือจํานวนอันตรภาคชั้น จากสูตร

𝑥𝑥𝑚𝑚𝑚𝑚𝑚𝑚 −𝑥𝑥𝑚𝑚𝑚𝑚𝑚𝑚 พิสัย


I = =
จํานวนชั้น จํานวนชั้น

2) กําหนดขีดจํากัดลางและขีดจํากัดบนของชั้นแรก โดยใหมีความกวางของอันตรภาคชั้นเทากับ I
3) หาอันตรภาคชั้นตอ ๆ ไป โดยนํา I + ขีดจํากัดลาง (ขีดจํากัดบน) ของชั้นที่อยูกอนหนา
4) หารอยขีดคะแนนของขอมูลแตละอันตรภาคชั้น
5) หาความถี่ของขอมูล โดยนับจากจํานวนรอยขีดคะแนนของแตละอันตรภาคชั้น
กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร 7 คณิตศาสตรเสริม 6
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6

ตัวอยางที่ 1 ขอมูลแสดงน้ําหนัก (กิโลกรัม) ของนักเรียนกลุมหนึ่ง เปนดังนี้

40 39 52 50 51 64 72 54 52 61 67 74 80 96 80
50 60 59 45 53 47 46 94 44 47 57 50 67 59 63
60 59 33 41 35 90 67 74 75 79 59 48 56 70 63
จงสรางตารางแจกแจงความถี่แสดงน้ําหนัก (กิโลกรัม) ของนักเรียนกลุมหนึ่ง โดยใหมีความกวางของ
แตละอันตรภาคชั้นเทาๆ กัน และมีจํานวนอันตรภาคชั้น 8 ชั้น
พิสัย
วิธีทํา I =
จํานวนชั้น

96 − 33
=
8
= 7.875
≈ 8

น้ําหนัก (กิโลกรัม) รอยขีด ความถี่ (f)


33 – 40 |||| 4
41 – 48 |||| || 7
49 – 56 |||| |||| 9
57 – 64 |||| |||| | 11
65 – 72 |||| 5
73 – 80 |||| | 6
81 – 88 - 0
89 – 96 ||| 3
45

ขอสังเกต
1. คานอยที่สุดของขอมูลตองอยูอันตรภาคชั้นแรก และคามากที่สุดของขอมูลตองอยูอันตรภาคชั้นสุดทาย
2. อันตรภาคชั้นที่อยูตรงกลางไมมีขอมูลได
3. อันตรภาคชั้นแรกและชั้นสุดทายตองมีขอมูลเสมอ
กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร 8 คณิตศาสตรเสริม 6
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6

ตัวอยางที่ 2 ตารางแจกแจงความถี่ของคะแนนสอบวิชาคณิตศาสตรของนักเรียน 80 คน ดังนี้

คะแนน ขีดจํากัดชั้น จํานวน ความถี่ จุดกลาง รอยละของ รอยละของความถี่


(ความถี่) สะสม คะแนน ความถี่สัมพัทธ สะสมสัมพัทธ
30 – 39 29.5 – 39.5 2
40 – 49 39.5 – 49.5 3
50 – 59 49.5 – 59.5 8
60 – 69 59.5 – 69.5 22
70 – 79 69.5 – 79.5 25
80 – 89 79.5 – 89.5 15
90 – 99 89.5 – 99.5 5
จงหา 1. จํานวนนักเรียนที่ไดคะแนนต่ํากวา 50 คะแนน
2. จํานวนนักเรียนที่ไดคะแนนต่ํากวา 50 คะแนน คิดเปนรอยละเทาใดของจํานวนนักเรียนทั้งหมด
3. จํานวนนักเรียนที่ไดคะแนนสูงกวา 70 คะแนน คิดเปนรอยละเทาใดของจํานวนนักเรียนทั้งหมด

2. การแจกแจงความถี่แบบใชกราฟ
2.1 เมื่อตารางแจกแจงความถี่ของขอมูลที่มีความกวางของอันตรภาคชั้นเทากันทุกชั้น

ตัวอยางที่ 3 จากตารางแจกแจงความถี่ในตัวอยางที่ 2 ใหนักเรียนสราง


1) ฮิสโทแกรม
2) รูปหลายเหลี่ยมของความถี่
3) เสนโคงของความถี่
4) เสนโคงความถี่สะสม (Ogive)
กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร 9 คณิตศาสตรเสริม 6
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6

1) ฮิสโทแกรม
ความถี่
30

25

20

15

10

0
29.5 39.5 49.5 59.5 69.5 79.5 89.5 99.5 คะแนน

2) รูปหลายเหลี่ยมของความถี่

ความถี่
30

25

20

15

10

0
24.5 34.5 44.5 54.5 64.5 74.5 84.5 94.5 104.5 คะแนน
กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร 10 คณิตศาสตรเสริม 6
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6

3) เสนโคงความถี่
ความถี่
30

25

20

15

10

0
24.5 34.5 44.5 54.5 64.5 74.5 84.5 94.5 104.5 คะแนน

4) เสนโคงความถี่สะสม

ความถี่สะสม

คะแนน

- Histogram เปนรูปสี่เหลี่ยมมุมฉากวางเรียงชิดติดกันบนแกนนอน โดยมีแกนนอนแทนตัวแปร


- ความกวางของรูปสี่เหลี่ยมมุมฉากแทนความกวางของอันตรภาคชั้น
- พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมมุมฉากแตละรูปแทนความถี่ของอันตรภาคชั้น
- พื้นที่ของฮิสโทแกรมแทนผลรวมของความถี่ทั้งหมด ( จํานวนขอมูลทั้งหมด )
กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร 11 คณิตศาสตรเสริม 6
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6

ตัวอยางที่ 4 จากตารางแจกแจงความถี่ตอไปนี้ ใหนักเรียนสราง 1) ฮิสโทแกรม


2) รูปหลายเหลี่ยมของความถี่ 3) เสนโคงของความถี่ 4) เสนโคงความถี่สะสม (Ogive)

คะแนน ความถี่ ขอบลาง ขอบบน จุดกึ่งกลางชั้น ความถี่สะสม


30 – 39 1
40 – 49 2
50 – 59 6
60 – 69 20
70 – 79 21
80 – 89 8
90 – 99 2

1) อิสโทแกรมของคะแนนสอบของนักเรียนกลุมนี้เปนดังนี้

จํานวนนักเรียน ( f )
25

20

15

10

0
29.5 39.5 49.5 59.5 69.5 79.5 89.5 99.5 คะแนน
กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร 12 คณิตศาสตรเสริม 6
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6

2) รูปหลายเหลี่ยมของความถี่ (Frequency polygon)


ลงจุดคูอันดับ ( จุดกึ่งกลางชั้น , ความถี่ )

จํานวนนักเรียน ( f )
25

20

15

10

0
35 45 55 65 75 85 95 คะแนนคะแนนสอบ
3) เสนโคงของความถี่ (Frequency curve)
ปรับรูปหลายเหลี่ยมของความถี่ใหเปนเสนโคงเรียบ ( Smooth curve )
( ใชกราฟในรูปหลายเหลี่ยมแหงความถี่)

4) เสนโคงความถี่สะสม (Ogive)
ลงจุดคูอันดับ ( ขอบบนของชั้น , ความถี่สะสมของชั้น )
จํานวนนักเรียนสะสม ( cf )
70
60
50
40
30
20
10
0
19.5 29.5 39.5 49.5 59.5 69.5 79.5 89.5 99.5 คะแนน
กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร 13 คณิตศาสตรเสริม 6
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6

2.2 เมื่อตารางแจกแจงความถี่ของขอมูลมีความกวางของอันตรภาคชั้นไมเทากันทุกชั้น

ตัวอยาง 4 จากตารางแจกแจงความถี่ตอไปนี้ จงสรางฮิสโทแกรมของคะแนนสอบของนักเรียนกลุมนี้


( ขอสังเกต เมื่อความกวางของอันตรภาคชั้นไมเทากันทุกชั้น )

คะแนน ความถี่ fi
อัตราสวน
Ii
30 – 39 1
40 – 49 2
50 – 69 26
70 – 79 21
80 – 89 8
90 – 99 2

อิสโทแกรมของคะแนนสอบของนักเรียนกลุมนี้เปนดังนี้

f 
ความสูง  i 
 Ii 
25

20

15

10

0
29.5 39.5 49.5 59.5 69.5 79.5 89.5 99.5 คะแนน
กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร 14 คณิตศาสตรเสริม 6
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6

3. แผนภาพตน– ใบ (Stem – and – leaf plot)

ในการจัดขอมูลที่มีอยูเปนกลุม ๆ โดยวิธีแจกแจง ความถี่ หรือ ฮิสโทแกรม ไมสามารถบอกไดวาขอมูล


ที่มีอยูมีคาใดบาง เนื่องจากไดจัดแบงขอมูลที่มีอยูเปนชวง ๆ ซึ่งแตละชวงเปนคาที่เปนไปไดชุดใหมที่ใหภาพ
คราว ๆ วาขอมูลในแตละกลุมมีมากหรือนอยเพียงใด เมื่อเปรียบเทียบกับขอมูลกลุมอื่น ๆ เพื่อความสะดวกใน
การนําขอมูลไปวิเคราะหอาจทําไดโดยใชวิธีการสรางแผนภาพเพื่อแจกแจงความถี่และวิเคราะหขอมูลเบื้องตน
ไปพรอม ๆ กัน ที่เรียกวา แผนภาพ ตน – ใบ (Stem – and – leaf plot หรือ stem plot) ซึ่งทําได ดังนี้

ตัวอยางที่ 5 จงเขียนแผนภาพตน-ใบของคะแนนสอบวิชาคณิตศาสตรซึ่งมีคะแนนเต็ม 100 คะแนน


ของนักเรียน 25 คน ดังนี้
80 75 34 95 62 75 98 93 84 90
87 94 85 70 39 84 78 98 78 68
75 82 76 85 72

วิธีทํา จะไดแผนภาพ ตน – ใบ ดังนี้

ตน ใบ
3
4
5
6
7
8
9

จากแผนภาพ พบวา
 คะแนนที่มีความถี่สูงสุดคือ ..................................................................................................
 ชวงคะแนนที่มีความถี่มากที่สุด คือ.......................................................................................
 จํานวนผูสอบไดคะแนนในชวง 40 – 49 และ 50 – 59 คือ...................................................

ขอสังเกต การสรางใบ ใหเรียงตัวเลขจากนอยไปมาก


กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร 15 คณิตศาสตรเสริม 6
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6

ตัวอยางที่ 6 นักเรียนหองหนึ่งมีผลการสอบวิชาคณิตศาสตร และ ฟสิกส ซึ่งมีคะแนนเต็ม 100 คะแนน


เปนดังนี้
วิชาคณิตศาสตร 40 53 55 58 60 62 65 66 69 70
72 72 75 75 81 82 85 100 100 100
วิชาฟสิกส 32 39 68 70 75 78 78 78 79 80
82 84 85 85 85 86 90 93 95 98

วิธีทํา จะไดแผนภาพ ตน – ใบ ดังนี้


(ใบ) วิชาคณิตศาสตร ตน ( ใบ ) วิชาฟสิกส
3 2 9
0 4
8 5 3 5
9 6 5 2 0 6 8
5 5 2 1 0 7 0 5 8 8 8 9
5 2 1 8 0 2 4 5 5 5 6
9 0 3 5 8
0 0 0 10

จากแผนภาพ พบวา
1) คะแนนต่ําสุดของวิชาคณิตศาสตร คือ.....................วิชาฟสิกส คือ..........................
2) คะแนนสูงสุดของวิชาคณิตศาสตร คือ.....................วิชาฟสิกส คือ..........................
3) ความแตกตางของคะแนนสูงสุดและต่ําสุดของวิชาคณิตศาสตรคือ...................................................
ความแตกตางของคะแนนสูงสุดและต่ําสุดของวิชาฟสิกสคือ............................................................
4) คะแนนสวนใหญของวิชาคณิตศาสตรอยูในชวงคะแนน..................................................................
คะแนนสวนใหญของวิชาฟสิกสอยูในชวงคะแนน...........................................................................
5) มีนักเรียนรอยละ....................................................ที่สอบวิชาคณิตศาสตรไดอยางนอย 80 คะแนน
6) มีนักเรียนรอยละ....................................................ที่สอบวิชาฟสิกสไดอยางนอย 80 คะแนน
7) เมื่อพิจารณาจากแผนภาพ วิเคราะหคะแนนเฉลี่ยของวิชา.............................................สูงกวาวิชา.
...................................ทั้งนีเ้ ปนเพราะ...............................................................................................
..........................................................................................................................................................
กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร 16 คณิตศาสตรเสริม 6
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6

แบบฝกหัดที่ 1.1

1. ขอมูลที่ผูใชตองการในขอใดตอไปนี้เปนขอมูลปฐมภูมิ
1) ผูใชตองการขอมูลเกี่ยวกับจํานวนนักเรียนและจํานวนครูโรงเรียนอาชีวศึกษาเอกชนในปการศึกษา
2540 และขอมูลดังกลาวกรมอาชีวศึกษาเปนผูเก็บรวบรวมไวแลว
2) ผูใชตองการขอมูลเกี่ยวกับพฤติกรรมการประหยัดพลังงานของชาวกรุงเทพฯ แตขอมูลดังกลาวยังไมมี
ผูใดเคยศึกษามากอน
3) ผูใชตองการขอมูลเกี่ยวกับรายชื่อโรงงานอุตสาหกรรมทั้งหมดในจังหวัดสมุทรปราการ รายชื่อ
ดังกลาวนี้กองทะเบียนอุตสาหกรรมเปนผูรวบรวมไวเปนหลักฐานทางราชการ
4) ผูใชตองการทราบราคาขาวเปลือก 100 เปอรเซ็นต ราคาขาวเปลือกดังกลาว กรมเศรษฐกิจการ
พาณิชยเปนผูแจงใหประชาชนที่สนใจทราบเปนประจําทุกวัน
5) ผูใชตองการทราบจํานวนรถยนตที่ใชน้ํามันเบนซินไรสารตะกั่วในเดือนนี้
6) ผูใชตองการทราบความคิดเห็นของนักธุรกิจเกี่ยวกับการใชกฎหมายประกันสังคม
2. ขอมูลเชิงคุณภาพใดตอไปนี้สามารถเปลี่ยนเปนขอมูลเชิงปริมาณได
1) ระดับความสามารถของพนักงาน (มีความสามารถสูง, ปานกลาง, ต่ํา )
2) การวางแผนครอบครัวของชาวชนบท (มีการวางแผนครอบครัว, ไมวางแผนครอบครัว)
3) วุฒิการศึกษาของขาราชการ (มัธยมศึกษา/อาชีวศึกษา, ปริญญาตรี, สูงกวาปริญญาตรี)
4) อาชีพ (ลูกจางรัฐบาล, ลูกจางเอกชน, ประกอบอาชีพสวนตัว)
3. ในการประมาณรายไดเฉลี่ยตอครอบครัวของชาวกรุงเทพฯ เราควรใชวิธีเลือกตัวอยางครอบครัว
ชาวกรุงเทพฯ โดยการสุมหรือไม เพราะเหตุใด
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
4. จงเขียนแผนภาพตน-ใบ ของขอมูลอัตราเร็วของเครื่องเลน 30 ชนิด (เมตร/วินาที) ดังนี้
1.28 1.36 1.24 2.47 1.94 2.52 2.67 1.29 1.56 2.66
2.17 1.57 2.10 2.54 1.63 2.11 2.57 1.72 0.76 1.02
1.78 0.50 1.49 1.57 1.04 1.92 1.55 1.78 1.70 1.20
กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร 17 คณิตศาสตรเสริม 6
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6

5. ขอมูลตอไปนี้เปนคะแนนสอบของนักเรียนจํานวน 30 คน
46 75 70 65 60 87 87 83 93 70
78 72 76 76 71 59 79 98 55 85
73 94 65 76 71 97 67 70 81 78
จงสรางตารางแจกแจงความถี่ประกอบดวยอันตรภาคชั้น 6 ชั้น
กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร 18 คณิตศาสตรเสริม 6
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6

6. ผลการทดสอบความสามารถในการคิดอยางมีวิจารณญาณของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 จํานวน 40
คน ของโรงเรียนแหงนี้ เปนดังนี้ ( คะแนนเต็ม 100 คะแนน )
96 78 80 76 84 77 74 85 65 69
82 53 45 67 58 54 56 62 56 54
43 53 45 67 58 54 56 62 56 54
65 66 75 98 97 63 92 94 76 78
จงสราง 1. ตารางแจกแจงความถี่ที่มีอันตรภาคชั้นเทากับ 10
2. กราฟฮิสโทแกรม
3. กราฟรูปหลายเหลี่ยมของความถี่
4. กราฟเสนโคงความถี่สะสม
กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร 19 คณิตศาสตรเสริม 6
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6
กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร 20 คณิตศาสตรเสริม 6
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6

1.4 การวัดคากลางของขอมูล (Measures of central value)

การวิเคราะห ขอมู ล เบื้ องต น นอกจากจะทํ าโดยการแจกแจงความถี่แลว การหาค ากลางมาเป น


ตัวแทนของขอมูลทั้งหมดก็เปนอีกวิธีหนึ่งที่ทําใหสะดวกในการจดจําขอสรุปที่เกี่ยวกับขอมูลนั้น ๆ ไดมากขึ้น
คา กลางของข อมู ล มี ห ลายชนิ ด แตล ะชนิดตางมีขอดี ขอเสีย และมีความเหมาะสมในการนําไปใช
แตกตางกันขึ้นอยูกับลักษณะการแจกแจงของขอมูลและวัตถุประสงคของผูใชขอมูลนั้นๆ คากลางที่นิยมใช
ทั่วไปมีอยู 3 ชนิด คือ คาเฉลี่ยเลขคณิต มัธยฐาน และฐานนิยม การคํานวณคากลางทั้งสามชนิดนี้ โดยทั่วๆ ไป
แบงออกไดเปน 2 กรณีใหญ ๆ คือ
- การหาคากลางของขอมูลที่ไมไดแจกแจงความถี่ (Ungrouped data) ซึ่งคาทีไ่ ดเปนคากลางที่
ถูกตองแนนอนของขอมูลชุดนั้น
- การหาคากลางของขอมูลที่แจกแจงความถี่แลว (Grouped data) ซึ่งคาที่ไดเปนคากลาง
โดยประมาณของขอมูลชุดนั้น

1. คาเฉลี่ยเลขคณิต (Arithmetic mean)


คาเฉลี่ยเลขคณิตเหมาะที่จะนํามาใชเปนคากลางของขอมูล เมื่อขอมูลนั้น ไมมีคาใดคาหนึ่งหรือ
หลายๆ คา สูงหรือต่ํากวาคาอื่น
1.1 การหาคาเฉลี่ยเลขคณิตกรณีขอมูลไมไดแจกแจงความถี่
• คาเฉลี่ยเลขคณิตของประชากร (Population mean)
N

x + x + x + ... + x N ∑x i คือคาเฉลี่ยเลขคณิตของประชากร ซึ่ง


µ = 1 2 3 = i =1
เปนพารามิเตอร หรือคาจริงหนึ่งของ
N N
ประชากร เรียกวา พารามิเตอร µ
• คาเฉลี่ยเลขคณิตของกลุมตัวอยาง (Sample mean) และ N แทนจํานวนหนวยของ
n

x + x + x + ... + x n ∑x i
คือคาเฉลี่ยเลขคณิตของตัวอยาง ซึ่ง
X = 1 2 3 = i =1
n n เปนตัวประมาณคา (Estimator) ของ
พารามิเตอร µโดยที่ X คํานวณจาก
ขอมูลตัวอยางที่เปนตัวแทนของ
การคํานวณคาเฉลี่ยขางตน ใชสูตรคลายกัน นักเรียนตองทําความ ประชากรและ n แทนจํานวนหนวย
เขาใจและแยกสูตรใหชัดเจน คือ ถาเปนประชากร N หนวย ใหใช ของตัวอยาง (Sample units)
µ แตถาเปนตัวอยาง n หนวยใหใช X

หมายเหตุ ถาโจทยไมไดระบุวาเปนขอมูลของระดับตัวอยางใหใชสูตรระดับประชากร

1.2 คาเฉลี่ยเลขคณิตรวม (Combined arithmetic mean)


กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร 21 คณิตศาสตรเสริม 6
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6

ในการวิเคราะหขอมูลของตัวแปรเดียวกันจากตัวอยางหลายๆ ชุดที่สุมมาจากประชากรเดียวกัน
และหาคาเฉลี่ยเลขคณิตของตัวอยางแตละชุดไวแลว หากผูวิเคราะหตองการทราบคาเฉลี่ยเลขคณิตของขอมูล
ทั้งหมด โดยนับรวมเปนชุดเดียวกันก็สามารถหาไดจากคาเฉลี่ยเลขคณิตของขอมูลแตละชุดที่คํานวณไวแลว คือ
ถา x1 , x 2 , x 3 ,..., x k เปนคาเฉลี่ยเลขคณิตของขอมูลชุดที่ 1, 2, 3 , … , k ตามลําดับ
n1 , n 2 , n 3 ,..., n k เปนจํานวนคาจากการสังเกตในขอมูลชุดที่ 1, 2, 3 , ... , k ตามลําดับ
ถาขอมูลเปนระดับประชากร การคํานวณยังคงใชสูตรทํานองเดียวกัน แตเปลี่ยน X เปน µ และ
เปลี่ยน n เปน N ในขอมูลแตละชุด

n1 x1 + n 2 x 2 + ... + n k x k
คาเฉลี่ยเลขคณิตรวม X=
n1 + n 2 + ... + n k
k

∑n X i i

= i =1
k

∑n i =1
i

ตัวอยางที่ 1 คะแนนสอบวิชาคณิตศาสตรโดยเฉลี่ยของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาแหงหนึ่งไดผลดังตาราง

ระดับชั้น จํานวนนักเรียน คะแนนเฉลี่ย


ม.1 50 65
ม.2 40 70
ม.3 45 60
ม.4 50 75
ม.5 60 50
ม.6 50 70
รวม 295 390

จงหาคาเฉลี่ยเลขคณิตรวมของคะแนนสอบวิชาคณิตศาสตรของนักเรียนทุกคน
N1µ1 + N 2µ 2 + ... + N 6µ6
วิธีทํา คาเฉลี่ยเลขคณิตรวม µ =
N1 + N 2 + ... + N 6

= ………………………………………….
= …………………………………………. คะแนน

1.3 คาเฉลี่ยเลขคณิตแบบถวงน้ําหนัก (Weighted arithmetic mean)


กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร 22 คณิตศาสตรเสริม 6
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6

การหาคาเฉลี่ยแบบถวงน้ําหนักใชในกรณีที่ขอมูลแตละคามีความสําคัญไมเทากัน เชน การหา


คาเฉลี่ยเลขคณิตของคะแนนสอบ 4 วิชาที่แตละสัปดาหใชเวลาเรียนไมเทากัน หรือการหาคาเฉลี่ยเลขคณิต
ของราคาสินคาชนิดเดียวกันแตมีนําหนักหรือปริมาณการขายตางกัน ซึ่งถาใชวิธีการหาคาเฉลี่ยเลขคณิต
ธรรมดา คือไมถวงน้ําหนัก อาจทําใหคาเฉลี่ยที่ไดคลาดเคลื่อนไปจากที่ควรจะเปนจริง ซึ่งอาจนอยกวาหรือ
มากกวาที่ควรจะเปนจริงก็ได ทั้งนี้ขึ้นอยูกับน้ําหนักของขอมูลแตละคาที่นํามาใชเปนสําคัญ
ถาให w1 , w 2 , w 3 ,..., w N เปนความสําคัญหรือน้ําหนักของคาจากกรสังเกต x1 , x 2 , x 3 ,..., x N
ตามลําดับแลว
w1x1 + w 2 x 2 + ... + w N x N
คาเฉลี่ยเลขคณิตแบบถวงน้ําหนัก µ =
w1 + w 2 + ... + w N
N

∑w x i i
= i =1
N

∑w
i =1
i

ตัวอยางที่ 2 ในการทดสอบทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตรของนักเรียนคนหนึ่ง ซึ่งมีคะแนนการทดสอบ


และความสําคัญของคะแนนทั้งหมดรวม 5 ดาน จากคะแนนเต็ม 100 คะแนน ดังขอมูลในตาราง จงหาคะแนน
เฉลี่ยของคะแนนที่สอบไดจากการทดสอบทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตรของนักเรียนคนนี้
ดานที่ ทักษะกระบวนการ คะแนนที่สอบได ความสําคัญของคะแนน
1 การแกปญหา 54 30
2 การใหเหตุผล 65 20
3 การสื่อสาร การสื่อความหมายและการนําเสนอ 70 15
4 การเชื่อมโยงความรูทางคณิตศาสตร 55 20
5 ความคิดริเริ่มสรางสรรค 75 15
รวม 100
แนวคิด ในที่นี้คาจากการสังเกตมี 5 คา คือ x1 = 54, x 2 = 65, x 3 = 70, x 4 = 55, x 5 = 75
ความสําคัญของคะแนนที่สอบไดคือ w1 = 30, w 2 = 20, w 3 = 15, w 4 = 20, w 5 = 15
วิธีทํา คะแนนเฉลี่ยเลขคณิตของการทดสอบทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตรของนักเรียนคนนี้ คือ
w1x1 + w 2 x 2 + ... + w N x N
µ =
w1 + w 2 + ... + w N

= ………………………………………….
= …………………………………………. คะแนน

1.4 การหาคาเฉลี่ยเลขคณิตกรณีขอมูลแจกแจงความถี่
กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร 23 คณิตศาสตรเสริม 6
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6

ในกรณีที่มีขอมูลจํานวนมาก เชน ขอมูลทีไ่ ดจากรายงานจากทะเบียนตาง ๆ


ถาให f1 เปนความถี่ของคาจากการสังเกตขอมูล x1 , f2 เปนความถี่ของคาจากการสังเกต x2
เรื่อยไปจนถึง fk เปนความถี่ของคาจากการสังเกต xk แลว คาเฉลี่ยเลขคณิต คือ
k k

f x + f x + f x + ... + f k x k ∑f i x i ∑f x i i
μ= 1 1 2 2 3 3 = i =1
= i =1
f1 + f 2 + f 3 + ... + f k k
N
∑f
i =1
i

เมื่อ N เปนจํานวนคาจากการสังเกตทั้งหมด

หรือ สูตรแบบลดทอน µ = a +
i ∑ fd (ใชไดเมื่ออันตรภาคชั้นเทากันทุกชั้น)
∑f
การคํานวณหาคาเฉลี่ยเลขคณิตโดยวิธีนี้ ใชสูตรเดียวกันกับการคํานวณหาคาเฉลี่ยเลขคณิตโดยวิธี
ถวงน้ําหนัก โดยที่ความสําคัญหรือน้ําหนักในที่นี้คือ ความถี่ของคาจากการสังเกตแตละคาหรือของแตละ
อันตรภาคชั้น คาของขอมูลที่อยูในแตละอันตรภาพชั้นจะประมาณดวยจุดกึ่งกลางของแตละชั้น
อยางไรก็ตาม ในปจจุบันมีคอมพิวเตอรชวยในการคํานวณ การหาคาเฉลี่ยเลขคณิตของขอมูลที่ตอง
แจกแจงความถี่โดยอาศัยการแบงอันตรภาคชั้นจึงไมนิยมใช
ดังนั้น การหาคาเฉลี่ยเลขคณิตของขอมูลที่แจกแจงความถี่จึงใชสําหรับกรณีไมมีขอมูลดิบทุกหนวย

ตัวอยางที่ 3 ตารางแจกแจงความถี่ของเงินเดือนของบุคลากรในสถาบันแหงหนึ่ง จํานวน 120 คน เปนดังนี้


จงหาคาเฉลี่ยเลขคณิต (โดยประมาณ) ของเงินเดือนบุคลากรทั้งหมดในสถาบันแหงนี้

เงินเดือน จํานวนพนักงาน จุดกึ่งกลาง (xi) fi xi


5,000 – 6,999 10
7,000 – 8,999 11
9,000 – 10,999 25
11,000 – 12,999 20
13,000 – 14,999 19
15,000 – 16,999 20
17,000 – 18,999 10
19,000 – 20,999 5
วิธีทํา 1 เงินเดือนเฉลี่ยของบุคลากรทั้ง 120 คน คือ
กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร 24 คณิตศาสตรเสริม 6
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6
k k

f1x1 + f 2 x 2 + f 3 x 3 + ... + f k x k ∑ fi x i ∑f x i i
µ = = i =1
= i =1

f1 + f 2 + f 3 + ... + f k
k
N
∑f
i =1
i

= ……………………………………………………………………………………………………..
= ……………………………………………………………………………………………………..

วิธีทํา 2 โดยทอนคาขอมูล
เงินเดือน จํานวนพนักงาน จุดกึ่งกลาง xi − a fi di
di =
(fi) (xi) I
5,000 – 6,999 10
7,000 – 8,999 11
9,000 – 10,999 25
11,000 – 12,999 20
13,000 – 14,999 19
15,000 – 16,999 20
17,000 – 18,999 10
19,000 – 20,999 5

เงินเดือนเฉลี่ยของบุคลากรทั้ง 120 คน คือ


µ= a+
i ∑ fd
∑f

= ………………………………………….

= …………………………………………. บาท

ดังนั้น เงินเดือนเฉลี่ยของบุคลากรทั้ง 120 คน เทากับ 12,532.83 บาท หรืออาจกลาววา บุคลากร


ของสถาบันแหงนี้ไดเงินเดือนที่มีคากลางเทากับ 12,532.83 บาท ( โดยประมาณ )
กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร 25 คณิตศาสตรเสริม 6
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6

สมบัติของ Σ ที่ควรทราบ มีดังนี้


ถา c เปนคาคงตัวใด ๆ
N
(1) ∑ c = Nc
i =1

N N
(2) ∑ cx i = c∑ x i
i =1 i =1

N N N
(3) ∑ ( x i ± y i ) = ∑x i ± ∑ yi
i =1 i =1 i =1

สมบัติที่สําคัญของคาเฉลี่ยเลขคณิต
1. คาเฉลี่ยเลขคณิตเมื่อคูณกับจํานวนขอมูลทั้งหมดไมวาจะเปนทั้งประชากรขนาด N หรือตัวอยาง
ขนาด n จะมีคาเทากับผลรวมของขอมูลทุก ๆ คา ตามลําดับ ดังนี้
N n

∑ x i = Nµ
i =1
และ ∑x i =1
i
= nx

2. ผลรวมของผลตางระหวางแตละคาของขอมูลกับคาเฉลี่ยเลขคณิตของขอมูลชุดนั้น จะเทากับ 0
กลาวคือ
n n

∑ ( x i − µ) = 0
i =1
และ ∑ (x
i =1
i − x) = 0

3. ผลรวมของกําลังสองของผลตางของแตละคาของขอมูลกับจํานวนจริง M ใด ๆ จะมีคานอยสุด
เมื่อ M เทากับคาเฉลี่ยเลขคณิตของขอมูลชุดนั้น กลาวคือ
n

∑ (x
i =1
i
− M) 2 นอยที่สุด เมื่อ M = µ
n
และ ∑ (x
i =1
i
− M) 2 นอยที่สุด เมื่อ M = x
N N
หรือ อาจเขียนไดวา ∑ (x i − µ) 2 ≤ ∑ (x i − M) 2
i =1 i =1
n n
และ ∑ (x
i =1
i
− x) 2 ≤ ∑ (x
i =1
i
− M) 2 เมื่อ M เปนจํานวนจริงใด ๆ

4. คาเฉลี่ยเลขคณิตของขอมูลชุดใด ๆ จะตองอยูระหวางคาจากการสังเกตที่นอยที่สุด และคาจาก


การสังเกตที่มากที่สุดในขอมูลชุดนั้น กลาวคือ
x min ≤ µ ≤ x max
และ x min ≤ X ≤ x max
กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร 26 คณิตศาสตรเสริม 6
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6

5. ถาตัวแปร Y สัมพันธกับตัวแปร X ในรูปฟงกชันเชิงเสน นั่นคือ


ถา y i = ax i + b เมื่อ a และ b เปนคาคงตัวใด ๆ , i = 1 , 2 , 3 , … , n แลว
µ Y = aµ X + b เมื่อ µ x คือ คาเฉลี่ยเลขคณิตของขอมูล xi
µ y คือ คาเฉลี่ยเลขคณิตของขอมูล yi
และ Y = aX + b

ขอสังเกต - ถาเอาคาคงตัว c บวกขอมูลทุกตัว x ใหม = x เดิม + c เมื่อ c เปนจํานวนใดๆ


- ถาเอาคาคงตัว c คูณขอมูลทุกตัว x ใหม = c.x เดิม เมื่อ c เปนจํานวนใดๆ

ตัวอยางที่ 4 บริษัทแหงหนึ่งตองการกําหนดเบี้ยประกันอุบัติเหตุรถยนตโดยคํานวณจากความสัมพันธ
Y = 0.73 X + 2,500 เมื่อ Y เปนตัวแปรแทนเบี้ยประกันอุบัติเหตุรถยนตมีหนวยเปนบาท และ X เปน
ตัวแปรแทนอายุการใชงานมีหนวยเปนป จากการสํารวจในปที่ผานมา พบวา อายุการใชงานของรถยนต
สวนมากเปน 2, 3.5, 5, 6.5, 7, 8, 9, 6, 8.5 และ 10 ป จงหาคาเฉลี่ยเลขคณิตของเบี้ยประกัน
อุบัติเหตุรถยนตของบริษัทนี้
วิธีทํา จากโจทยกําหนดความสัมพันธของ X และ Y ในรูปเสนตรง คือ Y = 0.73 X + 2,500
เมื่อ yi และ xi เปนคาสังเกตของขอมูล y i = 0.73 x i + 2,500 เมื่อ I = 1, 2, 3, …, 10
ให Y แทนคาเฉลี่ยเลขคณิตของเบี้ยประกันอุบัติเหตุรถยนตของบริษัทนี้
จะได Y = 0.73 X + 2,500
ให X แทนคาเฉลี่ยเลขคณิตของอายุการใชงานของรถยนต
จะได X = …………………………………………………………………

แตเนื่องจาก Y = 0.73 X + 2,500

ดังนั้น Y = …………………………………………………………………

นั่นคือ คาเฉลี่ยของเบี้ยประกันอุบัติเหตุรถยนตของบริษัทนี้เทากับ ……………………. บาท


กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร 27 คณิตศาสตรเสริม 6
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6

แบบฝกหัดที่ 1.2

1. ถา x1 = 1, x2 = 3, x3 = 4, x4 = 7, x5 = 0, f1 = 10, f2 = 15 , f3 = 5,
f4 = 8 , f5 = 6 และ c = 2 จงหาคาของ
10
(1) ∑ c ………………………………………………………………………………………………………………………
i =1
5
(2) ∑ ( x i − 2) 3 ……………………………………………………………………………………………………………………
i =1
5
(3) ∑ (f i x i + c) ……………………………………………………………………………………………………………………
i =1
4
(4) ∑ ( x i − 3)( x i + 3) …………………………………………………………………………………………………………
i =1

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
5 5 5 5
2. ถา ∑ y i = 10 และ ∑ y i2 = 30 จงหาคาของ ∑ (5y i − 50) และ ∑ ( y i − 3) 2
i =1 i =1 i =1 i =1

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
4 4 4 4
3. ถา ∑ x i =5 , ∑ yi = −2 และ ∑x y i i = 4 จงหาคาของ ∑ (x i + 1)(4 y i − 3)
i =1 i =1 i =1 i =1

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
4. จงเขียนผลบวกของพจนตอไปนี้โดยใชเครื่องหมาย ∑
(1) 2x 12 + 2x 22 + ... + 2x 102 = ..…………………………………………………………………………………..

(2) ( x 1 − X )f 1 + ( x 2 − X )f 2 + ... + ( x k − X )f k = ……………………………………………………….

(3) 1
n
{
( y1 − Y) 2 f 1 + ( y 2 − Y) 2 f 2 + ... + ( y k − Y) 2 f k } = ……………………………………………..
N N N N
5. จงแสดงวา ∑ ( x i − 3y i + 2z i + 1) = ∑ x i − 3∑ y i + 2∑ z i + N
i =1 i =1 i =1 i =1
กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร 28 คณิตศาสตรเสริม 6
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6

6. ในการทดสอบวิชาสถิติของนักเรียนหองหนึ่งจํานวน 50 คน ปรากฏวามีนักเรียนจํานวน 40 คน ที่ได


คะแนนอยูระหวาง 60 – 80 คะแนน สวนอีก 10 คนที่เหลือ ไดคะแนนอยูระหวาง 90 – 100
คะแนน จงหา
(1) คาเฉลี่ยเลขคณิตโดยประมาณของคะแนนสอบวิชาสถิติของนักเรียนทั้ง 50 คนนี้
(2) ถาทราบวานักเรียน 40 คน ไดคะแนนเฉลี่ยของคะแนนสอบเปน 75 คะแนน อีก 10 คน
ที่เหลือไดคาเฉลี่ยเลขคณิตของคะแนนสอบเปน 95 คะแนน คาเฉลี่ยเลขคณิตของคะแนนสอบของ
นักเรียนทั้งหมด50 คนที่คํานวณได จะเทากับคาเฉลี่ยเลขคณิตที่คํานวณไดในขอ (1) หรือไม
(3) จากคาเฉลี่ยเลขคณิตที่หาไดในขอ (1) ใหหาคะแนนรวมของคะแนนสอบวิชาสถิติของ
นักเรียนทั้งหอง

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร 29 คณิตศาสตรเสริม 6
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6

7. โรงเรียนแหงหนึ่งมีชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5 อยู 4 หอง โดยมีจํานวนนักเรียน 40, 45, 50 และ 45 คน


ตามลําดับ จากการวัดสวนสูงของนักเรียนแตละคนแลวคํานวณคาเฉลี่ยเลขคณิตของสวนสูงของ
นักเรียนแตละหองปรากฏวาได 165, 168, 167 และ 164 เซนติเมตร ตามลําดับ จงหาคาเฉลี่ย
เลขคณิตรวมของสวนสูงของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5 ทั้งหมดของโรงเรียนแหงนี้

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
8. ถาความสัมพันธระหวางราคาซื้อ (B) และราคาขาย (S) ของสินคาชนิดหนึ่งเปน S = 10 +1.4B
และพอคา 10 ราย ซื้อสินคาดังกลาวมาดวยราคา 80, 85, 70, 80, 75, 78, 82, 86, 79 และ
69 บาท ตามลําดับ จงหาคาเฉลี่ยเลขคณิตของราคาขายของสินคาชนิดนี้
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

9. ศักดาตองการซื้อไขไกขนาดใหญ จํานวน 100 ฟอง จึงสํารวจราคาไขไกขนาดเดียวกันนี้ จากรานคา


ใกลบานสามราน ไดขอมูลราคาไขไกจากรานที่ 1, 2 และ 3 เปน 4.80, 5.40 และ 5.20 บาท ถา
เขาซื้อไขไกจากรานที่ 1, 2, และ 3 จํานวน 50, 30 และ 20 ฟอง ตามลําดับ เฉลี่ยแลวศักดาซื้อไขไก
มาฟองละเทาใด
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร 30 คณิตศาสตรเสริม 6
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6

10. กําหนดตารางแจกแจงความถี่ของอายุการใชงานของหลอดไฟจํานวน 40 หลอด ดังนี้

อายุ (ชั่วโมง) จํานวน


118 – 122 2
123 – 127 8
128 – 132 15
133 – 137 11
138 - 142 3
143 – 147 1

จงหาคาเฉลี่ยเลขคณิตของอายุหลอดไฟฟา ทั้ง 40 หลอดนี้ โดยวิธีตรงและวิธีลดทอนขอมูล


อายุ (ชั่วโมง) จํานวน Xi fixi di fidi
118 – 122 2
123 – 127 8
128 – 132 15
133 – 137 11
138 - 142 3
143 – 147 1

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร 31 คณิตศาสตรเสริม 6
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6

2. มัธยฐาน ( Median )

มัธยฐานเปนคากลางอีกชนิดหนึ่ง ซึ่งหมายถึงคาที่มีจํานวนขอมูลที่มากกวาและนอยกวาคานี้อยู
ประมาณเทาๆกัน
การหามัธยฐาน มีขั้นตอนดังนี้
1. เรียงขอมูลจากคานอยไปคามาก หรือ จากคามากไปคานอย
2. หาตําแหนงของมัธยฐาน
2.1. เมื่อขอมูลไมไดแจกแจงความถี่เปนอันตรภาคชั้น
N+1
ตําแหนงของมัธยฐาน คือ เมื่อ N เปนจํานวนขอมูลทั้งหมด
2
2.2. เมื่อขอมูลแจกแจงความถี่เปนอันตรภาคชั้น
N
ตําแหนงของมัธยฐาน คือ เมื่อ N เปนจํานวนขอมูลทั้งหมด
2
3. หาคาที่ตรงกับตําแหนงมัธยฐาน
3.1 โดยการเทียบสัดสวน
3.2 โดยใชสูตร

N   N
 − ∑ f ∑ f −
L  u
2 I
Me = L +  2 I หรือ Me = U −  
fm
   fm 
   

เมื่อ L คือ ขอบลางและ และ U คือขอบบนของขั้นที่มัธยฐานอยู (Median class)


I คือ ความกวางของอันตรภาคชั้นที่มัธยฐานอยู
k
N = ∑ f i เปนผลรวมของความถี่ทั้งหมด
i =1

∑ f แทนผลรวมของความถี่ของทุกอันตรภาคชั้นที่เปนชวงคะแนนต่ํากวาชั้นที่มัธยฐานอยู
L

∑ f แทนผลรวมของความถี่ของทุกอันตรภาคชั้นที่มีมัธยฐานอยูและทุกชั้นทเปนชวงคะแนนต่ํากวา
U

fm แทนความถี่ของชั้นที่มีมัธยฐานอยู
I แทนความกวางของอันตรภาคชั้นที่มีมัธยฐานอยู
ตัวอยางที่ 5 ขอมูลชุดหนึ่งเรียงจากนอยไปมากดังนี้ 98, 100, 101, 104, a, 109, 110, 111, b
กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร 32 คณิตศาสตรเสริม 6
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6

ถาพิสัยและคาเฉลี่ยเลขคณิตของขอมูลชุดนี้เทากับ 14 และ 106 ตามลําดับแลว มัธยฐานของขอมูลชุดนีเ้ ปน


เทาใด
N +1 9 +1
วิธีทํา เนื่องจาก ตําแหนงมัธยฐานคือตําแหนงที่ = =5
2 2
คาที่ตรงกับตําแหนงที่ 5 คือ a จะหาคา a ดังนี้
โจทยกําหนดใหพิสัยเทากับ 14 = b – 98 ซึ่งจะไดคา b = 112
98 + 100 + 101 + 104 + a + 109 + 110 + 111 + 112
และคาเฉลี่ยเลขคณิต X = = 106
9
ดังนั้น จะไดคามัธยฐานของขอมูล คือ a = 109

ตัวอยางที่ 6 ตารางขางลางนี้ แสดงความถี่และความถี่สะสมบางสวนของคะแนนของนักเรียนจํานวน 200 คน


จงหามัธยฐานของคะแนนของนักเรียนกลุมนี้
คะแนนสอบ ความถี่ ความถี่สะสม
: : :
: : :
75 - 79 40 152
70 - 74 50 112
65 - 69 26 62
: : :

วิธีทํา จากตารางจะเห็นวา ขอมูลไดเรียงลําดับแลว


N 200
มัธยฐานอยูในตําแหนงที่ = = 100 ( ∴ มัธยฐานอยูในชั้น 70 – 74 คะแนน )
2 2
จะหาคาที่ตรงกับตําแหนงที่ 100 ไดดังนี้
1. โดยการเทียบสัดสวน
ความถี่สะสมเพิ่มขึ้น 112 – 62 = 50 คะแนนเพิ่มขึ้น 74.5 – 69.5 = 5 คะแนน
5
ความถี่สะสมเพิ่มขึ้น 100 – 62 = 38 คะแนนเพิ่มขึ้น x 38 = 3.8 คะแนน
50
ดังนั้นคาโดยประมาณของมัธยฐาน คือ 69.5 + 3.8 = 73.3 คะแนน

2. โดยใชสูตร กอนใชสูตรจะตองหาชั้นที่ Med อยู ซึ่งในที่นี้ มัธยฐานอยูในชั้น 70 – 74 คะแนน


กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร 33 คณิตศาสตรเสริม 6
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6

จากสูตร แทนคา Me = …………………………………………………


N  = …………………………………………………
 - ∑ fL 
Me = L +  2 i = ………………………………………………….
 fM 
 
สมบัติที่สําคัญของมัธยฐาน คือ
1. ผลรวมของคาสัมบูรณของผลตางระหวางขอมูลแตละคากับมัธยฐานของขอมูลชุดนั้นจะมีคา
n
นอยที่สุด กลาวคือ ∑ |x −m| มีคานอยที่สุด เมื่อ m แทนมัธยฐานของขอมูลชุดนั้น
i=1 i
2. การเปลี่ยนแปลงคาอื่นที่ไมไดอยูในตําแหนงกึ่งกลางของขอมูล ไมมีผลทําใหมัธยฐานเปลี่ยนไป
3. ขอมูลที่จัดเปนหมวดหมู ถาอันตรภาคชั้นแรกหรือชั้นสุดทาย เปนอันตรภาคชั้นเปด หรือมี
ความกวางของอันตรภาคชั้นไมเทากัน ยังสามารถหามัธยฐานได

3. ฐานนิยม (Mode)
ฐานนิยม คือ คาของขอมูลที่มีความถี่สูงสุด นิยมใชกับขอมูลเชิงคุณภาพมากกวาขอมูลเชิงปริมาณ
การหาฐานนิยม มีดังนี้
1. เมื่อขอมูลไมไดแจกแจงความถี่เปนอันตรภาคชั้น ฐานนิยมเปนคาของขอมูลที่มีความถี่สูงสุดหรือ
ปรากฏบอยครั้งที่สุด
2. เมื่อขอมูลแจกแจงความถี่เปนอันตรภาคชั้น
2.1 เมื่อความกวางของอันตรภาคชั้นเทากันทุกชั้น ชั้นที่ฐานนิยมอยู คือ อันตรภาคชั้นที่มคี วามถี่
สูงสุด
2.2 เมื่อความกวางของอันตรภาคชั้นไมเทากันทุกชั้น ชั้นที่ฐานนิยมอยู คือ อันตรภาคชั้นที่มี
fi
อัตราสวน มีคามากที่สุด
Ii
เมื่อไดชั้นที่ฐานนิยมอยู จึงคํานวณหาฐานนิยม ดังนี้
ฐานนิยมของขอมูล = จุดกึ่งกลางของชั้นที่ฐานนิยมอยู (Modal class)

ตัวอยางที่ 7 จงหาฐานนิยมของอายุนักเรียนที่มาเขาคายคณิตศาสตร จํานวน 15 คน คือ


5, 8, 7, 6, 7, 8, 12, 11, 10, 11, 8, 6 , 8, 7 และ 8 ป
วิธีทํา ฐานนิยมของอายุนักเรียนที่มาเขาคายคณิตศาสตร จํานวน 15 คน คือ ................ ป
เพราะ ......................................................................................................................................
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร 34 คณิตศาสตรเสริม 6
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6

ตัวอยางที่ 8 จากขอมูลของนักเรียนชั้น ม.6 จํานวน 40 คน เกี่ยวกับเงินที่จายเปนคาอาหารกลางวันในแตละ


สัปดาห ซึ่งแสดงไวในตาราง ดังนี้
เงินที่จายเปนคาอาหาร(บาท) จํานวนนักเรียน
50 – 99 4
100 – 149 7
150 – 199 15
200 – 249 10
250 – 299 3 จงหาฐานนิยมโดยประมาณของจํานวนเงินที่จายเปน
300 - 349 1 คาอาหารของนักเรียนทั้ง 40 คนตอสัปดาห

วิธีทํา เนื่องจากความกวางของแตละอันตรภาคชั้นเทากันทุกชั้น ดังนั้น อันตรภาคชั้นที่มีฐานนิยมอยูคือ


อันตรภาคชั้นที่มีความถี่สูงสุด และอันตรภาคชั้นนั้นคือ 150–199
ซึ่งจุดกึ่งกลางของอันตรภาคชั้นนี้เทากับ ......................................
ดังนั้น ฐานนิยมของจํานวนเงินที่จายเปนคาอาหารของนักเรียนทั้ง 40 คนในแตละสัปดาห คือ
174.50 บาท โดยประมาณ

4. คาเฉลี่ยเรขาคณิต (Geometric mean)


ถา x1 , x 2 , x 3 ,..., x N เปนขอมูล N จํานวน ซึ่งเปนจํานวนบวกทุกจํานวน และไมมีจํานวนใดมีคา
เทากับ 0

คาเฉลี่ยเรขาคณิต G.M. = N x x ...x


1 2 N

N
∑ log x
i
log G.M. = i=1
N

k
ในกรณีที่ xi มีความถี่ fi และ ∑ fi = N
i =1

G.M. = N x1f1 x f22 x 3f3 ...x fkk

1 k
log G.M. = ∑ fi log x i
N i =1

หมายเหตุ เนื่องจากการหาคา G.M. ตองมีการคํานวณหากรณฑที่ N ของจํานวนซึ่งทําใหการใชสูตร


ดังกลาวขางตนไมสะดวกในกรณีที่ขอมูลมีคามาก ๆ และตองใชเครื่องคิดเลขในการคํานวณ ดังนั้นเพื่อ
ความสะดวกจึงใชลอการิทึมชวย
กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร 35 คณิตศาสตรเสริม 6
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6

ตัวอยางที่ 9 ถาเมตตามีเงินใชจาย 9,300 บาท หรือ 93 (หนวย : 100 ) และตองการใชใหหมดภายใน 5 วัน


โดยใชจายในวันที่ 1 – 5 ดังนี้ 48 24 12 6 3 จงหาคาเรขาคณิตของการใชจายตอวัน
5
1
วิธีทํา log G.M. =
5
∑ log x
i =1
i

log 48 + lg 24 + log12 + log 6 + log 3


=
5
1
= (1.681 + 1.380 + 1.079 + 0.778 + 0.477)
5
5.395
= = 1.079
5
G.M. = 11.99
ดังนั้น คาเฉลี่ยเรขาคณิตของการใชจายตอวัน คือ 1,199 บาท

หมายเหตุ คาเฉลี่ยเรขาคณิต มีประโยชนในการหาคาเฉลี่ยของขอมูลในกรณีที่คาของขอมูลสูงหรือต่ํา


กวาคาอื่นๆรวมอยูบางคาหรือหลายคามาก กรณีเชนนี้คาเฉลี่ยเรขาคณิตใชเปนคากลางของขอมูลไดดีกวา
คาเฉลี่ยเลขคณิต เนื่องจากคาที่สูงหรือต่ํามากเหลานี้จะมีผลกระทบตอคาเฉลี่ยเรขาคณิตของขอมูลไมมากนัก

โจทยฝกทักษะ
1. ถาบริษัทแหงหนึ่งลงทุนในปที่ 1 ไดกําไร รอยละ 10 ในปที่สองไดกําไรรอยละ 50 และในปที่สามได
กําไรรอยละ 30 อัตราผลตอบแทนกําไรโดยเฉลี่ยควรเปนเทาไร
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
2. ถาเริ่มลงทุนดวยเงินทุน 1,000 บาท ในแตละปไดผลตอบแทน 13% , 22% , 12% , – 5%
และ – 13% ตารางตอไปนี้แสดงเงินรวมที่ไดจากการลงทุนเมื่อสิ้นสุดของแตละป
ปที่ ผลตอบแทนตอป เงินรวม
1 13% 1,000(1.13) ≈ 1,130 บาท
2 22% 1,130(1.22) ≈ 1,379 บาท
3 12% 1,379(1.12) ≈ 1,544 บาท
4 – 5% 1,544(0.95) ≈ 1,467 บาท
5 – 13% 1,467(0.87) ≈ 1,276 บาท
จงหา อัตราผลตอบแทนเฉลี่ย ตอป และเงินรวมในแตละป
กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร 36 คณิตศาสตรเสริม 6
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6

5. คาเฉลี่ยฮารมอนิก (Harmonic mean)

คาเฉลี่ยฮารมอนิกมีประโยชนในการหาคาเฉลี่ยของขอมูลที่เปนอัตราสวน เชน ระยะทางตอชั่วโมง


จํานวนหนวยตอหนึ่งบาท ราคาสินคาตอหนึ่งโหล ฯลฯ
ถา x1 , x 2 , x 3 ,..., x N เปนขอมูล N จํานวน ซึ่งเปนจํานวนบวกทุกจํานวน
N
คาเฉลี่ยฮารมอนิก H.M =
N 1

i =1 x i

ขอสังเกต H.M. เปนสวนกลับของคาเฉลี่ยเลขคณิตของสวนกลับของขอมูลแตละตัว

ตัวอยาง 10 ในโรงงานแหงหนึ่ง นาย ก ทํางานหนึ่งหนวยแลวเสร็จในเวลา 4 นาที นาย ข นาย ค นาย ง


และ นาย จ ทํางานหนวยเดียวกันนี้เสร็จในเวลา 5, 6, 10 และ 12 นาที ตามลําดับ จงหาคาเฉลี่ยของอัตรา
การทํางานของคนทั้งหาคนนี้ และจงหาวาใน 6 ชั่วโมง ทั้งหาคนนี้จะทํางานไดรวมทั้งสิ้นกี่หนวย
วิธีทํา ขอมูลชุดนี้กําหนดใหในรูปเวลาที่ใชตองานหนึ่งหนวย คือ 4, 5, 6, 10 และ 12 นาที
1
นั่นคือ นาย ก ทํางาน 1 นาที ไดงาน หนวย
4
1
นาย ข ทํางาน 1 นาที ไดงาน หนวย
5
1
นาย ค ทํางาน 1 นาที ไดงาน หนวย
6
1
นาย ง ทํางาน 1 นาที ไดงาน หนวย
10
1
นาย จ ทํางาน 1 นาที ไดงาน หนวย
12
ถาเราตองการพิจารณาผลงานเฉลี่ยตอหนึ่งหนวยเวลา คาเฉลี่ยที่เหมาะสมคือ คาเฉลี่ยฮารมอนิก
N
H.M. = N
1

i =1 x i

= …………………………………………………………………………………………………………
1
ดังนั้น คาเฉลี่ยของอัตราการทํางานของคนทั้งหา เทากับ 6 นาที ตองานหนึ่งหนวย
4
360
และ ในเวลา 6 ชั่วโมง คนทั้งหาคนนี้จะทํางานได 5× = 288 หนวย
1
6
4
กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร 37 คณิตศาสตรเสริม 6
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6

โจทยฝกทักษะ

1. นายกลา ขับรถไปตางจังหวัดระยะทาง 600 กิโลเมตรตอชั่วโมง โดยที่ 200 กิโลเมตรแรกขับดวย


อัตราเร็ว 60 กิโลเมตรตอชั่วโมง 200 กิโลเมตรถัดไปขับดวยอัตราเร็ว 100 กิโลเมตรตอชั่วโมง และ
200 กิโลเมตรสุดทาย ขับดวยอัตราเร็ว 80 กิโลเมตรตอชั่วโมง จงหาอัตราเร็วเฉลี่ยตลอดการเดินทาง
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………

2. คนงานรับจางเย็บกระเปา 4 คน มีอัตราในการเย็บกระเปา ดังนี้


คนงานคนที่ อัตราเร็ว (นาที/หมวก 1 ใบ)
1 20
2 15
3 10
4 18
จงหาอัตราเร็วเฉลี่ยในการเย็บกระเปาของคนทั้ง 4
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………

6. คากึ่งกลางพิสัย (Mid-range)

คือ การหาคากลางของขอมูลอยางคราวๆ โดยหาจากสูตรตอไปนี้


X max + X min
คากึ่งกลางพิสัย =
2
กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร 38 คณิตศาสตรเสริม 6
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6

ขอสังเกต สําหรับขอมูลที่มีอันตรภาคชั้นเปด จะหาคากลางแบบนี้ไมได


ขอสังเกตและหลักเกณฑที่สําคัญในการใชคากลางชนิดตาง ๆ
1. คาเฉลี่ยเลขคณิตเปนคากลางที่ไดจากการนําทุกๆคาของขอมูลมาเฉลี่ย แตมัธยฐานและฐานนิยม
เปนเพียงคากลางที่ใชตําแหนง (Position) ของขอมูลบางคาเทานั้น
2. ถาในจํานวนขอมูลทั้งหมดมีขอมูลบางคาที่มีคาสูงหรือต่ํากวาขอมูลอื่นๆ มาก จะมีผลกระทบตอการ
หาคากลางโดยใชคาเฉลี่ยเลขคณิต กลาวคือ อาจจะทําใหคากลางที่ไดมีคาสูงหรือต่ํากวาขอมูลที่มีอยูสวนใหญ
แตจะไมมีผลกระทบกระเทือนตอการหาคากลางโดยใชมัธยฐานหรือฐานนิยม
3. มัธยฐานหรือฐานนิยมใชเมื่อตองการทราบคากลางของขอมูลทั้งหมดโดยประมาณและรวดเร็ว ทั้งนี้
เนื่องจากการหาคามัธยฐานและฐานนิยมบางวิธีไมจําเปนตองมีการคํานวณซึ่งอาจใชเวลามาก
4. ถาการแจกแจงความถี่ของขอมูลประกอบดวยอันตรภาคชั้นที่มีชวงปด อาจเปนชั้นต่ําสุดหรือชั้นสูงสุด
ชั้นใดชั้นหนึ่งหรือทั้งสองชั้น การหาคากลางโดยใชคาเฉลี่ยเลขคณิตไมสามารถหาได
5. การแจกแจงความถี่ของขอมูลที่มีความกวางของแตละอันตรภาคชั้นไมเทากัน อาจจะมีผลทําใหคา
กลาง
ที่หาไดโดยใชคาเฉลี่ยเลขคณิตหรือฐานนิยมคลาดเคลื่อนไปจากที่ควรจะเปนไดบาง แตจะไมมีผลกระทบ
กระเทือนตอการหา มัธยฐาน ( ถาความกวางของอันตรภาคชั้นไมเทากัน ควรใชมัธยฐานเปนคากลาง )
6. ในกรณีที่ขอมูลเปนประเภทขอมูลเชิงคุณภาพ (Qualitative data) จะสามารถหาคากลางไดเฉพาะ
ฐานนิยมเทานั้น แตไมสามารถหาคาเฉลี่ยเลขคณิต หรือมัธยฐาน
7. ในกรณีที่สามารถนําขอมูลมาเรียงลําดับได ควรหาคากลางหรือมัธยฐานกอน และถาเปนขอมูล
เชิงปริมาณที่มีคาตอเนื่อง ควรใชคาเฉลี่ยเลขคณิตแทนมัธยฐานจะเหมาะสมกวา
8. ลักษณะเฉพาะของคาเฉลี่ยเลขคณิต มัธยฐาน และฐานนิยม อาจแสดงดวยขอมูล 10 คา ตอไปนี้
25 33 35 38 48 55 55 55 56 และ 64 โดยเขียนเปนแผนภาพไดดังนี้
มัธยฐาน

20 30 40 50 60 65
ค่าเฉลี่ยเลขคณิ ต
ฐานนิยม
จะเห็นวาคาเฉลี่ยเลขคณิตเปนคากลางที่แบงน้ําหนักขอมูล 2 ดาน ใหมีสมดุล (Balance point) สวน
มัธยฐานเปนคาที่อยูตรงกลางของขอมูลที่เรียงจากนอยไปมาก ( หรือมากไปนอย ) และฐานนิยมเปนคากลางที่
อยูตรงจุดที่มีความถี่ของขอมูลมากที่สุด
กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร 39 คณิตศาสตรเสริม 6
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6

แบบฝกหัดที่ 1.3

1. จงหาฐานนิยมของอายุเด็ก 15 คน ซึ่งมีอายุดังตอไปนี้
8, 7, 6, 5, 8, 9, 7, 7, 6, 5, 7, 9, 7, 8, 8
........................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................
2. ถาครอบครัว 20 ครอบครัว บริโภคไขไกตอเดือนตามจํานวนตอไปนี้ 60, 32, 51, 60, 48, 52,
46, 38, 35, 60, 48, 54, 44, 49, 47, 48, 48, 44, 65, 60 จงหาฐานนิยมและคากึ่งกลาง
พิสัยของจํานวนไขไกที่แตละครอบครัวบริโภคตอเดือน
.......................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................
3. จงหาคาเฉลี่ยเลขคณิต มัธยฐาน และฐานนิยมของเงินเดือนพนักงาน 7 คน ซึ่งเทากับ 3500, 3600,
3450, 3500, 3400, 3500 และ 21,000 บาท นักเรียนคิดวาคากลางที่หาไดชนิดใดควรเปน
ตัวแทนของเงินเดือนของพนักงานทั้ง 7 คนนี้ ไดดีกวากัน จงอธิบาย
.......................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................
4. เรือบินลําหนึ่งเดินทางไดระยะ d1 , d2 และ d3 ไมล ดวยอัตราเร็ว v1 , v2 และ v3 ไมลตอชั่วโมง
d1 + d 2 + d 3
ตามลําดับ จงแสดงวาอัตราเร็วเฉลี่ย v=
d1 d 2 d 3
ไมลตอชั่วโมง
+ +
v1 v 2 v3

และถา d1 = 2500 , d2 = 1200, d3 = 500, v1 = 500, v2 = 400, v3 = 250 จงหา v


………………………………………………………………………………………………………………………………………………........
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
.....................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
5. ใหนักเรียนพิจารณาสมบัติของคาเฉลี่ยเลขคณิตและสมบัติของมัธยฐาน แลวอธิบายวา จุดเดนที่
แตกตางกันระหวางการใชคาเฉลี่ยเลขคณิตและมัธยฐานคืออะไร
....................................................................................................................................................................
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร 40 คณิตศาสตรเสริม 6
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6

6. จงพิจารณาวาขอความที่กําหนดใหเปนจริงหรือเปนเท็จ ถาเปนเท็จจงบอกเหตุผล
(1) คาเฉลี่ยเลขคณิตของจํานวนนักเรียนในแตละหองของโรงเรียนแหงหนึ่ง เทากับ 35 คน
หมายความวามีครึ่งหนึ่งของจํานวนหองเรียนทั้งหมดที่มีจํานวนนักเรียนต่ํากวา 35 คน และอีก
ครึ่งหนึ่งมีจํานวนนักเรียนมากกวา 35 คน
(2) ในกรณีที่คาจากการสังเกตคาหนึ่งคาใด สูงหรือต่ํากวาคาจากการสังเกตอื่น ๆ ในขอมูลชุดเดียวกัน
มาก มัธยฐานยอมใชเปนตัวกลางองขอมูลชุดนั้นไดดีกวาคาเฉลี่ยเลขคณิต
(3) คาเฉลี่ยของขอมูลชุดใด ๆ จะตองมีคาอยูระหวางคาจากการสังเกตนอยที่สุดและคาจากการ
สังเกตมากที่สุดของขอมูลชุดนั้นเสมอ
(4) ฐานนิยมของขอมูลชุดใด ๆ จะมีจํานวนมากกวาหนึ่งคาไมได
(5) คาเฉลี่ยเลขคณิตของขอมูลชุดหนึ่งจะมีคามากกวามัธยฐานและฐานนิยมของขอมูลชุดนั้นเสมอ
7. ถาขอมูลมีการแจกแจงแบบสมมาตร (Symmetrical) หรือมีการแจกแจงแบบเบ (Skewed) แลว
จงอธิบายวาคาเฉลี่ยเลขคณิต มัธยฐาน และฐานนิยมจะแตกตางกันอยางไร
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
8. สําหรับขอมูลเชิงปริมาณ ถาตัวอยางที่นํามาศึกษาไมมีคาผิดปกติและบางครั้งอาจมีจํานวนนอย การ
วิเคราะหขอมูลจึงควรพิจารณาเลือกการใชคากลางใหเหมาะสม เชน ถาตัวอยางของเรามีจํานวนนอย
การใชฐานนิยมอาจมีคาแตกตางกันมากระหวางตัวอยางชุดหนึ่งกับชุดอื่นๆ ที่มีขนาดตัวอยางเทากัน
สวนมัธยฐานหรือคาเฉลี่ยเลขคณิตตางมีแนวโนมที่ไมเปลี่ยนแปลงมากนักเมื่อเทียบกับฐานนิยม
ระหวางตัวอยางแตละชุดที่มีขนาดเทากัน ดังนั้นเราควรเลือกใชคากลางใด อยางไร จงอธิบาย
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
9. จากขอมูลในตารางเปนรอยละของเมทิลแอลกอฮอลจําแนกตามหองปฏิบัติการ 4 แหง จงตรวจสอบ
วา ขอมูลดังกลาวเปนขอมูลเชิงปริมาณหรือไม ควรใชคากลางชนิดใดเพื่อเปนตัวแทนของแตละ
หองปฏิบัติการ และเปรียบเทียบคากลางนั้นจากแตละหองปฏิบัติการ
หนวยทดลอง หองปฏิบัติการ
LAB 1 LAB 2 LAB 3 LAB 4
1 85.06 84.99 84.48 84.10
2 85.25 84.28 84.72 84.55
3 84.87 84.88 85.10 84.05
กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร 41 คณิตศาสตรเสริม 6
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6

แบบฝกหัดทายบทชุดที่ 1

1. ในการแจกแจงขอมูลของคนงานกลุมหนึ่งโดยแยกกลุมคนงานออกเปนเพศชายและเพศหญิงการ
จําแนกขอมูลดังกลาวทําโดยวิธี
1. จําแนกตามคุณภาพ 2. จําแนกตามปริมาณ
3. จําแนกตามกาลเวลา 4. จําแนกตามภูมิศาสตร

2. ในปการศึกษา 2547 นักเรียนโรงเรียนแหงหนึ่ง มีจํานวนทั้งสิ้น 1,350 คน แบงเปน


มัธยมศึกษาตอนตน 800 คน และมัธยมศึกษาตอนปลาย 550 คน ขอมูลดังกลาวเปนขอมูลชนิดใด
1. ขอมูลจําแนกตามคุณภาพ 2. ขอมูลจําแนกตามปริมาณ
3. ขอมูลจําแนกตามกาลเวลา 4. ขอมูลจําแนกตามภูมิศาสตร

3. ขอมูลตอไปนี้ขอมูลใดไมใชขอมูลเชิงปริมาณ
1. น้ําหนักนักเรียน 2. อาชีพบิดา มารดาของนักเรียน
3. อายุของนักเรียน 4. รายไดของบิดามารดาของนักเรียน

4. ในการคํานวณหาคากลางจากขอมูลเชิงคุณภาพควรใชคากลางใด
1. คาเฉลี่ยเลขคณิต 2. มัธยฐาน
3. ฐานนิยม 4. คาเฉลี่ยเรขาคณิต
5. ถาจํานวนนักเรียนในระดับการศึกษาตางๆ ในปการศึกษา 2527 ของจังหวัดหนึ่งเปนดังนี้
ประถมศึกษา 32,510 คน มัธยมศึกษาตอนตน 8,952 คน และมัธยมศึกษาตอนปลาย 6,312 คน ขอมูล
ดังกลาวเปนขอมูลชนิดใด
1. ขอมูลจําแนกตามคุณภาพ 2. ขอมูลจําแนกตามปริมาณ
3. ขอมูลจําแนกตามกาลเวลา 4. ขอมูลจําแนกตามภูมิศาสตร

6. ขอความตอไปนี้ขอใดไมจริง
N
1. ∑x
i =1
i − NX = 0

N
2. ∑ (x
i =1
i − M) 2 จะมีคานอยสุด เมื่อ M = X
N
3. ∑x
i =1
i −M จะมีคานอยสุด เมื่อ M = มัธยฐาน
4. คาเฉลี่ยเลขคณิตของขอมูลชุดหนึ่งมีคามากกวาคามัธยฐานของขอมูลชุดนี้เสมอ
กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร 42 คณิตศาสตรเสริม 6
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6
4 4 4
7. กําหนด ∑ (x i + y i ) = 9 และ ∑ (x i − y i ) = 7 จะสรุปไดวา ∑ ( x i + a ) 2 จะมีคาต่ําสุด
i =1 i =1 i =1

เมื่อ a มีคาเทาไร
1. 2 2. 3
3. 4 4. 5
10
8. กําหนดใหคาจากการสังเกตเปนดังนี้ 15, 4, 5, 3, 2, 7, 8, 10, 1, 20 และ ∑ x i − a มี
i =1

คานอยสุด เมื่อ a มีคาเทาไร


1. 4 2. 5
3. 6 4. 7.5
9. ขอมูลชุดหนึ่งจัดเปนอันตรภาคชั้นไดดังนี้
2.5 - 2.9 3.0 - 3.4 3.5 - 3.9 4.0 - 4.4 4.5 - 4.9
ความกวางของอันตรภาคชั้นคือขอใดตอไปนี้
1. ผลตางระหวาง 3.85 และ 3.55 2. ผลตางระหวาง 2.9 และ 2.5
3. ผลตางระหวาง 4.45 และ 4.00 4. ผลตางระหวาง 3.7 และ 3.2

10. ขอมูลชุดหนึ่งประกอบดวยตัวเลข 5 จํานวน มีคาเฉลี่ยเลขคณิตเทากับ a คามัธยฐานเทากับ b


5 5
ถาให xi แทนขอมูล และ A = ∑ ( x i − a ) 2 , B = ∑ ( x i − b) 2 แลว ขอใดตอไปนี้ถูกตอง
i =1 i =1

1. A≤B 2. A≥B
3. A<B 4. A>B

11. คาเฉลี่ยเลขคณิตของวิชาภาษาไทยของนักเรียน 10 คน คือ 72 ถาคะแนนของนักเรียน 8 คน


เปนดังนี้ 39 46 54 70 83 86 93 99
สวนคะแนนของนักเรียนอีก 2 คน ครูทํากระดาษสอบหาย แตทราบวา 2 คนนี้มีคะแนนตางกัน 4 คะแนน
ดังนั้นคามัธยฐานของคะแนนวิชาภาษาไทยของนักเรียนทั้ง 10 คน มีคาเทาไร
1. 69.0 2. 75.0
3. 76.5 4. หาคาไมไดเพราะขอมูลไมเพียงพอ
12. ขอมูลตอไปนี้แสดงน้ําหนัก (กิโลกรัม) ของนักเรียนหญิงกลุมหนึ่ง
42 79 50 40 46 49 43 45 44 880 47 48
จากคากลางทั้ง 4 คาขางลางนี้ คาใดเปนคาที่เหมาะสมที่จะเปนตัวแทนของขอมูลชุดนี้
1. มัธยฐาน 2. ฐานนิยม
3. คาเฉลี่ยเลขคณิต 4. คาเฉลี่ยเลขคณิตของคาต่ําสุดและคาสูงสุด
กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร 43 คณิตศาสตรเสริม 6
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6

13. จงพิจารณาแผนภูมิแสดงกําไร ขาดทุน ของบริษัทมั่นคงจํากัด ดังนี้

ขอใดตอไปนี้ผิด
1. กิจการของบริษัทดีขึ้นเรื่อยๆ
2. บริษัทเริ่มไดกําไรตั้งแตป พ.ศ. 2546
3. ในชวง 6 ปของการดําเนินงานสรุปแลวบริษัทมีกําไร
4. ปที่บริษัทขาดทุนมากที่สุดคิดเปนเปนจํานวนมากกวาปที่บริษัทกําไรมากสุด

14. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 ของโรงเรียนสหศึกษาแหงหนึ่งมีคาเฉลี่ยเลขคณิตของน้ําหนัก เปน 58.7


กิโลกรัม และคาเฉลี่ยเลขคณิตของน้ําหนักนักเรียนชายชั้นนี้เปน 65.8กิโลกรัม คาเฉลี่ยเลขคณิตของน้ําหนัก
นักเรียนหญิงชั้นนี้เปน 34.2 กิโลกรัม โรงเรียนนี้มีนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 ที่เปนหญิงรอยละเทาไร
1. 77.5 2. 34.2
3. 22.5 4. ขอมูลใหไมเพียงพอ

15. นักเรียนชั้นหนึ่งมี 100 คน แบงเปน 2 กลุม ในการสอบวิชาคณิตศาสตรปรากฏวา คะแนนเฉลี่ยของ


นักเรียนทั้งหมดเทากับ 55.3 ถากลุม 1 มีนักเรียนมากกวากลุม 2 อยู 6 คน และคะแนนเฉลี่ยของนักเรียนกลุม
1 เปน 60 คะแนนเฉลี่ยของนักเรียนกลุม 2 คือขอใด
1. 50.0 2. 50.6
3. 55.3 4. 57.65
กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร 44 คณิตศาสตรเสริม 6
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6

16. ในการสอบวิชาสถิติของนักเรียนหองหนึ่ง คาเฉลี่ยเลขคณิตของคะแนนสอบของนักเรียนหองนี้เทากับ


53 คะแนน แตจากการตรวจสอบพบวามีขอสอบของนักเรียนอีก 2 คนที่ยังไมไดทําการตรวจ เมื่อตรวจเสร็จ
แลว ปรากฏวาคาเฉลี่ยเลขคณิตของคะแนนสอบของนักเรียนหองนี้เทากับ 55 คะแนน และผลรวมของคะแนน
สอบเพิ่มขึ้นอีก 180 คะแนน จํานวนนักเรียนในหองนี้เทากับขอใดตอไปนี้
1. 37 คน 2. 35 คน
3. 33 คน 4. 31 คน

17. ขอใดตอไปนี้ถูกตอง
1. คาเฉลี่ยเลขคณิตหาไดเสมอ จากตารางแจกแจงความถี่
2. มัธยฐาน คาเฉลี่ยเลขคณิต และฐานนิยม สามารถหาจากกราฟของขอมูลไดเสมอ
3. ถาขอมูลมีคาสังเกตบางคาสูงกวาคาอื่น มาก ๆ จะมีผลกระทบตอการหาคาเฉลี่ยเลขคณิต
4. เราสามารถหามัธยฐานจากขอมูลคนไขที่แยกตามโรคที่ปวยได
10 10 10 10
18. ถา ∑ x i = −8 ∑ y i = 4 และ ∑ (5 − x i )( y i + 2) = 76 แลว ∑ x i y y มีคาเทากับเทาไร
i =1 i =1 i =1 i =1

1. -60 2. -30
3. 30 4. 60

19. ขอมูลชุดหนึ่งมี 10 จํานวน หาคาเฉลี่ยเลขคณิตของขอมูลชุดนี้ไดเทากับ 24 ตอมามีความจําเปนตอง


นําขอมูลทั้ง 10 คา มาใชอีก แตพบวาขอมูลจํานวนหนึ่งลบเลือนอานไมออก ถาขอมูลที่อานออกคือ 22, 25,
20, 27, 30, 32, 19, 28, 18 ขอมูลที่อานไมออกคือขอใดตอไปนี้
1. 22 2. 21
3. 20 4. 19

20. ถาคาโดยสารรถประจําทางตอวัน (บาท) ของนักเรียน 10 คน เปนดังนี้


11 15 22 36 11 18 22 22 16 28
แลวจํานวนรอยละของนักเรียนที่ตองจายเงินเปนคาโดยสารรถประจําทางสูงกวาฐานนิยมของคา
โดยสารรถประจําทางตอวัน คือขอใดตอไปนี้
1. 10 2. 15
3. 20 4. 25
กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร 45 คณิตศาสตรเสริม 6
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6

21. ขอมูลชุดหนึ่งมี 10 จํานวน หาคาเฉลี่ยเลขคณิตไดเทากับ 12 ถาขอมูล 8 จํานวนแรกคือ 11, 7, 9,


3
15, 17, 5, 10, 4 และขอมูลที่เหลืออีก 2 จํานวนนั้น จํานวนหนึ่งเปน เทาของอีกจํานวนหนึ่ง ขอมูล 2
4
จํานวนนั้น คือขอใดตอไปนี้
1. 25 และ 15 2. 23 และ 19
3. 24 และ 18 4. 22 และ 17

22. ครูสอนคณิตศาสตรไดรายงานผลการสอบยอยของนักเรียน 3 กลุม ดังนี้


กลุมที่ 1 กลุมที่ 2 กลุมที่ 3
คะแนนเฉลี่ย 15 12 13
จํานวนนักเรียน 10 8 x
ถาคะแนนเฉลี่ยของวิชาคณิตศาสตรเทากับ 13.4 คะแนน จํานวนนักเรียนกลุมที่ 3 มีคาเทากับขอใดตอไปนี้
1. 8 2. 10
3. 12 4. 14
23. สมศรีซื้อเงาะ 5 กิโลกรัม ราคากิโลกรัมละ 15 บาท มังคุด 6 กิโลกรัม ราคากิโลกรัมละ20 บาท ทุเรียน 9
กิโลกรัม ราคากิโลกรัมละ 25 บาท สมศรีซื้อผลไมโดยเฉลี่ยราคากิโลกรัมละเทากับขอใดตอไปนี้
1. 21 บาท 2. 22 บาท
3. 23 บาท 4. 24 บาท
24. บริษัทแหงหนึ่งจําแนกลูกจางเปน 2 กลุม คือคนงานและพนักงาน โดยที่คนงานมีคาจางรายวันเฉลี่ย 120
บาทตอคน พนักงานมีคาจางรายวันเฉลี่ย 440 บาท ตอคน ถาจํานวนคนงานเปน 3 เทาของจํานวน
พนักงาน แลวลูกจางของบริษัทนี้มีคาจางรายวันเฉลี่ยตอคน เทากับเทาใด
1. 200 บาท 2. 266 บาท
3. 288 บาท 4. 360 บาท

8
25. ให a เปนจํานวนจริงที่ทําให ∑ ( x i − a ) 2 มีคาต่ําสุดสําหรับขอมูล
i =1

2 2 6 12 12 20 16 10 แลว มัธยฐานของขอมูล
5 a 2a 6 3 7 15 16 เทากับขอใดตอไปนี้
1. 8.5 2. 8
3. 7.5 4. 7
กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร 46 คณิตศาสตรเสริม 6
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6

26. ขอมูลชุดหนึ่งเรียงจากนอยไปหามากเปนดังนี้ 98, 100, 101, 104, a, 109, 110, 111, b


ถาพิสัยและคาเฉลี่ยเลขคณิตของขอมูลชุดนี้เทากับ 14 และ 106 ตามลําดับ แลว มัธยฐานของขอมูลชุด
นี้เทากับขอใดตอไปนี้
1. 107.5 2. 108
3. 108.5 4. 109
27. กําหนดขอมูล 4, 18, 10, 8 และ 15 จงพิจารณาขอความตอไปนี้
5 5 5
ก. ∑ | x i − 10 | มีคานอยที่สุด ข. ∑ ( x i − x) 2 > ∑ ( x i − 10 ) 2
i =1 i =1 i =1

ขอใดตอไปนี้ถูกตอง
1. ขอ ก และ ข ถูก 2. ขอ กถูก และ ขอ ข ผิด
3. ขอ ก ผิด และ ข ถูก 4. ขอ ก ผิด และ ขอ ข ผิด

n n
28. ถา θ1 และ θ2 เปนคาที่ทําให ∑ (x i − θ1 )2 และ
i =1
∑| x
i =1
i
− θ2 | มีคาต่ําสุด สําหรับขอมูลตอไปนี้

2, 4, 6, 7, 12, 12, 13 แลวคา θ1 และ θ 2 ตรงกับขอใดตอไปนี้


1. θ1 = 8 , θ 2 = 12 2. θ1 = 7 , θ 2 = 8

3. θ1 = 8 , θ 2 = 7 4. θ1 = 12 , θ 2 = 7

29. กําหนดให x 1 , x 2 , x 3 , x 4 , x 5 และ x 6 คือ 3, 4, 6, 13, 8 และ 2 ตามลําดับ


พิจารณาขอความตอไปนี้
6
ก. ∑ ( x i − a ) 2 มีคานอยที่สุดเมื่อ a = 6
i =1
6
ข. ∑ | x i − b | มีคานอยที่สุด เมื่อ b = 5
i =1

ขอใดตอไปนี้ถูกตอง
1. ขอ ก และ ข ถูก 2. ขอ ก ถูก และ ขอ ข ผิด
3. ขอ ก ผิด และ ข ถูก 4. ขอ ก ผิด และ ขอ ข ผิด
กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร 47 คณิตศาสตรเสริม 6
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6

30. ใหอัตราสวนระหวางจํานวนนักเรียนชาย ตอจํานวนนักเรียนหญิงของนักเรียนหองหนึ่งเทากับ 3: 2


ถาคาเฉลี่ยของคะแนนสอบวิชาคณิตศาสตรของนักเรียนหองนี้เทากับ 43 คะแนน และคาเฉลี่ยเลขคณิตของ
นักเรียนชายมากกวาคาเฉลี่ยเลขคณิตของคะแนนสอบของนักเรียนหญิงเทากับ 5 คะแนนแลว อัตราสวน
ระหวางคาเฉลี่ยของคะแนนสอบของนักเรียนชาย ตอคาเฉลี่ยเลขคณิตของคะแนนสอบของนักเรียนหญิง
เทากับขอใดตอไปนี้
1. 6 : 5 2.. 7 : 6
3. 8 : 7 4. 9 : 8

31. ให x1 , x2 ,… , x10 เปนขอมูล 10 จํานวน ดังนี้ 2, 4, 6, 7, a, b, 12, 12, 12, 19 โดยที่
a , b เปนจํานวนจริงซึ่ง a ≠ 0 ถาฐานนิยมของขอมูลชุดนี้เทากับ b และคาเฉลี่ยเลขคณิตของขอมูลชุดนี้
10
เทากับ 9.5 แลว ∑ | xi − c | มีคานอยที่สุดเมื่อ c มีคาเทากับขอใดตอไปนี้
i =1

1. 9.0 2. 9.5
3. 10.0 4. 10.5
32. คาเฉลี่ยเลขคณิตของคะแนนสอบวิชาคณิตศาสตรของนักเรียนหองหนึ่งเปน 43 คะแนน ถาคิดคาเฉลี่ยเลข
คณิตของคะแนนสอบนักเรียนชายและหญิงแยกกันจะได 45 และ 40 คะแนน ตามลําดับแลว อัตราสวน
ระหวางจํานวนนักเรียนชายและนักเรียนหญิงคือขอใด
1. 3:2 2. 2:3
3. 2:5 4. 3:5

33. นักเรียน ม.6 จํานวน 2 หอง รวม 150 คน โดยคะแนนสอบเฉลี่ยวิชาคณิตศาสตรของนักเรียนทั้ง 2 หอง


เปน 70 และ 55 คะแนน ตามลําดับ ถา คะแนนเฉลี่ยรวมทั้งสองหอง เปน 60 คะแนน แลว นักเรียนทั้งสอง
หอง มีจํานวนตางกันกี่คน
1. 25 คน 2. 50 คน
3. 75 คน 4. 100 คน
กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร 48 คณิตศาสตรเสริม 6
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6

34.
การบาน สอบยอย ปลายภาค
ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2
เกณฑการคิดคะแนน 20% 20% 30% 30%
คะแนนที่ไดจากคะแนนเต็ม 100 95 73 67 ……….
จากตาราง เปนเกณฑการใหคะแนนที่ครูกําหนดไว และผลการเรียนของนักเรียนคนหนึ่ง ถานักเรียน
คนนี้ไดคะแนนเฉลี่ยตลอดภาคเรียนเปน 78% แลว คะแนนสอบปลายภาคของเขาเปนเทาไร
1. 74.5 2. 78.0
3. 81.0 4. 83.0

35. ความสัมพันธระหวางกําไร (y) และราคาทุน (x) ของสินคาชนิดหนึ่งเปน y = 7 + 0.25x ถาราคาทุน


ของสินคา 5 ชิ้น เปนดังนี้ 32 48 40 56 และ 44 บาท แลว จงหาคาเฉลี่ยเลขคณิตของกําไรของ
สินคา
1. 16 2. 18
3. 20 4. 22

36. ขอมูลชุดหนึ่งเรียงจากนอยไปหามากเปนดังนี้ 98, 100, 101, 104, a, 109, 110, 111, b


ถาพิสัยและคาเฉลี่ยเลขคณิตของขอมูลชุดนี้เทากับ 14 และ 106 ตามลําดับ แลว มัธยฐานของขอมูลชุดนี้
เทากับขอใดตอไปนี้
1. 1. 107.5 2. 108
2. 3. 108.5 4. 109

37. อายุเด็กกลุมหนึ่ง มีการแจกแจงดังนี้ ถามัธยฐานของอายุเด็กกลุมนี้เทากับ 7 ป แลว a


อายุ (ป) จํานวนเด็ก มีคาเทากับขอใดตอไปนี้
1–3 3 1. 3 2. 4
4–6 a 3 5 4. 6
7–9 6
10 – 12 4
กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร 49 คณิตศาสตรเสริม 6
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6

38. ตารางที่กําหนดใหตอไปนี้แสดงสวนสูงเปนเซนติเมตรของเด็กอายุ 10 ขวบ จํานวน 100 คน


ความสูง จํานวนความถี่สะสม ขอมูลชุดนี้มีคาฐานนิยมโดยประมาณเทาใด
110 – 114 8 1. 122
115 – 119 20 2. 127
120 – 124 35 3. 132
125 – 129 58 4. 142
130 – 134 91
135 – 139 93
140 – 144 100

8
39. ให a เปนจํานวนจริงที่ทําให ∑ ( x i − a ) 2 มีคาต่ําสุดสําหรับขอมูล
i =1

2 2 6 12 12 20 16 10 แลว มัธยฐานของขอมูล
5 a 2a 6 3 7 15 16 เทากับขอใดตอไปนี้
1. 8.5 2. 8
3. 7.5 4. 7

40. มัธยฐานของคะแนนวิชาคณิตศาสตรเทากับ 70 คะแนน ภายหลังพบวาไดกรอกคะแนนผิดไป 2 คน คือ


กรอกคนแรกมากกวาความเปนจริงไป 5 คะแนน คนทีส่ องกรอกนอยกวาความเปนจริงไป 3 คะแนน ถา
คะแนนจริงของนักเรียนทั้งสองคนเปน 60 และ 89 คะแนน ตามลําดับ มัธยฐานที่ถูกตองเทากับเทาใด
1. 60 2. 65
3. 70 4. 72
กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร 50 คณิตศาสตรเสริม 6
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6

1.5 การวัดตําแหนงทีห่ รือตําแหนงสัมพัทธของขอมูล


(Measures of relative standing)

โดยทั่วไป เมื่อกลาวถึงตําแหนงหรือลําดับที่ของขอมูลชุดหนึ่ง การบอกตําแหนงทีข่ องขอมูลโดยเทียบ


กับขอมูลทั้งหมดสามารถบอกไดทนั ทีวาตําแหนงนั้นดีหรือไมเพียงใดในกลุม จึงไดมีการพัฒนาวิธีการบอก
ตําแหนงโดยใชควอรไทล เดไซล และเปอรเซ็นไทล ดังจะไดกลาวตอไป

ควอรไทล เดไซล และเปอรเซ็นไทล (Quartiles , Deciles and Percentiles)


เมื่อนําชุดขอมูลชุดหนึ่งมาเรียงคาของขอมูลจากนอยไปมาก
ควอรไทลที่ r เปนคาที่มีจํานวนขอมูลนอยกวาคานี้อยูประมาณ r ใน 4 ของจํานวนขอมูลทั้งหมด
ควอรไทลที่ r เขียนแทนดวย Qr

Q1 Q2 Q3
เดไซลที่ r เปนคาที่มีจํานวนขอมูลนอยกวาคานี้อยูป ระมาณ r ใน 10 ของจํานวนขอมูลทั้งหมด
เดไซลที่ r เขียนแทนดวย Dr

D1 D2 D3 …. D9
เปอรเซ็นไทลที่ r เปนคาที่มีจํานวนขอมูลนอยกวาคานี้อยูประมาณ r ใน 100 ของจํานวนขอมูล
ทั้งหมด เปอรเซ็นไทลที่ r เขียนแทนดวย Pr
การเปรียบเทียบคาควอรไทล เดไซล และเปอรเซ็นไทล
Q1 = D2.5 = P25 , Q2 = D5 = P50 = มัธยฐาน
D1 = P10 , D9 = P90

การหาคาควอรไทล เดไซล และเปอรเซ็นไทล ของขอมูลที่ไมไดแจกแจงความถีเ่ ปนอันตรภาคชั้น


1. เรียงลําดับขอมูลจากคานอยไปหามาก
2. หาตําแหนงทีข่ อง Qr , Dr หรือ Pr ตามที่ตองการ จากสูตร ดังนี้
เมื่อ N เปนจํานวนขอมูลทั้งหมด
กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร 51 คณิตศาสตรเสริม 6
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6

r (N + 1)
ตําแหนงของ Qr = 4
,r=1,2,3
r ( N + 1)
ตําแหนงของ Dr = ,r=1,2,3,…,9
10
r (N + 1)
ตําแหนงของ Pr = , r = 1 , 2 , 3 , … , 99
100

3. คํานวณหาคาของขอมูลที่ตรงกับตําแหนง Qr , Dr หรือ Pr ที่ตองการ (ใชวิธีเดียวกับการหามัธยฐาน


ของขอมูลที่ไมไดแจกแจงความถี่)

Note ในทางสถิติไมนิยมหาเปอรเซ็นไทลของขอมูลที่มีจํานวนนอย เพราะจะทําใหไดคาประมาณทีม่ ีความ


ถูกตองนอย คาเปอรเซ็นไทลที่ไดอาจจะต่ํากวาคาต่ําสุดของขอมูลหรือสูงกวาคาสูงสุดของขอมูลที่มีอยูก็ได

ตัวอยางที่ 1 ปริมาณการสงออกขาวของประเทศไทยไปยังประเทศตางๆ ในทวีปเอเชีย 10 ประเทศ ในป พ.ศ.


2552 แสดงไวในตาราง ดังนี้
ประเทศ ปริมาณขาวสงออก (พันตัน)
กัมพูชา 42
จีน 255
ญี่ปุน 156
ไตหวัน 22
ฟลิปปนส 389
มาเลเซีย 316
สิงคโปร 270
อินโดนีเซีย 764
บรูไน 20
เกาหลีเหนือ 95
ที่มา : สภาหอการคาแหงประเทศไทย สํานักงานมาตรฐานสินคา

จงหา 1. ควอรไทลที่หนึ่งและควอรไทลที่สามของปริมาณการสงออกขาวของประเทศไทยไปยังประเทศ
ตาง ๆ ในทวีปเอเชียทั้ง 10 ประเทศ
2. ประเทศใดบางที่ประเทศไทยสงออกขาวไปในปริมาณที่ต่ํากวาควอรไทลที่หนึ่งที่หาไดในขอ 1
3. ประเทศใดบางที่ประเทศไทยสงออกขาวไปในปริมาณที่สูงกวาควอรไทลที่สามที่หาไดในขอ 1
กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร 52 คณิตศาสตรเสริม 6
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6

วิธีทํา
1. เรียงปริมาณขาวสงออกของประเทศไทยจากนอยไปมากจะไดดังนี้
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
หาควอรไทลที่ 1
(N + 1) (10 + 1)
เนื่องจาก Q1 อยูในตําแหนงที่ = = 2.75
4 4
ดังนั้น Q1 มีคาอยูระหวางตําแหนงที่ 2 กับ ตําแหนงที่ 3 คือขอมูล 22 กับ 42 พันตัน
คํานวณคาของขอมูลที่ตรงกับตําแหนง Q1 ไดดังนี้
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ดังนั้น ประเทศที่ไทยสงออกขาวไปในปริมาณที่ต่ํากวาควอรไทลที่ 1 ของทั้ง 10 ประเทศ คือ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
จะหาหาควอรไทลที่ 3
3(N + 1)
เนื่องจาก Q3 อยูในตําแหนงที่ =
4
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ดังนั้น ประเทศที่ไทยสงออกขาวไปในปริมาณที่สูงกวาควอรไทลที่ 3 ของทั้ง 10 ประเทศ คือ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ตัวอยาง 2 จากตารางแจกแจงความถี่ของน้ําหนัก ( kg ) ของนักเรียน 20 คน ของโรงเรียนแหงหนึ่ง


น้ําหนัก (kg) 12 14 16 18 20
จํานวนนักเรียน 3 5 7 3 2

จงหา Q3 , D5 และ P80 ของน้ําหนักของนักเรียนกลุมนี้


วิธีทํา
………………………………………
น้ําหนัก (kg) 12 14 16 18 20
………………………………………
จํานวนนักเรียน 3 5 7 3 2
………………………………………
ความถี่สะสม
………………………………………
………………………………………
กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร 53 คณิตศาสตรเสริม 6
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6

แบบฝกหัดที่ 1.4

1. น้ําหนัก (กิโลกรัม) ของนักเรียน 20 คน เปนดังนี้


60 53 61 50 54 55 48 45 57 52
49 58 43 47 46 52 41 62 61 64
จงหา Q3 , D5 และ P30
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
2. อายุ (ป) ของคนกลุมหนึ่ง เปนดังนี้
19 64 53 44 54 32 48 49 46 48
29 51 23 21 56 37 62 34 54 28
43 36 28 43 21 36 48 41 60 36
60 32 45 32 34
จงหา 1. คนในกลุมนี้จะตองมีอายุกี่ปจึงมีจํานวนคนในกลุมนี้ประมาณครึ่งหนึ่งของกลุมมีอายุนอยกวา
2. คนในกลุมนี้จะตองมีอายุกี่ปจึงมีจํานวนคนในกลุมนี้ประมาณหนึ่งในสี่ของกลุมมีอายุสูงกวา
3. คนในกลุมนี้จะตองมีอายุกี่ปจึงมีจํานวนคนในกลุมนี้มีอายุนอยกวาอยู 8 ใน 10
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
9
3. กําหนดขอมูล 11, 13, 13, 17, 15, 16, 17, 11, 13 ถาเปอรเซ็นไทลที่ k ทําให ∑ (x i − Pk )2
i =1

มีคานอยที่สุด และ x i เปนขอมูลใด ๆ เมื่อ i = 1 , 2 , 3 , … , 9 แลว คาของ k เทากับเทาใด


……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร 54 คณิตศาสตรเสริม 6
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6

10
4. ให x 1 , x 2 ,..., x 10 เปนขอมูลที่เรียงลําดับจากนอยไปมาก โดยที่ ∑ x i = x 3 + 165 และ
i =1

เปอรเซ็นตไทลที่ 25 เทากับ 13.5 ถา x 1 = 8 และ x 2 = 12 แลว คาเฉลี่ยเลขคณิตของขอมูลชุดนี้


มีคาเทากับเทาใด
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
5. ในการสอบแขงขันคณิตคิดเร็วในสัปดาหวิทยาศาสตรของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 ของโรงเรียนแหง
หนึ่ง โดยใชขอสอบในการแขงขัน 30 ขอ มีจํานวนนักเรียนเขาแขงขัน 30 คน เวลา (นาที) ที่ใชในการทํา
ขอสอบของนักเรียนที่เขาแขงขันมีดังนี้
70 50 45 60 55 40 43 49 52 51
65 75 80 72 73 44 62 58 53 61
30 35 42 39 48 46 57 63 58 69
(1) ถามีจํานวนนักเรียนที่เขาแขงขันทีใ่ ชเวลาในการทําขอสอบนอยกวาสมชาย ประมาณรอยละ 55 แลว
สมชาย ใชเวลาเทาไรในการทําขอสอบ
(2) จงหาเวลาที่สมหญิงใชในการทําขอสอบ เมื่อทราบวามีนักเรียนที่เขาแขงขันประมาณ 8 ใน 10 ใชเวลา
ในการทําขอสอบนอยกวาสมหญิง
(3) ถานักเรียนประมาณ 1 ใน 4 ใชเวลาในการทําขอสอบนอยกวานักเรียนที่เขาแขงขันทั้งหมด
จะไดรับรางวัล อยากทราบวานักเรียนคนที่ไดรับรางวัลใชเวลาในการทําขอสอบมากที่สุดเทาใด
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร 55 คณิตศาสตรเสริม 6
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6

การหาควอรไทล เดไซล และเปอรเซ็นไทลของขอมูลที่แจกแจงความถี่เปนอันตรภาคชั้น


การหาควอรไทล เดไซล และเปอรเซ็นไทลของขอมูลทีแ่ จกแจงความถีค่ ลายกับการหามัธยฐานของ
ขอมูลที่แจกแจงความถี่แลว ซึ่งขอมูลที่นํามาใชคํานวณไมไดเปนขอมูลที่แนนอนแตเปนขอมูลที่เปนอันตรภาค
ชั้น ดังนั้นในการคํานวณหาควอรไทล เดไซล และเปอรเซ็นไทลของขอมูลที่แจกแจงความถี่เปนอันตรภาคชั้น
จึงไดคาโดยประมาณเทานั้น กลาวคือ หาตําแหนงที่ของควอรไทล เดไซล หรือเปอรเซ็นไทลของขอมูลจํานวน
N หนวย ที่ตองการโดยใชสูตรซึ่งสรุปไดดังนี้
rN
ตําแหนงที่ของ Qr คือ 4
เมื่อ r ∈ { 1 , 2 , 3 }
rN
ตําแหนงที่ของ Dr คือ เมื่อ r ∈ { 1 , 2 , 3 , … , 9 }
10
rN
ตําแหนงที่ของ Pr คือ เมื่อ r ∈ { 1 , 2 , 3 , … , 99 }
100

เมื่อหาตําแหนงที่ไดแลว คํานวณหาคาของขอมูลที่ตรงกับตําแหนงทีค่ วอรไทล เดไซล หรือ


เปอรเซ็นทลที่ตองการ โดยใชวิธีคํานวณ หรือหาจากเสนโคงของความถี่สะสม (Ogive)
สูตรสําหรับชวยในการคํานวณ คือ
rN
-∑ f )
(
4
L

Qr = L+I
fr Q

rN
-∑ f )
(
Dr = L+I 10
L

fr D

rN
( -∑ f )
100
L

Pr = L+I
fr P

เมื่อ L คือ ขอบลางของอันตรภาคขั้นที่ Qr , Dr หรือ Pr อยู


I คือ ความกวางของอันตรภาคชั้นที่ Qr , Dr หรือ Pr อยู
rN rN rN
4
, หรือ คือ ตําแหนงทีข่ อง Qr , Dr , Pr ตามลําดับ
10 100

∑ f คือ ความถี่สะสมของอันตรภาคชั้นที่ต่ํากวาอันตรภาคชั้นที่ Qr , Dr หรือ Pr อยู


L

f Q r f D r , f Pr คือ ความถี่ของอันตรภาคชั้นที่ Qr , Dr หรือ Pr อยู


กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร 56 คณิตศาสตรเสริม 6
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6

ตัวอยาง 3 ตารางแสดงจํานวนนักเรียนจําแนกตามชวงคะแนนที่สอบไดเปนดังนี้
ชวงคะแนน จํานวนนักเรียน
55 – 64 3
65 – 74 21
75 – 84 78
85 – 94 182
95 – 104 305
105 – 114 209
115 – 124 81
125 – 134 21
135 – 144 5

(1) จงหา Q2 , D5 และ P50 แลวเปรียบเทียบคาที่ได


(2) ถานักเรียนคนหนึ่งสอบได 110 คะแนน เขาไดคะแนนเปนเปนเซ็นไทลที่เทาใด
วิธีทํา
ชวงคะแนน จํานวนนักเรียน ความถี่สะสม
55 – 64 3
65 – 74 21
75 – 84 78
85 – 94 182
95 – 104 305
105 – 114 209
115 – 124 81
125 – 134 21
135 – 144 5
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร 57 คณิตศาสตรเสริม 6
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6

ตัวอยาง 4 ตารางตอไปนี้เปนคะแนนสอบวิชาคณิตศาสตรของนักเรียน 120 คน

คะแนน จํานวนนักเรียน
30 – 39 1
40 – 49 4
50 – 59 10
60 – 69 22
70 – 79 45
80 – 89 30
90 – 99 8

จงหา (1) คะแนนต่ําสุดของกลุมนักเรียนที่ไดคะแนนสูงสุด ซึ่งนักเรียนกลุมนี้มี 20% ของนักเรียนกลุมนี้


(2) คะแนนสูงสุดของกลุมนักเรียนที่ไดคะแนนต่ําสุด ซึ่งนักเรียนกลุมนี้มี 15% ของนักเรียนกลุมนี้
(3) นักเรียนคนหนึ่งในกลุมนี้ สอบได 75 คะแนน เขาไดคะแนนเปนเปอรเซ็นตไทลที่เทาใด

วิธีทํา
คะแนน จํานวนนักเรียน ความถี่สะสม
30 – 39 1
40 – 49 4
50 – 59 10
60 – 69 22
70 – 79 45
80 – 89 30
90 – 99 8

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร 58 คณิตศาสตรเสริม 6
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6

การหาควอรไทล เดไซล และเปอรเซ็นไทลจากกราฟ


การหาควอรไทล เดไซล และเปอรเซ็นไทล นอกจากทําไดโดยวิธีการคํานวณตามที่ไดกลาวมาแลว
ยังสามารถทําไดโดยอาศัยกราฟที่ไดจากขอมูลที่มีการแจกแจงความถี่ โดยการเขียนเสนโคงความถี่สะสมที่มี
แกนตั้งแทนความถี่สะสม และแกนนอนแทนตัวแปร ซึ่งมีวิธีทําดังตัวอยางตอไปนี้

ตัวอยาง 5 ตารางตอไปนี้ แสดงความถี่ ความถี่สะสม และรอยละของความถี่สะสมสัมพัทธของคะแนนสอบ


ของนักเรียน 200 คน
คะแนนสอบ ความถี่ ความถีส่ ะสม รอยละของความถี่สะสมสัมพัทธ
95 – 99 1 200 100.0
90 – 94 6 199 99.5
85 – 89 8 193 96.5
80 – 84 33 185 92.5
75 – 79 40 152 76.0
70 – 74 50 112 56.0
65 – 69 26 62 31.0
60 – 64 14 36 18.0
55 – 59 10 22 11.0
50 – 54 6 12 6.0
45 – 49 4 6 3.0
40 – 44 2 2 1.0
รวม 200

จงหา 1. ควอรไทลที่ 1 และเปอรเซ็นไทลที่ 50


2. นักเรียนที่สอบไดนอยกวา 81 คะแนน มีประมาณกี่เปอรเซ็นตของนักเรียนทั้งหมด
3. ณเดชน เปนผูสอบไดคะแนนสูงกวานักเรียนคนอื่น ๆ 100 คน ณเดชนสอบไดกี่คะแนน
4. เอมี่ เปนผูสอบไดคะแนนสูงกวานักเรียนคนอื่น ๆ เพียง 50 คน เอมี่สอบไดกี่คะแนน

วิธีทํา จากตารางเขียนเสนโคงของความถี่สะสมไดดังรูป
กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร 59 คณิตศาสตรเสริม 6
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6

รอยละของ
ความถี่สะสม ความถี่สะสมสัมพัทธ
200 - 100

180 - 90

160 - 80

140 - 70

120 - 60

100
- 50

80
- 40

60
- 30

- 20
40

- 10
20

0
49.5 59.5 69.5 79.5 89.5 99.5
Q1 P50 81 ≈ P81

จากกราฟ 1) Q1 มีคาประมาณ 67 คะแนน และ P50 มีคาประมาณ 73 คะแนน


2) คะแนน 81 เปนคาประมาณของ P81 เนื่องจาก P81 ≈ 81 ดังนั้นนักเรียนที่สอบไดนอย
กวา 81 คะแนน มีประมาณ 81% ของนักเรียนทั้งหมด
3) คะแนนที่ณเดชนสอบไดคือ 73 คะแนน ตรงกับ P50 เปนคะแนนที่ณเดชนสอบไดสูงกวาคะแนน
ของนักเรียนคนอื่น ๆ อยู 100 คน
4) คะแนนทีเ่ อมีส่ อบได คือ 67 คะแนน ซึ่งตรงกับ Q1 เปนคะแนนที่เอมีส่ อบไดสูงกวาคะแนนของ
นักเรียนคนอื่น ๆ เพียง 50 คน
กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร 60 คณิตศาสตรเสริม 6
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6

หมายเหตุ
1) คาที่ไดจากการใชกราฟอาจมีความคลาดเคลื่อนไปมากจากที่ควรจะเปนจริงถาความละเอียดใน
กราฟไมมากพอ
2) การหาเปอรเซ็นไทลของขอมูลที่มีจํานวนนอยเกินไปจะทําใหคาเปอรเซ็นไทลที่คํานวณไดมีความ
เชื่อถือไดนอย เนื่องจากสูตรหรือวิธีการที่ใชคํานวณจะใชสําหรับประมาณคาเปอรเซ็นไทลของขอมูลที่มีจํานวน
มากพอ
3) คาวัดตําแหนงของควอรไทล เดไซล หรือเปอรเซ็นไทล ที่คํานวณไดเปนคาโดยประมาณ วิธีการที่ใช
คํานวณ อาจทําไดหลายวิธี แตคาวัดตําแหนงที่คํานวณไดมักจะใกลเคียงกัน ถาจํานวนขอมูลที่นํามาใชมีมากพอ
4) ในทางปฏิบัติ เมื่อมีขอมูลคะแนนของผูเรียนแตละคน อาจไมจําเปนตองแบงอันตรภาคของคะแนน
แตอยางไร สามารถใชคอมพิวเตอรคํานวณคาควอรไทล เดไซล หรือเปอรเซ็นไทลของขอมูลโดยตรงและสะดวก
ดังนั้นวิธีคํานวณที่อาศัยอันตรภาคชั้นนั้นเปนเพียงทางเลือกที่อาจทําได เพราะทําใหเห็นภาพรวมในตาราง
5) นอกจากวิธีการวัดตําแหนงที่ของขอมูลดังกลาวขางตน ยังมีอีกวิธีหนึ่งที่นิยมใชมากคือ คามาตรฐาน
(standard score) ซึ่งจะกลาวในบทตอไป
กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร 61 คณิตศาสตรเสริม 6
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6

แบบฝกหัดที่ 1.5

1. จากตารางแจกแจงความถี่ตอไปนี้ จงหา Q2 , D4 และ P80

คะแนน 12 14 16 18 20 22 24
ความถี่ 7 12 18 22 17 9 5

2. คะแนนสอบวิชาคณิตศาสตรของนักเรียนกลุมหนึ่ง เปนดังนี้

คะแนน ความถี่
5-9 10
10-14 9
15-19 9
20-24 7
25-29 5
1
จงหา ( 1) Q1 , Q2 และ Q3 (2) Q2 = 2
(Q1+Q3) หรือไม
กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร 62 คณิตศาสตรเสริม 6
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6

3. ตารางคะแนนสอบวิชาคณิตศาสตร ของนักเรียน 120 คน เปนดังนี้


คะแนน จํานวนนักเรียน
50-59 13
60-69 12
70-79 20
80-89 11
90-99 15
100-109 1
110-119 3
120-129 2
130-139 3
80

ในการสอบครั้งนี้ ถือวาคนที่สอบไดคะแนนนอยกวาหรือเทากับคะแนน ณ ตําแหนง P70 ลงมาถึง


คะแนนขนาดหนึ่ง เปนผูที่สอบไดคะแนนระดับปานกลางมี 20 % ของจํานวนนักเรียนทั้งหมด นักเรียนที่ได
คะแนนต่ําสุดของนักเรียนในกลุมนี้สอบไดคะแนนกี่คะแนน

4. อายุเด็กกลุมหนึ่ง มีการแจกแจงความถี่ ดังนี้


อายุ (ป) 1–3 4–6 7–9 10 – 12 13 – 15
จํานวนเด็ก 2 k 8 7 3
เมื่อ K เปนจํานวนจริงใด ๆ ถา เปอรเซ็นไทลที่ 25 ของอายุเด็กกลุมนี้เทากับ 6.5 ป แลว เด็กกลุมนี้ที่มีอายุ
ต่ํากวา 10 ป มีจํานวนเทาใด
กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร 63 คณิตศาสตรเสริม 6
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6

5. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 จํานวนสองหองเรียน ทําการสอบวิชาคณิตศาสตรฉบับเดียวกันไดผล


ดังตาราง
ชวงคะแนน จํานวนนักเรียน
หอง ก. หอง ข.
71 – 75 1 1
66 – 70 0 0
61 – 65 2 3
56 – 60 4 3
51 – 55 3 4
46 – 50 7 6
41 – 45 6 5
36 – 40 4 5
31 – 35 5 4
26 – 30 2 3
21 – 25 2 0
16 – 20 3 4
11 – 15 0 1
6 – 10 1 0
1–5 0 1

จงหา (1) เปอรเซ็นไทลที่ 25 ของคะแนนสอบของนักเรียนแตละหอง


(2) เปอรเซ็นไทลที่ 50 ของคะแนนสอบของนักเรียนทั้งหมด
(3) เปรียบเทียบคะแนนของเปอรเซ็นไทลที่ 25 ของคะแนนสอบของนักเรียนแตละหองกับเปอรเซ็น
ไทลที่ 50 ของคะแนนสอบของนักเรียนทั้งหมด เปนอยางไร
(4) นักเรียนคนหนึ่งอยูหอง ก. สอบไดคะแนนเทากับ Q3 ถาเขาอยูหอง ข. เขาจะสอบไดคะแนนสูง
กวานักเรียนหอง ข. มากกวาครึ่งหองหรือไม
กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร 64 คณิตศาสตรเสริม 6
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6

6. กําหนดตารางแจกแจงความถี่ของคะแนนสอบวิชาคณิตศาสตรของนักเรียนหองหนึ่ง ดังนี้
คะแนน ความถี่
16 – 18 a
19 – 21 2
22 – 24 3
25 – 27 6
28 – 30 4

ถาควอรไทลที่หนึ่ง เทากับ 18.5 คะแนน แลว มัธยฐานของคะแนนสอบวิชาคณิตศาสตรของนักเรียน


หองนีเ้ ปนเทาไร

7. กําหนดใหคาจางรายวันของคนงานกลุมหนึ่ง มีการแจกแจง ดังนี้


คาจาง (บาท) จํานวนคนงาน
81 – 85 1
86 – 90 3
91 – 95 X
96 – 100 5
101 – 105 8
106 – 110 Y
111 – 115 10
116 – 120 4
กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร 65 คณิตศาสตรเสริม 6
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6

ถาขอมูลชุดนี้มี P25 = 100.5 และ Q 3 = 110.5 แลว จํานวนคนงานที่ไดคาจางรายวันต่ํากวา


105.50 บาท มีเทาใด
วิธีทํา
คาจาง (บาท) จํานวนคนงาน
81 – 85 1
86 – 90 3
91 – 95 X
96 – 100 5
101 – 105 8
106 – 110 Y
111 – 115 10
116 – 120 4
กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร 66 คณิตศาสตรเสริม 6
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6

1.6 การวัดการกระจายของขอมูล (Measures of dispersion)

จากความหมายการวัดคากลางของขอมูล ถาพิจารณาใหละเอียด จะเห็นวา การทราบแตเพียง


คากลางของขอมูลไมเพียงพอที่จะอธิบายการแจกแจงของขอมูลชุดนั้น คากลางแตละชนิดไมไดบอกใหทราบวา
คาจากการสังเกตทั้งหลายในขอมูลชุดนั้นตางจากคากลางมากนอยเพียงไร และคาสวนใหญอยูรวมกลุมกันหรือ
กระจายออกไป
เพื่อใหเห็นลักษณะของขอมูลชัดเจนขึ้นจึงจําเปนตองทราบทั้งคากลางและคาซึ่งแสดงการกระจายของ
ขอมูลดวย
โดยทั่วไป การวัดการกระจายของขอมูลแบงออกไดเปน 2 วิธี คือ
(1) การวัดการกระจายสัมบูรณ (Absolute variation) คือ การวัดการกระจายของขอมูล
เพียงชุดเดียว เพื่อดูวาในขอมูลชุดนั้นแตละคามีความแตกตางกันมากหรือนอยเพียงไร
การวัดการกระจายสัมบูรณที่นิยมใชกันมี 4 ชนิด คือ
1. พิสัย (Range)
2. สวนเบี่ยงเบนควอรไทล หรือกึ่งชวงควอรไทล (Quartile deviation : Q.D.)
3. สวนเบี่ยงเบนเฉลี่ย (Mean deviation หรือ average deviation : M.D.)
4. สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard deviation)
(2) การวัดการกระจายสัมพัทธ (Relative variation) คือ การหาคาเพื่อเปรียบเทียบการ
กระจายระหวางขอมูลมากกวา 1 ชุด โดยใชอัตราสวน เชน อัตราสวนระหวางคาการกระจายสัมบูรณกับ
คากลางของขอมูลชุดนั้น ๆ
การวัดการกระจายสัมพัทธของขอมูลแตละชุดเพื่อนําไปใชในการเปรียบเทียบการกระจายของขอมูล
ระหวางชุด โดยที่ขอมูล 2 ชุดนั้นอาจจะมีหนวยไมเหมือนกัน เชน กลุมหนึ่งทราบสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของ
รายไดประจําปหนวยเปนบาทกับอีกกลุมหนึ่งทราบสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของวันลามีหนวยเปนวันหรือ
ขอมูล 2 ชุดนั้น อาจจะมีหนวยเหมือนกัน แตคาเฉลี่ยเลขคณิตตางกันก็เปรียบเทียบกันได เชน กลุมหนึ่งเปน
เงินเดือนของผูบริหารระดับสูง อีกกลุมหนึ่งเปนเงินเดือนของพนักงานลูกจาง
คาที่ใชวัดการกระจายสัมพัทธมีอยู 4 ชนิด คือ
1. สัมประสิทธิ์พิสัย (Coefficient of range : C.R.)
2. สัมประสิทธิ์สวนเบี่ยงเบนควอไทล (Coefficient of quartile deviation : C.Q.)
3. สัมประสิทธิ์สวนเบี่ยงเบนเฉลี่ย (Coefficient of mean deviation : C.M.)
4. สัมประสิทธิข์ องการแปรผัน (Coefficient of variation : C.V.)
กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร 67 คณิตศาสตรเสริม 6
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6

การวัดการกระจายสัมบูรณ (Measures of absolute variation)

กรณีขอมูลไมไดแจกแจงความถี่
1. พิสัย (Range) คือ คาที่ใชวัดการกระจายที่ไดจากผลตางระหวางขอมูลที่มีคาสูงสุดและ
ขอมูลที่มีคาต่ําสุด
ถา x1 , x 2 , x 3 ,..., x n เปนคาของขอมูลชุดหนึ่ง พิสัยเทากับ x max − x min

เมื่อ xmax และ xmin เปนคาสูงสุดและคาต่ําสุดของขอมูลชุดนี้


2. สวนเบี่ยงเบนควอรไทล (Quartile deviation : Q.D.) คือ คาที่ใชวัดการกระจายที่หาไดจาก
ครึ่งหนึ่งของผลตางระหวางควอรไทลที่สาม (Q3) และควอรไทลที่หนึ่ง (Q1) นั่นคือ

Q -Q
สวนเบี่ยงเบนควอรไทล Q.D. = 3 1

กรณีที่มีขอมูลบางคาสูงหรือต่ํากวาขอมูลอื่น ๆ ในชุดเดียวกันมาก จะมีผลกระทบตอพิสัยแตจะไมมี


ผลกระทบตอสวนเบี่ยงเบนควอรไทล เนื่องจากไมไดนําเอาขอมูลที่มีคาต่ํากวา Q1 หรือสูงกวา Q3 มาคํานวณ
ดวย ในกรณีที่ขอมูลแจกแจงความถี่มีอันตรภาคชั้นแรกหรืออันตรภาคชั้นสุดทายในตารางเปนอันตรภาคชั้น
เปด ก็สามารถหาสวนเบี่ยงเบนควอรไทลได เพราะไมตองเกี่ยวของกับอันตรภาคชั้นแรกและชั้นสุดทายใน
ตารางแตอยางใด
นอกจากนี้ยังสามารถใชมัธยฐานและการสรางแผนภาพเพื่อใชวัดการกระจายของขอมูลจากมัธยฐาน
ซึ่งเปน คากลางของขอมูลชนิดหนึ่งไดดังตัวอยางตอไปนี้
10 21 27 33 45 48 55 57 65 65 75 78 80

(1) (2) (3)


Q1 Q2 Q3

จากขอมูลขางตนที่มี 13 จํานวน และเรียงขอมูลจากนอยไปมาก เมื่อหาขอมูลที่มีคาต่ําสุด ขอมูลที่มี


คาสูงสุด ควอรไทลที่ 1 ควอรไทลที่ 2 และควอรไทลที่ 3 จะสรางแผนภาพที่เรียกวา Box – and –
whisker plot หรือ Box-plot หรือเรียกวา แผนภาพกลอง ไดดังนี้
กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร 68 คณิตศาสตรเสริม 6
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6

10 21 27 33 45 48 55 57 65 65 75 78 80

10 20 30 40 50 60 70 80

25% 25% 25% 25%

Q1 Q2 Q3
ค่าน้ อยสุด ค่ามากสุด
Box
Whisker Whisker

จากแผนภาพกลองทําใหทราบถึงลักษณะการกระจายของขอมูลไดดังตัวอยางตอไปนี้
จากการตรวจปริมาณน้ําตาล (กรัม) ตอปริมาณอาหาร 100 กรัม ของอาหารชนิดหนึ่ง จํานวน 31
จาน ไดขอมูลดังนี้
0 0 0 0 2 2 2 3 3 3 3 3 3 4 5 5 5 5 5 6 6 6 6 6 7 9 10 11 12 12 14
Q2 มัธยฐาน Q3

Q1 Q2 Q3

| | | | | | | |
0 2 4 6 8 10 12 14
จากแผนภาพ พบวา ขอมูลระหวาง Q1 และ Q2 มีการกระจายมากกวาขอมูลที่อยูระหวาง Q2 และ Q3
แตขอมูลที่อยูระหวาง Q3 ถึงคาที่มากที่สุดมีการกระจายมากที่สุด

ตัวอยางที่ 1 แผนภาพกลองแสดงผลคะแนนสอบวิชาภาษาอังกฤษของนักเรียนหอง ม. 6/1 และ ม. 6/2 ดังนี้

ม.6/1

60 67 75 88 100

ม. 6/2
64 98
77 85 91
กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร 69 คณิตศาสตรเสริม 6
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6

จงตอบคําถามตอไปนี้
1) จงหาวานักเรียนหอง ม. 6/1 ที่ไดคะแนนอยูในกลุม 25% ต่ําสุด มีคะแนนต่ําสุดและคะแนนสูงสุด
เปนเทาใด ...............................................................................................................................................
2) นักเรียนหอง ม.6/2 ที่ไดคะแนนมากกวาหรือเทากับ 91 คะแนนมีประมาณกี่เปอรเซ็นต…………...............
3) นักเรียนหอง ม.6/1 ที่ไดคะแนนนอยกวาหรือเทากับ 75 คะแนนมีประมาณกี่เปอรเซ็นต..........................
4) นักเรียนหอง ม.6/2 ที่ไดคะแนนมากกวาหรือเทากับ 77 คะแนนมีประมาณกี่เปอรเซ็นต.........................
5) ถาในการสอบครูใหระดับคะแนน 4 แกผูทสี่ อบไดคะแนนตั้งแต 80 คะแนนขึ้นไป ถาพิจารณาจาก
แผนภาพกลองที่กําหนดให หองใดควรจะมีผูสอบที่ไดระดับคะแนน 4 ในวิชาภาษาอังกฤษครั้งนี้มากกวากัน
เพราะเหตุใด ....................................................................................................................................................

3. สวนเบี่ยงเบนเฉลี่ย (Mean deviation หรือ Average deviation : M.D.)


ถา x1 , x 2 , x 3 ,..., x n เปนขอมูลตัวอยาง n จํานวน และมีคาเฉลี่ยเลขคณิตเปน X แลว

x1 − X + x 2 − X + ... + x n − X
สวนเบี่ยงเบนเฉลี่ย M.D. =
n
n

∑x
i =1
i −X
M.D. =
n

สําหรับขอมูลประชากร แทน n และ X ในสูตร ดวย N และ µ

4. สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard deviation)


กรณีเปนขอมูลของประชากรซึ่งมีขนาด N หนวย และมีคาเฉลี่ยเลขคณิตเปน µ แลว
สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของประชากร σ (อานวา Sigma) สามารถคํานวณไดดังนี้
N N

∑ (x i − µ)2 ∑x i
2

σ = i =1
หรือ σ = i =1
− µ2
N N

กรณีเปนขอมูลจากกลุมตัวอยางซึ่งมีขนาด n และมีคาเฉลี่ยเลขคณิตเปน X แลว


สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของตัวอยาง ใชสัญลักษณ S.D.หรือ s ซึ่งใชเปนตัวประมาณคาของ σ คํานวณไดดังนี้
n n 2
∑ (x i − X)2 ∑x i
2
− nX
s = i =1
หรือ s = i =1

n −1 n −1
กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร 70 คณิตศาสตรเสริม 6
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6

5. ความแปรปรวน (Variance)
ความแปรปรวน คือ กําลังสองของสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ความแปรปรวนของประชากร (Population variance) หาไดจากสูตร
N N

∑ (x i − µ)2 ∑x 2
i
σ2 = i =1
= i =1
− µ2
N N
ความแปรปรวนของตัวอยาง (Sample variance) หาไดจากสูตร
n n 2
∑ (x i − X)2 ∑x i
2
− nX
s2 = i =1
= i =1

n −1 n −1

ตัวอยางที่ 2 ตารางแสดงจํานวนเงินคาอาหารกลางวัน (บาท) ของนักเรียน 40 คน


จํานวนเงิน จํานวนนักเรียน
50 3
80 6
100 14
120 8 จงหา
150 5 1. พิสัยของเงินคาอาหารกลางวัน
200 4 2. สวนเบี่ยงเบนควอรไทลของเงินคาอาหารกลางวัน
3. สวนเบี่ยงเบนเฉลี่ยของเงินคาอาหารกลางวัน
วิธีทํา
1. พิสัยของเงินคาอาหารกลางวัน =

2. หาสวนเบี่ยงเบนควอรไทลของเงินคาอาหารกลางวัน

จํานวนเงิน ( xi ) จํานวนนักเรียน ( fi ) F
.50 3
80 6
100 14
120 8
150 5
200 4
∑f =
กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร 71 คณิตศาสตรเสริม 6
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6

N
ตําแหนงที่ของ Q1 คือ = จะได Q1 = บาท
4
3N
ตําแหนงที่ของ Q3 คือ = จะได Q3 = บาท
4
Q 3 − Q1
ดังนั้น สวนเบี่ยงเบนควอรไทล (Q.D.) =
2
=
นั่นคือ จํานวนเงินคาอาหารกลางวัน (บาท) ของนักเรียน 40 คน มีคาการกระจายของขอมูลที่
วัดโดยสวนเบี่ยงเบนควอรไทล (Q.D.) มีคาประมาณ 10 บาท

3. หาสวนเบี่ยงเบนเฉลี่ยของเงินคาอาหารกลางวัน

จํานวนเงิน ( x i ) จํานวนนักเรียน ( fi ) fi x i xi − µ fi x i − µ

50 3
80 6
100 14
120 8
150 5
200 4
∑ f = 40 ∑fx = ∑f | x − µ | =

เนื่องจาก คาเฉลี่ยเลขคณิต µ = ∑f x =
N

ดังนั้น สวนเบี่ยงเบนเฉลี่ยของเงินคาอาหารกลางวัน (M.D.) = ∑ f | x −µ |


N

นั่นคือ โดยเฉลี่ยแลวเงินคาอาหารกลางวันของนักเรียนแตละคนมีคาแตกตางจากคาเฉลี่ยเลขคณิต
ประมาณ 29.025 บาท
กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร 72 คณิตศาสตรเสริม 6
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6

ตัวอยางที่ 3 จากการสุมตัวอยางนักเรียนกลุมหนึ่งจํานวน 20 คน เพื่อสอบถามคะแนนสอบวิชาภาษาไทย


นํามาเขียนตารางแจกแจงความถี่ไดดังนี้
คะแนน จํานวนนักเรียน
0–4 1
5–9 3
10 – 14 5 จงหา
15 – 19 9 1. พิสัยของคะแนนสอบวิชาภาษาไทย
20 – 24 2 2. ความแปรปรวนของคะแนนสอบวิชาภาษาไทย

วิธีทํา (1) พิสัยของคะแนนสอบ =


=

(3) จะหาความแปรปรวนของคะแนน

คะแนน จํานวนนักเรียน จุดกึ่งกลาง fi x i x i2 f i x i2


( fi ) ( xi )
0–4 1
5–9 3
10 – 14 5
15 – 19 9
20 – 24 2
∑ f = 20 ∑fx = ∑fx = 2

เพราะวา คาเฉลี่ยเลขคณิต X = ∑f x =
n
เนื่องจากเปนขอมูลระดับตัวอยาง
n 2
∑f x i i
2
− nX
ดังนั้น ความแปรปรวน s2 = i =1

n −1
=
=
=
กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร 73 คณิตศาสตรเสริม 6
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6

การหาความแปรปรวนโดยวิธีทอนคาขอมูล

เมื่อ xi เปนคาจากการสังเกต ตัวที่ i และ di เปนคาของขอมูลที่ไดจากการทอนคา xi ใหนอยลง


x −a
โดยใชความสัมพันธ di = i
I

จะไดสูตรความแปรปรวนโดยวิธีทอนคาขอมูล คือ

 k f (d − d) 2   k f d2 
 ∑ i i
  ∑ i i 2 
ขอมูลระดับประชากร σ2 = I 2  i =1  = I 2  i =1 −d 
N N
   
   
 k f (d − d) 2   k f d 2 − nd 2 
∑ i i  ∑ i i 
ขอมูลระดับตัวอยาง s 2 = I 2  i =1  = I 2  i =1 
n −1 n −1
   
   

ตัวอยางที่ 4 จากการสุมตัวอยางนักเรียนกลุมหนึ่งจํานวน 20 คน เพื่อสอบถามคะแนนสอบวิชาภาษาไทย


นํามาเขียนตารางแจกแจงความถี่ไดดังนี้

คะแนน จํานวนนักเรียน
0–4 1
5–9 3
10 – 14 5
15 – 19 9
20 – 24 2

จงหาความแปรปรวนของคะแนนสอบวิชาภาษาไทยของนักเรียนกลุมนี้
กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร 74 คณิตศาสตรเสริม 6
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6

วิธีทํา
x −a
คะแนน จํานวน ( fi ) xi di = i fi di d i2 f i d i2
I
0–4 1
5–9 3
10 – 14 5
15 – 19 9
20 – 24 2
∑ f = 20 ∑ fd = ∑ fd =2

จากตารางจะได d = ∑nfd =

เนื่องจากเปนขอมูลระดับตัวอยาง
 k f d 2 − nd 2 
∑ i i 
ดังนั้น ความแปรปรวน s 2 = I 2  i =1 
n −1
 
 

นั่นคือ ความแปรปรวนของคะแนนสอบวิชาภาษาไทยของนักเรียนกลุมนี้ มีคาประมาณ 27.3684 คะแนน2


จาก s2 ≈ 27.3684 คะแนน2 จะได s ≈ 5.23 คะแนน
นั่นคือ สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของคะแนนสอบวิชาภาษาไทยของนักเรียน มีคาประมาณ 5.23 คะแนน
หมายความวา โดยเฉลี่ยคะแนนสอบของนักเรียนแตละคนมีคาแตกตางจากคาเฉลี่ยเลขคณิตของคะแนน
ประมาณ 5.23 คะแนน
กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร 75 คณิตศาสตรเสริม 6
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6

200 200
ตัวอยางที่ 5 ขอมูลชุดหนึ่งมี N = 200 , σ = 3 และ x = 48 จงหา ∑ x i และ ∑ x i2
i =1 i =1

10 10
ตัวอยางที่ 6 ในขอมูลชุดหนึ่งจํานวน 10 ตัว มี ∑ x i = 80 และ ∑ (x i − 11)2 = 180 แลว จงหา
i =1 i =1

สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของขอมูลชุดนี้

50
ตัวอยางที่ 7 ขอมูลชุดหนึ่งมี 50 จํานวน แตละจํานวนมีคาเปนบวก ถา ∑ (x i − µ)2 = 450
i =1
50
และ ∑ x i 2 = 1250 เมื่อ µ เปนคาเฉลี่ยเลขคณิตของขอมูลชุดนี้แลว จงหา µ และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
i =1

ของขอมูลชุดนี้

สมบัติของสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ( หรือความแปรปรวน )
1. สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานจะมากกวาหรือเทากับศูนย ( S.D. ≥ 0 )
2. S.D. = 0 ก็ตอเมื่อ x 1 = x 2 = x 3 = ... = x N = x
3. ถาคํานวณหาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานโดยใชคากลางของขอมูลชนิดอื่นที่ไมใชคาเฉลี่ยเลขคณิต
สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานที่ได จะมีคามากกวาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานที่ใชคาเฉลี่ยเลขคณิตเสมอ
N N

∑ (x i
− a) 2 ∑ (x − µ )
i
2

นั่นคือ i =1
> i =1

N N
อสมการนี้เปนจริง เมื่อ a เปนจํานวนใดๆ ที่ไมเทากับคาเฉลี่ยเลขคณิต
กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร 76 คณิตศาสตรเสริม 6
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6

4. ถาตัวแปร Y สัมพันธกับตัวแปร X ในรูปฟงกชันเชิงเสน นั่นคือ


ถา yi = axi + b เมื่อ i = 1 , 2 , 3 , … , N และ a , b เปนคาคงตัวใดๆ แลว
4.1. µ y = a µX + b เมื่อ µX คือ คาเฉลี่ยเลขคณิตของขอมูล xi
µ y คือ คาเฉลี่ยเลขคณิตของขอมูล yi

หรือ Y = aX + b
4.2. ความแปรปรวนรวมของ Y = a2 ( ความแปรปรวนของ X )
σ y2 = a2 σ x2
หรือ σy = | a |σ x
5. ความแปรปรวนรวม (Pooled variance) เขียนยอเปน σ p2
5.1. สําหรับขอมูลประชากร 2 ชุด
N1σ 12 + N 2σ 2 2
เมื่อ µ1 = µ 2 จะได σ 2
p =
N1 + N 2

N1σ12 + N 2 σ2 2 N N (µ − µ ) 2
เมื่อ µ1 ≠ µ 2 จะได σ 2p = + 1 2 1 22
N1 + N 2 (N1 + N 2 )

N1σ12 + N 2 σ2 2 + N1 (µ1 − µรวมรวม


) 2 + N 2 (µ 2 − µ )2
หรือ σ 2p =
N1 + N 2
5.2. สําหรับขอมูลประชากร k ชุด

N1 (µ12 + σ12 ) + N 2 (µ 2 2 + σ 2 2 ) + N 3 (µ3 2 + σ3 2 ) + ... + N k (µ k 2 + σ k 2 )


µ 2p + σ 2p =
N1 + N 2 + N 3 + ... + N k
เมื่อ µ p คือ คาเฉลี่ยเลขคณิตรวมของประชากร k ชุด
σ p2 คือ คาความแปรปรวนรวมของประชากร k ชุด
สรุปสัญลักษณที่เกี่ยวกับคาเฉลี่ยเลขคณิต สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานและจํานวนขอมูลที่ใชเปนดังนี้
ประชากร ( พารามิเตอร ) ตัวอยาง ( ตัวประมาณ )
คาเฉลี่ยเลขคณิต µ X
สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน σ s หรือ S.D.
จํานวนขอมูล N n
กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร 77 คณิตศาสตรเสริม 6
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6

แบบฝกหัดที่ 1.6

1. จงหาพิสัย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สวนเบี่ยงเบนเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบนควอรไทลของราคาเครื่องสําอาง


ชนิดหนึ่ง ซึ่งจากการสํารวจรานคามาเปนตัวอยาง 8 แหง ไดราคาของเครื่องสําอางดังนี้
410 415 425 410 640 400 410 และ 410 ตามลําดับ
และจงพิจารณาวาการวัดการกระจายของขอมูลวิธีใดเหมาะสมกับขอมูลชุดนี้มากที่สุด

2. ตารางตอไปนีแ้ สดงผลการสอบวิชาคณิตศาสตร ของนักเรียน 40 คน จงหา


1) คาเฉลี่ยเลขคณิต 2) สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
วิธีทํา
คะแนน จํานวนนักเรียนสะสม
90 – 99 5
80 – 89 12
70 – 79 23
60 – 69 31
50 – 59 37
40 – 49 40
กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร 78 คณิตศาสตรเสริม 6
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6

10 10
3. ขอมูลชุดหนึ่งมี ∑ ( xi − 10) 2 = 110 และ ∑ xi = 70 จงหาความแปรปรวนของขอมูลชุดนี้
i =1 i =1

10
4. ขอมูลชุดหนึ่งมี 10 จํานวน คํานวณคาเฉลี่ยเลขคณิตได 9 และ ∑ ( xi − 15) 2 = 450 จงหา
i =1

สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของขอมูล

10 10
5. ขอมูลชุดหนึ่งมี 10 จํานวน โดยที่ ∑ ( xi − 10) 2 = 180 และ ∑ ( xi − 8) 2 มีคานอยที่สุด จงหา
i =1 i =1

สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของขอมูลชุดนี้

10 10
6. ขอมูลชุดหนึ่งพบวา ∑ ( xi + 2) 2 = 140 และ ∑ ( xi − 2) 2 = 60 คาความแปรปรวนของขอมูลชุดนี้มี
i =1 i =1

คาเปนเทาใด
กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร 79 คณิตศาสตรเสริม 6
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6

7. กําหนดให x1 , x2 , x3 ,..., x N เปนขอมูลชุดหนึ่งมี N จํานวน มีคาเฉลี่ยเลขคณิตเปน 8 คาพิสัยเปน 12


สวนเบี่ยงเบนเฉลี่ยเปน 4.2 และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของขอมูลเปน 3.4 และมี y1 , y 2 , y3 ,..., y N เปน
ขอมูลอีกชุดหนึ่งมีความสัมพันธกับขอมูลชุดแรกโดย yi = 2 xi + 3 จงหาพิสัย , สวนเบี่ยงเบนเฉลี่ย , สวน
เบี่ยงเบนมาตรฐาน และคาเฉลี่ยเลขคณิตของขอมูลชุดใหม

8. กําหนด a, b, c, d เปนขอมูลที่นํามาหาคาสถิติ ไดคาสวนเบี่ยงเบนควอรไทล คือ p และสวนเบี่ยงเบน


มาตรฐานคือ q เมื่อคาของ a, b, c, d, p และ q มีคาเปนจํานวนเต็มบวก ดังนั้นขอมูล ak, bk, ck,
dk จะมีมีคาสวนเบี่ยงเบนควอรไทลเปนเทาใด เมื่อ k เปนจํานวนจริง และ k ≠ 0 และขอมูล 5 – a , 5
– b, 5 – c, 5 – d จะมีคาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานเทาใด

9. กําหนดให -2, 3, -2, -1, 6, 4, -5, 7 เปนขอมูลชุดที่ 1 และ y1 , y 2 , y3 ,..., y8 เปนขอมูลอีกชุด


หนึ่ง โดยที่ yi = axi เมื่อ xi เปนขอมูลในชุดที่ 1 และ a < -1 อยากทราบวาขอมูลชุดที่ yi มีสวน
เบี่ยงเบนมาตรฐานมากหรือนอยกวาชุด xi
กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร 80 คณิตศาสตรเสริม 6
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6

10
10. กําหนดขอมูล 2 ชุด เปน xi และ yi สัมพันธกันตามสมการ y i = 2 xi + 5 ถา ∑ xi = 120 ,
i =1
10

∑(x
i =1
i − 8) 2 = 200 จงหาคาความแปรปรวนของขอมูลชุด yi มีคาเทาใด

11. กําหนดขอมูล 2 ชุด คือ xi กับ yi โดยขอมูลทั้งสองชุดนี้มีความสัมพันธกันดังนี้


3( A − xi )
yi = M −
4s
เมื่อ M เปนคาคงที่
A แทนคาเฉลี่ยเลขคณิตของขอมูลชุด xi
S แทนสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของขอมูลชุด xi
ถาขอมูล 2 ชุดนี้มีจํานวนขอมูลเทากัน จงหา สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของขอมูลชุด yi

12. ในการสอบครั้งหนึ่งพบวา นักเรียนกลุมหนึ่งมีคะแนนเฉลี่ย 30 คะแนน สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานได 5


N

∑ (x i − µ )2
คะแนน โดยคํานวณจากสูตร σ= i =1
ตอมาภายหลังพบวาคํานวณผิด ถาคะแนนเฉลี่ย
N
ที่ถูกตองคือ 32 คะแนนแลว สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานที่ถูกตองเปนเทาใด
กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร 81 คณิตศาสตรเสริม 6
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6

13. ในการหาความแปรปรวนของคะแนนสอบวิชาคณิตศาสตร เนื่องจากตองการหาคาอยางรวดเร็ว จึงใช


คามัธยฐานของคะแนนสอบแทนคาเฉลี่ยเลขคณิตในการคํานวณ ปรากฏวาความแปรปรวนที่หาไดมีคา
เทากับ 48 คะแนน2 ถามัธยฐานมีคาเทากับ 25 คะแนน และคาเฉลี่ยเลขคณิต มีคาเทากับ 21 คะแนน
จงหาความแปรปรวนที่ถูกตอง

14. ในการคํานวณคาเฉลี่ยเลขคณิตและความแปรปรวนของคะแนนสอบของเด็กนักเรียน 30 คน มีคาเปน


50 คะแนน และ 100 คะแนน2 ตามลําดับ อยากทราบวาถานําคะแนนของเดนกับดวงมารวมดวย
คาความแปรปรวนจะเปนเทาใด เมื่อคะแนนที่เดนกับดวงสอบไดเปน 60 และ 40 คะแนน ตามลําดับ

15. ในการคํานวณหาคาเฉลี่ยเลขคณิตและความแปรปรวนของขอมูลชุดหนึ่ง ซึ่งมี 40 จํานวน พบวามี


คาเฉลี่ยเลขคณิต 20 และคาความแปรปรวนเปน 25 ตอมาภายหลังทราบวาอานขอมูลผิดไป 2 จํานวน คือ
อาน 7 เปน 1 และ อาน 3 เปน 5 แลว ความแปรปรวนที่ถูกตองเปนเทาใด
กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร 82 คณิตศาสตรเสริม 6
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6

N N

∑ (x i − 19) 2 ∑ (x i − 21) 2
16. กําหนด i =1
= i =1
= 5
N N
จงหาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของขอมูลชุดนี้

17. ในการสอบวิชาคณิตศาสตรของนักเรียน 2 หอง ไดผลดังนี้


คาเฉลี่ยเลขคณิต ผลรวมของคะแนนกําลังสอง จํานวนนักเรียน
หอง (x)
n
(N)
( x )
2

i =1
i

หอง 1 53 50,800 20
หอง 2 48 75,000 30

จงหาคาเฉลี่ยเลขคณิต และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของคะแนนสอบวิชานี้ของนักเรียนทั้งสองหอง
รวมกัน
กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร 83 คณิตศาสตรเสริม 6
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6

18. คาเฉลี่ยเลขคณิตของคะแนนสอบของนักเรียนกลุมหนึ่งเทากับ 72 คะแนน คามแปรปรวน (ประชากร)


เทากับ 600 ถามีนักเรียนมาเพิ่มอีก 1 คน ซึ่งสอบได 60 คะแนน ทําใหคาเฉลี่ยเปลี่ยนไปเปน 70 คะแนน
ความแปรปรวนของขอมูลใหมเทากับเทาใด

19. จากการสํารวจน้ําหนักของนักเรียนกลุมหนึ่งจํานวน 4 คน มี 2 คน น้ําหนักเทากันและหนักนอยกวาอีก 2


คน ที่เหลือ ถาฐานนิยม มัธยฐาน และพิสัยของน้ําหนักของนักเรียนทั้ง 4 คือ 45 , 46 และ 6 กิโลกรัม
ตามลําดับแลว ความแปรปรวนของ น้ําหนักนักเรียน 4 คน เทากับเทาใด

20. กําหนดให yi เปนคะแนนสอบ fi เปนความถี่ของ yi ซึ่ง N = ∑ f ถา µY = − 0.5 และ


สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 1.5 โดยที่ N(N-1) = 1190 จงหาคาของ ∑ f (y + 1)2
กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร 84 คณิตศาสตรเสริม 6
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6

การวัดการกระจายสัมพัทธ (Measures of relative variation)

ในการเปรียบเทียบขอมูลตั้งแตสองชุดขึ้นไปเพื่อตัดสินวาชุดใดมีการกระจายมาก ชุดใดมีการกระจาย
นอย ถาใชคาที่ไดจากการวัดการกระจายสัมบูรณของขอมูลแตละชุดมาเปรียบเทียบกันยอมตัดสินไดยาก เชน
ขอมูลชุดหนึ่งมีคาตั้งแต 0 ถึง 10 มีสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 2.2
อีกชุดหนึ่งมีคาตั้งแต 200 ถึง 800 มีสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 60.5
ถาจะตัดสินวาขอมูลชุดที่หนึ่งมีการกระจายนอยกวาขอมูลชุดที่สองก็อาจจะไมถูกตองนัก เพราะ
คาของขอมูลสองชุดนี้ตางกันมาก คากลางและคาแสดงการกระจายยอมจะตางกันมากดวย เพือ่ ใหการ
เปรียบเทียบมีความหมาย จึงนิยมหาอัตราสวนของคาที่ไดจากการวัดการกระจายสัมบูรณกับคากลางของขอมูล
ชุดนั้นๆ
การวัดการกระจายสัมพัทธ คือ การหาสัมประสิทธิ์ของขอมูลแตละชุด ซึ่งสัมประสิทธิ์ของขอมูลแตละ
ชุดจะสามารถนําไปเปรียบเทียบกับขอมูลชุดอื่นวา ขอมูลชุดใดมีการกระจายมากหรือนอยกวากัน

การวัดการกระจายสัมพัทธมีขอดีคือ สามารถเปรียบเทียบไดกับขอมูล 2 ชุด หรือมากกวา โดยที่


1. ขอมูล 2 ชุดนั้นอาจจะมีหนวยไมเหมือนกัน เชน กลุมหนึ่งทราบสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของ
รายไดประจําป หนวยเปนบาท กับอีกกลุมหนึ่งทราบสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของวันลามีหนวยเปนวัน
2. ขอมูล 2 ชุดนั้น อาจจะมีหนวยเหมือนกัน แตคาเฉลี่ยเลขคณิตตางกันก็เปรียบเทียบกันได
เชน กลุมหนึ่งเปนเงินเดือนของผูบริหารระดับสูง อีกกลุมหนึ่งเปนเงินเดือนของพนักงานลูกจาง

คาที่ใชวัด แบงเปน 4 ชนิด ไดแก


1. สัมประสิทธิ์พิสัย (Coefficient of range : C.R.)
x max − x min
C.R. =
x max + x min
2. สัมประสิทธิ์สวนเบี่ยงเบนควอไทล (Coefficient of quartile : C.Q.)
Q3 − Q1
C.Q. =
Q3 + Q1
3. สัมประสิทธิ์สวนเบี่ยงเบนเฉลี่ยของตัวอยาง (Coefficient of mean : C.M.)
M.D.
C.M. =
X
สัมประสิทธิ์สวนเบี่ยงเบนเฉลี่ยของประชากร (Coefficient of mean : C.M.)
M.D.
C.M. =
µ
กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร 85 คณิตศาสตรเสริม 6
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6

4. สัมประสิทธิ์การแปรผันของตัวอยาง (Coefficient of variation)


s
C.V. =
X
สัมประสิทธิ์การแปรผันของประชากร (Coefficient of variation)
σ
C.V. =
µ

ตัวอยางที่ 1 จงเปรียบเทียบการกระจายของราคาสินคาสองชนิดที่ไดจากการสํารวจตัวอยางของรานคาที่ขาย
สินคาดังกลาว

ราคาสินคาชนิดที่ 1 (บาท) 6 7 9 8 12
ราคาสินคาชนิดที่ 2 (บาท) 50 52 49 55 44

วิธีทํา การคํานวณหาคาสถิติเพื่อเปรียบเทียบราคาสินคา แสดงไวในตาราง

คาสถิติ สินคาชนิดที่ 1 สินคาชนิดที่ 2


ควอรไทลที่ 1 (Q1) 6.50 46.50
ควอรไทลที่ 3 (Q3) 10.50 53.50
คาเฉลี่ยเลขคณิต ( X ) 8.40 50
สวนเบี่ยงเบนเฉลี่ย (M.D.) 1.68 2.80
สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (s) 2.30 4.06
x −x  12 − 6 55 − 44
สัมประสิทธิ์ของพิสัย  max min  = 0.33 = 0.11
 x max + x min  12 + 6 55 + 44

สัมประสิทธิ์ของสวนเบี่ยงเบน
10.5 − 6.50 53.50 − 46.50
Q −Q  = 0.24 = 0.07
ควอรไทล  3 1  10.5 + 6.50 53.50 + 46.50
 Q3 + Q1 
สัมประสิทธิ์ของสวนเบี่ยงเบน
1.68 2.80
= 0.20 = 0.06
เฉลี่ยของตัวอยาง 
M.D. 
 8.40 50
 X 
สัมประสิทธิ์ของการแปรผันของ
2.30 4.06
= 0.27 = 0.08
ตัวอยาง  
s
8.40 50
X
กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร 86 คณิตศาสตรเสริม 6
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6

จากการเปรียบเทียบการวัดการกระจายสัมพัทธของราคาสินคาสองชนิดโดยวิธีตางๆ กัน จะเห็นไดวา


ผลที่ไดจากการวัดแตละวิธีจะเหมือนกัน คือ ราคาสินคาชนิดที่ 1 มีการกระจายของราคามากกวาสินคาชนิดที่
2 ควรสังเกตดวยวา คาที่ใชวัดการกระจายสัมพัทธไมมีหนวย

วิธีหาสัมประสิทธิ์ของการแปรผันของราคาสินคาทั้ง 2 ชนิด
1. สัมประสิทธิ์ของการแปรผันของราคาสินคาของชนิดที่ 1 หาไดดังนี้
X แทน ราคาสินคาชนิดที่ 1 (บาท) 6 7 9 8 12
คาเฉลี่ยเลขคณิต X =

n 2
∑x i
2
− nX
สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน sX = i =1

n −1
=
=
s
สัมประสิทธิ์การแปรผัน C.V.X =
X
=

2. สัมประสิทธิ์ของการแปรผันของราคาสินคาของชนิดที่ 2
Y แทน ราคาสินคาชนิดที่ 2 (บาท) 50 52 49 55 44
คาเฉลี่ยเลขคณิต Y =
=
n

∑ (y i
− Y) 2
สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน sY = i =1

n −1
=
=
s
สัมประสิทธิ์การแปรผัน C.V.Y =
Y
=
เนื่องจาก C.V.X = 0.27 มากกวา C.V.Y = 0.08
แสดงวาราคาสินคาชนิดที่ 1 มีการกระจายมากกวาราคาสินคาชนิดที่ 2
กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร 87 คณิตศาสตรเสริม 6
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6

ตัวอยางที่ 2 จงพิจารณาขอความที่กําหนดใหตอไปนี้วาเปนจริงหรือเปนเท็จ ถาเปนเท็จ จงบอกเหตุผล


1) พิสัยของขอมูลชุดใดๆ อาจจะมีคามากกวาขอมูลที่มีคามากที่สุดของขอมูลชุดนั้นก็ได
2) ควอรไทลที่สองมีคาเปนสองเทาของควอรไทลที่หนึ่ง และควอรไทลที่สามมีคาเปนสอง
เทาของควอรไทลที่สอง
3) สวนเบี่ยงเบนควอรไทลของขอมูลชุดใดจะมีคาเทากับมัธยฐานของขอมูลชุดนั้นเสมอ
4) สวนเบี่ยงเบนเฉลี่ยอาจมีคานอยกวาศูนยก็ได
5) ถาคาเฉลี่ยเลขคณิตของขอมูลชุดหนึ่งมีคามาก สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของขอมูลชุดนั้น
อาจจะมีคานอยกวาศูนยก็ได
6) สวนเบีย่ งเบนมาตรฐานและความแปรปรวนของขอมูลชุดเดียวกันอาจจะมีคาเทากันก็ได
7) ถาทุกๆ คาของขอมูลชุดหนึ่งเทากัน สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานและความแปรปรวนของ
ขอมูลชุดนั้นจะเทากับศูนยเสมอ
8) โดยทั่วไป การวัดการกระจายของขอมูลโดยใชสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานมีความถูกตองและ
เชื่อถือไดมากที่สุด เมื่อเทียบกับการวัดการกระจายแบบอื่นๆ
9) ถาขอมูลชุดหนึ่งมีสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานมากกวาขอมูลอีกชุดหนึ่ง แสดงวา ขอมูลชุดนั้น
มีการกระจายมากกวาขอมูลอีกชุดหนึ่งเสมอ
กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร 88 คณิตศาสตรเสริม 6
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6

แบบฝกหัดที่ 1.7

1. กําหนดใหสัมประสิทธิ์ของพิสัยของขอมูลชุดหนึ่งมีคาเทากับ 1 จะสรุปไดหรือไมวาคาเฉลี่ยเลขคณิตของ
ขอมูลชุดนี้มากกวา 0

2. สัมประสิทธิ์ของพิสัยของความสูงของนักเรียนในชั้นหนึ่งเปน 0.0625 ถาความสูงของนักเรียนที่สูงที่สุดในชั้น


เปน 170 เซนติเมตร จงหาความสูงของนักเรียนที่เตี้ยที่สูงในชั้น

3. นักเรียน 2 คน มีคะแนนเฉลี่ยเปน 60 คะแนน และมีสัมประสิทธิ์ของพิสัยเปน 0.4 จงหา


สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน

2
4. กําหนดใหสัมประสิทธิ์ของสวนเบี่ยงเบนควอรไทลของขอมูลชนิดหนึ่งเทากับ และสวนเบี่ยงเบน
3
ควอรไทลเทากับ 2 จะสรุปไดหรือไมวา 75% ของขอมูลทั้งหมดอยูระหวาง 1 กับ 3 คะแนน
กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร 89 คณิตศาสตรเสริม 6
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6

5. ขอมูลชุดหนึ่งมีสัมประสิทธิ์ของสวนเบี่ยงเบนเฉลี่ยเทากับ 0.12 และสวนเบี่ยงเบนเฉลี่ยเทากับ 8.5 จงหา


สัมประสิทธิ์ของการแปรผัน ถาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 10

6. ถาคาเฉลี่ยเลขคณิตของราคาสินคาชนิดที่ 1, 2 และ 3 เทากับ 8, 10 และ 10 บาท ตามลําดับ


ความแปรปรวนของราคาสินคาชนิดที่ 1, 2 และ 3 เทากับ 4, 4 และ 9 บาท2 ตามลําดับ จงเปรียบเทียบ
การกระจายของราคาสินคาทั้ง 3 ชนิด

7. ในการสอบวิชาสถิติของนักเรียน 3 หอง คือหอง ก , ข และ ค ปรากฏวา คาเฉลี่ยเลขคณิตและ


สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของคะแนนสอบของนักเรียนทั้ง 3 หอง คือ 70, 75, 63 คะแนน และ 5 , 5 , 3
คะแนน ตามลําดับ จงพิจารณาวาหองใดมีการกระจายของคะแนนสอบมากกวากัน

8. นักเรียนหองหนึ่งมีนักเรียนชาย 20 คน นักเรียนหญิง 30 คน ในการสอบครั้งหนึ่งปรากฏวาคาเฉลี่ย


เลขคณิตของนักเรียนชายและหญิงเทากันคือ 16 คะแนน โดยมีความแปรปรวนของคะแนนนักเรียนชายและ
ของนักเรียนหญิงเทากับ 1 และ 6 ตามลําดับ จงหาสัมประสิทธิ์แปรผันของคะแนนของนักเรียนทั้งหอง
กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร 90 คณิตศาสตรเสริม 6
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6

9. บริษัทผลิตหลอดไฟฟายี่หอหนึ่ง ผลิตหลอดไฟฟาออกจําหนาย 2 รุน คือ รุน A และ รุน B โดยที่รุน A มี


อายุเฉลี่ยของการใชงานเทากับ 1,495 ชั่วโมง และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 280 ชั่วโมง และ รุน B มี
อายุเฉลี่ยของการใชงานเทากับ 1,875 ชั่วโมง และมีสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 310 ชั่วโมง จงพิจารณาวา
หลอดไฟฟารุนใดมีการกระจายมากกวากัน และหลอดไฟรุนใดมีคุณภาพดีกวากัน

10. จากการสอบถามนักเรียนระดับประถมและระดับมัธยมของโรงเรียนในจังหวัดแหงหนึ่งเกี่ยวกับคาใชจายใน
แตละวัน ปรากฏวาคาเฉลี่ยเลขคณิตและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของคาใชจายในแตละวันของนักเรียนทั้งสอง
ระดับเปนดังตาราง
ระดับประถม ระดับมัธยม
คาเฉลี่ยเลขคณิต 76 100
สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 13 15
จงเปรียบเทียบคาใชจายของนักเรียนทั้งสองระดับวา นักเรียนชั้นใดมีการกระจายของคาใชจาย
มากกวากัน

11. ในการทดสอบวิชาคณิตศาสตรของนักเรียนกลุมหนึ่ง สัมประสิทธิ์ของการแปรผันเปน 30% และ


ความแปรปรวนของคะแนนสอบเปน 86.49 คะแนน จงหาคาเฉลี่ยเลขคณิตของการสอบครั้งนี้
กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร 91 คณิตศาสตรเสริม 6
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6

12. ขอมูลชุดหนึ่งมีสัมประสิทธิ์ของความแปรผันเทากับ 28 เปอรเซ็นต ความแปรปรวนเทากับ 49


สวนเบี่ยงเบนเฉลี่ยเทากับ 4.5 แลว สัมประสิทธิ์ของสวนเบี่ยงเบนเฉลี่ยมีคาเทาใด

13. ในการสอบวิชาคณิตศาสตรของนักเรียนกลุมหนึ่ง พบวา คะแนนสอบของนักเรียนชายมีคาเฉลี่ยเลขคณิต


เทากับ 25 และคาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของคะแนนเทากับ 6.25 ถาสัมประสิทธิ์การแปรผันของคะแนนสอบ
ของนักเรียนหญิงและนักเรียนชายเทากัน และคาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของคะแนนของนักเรียนหญิงเทากับ 4
แลว คาเฉลี่ยเลขคณิตของคะแนนสอบของนักเรียนหญิงเทากับเทาใด

14. ในการวัดความสูงของนักเรียน 200 คน พบวา ความสูงต่ําสุดของกลุมนักเรียนที่มีความสูงสูงสุดเปน 25%


ของนักเรียนทั้งหมดเปน 53.5 นิ้ว ถาวัดสัมประสิทธิ์ของสวนเบี่ยงเบนควอรไทลไดเปน 6% แลว คาของ
ควอรไทลที่ 1 มีคาเปนเทาใด

15. ในการสอบครั้งหนึ่ง เกงสอบไดคะแนนเปน P25 และกลาสอบไดเปน P75 ถาในการสอบครั้งนี้


สวนเบี่ยงเบนควอรไทลเปน 30 คะแนน สัมประสิทธิ์ของสวนเบี่ยงเบนควอรไทลเปน 0.50 แลว จงหา
ผลรวมของคะแนนสอบของเกงและกลา
กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร 92 คณิตศาสตรเสริม 6
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6

16. ผลการสอบวิชาคณิตศาสตรของนักเรียนกลุมหนึ่งซึ่งมีจํานวน 6 คน ปรากฏวา 3 คนไดคะแนนเทากัน และ


ไดมากกวา 3 คนที่เหลือ ถาฐานนิยม มัธยฐาน พิสัย และควอรไทลที่ 1 ของคะแนนสอบเปน 9, 8.5, 6 และ
6 จงหาสัมประสิทธิ์ของสวนเบี่ยงเบนเฉลี่ย

17. ขอมูลชุดหนึ่งมีสัมประสิทธิ์ของสวนเบี่ยงเบนเฉลี่ยเทากับ 0.12 และสวนเบี่ยงเบนเฉลี่ยเทากับ 8.5 จงหา


สัมประสิทธิ์ของการแปรผัน ถาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 10

18. คะแนนวิชาเคมีและคณิตศาสตรของนักเรียนกลุมหนึ่งเปนดังนี้
วิชาเคมี (X) 8 5 4 2 1
วิชาคณิตศาสตร (Y) 9 6 5 3 2
จงหาอัตราสวนของสัมประสิทธิ์การแปรผันระหวางคะแนนวิชาเคมีและวิชาคณิตศาสตร
กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร 93 คณิตศาสตรเสริม 6
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6

19. ตารางแสดงผลการสอบวิชาคณิตศาสตรของนักเรียน 40 คน เปนดังนี้ จงหาคาสัมประสิทธิ์การแปรผัน


คะแนน ความถี่สะสม
40 – 49 40
50 – 59 37
60 – 69 31
70 – 79 23
80 – 89 12
90 – 99 5
วิธีทํา

คะแนน ความถี่สะสม
40 – 49 40
50 – 59 37
60 – 69 31
70 – 79 23
80 – 89 12
90 – 99 5
บทที่ 2
การแจกแจงปกติ
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ 94 คณิตศาสตร์เสริม 6
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6

บทที่ 2
การแจกแจงปกติ (Normal distribution)

ในทางสถิติ นอกจากเรื่อง ค่ากลาง การวัดการกระจายของข้อมูลแล้ว เรื่องสาคัญอีกอย่างหนึ่ง คือ


รูปแบบของการแจกแจงข้อมูล รูปแบบหรือลักษณะของการแจกแจงข้อมูลบอกให้ทราบว่า ข้อมูลในเรื่องนั้น
ทั้งชุดมีลักษณะปกติ สมมาตร หรือมีความเบ้ หรือมีความโด่งอย่างไร หรือไม่สามารถจัดรูปแบบใดๆ ได้เลย
รูปแบบของการแจกแจงที่สาคัญชนิดหนึ่ง คือ การแจกแจงปกติ ประโยชน์ของการแจกแจงปกติที่ควร
ทราบในเบื้องต้น คือ การใช้การแจกแจงปกติมาช่วยในการหาความน่าจะเป็นของข้อมูลที่สนใจ ในบทนี้จะ
กล่าวถึงการแจกแจงปกติและเส้น โค้งปกติ (Normal curve) ซึ่งเกี่ยวข้องกับคะแนนมาตรฐาน (Standard
score หรือ z – score)
คะแนนมาตรฐานมีประโยชน์หลายประการ เช่น ใช้ในการวัดตาแหน่งที่หรือตาแหน่งสัมพัทธ์ของข้อมูล
ใช้ในการเปรียบเทียบข้อมูลและใช้เป็นพื้นฐานของการคานวณพื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติและความน่าจะเป็น

2.1 คะแนนมาตรฐาน (Standard score หรือ z – score)

การเปรียบเทียบข้อมูลตั้งแต่สองข้อมูลขึ้นไปที่มาจากข้อมูลคนละชุดว่ามีความแตกต่างกันหรือไม่
เพียงไร บางครั้งไม่สามารถเปรียบเทียบโดยตรงได้ ทั้งนี้เนื่องจากค่าเฉลี่ยเลขคณิตของข้อมูลแต่ละชุด และ
ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานมักจะไม่เท่ากัน เช่น ต้องการเปรียบเทียบผลการเรียนวิขาภาษาอังกฤษและวิชา
คณิตศาสตร์ของนักเรียนคนใดคนหนึ่งในชั้นว่าเรียนวิชาไหนได้ดีกว่ากัน แม้ว่าจะทาได้โดยดูจากคะแนนสอบ
ของวิชาทั้งสองโดยปรับให้มีคะแนนเต็มเท่ากัน ถ้าคะแนนสอบของวิชาไหนดีกว่าก็สรุปผลว่านักเรียนคนนั้น
เรียนวิชานั้นได้ดีกว่าซึ่งจะเห็นได้ว่า เป็นการสรุปผลที่ยังไม่ถูกต้องนักเพราะค่าเฉลี่ยเลขคณิตหรือส่วน
เบี่ยงเบนมาตรฐานของคะแนนสอบวิชาทั้งสองของนักเรียนทั้งหมดในชั้นอาจจะไม่เท่ากัน ทั้งนี้อาจจะ
เนื่องมาจากเนื้อหาหรือข้อสอบของทั้งสองวิชามีความยากง่ายต่างกัน หรือครูผู้สอนแต่ละคนมีวิธีการสอนที่จะ
ให้นักเรียนมีความเข้าใจในวิชานั้น ๆ ต่างกัน เป็นต้น
ดังนั้นเพื่อที่จะให้การเปรียบเทียบมีความถูกต้องมากขึ้น จึงมีความจาเป็นต้องแปลงคะแนนของวิชา
ทั้งสองที่นักเรียนคนนั้นสอบได้ให้เป็นคะแนนมาตรฐานหรือค่ามาตรฐาน ( ซึ่งมีค่าเฉลี่ยเลขคณิตและส่วน
เบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากันเสียก่อน ) แล้วจึงเปรียบเทียบคะแนนมาตรฐานของวิชาทั้งสอง
การแปลงค่าของข้อมูลของตัวแปรแต่ละตัวให้เป็นคะแนนมาตรฐานนี้ โดยทั่วไปคือการแปลงข้อมูลให้
เป็นคะแนนมาตรฐานที่มีค่าเฉลี่ยเลขคณิตเป็น 0 และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเป็น 1
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ 95 คณิตศาสตร์เสริม 6
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6

ถ้า xi เป็นค่าคงที่ i ของตัวแปร X แล้ว คะแนนมาตรฐานของ xi คือ

xi  
Zi = เมื่อ i คือ 1 , 2 , 3 , … , N

โดยที่ xi แทน ค่าที่ i ของตัวแปร X


 แทน ค่าเฉลี่ยเลขคณิตของประชากร
 แทน ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของประชากร
N แทน จานวนประชากร

xi  X
หรือ Zi = เมื่อ i คือ 1 , 2 , 3 , … , n
s

โดยที่ xi แทน ค่าที่ i ของตัวแปร X


X แทน ค่าเฉลี่ยเลขคณิตของตัวอย่าง
s แทน ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของตัวอย่าง
n แทน จานวนตัวอย่าง
อาจกล่าวได้ว่าคะแนนมาตรฐานเป็นค่าที่บอกให้ทราบว่าความแตกต่างระหว่างค่าของข้อมูลนั้นๆกับ
ค่าเฉลี่ยเลขคณิตของข้อมูลชุดนั้นว่าเป็นกี่เท่าของส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ดังนั้นคะแนนมาตรฐานจึงเป็นค่าที่
วัดตาแหน่งที่ของข้อมูลหรือค่าวัดตาแหน่งสัมพัทธ์ของข้อมูลที่นิยมใช้อีกวิธีหนึ่ง

ตัวอย่างที่ 1 นักเรียนคนหนึ่งสอบวิชาภาษาอังกฤษและวิชาคณิตศาสตร์ซึ่งมีคะแนนเต็ม 100 คะแนนเท่ากัน


ได้ 72 คะแนน และ 75 คะแนน ตามลาดับ ถ้าค่าเฉลี่ยเลขคณิตและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของคะแนนสอบ
วิชาภาษาอังกฤษเป็น 70 และ 10 คะแนน ค่าเฉลี่ยเลขคณิตและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของคะแนนสอบวิชา
คณิตศาสตร์เป็น 73 และ 16 คะแนน ตามลาดับ จงเปรียบเทียบดูว่านักเรียนคนนี้เรียนวิชาใดได้ดีกว่ากัน
x 
วิธีทา จากค่ามาตรฐานของ xi คือ Zi  i

ดังนั้น ค่ามาตรฐานของคะแนนสอบวิชาภาษาอังกฤษ = ………………………………………………
ค่ามาตรฐานของคะแนนสอบวิชาภาษาอังกฤษ = ………………………………………………

ค่ามาตรฐานของคะแนนสอบวิชาภาษาอังกฤษของนักเรียนคนนี้สูงกว่าค่ามาตรฐานของคะแนนสอบ
วิชาคณิตศาสตร์ แสดงว่านักเรียนคนนี้เรียนวิชาภาษาอังกฤษได้ดีกว่าวิชาคณิตศาสตร์
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ 96 คณิตศาสตร์เสริม 6
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6

ตัวอย่างที่ 2 คะแนนสอบวิชาภาษาไทยของนักเรียนห้องหนึ่ง มีค่าเฉลี่ยเลขคณิตและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน


ของคะแนนสอบของนักเรียนทั้งหมดเท่ากับ 73 และ 16 คะแนน ตามลาดับ ถ้าคะแนนมาตรฐานของ
คะแนนสอบวิชานี้ของนักเรียนคนหนึ่งในห้องนี้ คือ 0.2 อยากทราบว่านักเรียนคนนี้สอบได้กี่คะแนน
วิธีทา จากโจทย์จะได้   73 ,   16
x 
จากค่ามาตรฐานของ xi คือ Zi  i

จะได้ ……… = …………………………………………
……… = …………………………………………

นั่นคือ นักเรียนคนนี้สอบวิชาภาษาไทยได้ 76.2 คะแนน

ตัวอย่างที่ 3 บริษัทแห่งหนึ่งซึ่งเป็นตัวแทนจาหน่ายสินค้า 3 ชนิด พนักงาน 2 คนของบริษัทนี้ ขายสินค้าทั้ง 3


ชนิด ได้ยอดรวมเท่ากันดังตาราง จงพิจารณาว่าใครขายเก่งกว่ากัน

จานวนสินค้าที่ขายได้ (ชิ้น)
พนักงาน
ชนิดที่ 1 ชนิดที่ 2 ชนิดที่ 3
คนที่ 1 10 4 7
คนที่ 2 6 7 8
ค่าเฉลี่ยเลขคณิต 7 6 10
ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 3 2 1

วิธีทา ให้ xi แทน จานวนสินค้าชนิดที่ i เมื่อ i คือ 1 , 2 , 3


 i แทน ค่าเฉลี่ยเลขคณิตของจานวนสินค้าชนิดที่ i
 i แทน ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของจานวนสินค้าชนิดที่ i
จะได้ 1 = 7 ,  2 = 6 และ  3 = 10
 1 = 3 ,  2 = 2 และ  3 = 1
x i  i
จากคะแนนมาตรฐานของ xi คือ Zi 
i

หาคะแนนมาตรฐานของจานวนสินค้าที่พนักงานคนที่ 1 และคนที่ 2 ขายได้ ดังนี้


กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ 97 คณิตศาสตร์เสริม 6
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6

คะแนนมาตรฐานของจานวนสินค้าที่ขายได้ (Zi) คะแนนมาตรฐานเฉลี่ย


พนักงาน
Z1 Z2 Z3 (Z)
คนที่ 1 ...................... .................... ..................... .....................................
คนที่ 2 ...................... .................... ..................... .....................................

ดังนั้น คะแนนมาตรฐานเฉลี่ยของจานวนสินค้าชนิดที่ 1 , 2 และ 3 ที่พนักงานทั้ง 2 คน ขายได้ คือ


Z1 = …………………………………………
Z2 = …………………………………………
พิจารณา ค่า Z1 และ Z2 พบว่า ........................................................................................................
ดังนั้น สรุปได้ว่า………………………………………………………………………………………………………………………

ข้อสังเกตเกี่ยวกับคะแนนมาตรฐาน
1. คะแนนมาตรฐานของข้อมูลใดๆ จะเป็นจานวนบวกหรือจานวนลบก็ได้ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับค่าของข้อมูล
นั้นๆ กับค่าเฉลี่ยเลขคณิตของข้อมูลชุดนั้นว่าค่าใดมากกว่ากัน
2. คะแนนมาตรฐานของข้อมูลที่มีการแจกแจงปกติหรือใกล้เคียงปกติ โดยทั่วไปจะมีค่าตั้งแต่ –3 ถึง 3
แต่อาจจะมีคะแนนมาตรฐานของข้อมูลบางค่าที่น้อยกว่า –3 หรือมากกว่า 3 ได้
3. เมื่อแปลงทุกๆ ค่าในข้อมูลชุดหนึ่งที่เป็นข้อมูลระดับประชากรให้เป็นคะแนนมาตรฐาน แล้ว
3.1. ค่าเฉลี่ยเลขคณิตของคะแนนมาตรฐาน = 0
3.2. ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของคะแนนมาตรฐาน = 1
3.3. ผลรวมของกาลังสองของค่ามาตรฐานแต่ละตัว = N (จานวนประชากร)
พิสูจน์
ให้ x1 , x2 , x3 , … , xN เป็นข้อมูลประชากรขนาด N หน่วย
ให้  และ  x เป็นค่าเฉลี่ยเลขคณิตและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของ x1 , x2 , x3 ,, xn
ตามลาดับ และ Z1 , Z2 , Z3 , … , ZN เป็นค่ามาตรฐานของ x1 , x2 , x3 , … , xN ตามลาดับ
x1   x 2   x 3   x 
1. Z1  Z2  Z3  ...  ZN =    ...  N
x x x x
= ……………………………………………………………………………………
= ……………………………………………………………………………………
N
สรุป Z = 0
i 1
i
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ 98 คณิตศาสตร์เสริม 6
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6

Z i
2. ค่าเฉลี่ยเลขคณิตของค่ามาตรฐาน  Z = i 1
= 0
N

2 2 2 2
 x1     x 2     x 3     xn   
3. Z  Z  Z  ...  Z
2 2 2 2
=        ...   
 X   X    X   X 
1 2 3 N

(x1  )2  (x 2  ) 2  (x 3  ) 2  ...  (x n  ) 2


=
X 2
N

 (x i  ) 2
= i 1
X 2 N

 (x   ) 2

N
i
= …………… เนื่องจาก  X 2  i 1

N
N
สรุป Z = 2
i
N
i 1

 (Z   i Z )2
4. ความแปรปรวนของค่ามาตรฐาน  Z2 = i 1
Z2
N N

 Zi2 Z i
= i1 เนื่องจาก Z  i 1
= 0
N N

สรุป  Z2 = 1
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ 99 คณิตศาสตร์เสริม 6
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6

แบบฝึกหัดที่ 2.1

1. จงหาค่าของ x จากสูตรของค่ามาตรฐาน โดยใช้ข้อมูลต่อไปนี้


1) Z = 2 ค่าเฉลี่ยเลขคณิต 20 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ……………………………………………
2) Z = – 1 ค่าเฉลี่ยเลขคณิต 25 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ….…………………………………………
3) Z = – 1.5 ค่าเฉลี่ยเลขคณิต 100 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 10…..……………………………………
4) Z = 2.5 ค่าเฉลี่ยเลขคณิต – 10 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.2……………………………………….

2. ด.ช.ธรรมศักดิ์ สอบได้คะแนนวิชาคณิตศาสตร์ในชั้น ม.3 และ ม.4 เป็น 75 คะแนน และ 80 คะแนน


ตามลาดับ ถ้าค่าเฉลี่ยเลขคณิตและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของคะแนนวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนทุกคนใน
ชั้น ม.3 ที่ ด.ช.ธรรมศักดิ์ เรียนอยู่เป็น 70 คะแนน และ 15 คะแนน และค่าเฉลี่ยเลขคณิตและส่วนเบี่ยงเบน
มาตรฐานของคะแนนวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนทุกคนในชั้น ม.4 เป็น 80 คะแนนและ 20 คะแนน
ตามลาดับ ด.ช.ธรรมศักดิ์เรียนวิชาคณิตศาสตร์ในชั้นไหนได้ดีกว่ากัน
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

3. ในการทดสอบเวลาที่ใช้ในการวิ่งแข่งระยะทาง 100 เมตร ของนักกีฬาในโรงเรียนแห่งหนึ่ง เพื่อคัดเลือก


ตัวแทนไปแข่งขันกับโรงเรียนอื่น โดยถือว่าผู้ที่ผ่านการทดสอบจะต้องได้คะแนนมาตรฐานของเวลาที่ใช้ไม่
มากกว่า 1.0 ถ้าจากผลการทดสอบปรากฏว่านักกีฬาที่ใช้เวลามากกว่า 12 วินาที ไม่ผ่านการทดสอบ ถามว่าใน
การทดสอบครั้งนี้ค่าเฉลี่ยเลขคณิตของเวลาที่ใช้ในการวิ่งของนักกีฬาทั้งหมดเป็นเท่าไร ถ้าส่วนเบี่ยงเบน
มาตรฐานของเวลาที่ใช้ในการวิ่งของนักกีฬาเป็น 1.1 วินาที
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ 100 คณิตศาสตร์เสริม 6
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6

4. ถ้าคะแนนสอบวิชาต่างๆ ของ ด.ญ.ปารวี ค่าเฉลี่ยเลขคณิตและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของคะแนนแต่ละ


วิชาของนักเรียนทั้งหมดในชั้นที่ ด.ญ.ปารวี เรียนอยู่อยู่เป็นดังนี้
วิชา คะแนนที่สอบได้ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ภาษาไทย 80 85 15
ภาษาอังกฤษ 60 75 20
วิทยาศาสตร์ 70 65 5

ด.ญ.ปารวี เรียนวิชาไหนได้ดีกว่ากัน
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
5. ในการสอบคัดเลือกเข้าทางานในหน่วยงานแห่งหนึ่ง ซึ่งมีวิชาที่จะต้องสอบ 3 วิชา ถ้าผู้สมัครสอบคัดเลือก
จานวน 2 คน คือ นาย ก และนางสาว ข ได้คะแนนในแต่ละวิชาเป็นดังนี้

วิชาที่ 1 วิชาที่ 2 วิชาที่ 3


นาย ก 70 75 75
นางสาว ข 75 50 95
ค่าเฉลี่ยเลขคณิต 70 70 80
ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 5 10 15

จงหาว่า นาย ก หรือ นางสาว ข ใครได้ตาแหน่งที่ในการสอบคัดเลือกดีกว่ากัน และทั้ง 2 คน ได้รับ


คัดเลือกเข้าทางานหรือไม่ ถ้าหน่วยงานแห่งนี้ตั้งหลักเกณฑ์ไว้ว่า ผู้ที่จะได้รับเลือกเข้าทางานจะต้องได้ค่า
มาตรฐานเฉลี่ยของคะแนนทั้ง 3 วิชา ไม่ต่ากว่า 0
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ 101 คณิตศาสตร์เสริม 6
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6

6. ในโรงงานอุตสาหกรรมแห่งหนึ่งต้องการรับสมัครคนงาน โดยมีข้อแม้ว่า คนงานที่บริษัทจะรับเข้าทางาน


จะต้องมีคะแนนมาตรฐานของอายุตั้งแต่ 2.0 ขึ้นไป ถ้าค่าเฉลี่ยเลขคณิตและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของอายุ
ของคนงานทั้งหมดที่มาสมัครเข้าทางานเป็น 25 ปี และ 2 ปี ตามลาดับ คนงานที่มีอายุตั้งแต่เท่าไรขึ้นไปจึงจะ
มีโอกาสได้รับเลือกเข้าเป็นคนงานในโรงงานแห่งนี้
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

7. ในการสอบแข่งขันชิงทุนการศึกษา นายประพันธ์สอบได้ที่ 1 และได้คะแนน 650 คะแนน น.ส. ประภา


สอบได้ที่ 10 และได้คะแนน 540 คะแนน ถ้าคะแนนมาตรฐานของนายประพันธ์และ น.ส. ประภา เป็น 3 และ
1.9 ตามลาดับ จงหาค่าเฉลี่ยเลขคณิตและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของคะแนนสอบครั้งนี้
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ 102 คณิตศาสตร์เสริม 6
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6

2.2 การแจกแจงปกติและเส้นโค้งปกติ
(Normal distribution and Normal curve)

จากเรื่องฮิสโทแกรม พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าแต่ละรูปในฮิสโทแกรมแทนความถี่ของแต่ละอันตร
ภาคชั้น ถ้าเขียนรูปหลายเหลี่ยมของความถี่และปรับรูปหลายเหลี่ยมของความถี่ให้เป็นเส้นโค้งเรียบ จะได้เส้น
โค้งความถี่ซึ่งพื้นที่ใต้เส้นโค้งความถี่จะแทนความถี่ของค่าจากการสังเกตทั้งหมด
เส้นโค้งความถี่ที่พบบ่อยๆ มักมีลักษณะเป็นรูประฆัง ซึ่งเราเรียกว่า เส้นโค้งปกติ
การแจกแจงความถี่ของข้อมูลซึ่งเส้นโค้งที่ได้มลี ักษณะเป็นรูประฆัง เรียกว่า การแจกแจงปกติ
สมการของเส้นโค้งนี้ขึ้นอยู่กับค่า 2 ค่า คือ ค่าเฉลี่ยเลขคณิตและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ถ้ากาหนด
ค่าเฉลี่ยเลขคณิตและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานให้จะสามารถหาสมการของเส้นโค้งปกติได้และเขียนรูปได้ดัง
ตัวอย่างในรูป

รูปที่ 1

µ
จากรูปที่ 1 จะเห็นว่า ลักษณะของเส้นโค้งปกติเป็นรูประฆัง ซึ่งเป็นรูปสมมาตร โดยมีเส้นประเป็น
แกนสมมาตร จึงเรียกว่า การแจกแจงปกติ ขนาดของการแจกแจงปกติหรือรูประฆัง จะต่างกันเพียงไรขึ้นอยู่
กับค่าเฉลี่ยเลขคณิต  และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน  ( ในกรณีข้อมูลประชากร ) และสมการของเส้นโค้ง
ปกติคือ

2
1   x   
  
1 2   
y  f (x)  e เมื่อ   x  
 2

โดยที่   3.1416 , e  2.718


 แทนค่าเฉลี่ยเลขคณิตของประชากร
 แทนส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของประชากร

ในการเขียนกราฟ ให้แทนข้อมูล xi หนึ่งค่าลงในสมการข้างต้นซึ่งกาหนดค่าเฉลี่ยเลขคณิตและส่วน


เบี่ยงเบนมาตรฐานของประชากรให้ จะได้ค่า yi ซึง่ สอดคล้องกับค่า xi เป็นคูๆ่ และเมื่อแทนค่า xi ทุกค่า จะได้
yi นาคู่อันดับ ( xi , yi ) ไปเขียนกราฟ จะได้กราฟของการแจกแจงปกติ ดังรูปที่ 1
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ 103 คณิตศาสตร์เสริม 6
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6

เส้นโค้งปกติ 2 รูป ซึ่งมีส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากัน แต่ค่าเฉลี่ยเลขคณิตไม่เท่ากันจะมีลักษณะ


เหมือนกันแต่ตั้งอยู่บนตาแหน่งที่ต่างกัน ดังรูปที่ 2

รูปที่ 2

เส้นโค้งปกติ 2 รูป ซึ่งมีค่าเฉลี่ยเลขคณิตเท่ากัน แต่ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานต่างกันจะมีจุดที่แสดง


ค่าเฉลี่ยเลขคณิต อยู่ที่ตาแหน่งเดียวกันบนแกนนอน แต่เส้นโค้งที่มีส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานมากกว่าจะเตี้ยกว่า
ดังนั้น ถ้าข้อมูล มีการกระจายมากเส้นโค้งจะเตี้ยลงและขยายฐานกว้างขึ้น
เส้นโค้งปกติจะมีความโด่งมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับการกระจายของข้อมูล ถ้าข้อมูลมีการกระจายมาก
เส้นโค้งปกติจะมีความโด่งน้อยหรือค่อนข้างแบน แต่ถ้าข้อมูลมีการกระจายน้อยเส้นโค้งปกติจะมีความโด่งมาก
หรือค่อนข้างสูง ดังปรากฏในรูปที่ 3

รูปที่ 3

เส้นโค้งปกติ 2 รูป ซึ่งมีค่าเฉลี่ยเลขคณิตต่างกันและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานต่างกัน มีลักษณะดังรูปที่


4

รูปที่ 4

สมบัติของเส้นโค้งปกติ
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ 104 คณิตศาสตร์เสริม 6
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6

1. ค่าเฉลี่ยเลขคณิต มัธยฐาน และฐานนิยม จะมีค่าเท่ากัน และอยู่ ณ จุดที่เส้นตรงที่ลากผ่านจุด


โด่งสุดของเส้นโค้งนั้นตั้งฉากกับแกนนอน
2. เส้นโค้งจะมีเส้นตั้งฉากกับแกนนอนที่ลากผ่านค่าเฉลี่ยเลขคณิตเป็นแกนสมมาตร
3. เส้นโค้งจะเข้าใกล้แกนนอน เมื่อต่อปลายเส้นโค้งทั้งสองข้างให้ห่างจากค่าเฉลี่ยเลขคณิตออกไป
แต่จะไม่ตัดแกนนอน
4. พื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติมีค่าเท่ากับ 1 เสมอ
5. พื้นที่ที่อยู่เหนือค่าใดค่าหนึ่งของ X จะเป็น 0 เสมอ จะได้ว่าพื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติซึ่งอยู่ระหว่างค่า
ของ X ในช่วงปิด  x1 , x 2  จะเท่ากับพื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติซึ่งอยู่ระหว่างค่าของ X ในช่วงเปิด  x1 , x 2 

พื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติซึ่งอยู่ระหว่าง พื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติซึ่งอยู่ระหว่าง

ค่าของ X ในช่วงปิด [ x1 , x2 ] ค่าของ X ในช่วงเปิด ( x1 , x2 )

พื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติ (Area under normal curve)


2
1   x   
  
1 2   
ถ้าเราทราบสมการของเส้นโค้งปกติ y  f (x)  e เมื่อ   x  
 2
จะสามารถหาพื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติซึ่งอยู่ระหว่างค่า X สองค่าใด ๆ คือ x1 และ x2 ได้โดยใช้วิธีการ
ของแคลคูลัส ซึ่งค่อนข้างยุ่งยาก

รูปที่ 5

0
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ 105 คณิตศาสตร์เสริม 6
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6

ในทางปฏิบัติจะหาพื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติได้ โดยใช้ตารางแสดงพื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติมาตรฐาน ( เส้นโค้ง


ปกติมาตรฐานมีค่าเฉลี่ยเลขคณิตเป็น 0 และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเป็น 1 )
x 
ดังนั้นจึงใช้วิธีแปลงค่าตัวแปร X ให้เป็นคะแนนมาตรฐาน Z โดยใช้สูตร Z

ซึ่งได้พิสูจน์แล้วว่าค่าเฉลี่ยเลขคณิตของ Z คือ 0 และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของ Z คือ 1

ทฤษฎีบท
1. ถ้าตัวแปรสุ่ม X มีการแจกแจงแบบปกติ ซึ่งมีค่าเฉลี่ยเลขคณิตเป็น  และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
x 
เป็น  แล้ว ตัวแปรสุ่ม Z จะมีการแจกแจงแบบปกติ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต คือ 0 และส่วนเบี่ยงเบน

มาตรฐาน คือ 1

2. พื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติเมื่อ X มีค่าระหว่าง x1 และ x2 จะเท่ากับพื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติเมื่อ Z


x1   x2  
มีค่าระหว่าง z1 และ z2 เมื่อ z1  และ z2 
 

หรือเขียนในรูปความน่าจะเป็นได้ดังนี้ P( x1 < X < x2 ) = P( z1 < Z < z2 )

รูปที่ 6

X Z

เส้นโค้งปกติซึ่งมีค่าเฉลี่ยเลขคณิตเป็น 0 และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเป็น 1 เรียกว่า เส้นโค้งปกติมาตรฐาน


ในการหาพื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติมาตรฐานระหว่างค่า z = 0 ถึง z ใด ๆ เราได้ตาราแสดงพื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติ
มาตรฐาน ซึ่งแสดงพื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติระหว่างค่า z = 0 และค่าอื่น ๆ ของ z คือ 0.01, 0.02, … , 3.88, 3.89
เช่น
รูปที่ 7
0.3944 พื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติระหว่าง z = 0 และ z = 1.25
ที่อ่านได้จากตารางเท่ากับ ………………………..
0 1.25 Z P( 0 < Z < 1.25 ) = ………………………..
พื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติระหว่าง z = 0 และ z = 1.25
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ 106 คณิตศาสตร์เสริม 6
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6

รูปที่ 8
พื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติทางซ้ายมือของ Z = 1.64
0.5 0.4495
เท่ากับพื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติ เมื่อ Z < 1.64
Z P( Z < 1.64 ) = …………………………….
0 1.64
= …………………………….
พื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติมาตรฐาน ในช่วง Z < 1.64

รูปที่ 9 พื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติทางขวามือของ Z = 1.64


0.4495 เท่ากับพื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติ เมื่อ Z > 1.64
0.0505
P( Z > 1.64 ) = ……………………………..
Z = ……………………………..
0 1.64

พื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติมาตรฐาน ในช่วง Z > 1.64

รูปที่ 10 พื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติทางขวามือของ Z = - 0.47


0.1808
P( Z > - 0.47 ) = P( Z > 0 ) + P( 0 < Z < 0.47 )
0.5 = ………………….……………………..
- 0.47 0 Z = ………………………………….……..
พื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติมาตรฐาน ในช่วง Z > - 0.47

พื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติระหว่าง Z = 0.95 และ


รูปที่ 11 Z = 1.36 คือ P( 0.95 < Z < 1.36 )
0.0842 = P( 0 < Z < 1.36 ) – P( 0 < Z < 0.95 )
= ………………….……………………..
Z
0 0.95 1.36 = ………………………………….……..
พื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติมาตรฐานในช่วง 0.95 < Z < 1.36
พื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติระหว่าง Z = - 0.45 และ
0.1736
รูปที่ 12 Z = 0.65 คือ P( -0.45 < Z < 0.65 )
0.2422 = P( 0 < Z < 0.45 ) + P( 0 < Z < 0.65 )
Z = ………………….……………………..
-0.45 0 0.65 = ………………………………….……..
พื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติมาตรฐาน ในช่วง - 0.45 < Z < 0.65
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ 107 คณิตศาสตร์เสริม 6
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6

ข้อสังเกต เนื่องจากพื้นที่ใต้โค้งปกติเท่ากับ 1 พิจารณาพื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติระหว่าง    ถึง


   ระหว่าง   2 ถึง   2 และ ระหว่าง   3 ถึง   3 ได้ดังนี้

0.6826 0.9544 0.9974


X   2   2 X X
   3   3

พื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติระหว่าง    และ    คิดเป็นประมาณ 68.26 % ของพื้นที่ทั้งหมด


และ พื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติระหว่าง   2 และ   2 คิดเป็นประมาณ 95.44 % ของพื้นที่ทั้งหมด
และ พื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติระหว่าง   3 และ   3 คิดเป็นประมาณ 99.74 % ของพื้นที่ทั้งหมด

นั่นคือ ถ้าการแจกแจงข้อมูลเป็นเส้นโค้งปกติ ค่าของข้อมูลเกือบทั้งหมดจะตกอยู่ในช่วง   3 ถึง   3

ตัวอย่างที่ 1 คะแนนสอบของนักเรียนกลุ่มหนึ่งมีการแจกแจงปกติ โดยมีค่าเฉลี่ยเลขคณิตและส่วนเบี่ยงเบน


มาตรฐานเท่ากับ 50 และ 10 คะแนน ตามลาดับ อยากทราบว่านักเรียนที่สอบได้ 60 คะแนน จะมีตาแหน่ง
เปอร์เซ็นไทล์ที่เท่าไร
วิธีทา ให้ X เป็นคะแนนสอบของนักเรียนคนนี้
x  60  50 0.3413
และ z = 1
 10

0 1.0
จากตาราง พื้นที่ระหว่าง z = 0 ถึง z = 1 เท่ากับ 0.3413
จะได้ พื้นที่ใต้เส้นโค้งเมื่อ z < 1 เท่ากับ 0.5 + 0.3413 = 0.8413 หรือ 84.13%
ดังนั้น ตาแหน่งเปอร์เซ็นไทล์ของคะแนน 60 คือ เปอร์เซ็นต์ไทล์ที่ 84.13
หรือ เขียนวิธีทาในรูปความน่าจะเป็น ดังนี้
P( X < 60 ) = P( Z < 1 )
= 0.5 + P( 0 < Z < 1 )
= 0.5 + 0.3413 = 0.8413 หรือ 84.13%
ดังนั้น ตาแหน่งเปอร์เซ็นไทล์ของคะแนน 60 คือ 84.13
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ 108 คณิตศาสตร์เสริม 6
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6

ตัวอย่างที่ 2 อายุการใช้งานของถ่านไฟฉายชนิดหนึ่งมีการแจกแจงปกติ โดยมีค่าเฉลี่ยเลขคณิตและส่วน


เบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 756 นาที และ 35 นาที ตามลาดับ จงหาเปอร์เซ็นต์ของถ่านไฟฉายที่ใช้ได้นาน
2.1. ระหว่าง 721 นาที ถึง 791 นาที
2.2. เกิน 798 นาที
วิธีทา 2.1.) ให้ X เป็นอายุการใช้งานของถ่านไฟฉาย
x 
จาก z Z

เมื่อ X1 = 721 นาที จะได้ z1 = …………………………………..….
เมื่อ X2 = 791 นาที จะได้ z 2 = …………………………………..….

ดังนั้น P( 721 < X < 791 ) = P( - 1 < Z < 1 )


= P( - 1 < Z < 0 ) + P( 0 < Z < 1 )
= …………………………………………………………………………….
= …………………………………………………………………………….

นั่นคือ มีถ่านไฟฉายจานวน 68.26 % ที่มีอายุการใช้งานระหว่าง 721 นาที ถึง 791 นาที

2.2.) เมื่อ X = 798 นาที จะได้ Z = ……………………………..


ดังนั้น P( X > 798 ) = P( Z > 1.2 )
= ……………………………………………
= …………………………………………… Z
= ……………………………………………
นั่นคือ มีถ่านไฟฉายจานวน 11.51 % ที่มีอายุการใช้งานเกิน 798 นาที
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ 109 คณิตศาสตร์เสริม 6
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6

แบบฝึกหัดที่ 2.2

1. ถ้าข้อมูลชุดหนึ่งมีการแจกแจงปกติ โดยมีค่าเฉลี่ยเลขคณิต 400 และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 100


จงหาว่ามีกี่เปอร์เซ็นต์ของค่าของข้อมูลซึ่งมีค่า

1) มากกว่า 538 5) ระหว่าง 484 และ 565


……………………………………………………………………
…………………………………………………………………
…. ..
………………………………………………………………… ……………………………………………………………………
…. ..
………………………………………………………………… ……………………………………………………………………
… ..
………………………………………………………………… ……………………………………………………………………

..
…………………………………………………………………..
……………………………………………………………………
..
2) มากกว่า 179 6) ระหว่าง 318 และ 671
..................................................................... ……………………………………………………………………
..................................................................... ..
..................................................................... ……………………………………………………………………
..................................................................... ..
……………………………………………………………………
..
……………………………………………………………………
..
……………………………………………………………………
..
3) น้อยกว่า 356 7) ระหว่าง 249 และ 294
..................................................................... ……………………………………………………………………
. ..
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ 110 คณิตศาสตร์เสริม 6
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6

..................................................................... ……………………………………………………………………
. ..
..................................................................... ……………………………………………………………………
..................................................................... ..
..................................................................... ……………………………………………………………………
. ..
……………………………………………………………………
..
4) น้อยกว่า 621
.....................................................................
.
.....................................................................
.
.....................................................................
.....................................................................

2. การแจกแจงของคะแนนสอบครั้งหนึ่งเป็นการแจกแจงปกติ โดยมีค่าเฉลี่ยเลขคณิต 72 คะแนน และส่วน


เบี่ยงเบนมาตรฐาน 12 คะแนน จงหา
2.1. คะแนนที่เป็นเปอร์เซ็นไทล์ที่ 17
2.2. คะแนนที่เป็นเปอร์เซ็นไทล์ที่ 90
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ 111 คณิตศาสตร์เสริม 6
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6

3. น้าหนักสุทธิของกระป๋องบรรจุถั่วที่ผลิตโดยบริษัทแห่งหนึ่งมีการแจกแจงปกติ โดยมีน้าหนักสุทธิเฉลี่ยเป็น
12.00 กรัม ถ้ากระป๋องที่มีน้าหนักสุทธิน้อยกว่า 11.88 กรัม มีอยู่ 11.51 % จงหาความแปรปรวนของน้าหนัก
สุทธิของกระป๋องบรรจุถั่วที่ผลิตโดยบริษัทแห่งนี้
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

4. ในการสอบวิชาภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้น ม.5 ของโรงเรียนแห่งหนึ่ง มีการแจกแจงปกติ ค่าเฉลี่ยเลข


คณิตและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของคะแนนสอบครั้งนี้เป็น 60 และ 10 คะแนน ตามลาดับ ถ้า ก. เป็น
นักเรียนในชั้น ม.5 ทีส่ อบวิชานี้ ถ้า ก. สอบได้คะแนนสูงสุดของกลุ่มนักเรียนที่สอบได้คะแนนต่าสุดซึ่งมีอยู่
9.1 % ของนักเรียนชั้น ม.5 ทั้งหมด ดังนั้น ก. จะสอบได้คะแนนเท่าใด

5. ในการผลิตแผ่นพลาสติกของบริษัทแห่งหนึ่งปรากฏว่าความหนาแน่นของแผ่นพลาสติกมีการแจกแจงแบบ
ปกติโดยมีความหนาเฉลี่ย 0.0625 cm ความแปรปรวนเป็น 0.00000625 cm2 จงหาว่าแผ่นพลาสติกที่ผลิตได้
มีความหนาอยู่ระหว่าง 0.0595 cm และ 0.0659 cm มีกี่เปอร์เซ็นต์

7. ครูคนหนึ่งให้ระดับคะแนนนักเรียนในการสอบดังนี้
ระดับคะแนน A ถ้านักเรียนได้คะแนนตั้งแต่   1.5 ขึ้นไป
ระดับคะแนน B ถ้านักเรียนได้คะแนนอยู่ในช่วง [  0.5 ,   1.5 ]
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ 112 คณิตศาสตร์เสริม 6
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6

ระดับคะแนน C ถ้านักเรียนได้คะแนนอยู่ในช่วง [  0.5 ,   0.5 ]


ระดับคะแนน D ถ้านักเรียนได้คะแนนอยู่ในช่วง [  1.5 ,   0.5 ]
ระดับคะแนน F ถ้านักเรียนได้คะแนนน้อยกว่า   1.5
สมมุติว่าคะแนนสอบมีการแจกแจงปกติ จงหาว่าแต่ละระดับคะแนนมีนักเรียนสอบได้กี่เปอร์เซ็นต์

6. ให้ x เป็นความคลาดเคลื่อนในรอบ 24 ชั่วโมงของนาฬิกาที่ผลิตโดยโรงงานแห่งหนึ่ง ถ้าความคลาดเคลื่อนมี


การแจกแจงปกติ และมีค่าเฉลี่ยเลขคณิต 0.00 วินาที ความแปรแรวน 0.160 วินาที2 อยากทราบว่า x ที่ทาให้
50.04 % ของนาฬิกาทั้งหมดที่ผลิตได้โดยมีความคลาดเคลื่อนระหว่าง x กับ 0.136 วินาที

8. คะแนนจากการสอบครั้งหนึ่งมีการแจกแจงปกติ มีค่าเฉลี่ยเลขคณิตและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเป็น 60
และ 10 คะแนน ตามลาดับ จงหา
8.1. นักเรียนที่สอบได้คะแนนต่ากว่า 50 คะแนน มีกี่เปอร์เซ็นต์
8.2. คะแนนที่เป็นเปอร์เซ็นไทล์ที่ 11.51 ของการสอบครั้งนี้
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ 113 คณิตศาสตร์เสริม 6
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6

8.3. นักเรียนที่สอบได้มากกว่า 70 คะแนน และน้อยกว่า 85 คะแนน มีประมาณกี่คน

9. กาหนดให้ความสูงของคนกลุ่มหนึ่งมีการแจกแจงปกติ ถ้าคนสูงกว่า 145 เซนติเมตร และ 165 เซนติเมตร


อยู่ 84.13% และ 15.87% ตามลาดับ แล้ว สัมประสิทธิ์การแปรผันของความสูงของคนกลุ่มนี้เป็นเท่าใด
Z 1.00 1.12 1.14 1.16
พื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติมาตรฐาน 0.3413 0.3686 0.3729 0.3770
จาก 0 ถึง Z

10. ข้อมูลความสูงของนักเรียนชั้น ม.6 โรงเรียนแห่งหนึ่งมีการแจกแจงปกติ ถ้าจานวนนักเรียนที่มีความสูง


น้อยกว่า 140.6 เซนติเมตร มีอยู่ 3.01% และจานวนนักเรียนที่มีความสูงมากกว่ามัธยฐานแต่น้อยกว่า 159.4
เซนติเมตร มีอยู่ 46.99% แล้ว จานวนนักเรียนที่มีความสูงไม่น้อยกว่า 155 เซนติเมตร แต่ไม่เกิน 160
เซนติเมตร มีเปอร์เซ็นต์เท่ากับเท่าใด เมื่อกาหนดตารางแสดงพื้นที่ใต้โค้งปกติมาตรฐาน ระหว่าง 0 ถึง z เป็น
ดังนี้
Z 1.00 1.12 1.88 2.00
พื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติมาตรฐาน 0.3413 0.3686 0.4699 0.4772
จาก 0 ถึง Z
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ 114 คณิตศาสตร์เสริม 6
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6

11. ถ้า x แทนคะแนนที่สนใจศึกษา และ P แทนพื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติมาตรฐานของคะแนนที่ต่ากว่า x จง


หาค่า a, b, c, และ d จากข้อมูลที่กาหนดให้ต่อไปนี้
ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน คะแนน (x) พื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติ (P)
3 1 2 d
10 2 c 0.18
a 3 6 0.09
10 b 12 0.60

You might also like